The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การบริการความรู้การจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย กรณีศึกษา กิจการร้านอาหารตามสั่งครัวคุณเจน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Supattar Noisomwong, 2021-11-10 03:35:19

การบริการความรู้การจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย กรณีศึกษา กิจการร้านอาหารตามสั่งครัวคุณเจน

การบริการความรู้การจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย กรณีศึกษา กิจการร้านอาหารตามสั่งครัวคุณเจน

การบริการความรู้การจัดทาบญั ชีรายรับ - รายจ่าย
กรณศี ึกษา กจิ การร้านอาหารตามสั่งครัวคุณเจน

นางสาวนภาภรณ์ ทรัพย์สมบตั ิ
นางสาวลภสั รดา สุดแสงพนั ธ์

การจดั ทาโครงงานนีเ้ ป็ นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกั สูตร
ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ สาขาวชิ าการบญั ชี
วทิ ยาลยั เทคนิคพจิ ติ ร
ปี การศึกษา 2564

การบริการความรู้การจัดทาบญั ชีรายรับ - รายจ่าย
กรณศี ึกษา กจิ การร้านอาหารตามสั่งครัวคุณเจน

นางสาวนภาภรณ์ ทรัพย์สมบตั ิ
นางสาวลภสั รดา สุดแสงพนั ธ์

การจดั ทาโครงงานนีเ้ ป็ นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกั สูตร
ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ สาขาวชิ าการบญั ชี
วทิ ยาลยั เทคนิคพจิ ติ ร
ปี การศึกษา 2564

ใบรบั รองโครงงาน

วิทยาลยั เทคนิคพิจติ ร

เร่ือง การบริการความรู้การจดั ทาบัญชีรายรบั - รายจ่าย กรณีศึกษากิจการรา้ นอาหารตามสั่ง
ครัวคุณเจน

โดย 1. นางสาวนภาภรณ์ ทรัพยส์ มบตั ิ รหัส 62202011314
2. นางสาวลภสั รดา สดุ แสงพนั ธ์ รหัส 62202011319

ได้รบั อนมุ ตั ิใหน้ ับเป็นสว่ นหน่งึ ของการศกึ ษาตามหลักสตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชพี
สาขาวชิ าการบญั ชี

.......................................ครูผสู้ อน ......................................ครูท่ีปรึกษาโครงงาน
(นางสาวอรวลญั ช์ นอ้ ยสมวงษ์) (นางสาวนศิ ารตั น์ ไม้สนธ์ิ)

......................................................หวั หนา้ แผนก
(นางสาวมณฑกาญจน์ ทศแก้ว)

.............................................รองผอู้ านวยการฝ่ายวิชาการ
(นายอศิ รา อยู่ยง่ิ )

...............................................กรรมการ ...............................................กรรมการ
(นายสรราม รอดอนิ ทร์) (นางสาวอรปรีญา วงศช์ าล)ี

............................................กรรมการและเลขานุการ
(นางสาววรินยพุ า บญุ มา)

............................................ประธานกรรมการ
(นางสาวมณฑกาญจน์ ทศแก้ว)

การบริการความรู้การจดั ทาบญั ชีรายรับ - รายจ่าย กรณีศึกษา กิจการร้านอาหารตามส่ังคร

รัวคณุ เจน ปี การศึกษา1/2564

ช่ือโครงการ การบริการความรู้การจดั ทาบญั ชีรายรับ - รายจ่าย กรณีศึกษากิจการ
ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ ร้านอาหารตามสั่ง ครัวคุณเจน

นางสาวนภาภรณ์ ทรัพยส์ มบตั ิ
นางสาวลภสั รดา สุดแสงพนั ธ์

สาขาวชิ า การบญั ชี
คุณครูทป่ี รึกษา นางสาวนิศารัตน์ ไมส้ นธ์ิ
ครูผ้สู อน นางสาวอรวลญั ช์ นอ้ ยสมวงษ์
ปี การศึกษา 1/2564

บทคดั ย่อ

การออกใหบ้ ริการการจดั ทาบญั ชีรายรับ - รายจ่ายใหก้ บั ร้านอาหารตามสั่งครัวคุณเจน
โครงงานน้ีมีวตั ถุประสงคเ์ พือ่ นาความรู้จากการท่ีไดศ้ ึกษามาจากสถานศึกษามาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์
ในร้านคา้ การดาเนินการสอน ทาบญั ชี รูปแบบการลงบญั ชีที่เหมาะสมตอ้ งประกอบด้วยสร้าง
เอกสาร แบบฟอร์มจาเป็ นตอ้ งใช้รูปแบบและการถ่ายทอดความรู้รูปแบบการศึกษาเชิงคุณภาพมี
ข้นั ตอนการศึกษาคือการเตรียมการเรื่องรูปแบบการลงบญั ชีท่ีเหมาะสม



กติ ติกรรมประกาศ

โครงงาน การให้ความรู้เกี่ยวกับการทาบญั ชีรายรับ - รายจ่าย เร่ืองสอนทาบัญชี
รายรับ - รายจ่ายใหก้ ิจการร้านอาหารตามส่ังครัวคุณเจน คณะผูจ้ ดั ทาโครงงานขอขอบพระคุณ
คุณครูอรวลญั ช์ น้อยสมวงษ์ ท่ีกรุณาให้ความเมตตาให้คาปรึกษาโครงงานดูแลให้คาแนะนา
เสนอแนะแนวทาง ตรวจแกไ้ ขขอ้ บกพร่องและใหก้ าลงั ใจแก่คณะผจู้ ดั ทา

ขอขอบพระคุณร้านอาหารตามส่ังครัวคุณเจน กลุ่มตวั อยา่ งร้านนางสาวพิมพณ์ ัฐชา ศิลลา
ท่ีใหค้ วามร่วมมือในการเรียน การสอนทาบญั ชีของกิจการร้านอาหารตามสั่งทาให้โครงงานคร้ังน้ี
ประสบความสาเร็จลุล่วงดว้ ยดี

หวงั เป็ นอย่างยิ่งว่า โครงงานการให้ความรู้เกี่ยวกับการทาบัญชีรายรับ - รายจ่าย
เร่ืองสอนทาบญั ชีรายรัย - รายจ่าย ท่ีจดั ทาข้ึนน้ีจะเป็ นประโยชน์แก่ผทู้ ่ีสนใจท่ีจะนาไปศึกษาต่อ
ในประเด็นที่ไดเ้ สนอแนะไวใ้ นโครงงานฉบบั น้ี หรือเป็ นแนวทางในการออกไปสอนให้กิจการ
ร้านคา้ ที่เก่ียวขอ้ งใหบ้ รรลุผลอยา่ งมีประสิทธิภาพตอ่ ไป

นภาภรณ์ ทรัพยส์ มบตั ิ
ลภสั รดา สุดแสงพนั ธ์



สารบัญ

บทคดั ยอ่ หน้า
กิตติกรรมประกาศ ก
สารบญั ข
สารบญั ตาราง ค
สารบญั ภาพ จ

บทท่ี 1
บทนา 1
1.1 ท่ีมาและความสาคญั ของปัญหา 2
1.2 วตั ถุประสงคข์ องโครงงาน 2
1.3 ขอบเขตของการศึกษา 2
1.4 ประโยชน์ที่คาดวา่ จะไดร้ ับ 3
1.5 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ

บทที่ 2 4
เอกสารและงานวจิ ยั ที่เกี่ยวขอ้ ง 10
2.1 หลกั การ แนวคิด เก่ียวกบั ตน้ ทุน 13
2.2 ความรู้เก่ียวกบั คา่ ใชจ้ ่ายในครัวเรือน 14
2.3 สภาพทวั่ ไปของชุมชน40/4 หมูท่ ี่ 1ตาบลงิ้วราย อาเภอตะพานหิน จงั หวดั พจิ ิตร
2.4 งานวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ้ ง 16
16
บทที่ 3 17
วธิ ีการดาเนินงาน 18
3.1 กลุ่มเป้าหมายที่ใชใ้ นการศึกษา
3.2 เครื่องมือท่ีใชใ้ นการศึกษา
3.3 วธิ ีดาเนินการศึกษา
3.4 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล



สารบญั (ต่อ)

บทที่ 4 หน้า
ผลการดาเนินงาน
4.1 ขอ้ มูลสภาพทว่ั ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม 19
4.2 สรุปผลการวเิ คราะห์สอบถามร้านคา้ กลุ่มตวั อยา่ ง 22

บทที่ 5 26
สรุป อภิปรายผล ขอ้ เสนอแนะ 27
5.1 อภิปรายผลการดาเนินงาน 27
5.2 ปัญหาและอุปสรรคท่ีเกิดข้ึน 28
5.3 ขอ้ เสนอแนะ
30
บรรณานุกรม 33
35
ภาคผนวก 37
39
ภาคผนวก ก เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการศึกษาแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกบั 41
การทาบญั ชีรายรับ - รายจา่ ย ครัวคุณเจน 44
65
ภาคผนวก ข แสดงภาพสถานท่ีดาเนินงาน 72
ภาคผนวก ค แสดงภาพสอนนางสาวพิมพณ์ ฐั ชา ศิลลา ทาบญั ชีรายรับ - รายจา่ ย 77
ภาคผนวก ง แสดงภาพตรวจสอบบญั ชีรายรับ - รายจา่ ย
ภาคผนวก จ แสดงภาพเกบ็ ขอ้ มูลแบบสอบถามความพึงพอใจ
ภาคผนวก ฉ ภาพพบครูท่ีปรึกษาและครูสอนวชิ าโครงงาน
ภาคผนวก ช แสดงตารางบญั ชีรายรับ - รายจา่ ย 2 เดือน
ภาคผนวก ซ แสดงบญั ชี รายรับ - รายจ่าย
ภาคผนวก ฌ แบบเสนอขออนุมตั ิโครงงาน

ประวตั ิผจู้ ดั ทาโครงงาน



สารบญั ตาราง หน้า

ตารางที่ 20
20
4.1.1 แสดงจานวนและคา่ ร้อยละของสถานะภาพทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม 20
4.1.2 แสดงจานวนและคา่ ร้อยละของอายผุ ตู้ อบแบบสอบถาม 21
4.1.3 แสดงจานวนและค่าร้อยละของสถานะภาพทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม 22
4.1.4 แสดงคา่ เฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนแบบมาตรฐานความคิดเห็นของคุณเจน 24
4.1.5 แสดงขอ้ มูลสินทรัพยแ์ ละค่าเส่ือมอุปกรณ์ 24
แสดงกราฟสรุป เดือนมิถุนายน 25
แสดงกราฟสรุป เดือนกรกฎาคม 44
แสดงกราฟสรุป เปรียบเทียบระหวา่ งเดือนมิถุนายนกบั เดือนกรกฎาคม
แสดงตารางบญั ชีรายรับ - รายจ่าย 2 เดือน



สารบัญภาพ หน้า

ภาพที่ 32
34
1. ภาพการส่งแบบสอบถามออนไลน์ใหผ้ ตู้ อบแบบสอบถาม 36
2. ภาพสถานท่ีดาเนินงาน 38
3. ภาพสอนนางสาวพิมพณ์ ฐั ชา ศิลลา ทาบญั ชีรายรับ – รายจา่ ย 40
4. ภาพตรวจสอบบญั ชีรายรับ – รายจ่าย 42
5. ภาพเก็บขอ้ มูลแบบสอบถามความพงึ พอใจ 77
6. ภาพพบครูที่ปรึกษาและครูผสู้ อนวชิ าโครงงาน
7. ภาพประวตั ิผจู้ ดั ทาโครงงาน



บทที่ 1

บทนา

1.1 ทม่ี าและความสาคัญของปัญหา

จากสภาวะสังคมปัจจุบนั ที่เตม็ ไปดว้ ยกระแสวตั ถุนิยมและความฟ่ ุมเฟื อย จนทาใหค้ นไทย
หลงผิดไปตามกระแสนิยมจนกลายเป็ นปัญหา โดยเฉพาะปัญหาหน้ีสินที่ไม่มีวนั จบสิ้น ซ่ึงการ
ดารงชีวิตให้อยู่รอดภายใตส้ ังคมในปัจจุบนั เป็ นอีกแนวทางหน่ึงท่ีประชาชนไทยควรยึดถือการ
พ่ึงพาตนเองรู้จกั ความพอประมาณและไม่ประมาทตามหลกั “เศรษฐกิจพอเพียง” รู้จกั พอมี พอกิน
พอใช้ คานึกถึงหลกั เหตุผลและการประมาณตนเอง ในองคป์ ระกอบของเศรษฐกิจพอเพียงโดยอยู่
ภายใต้ 2 เง่ือนไข คือ ความรู้ในการจดั ทาบญั ชีครัวเรือน การวเิ คราะห์รายไดแ้ ละค่าใชจ้ ่ายต่าง ๆ
และคุณธรรม คือการดาเนินชีวิตดว้ ยความขยนั และพอประมาณกบั ตนเองอยอู่ ยา่ งพอกินพอใชไ้ ม่
เดือดร้อนผูอ้ ่ืน เป็ นการยึดทางสายกลาง จึงถือวา่ บญั ชีครัวเรือนเป็ นเครื่องมืออย่างหน่ึงที่ไม่ควร
มองขา้ มและถูกนามาใช้ในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทางดา้ นเศรษฐกิจและการเงินที่เกิดข้ึนน้นั
บางคนอาจจะคิดวา่ เป็ นเพียงปัญหาที่เล็กนอ้ ย แต่ในปัจจุบนั ปัญหาดา้ นทางการเงินที่ไม่มีระเบียบ
แบบแผนน้นั ไดก้ ลายเป็ นปัญหาท่ีเกิดข้ึนอย่างแพร่หลายธุรกิจขนาดใหญ่ไปจนถึงบุคคลธรรมดา
เพราะการใชเ้ งินและการบริหารอยา่ งไม่มีการวางแผนขนาดการบนั ทึกท่ีช่วยให้ทราบเกี่ยวกบั การ
ใชส้ ถาบนั การเงินต่าง ๆ จึงเกิดข้ึน แต่ปัจจุบนั น้นั ก็เกิดข้ึนมากธุรกิจขนาดเล็ก - ใหญ่ และบุคคลทว่ั ไป
เช่นกนั

ปัจจุบนั คนไทยไม่ค่อยให้ความสนใจการทาบญั ชีรายรับ - รายจ่ายครัวเรือน เน่ืองจากยงั
ไม่เขา้ ใจความหมายของการบญั ชีครัวเรือนอยา่ งถ่องแท้ และมีบทบาทสาคญั เฉพาะครอบครัวท่ีมี
หวั หนา้ ครอบครัวหรือคนใดคนหน่ึงเป็ นผทู้ าหนา้ ท่ีบนั ทึกบญั ชีเท่าน้นั ผูท้ ี่ไม่มีหนา้ ที่และสนใจท่ี
จะเรียนรู้เพื่อช่วยเหลือหรือพ่ึงพาตนเอง ความเขา้ ใจถึงความสาคญั และประโยชน์ของบัญชี
ครัวเรือนใหม้ ากข้ึน มาประกอบการวางแผนการตดั สินใจเพื่อใหเ้ กิดประสิทธิภาพสูงสุดการดาเนิน
กิจการว่าได้กาไรหรือขาดทุนเพียงใดจากการลงบนั ทึกสอบถาม ขอ้ มูลกบั ทางร้านครัวคุณเจน
อาหารตามส่ัง บา้ นเลขที่40/4 หมู่.1 ต.งิ้วราย อ.ตะพานหิน จ.พิจิตร ไดท้ ราบขอ้ มูลจากทางร้าน
วา่ ไม่ไดม้ ีการทาบญั ชีรายรับ - รายจ่าย เนื่องจากไม่มีความรู้ทางดา้ นบญั ชี จึงไม่สามารถทราบ
ขอ้ มูลเก่ียวกบั รายไดท้ ่ีแทจ้ ริงในแต่ละวนั

2

จากขอ้ ความขา้ งตน้ น้นั กลุ่มของขา้ พเจา้ จึงมีแนวคิดจดั ทาโครงงานบริการความรู้การทา
บญั ชีรายรับ - รายจ่าย ให้แก่เจา้ ของร้านอาหารครัวคุณเจนอาหารตามส่ัง เพื่อให้คานวณตน้ ทุน
กาไรขาดทุนในแต่ละวนั ซ่ึงจะทาให้เห็นภาพรวมว่ามีรายรับ - รายจ่ายเท่าใด และนาไปใช้ใน
ตารางแผนการใชจ้ า่ ยเงินท่ีเหมาะสม

1.2 วตั ถุประสงค์ของโครงงาน

1.2.1 เพอ่ื บริการความรู้เก่ียวกบั การทาบญั ชีรายรับ - รายจ่าย
2.2.2 เพื่อศึกษารายรับ - รายจ่าย
2.2.3 เพ่อื ช่วยในการวางแผนกาไร และควบคุมค่าใชจ้ ่ายของร้าน

1.3 ขอบเขตของการศึกษา

1.3.1 ดา้ นตวั แปร

-
1.3.2 ดา้ นเน้ือหา

การศึกษาคร้ังน้ีเป็ นการศึกษารายรับ - รายจ่ายในการทาบญั ชีร้านครัวคุณเจนอาหาร
ตามสง่ั เพื่อใหท้ ราบปัญหาท่ีเกิดข้ึนระหวา่ งการทาบญั ชีรายรับ - รายจา่ ย ผศู้ ึกษาไดท้ าสารวจ
ดงั น้ี

1) ศึกษาข้นั ตอนการทาร้านอาหารครัวคุณเจน
2) จดั ทาบญั ชีใหก้ บั ร้านอาหารครัวคุณเจน เพื่อใหท้ ราบแหล่งท่ีมาของ
รายได้ - ค่าใชจ้ ่าย และผลกาไรขาดทุน
1.3.3 ดา้ นเวลา
มิถุนายน - ตุลาคม 2564

1.4 ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รับจากการศึกษา

1.4.1 สามารถบริการความรู้เก่ียวกบั การทาบญั ชีรายรับ - รายจ่าย
1.4.2 สามารถศึกษารายรับและรายจา่ ยในแต่ละวนั
1.4.3 สามารถช่วยในการวางแผนกาไร และควบคุมคา่ ใชจ้ า่ ยของร้าน

3

1.5 นิยมศัพท์เฉพาะ

การบญั ชี หมายถึง การจดบนั ทึกรายการคา้ ตา่ งๆท่ีเกี่ยวกบั รายรับ-รายจา่ ย สามารถ
แสดงผลการดาเนินงานและฐานะการการเงินของกิจการในระยะเวลาหน่ึงได้

กาไร หมายถึง ผลที่ไดเ้ กินตน้ ทุน
ขาดทุน หมายถึง ทุนหมดไป , ไดไ้ ม่ครบทุน
คงเหลือ หมายถึง มีเหลืออยู่ , คงเหลือ
รายรับ หมายถึง รายไดห้ รือผลประโยชนท์ ่ีไดร้ ับเขา้ มา
รายจา่ ย หมายถึง รายการจา่ ย เช่น เดือนน้ีจา่ ยสูงกวา่ เดือนที่แลว้ , คู่กบั รายรับ

บทท่ี 2

เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กย่ี วข้อง

การศึกษาใหก้ ารบริการความรู้การจดั ทาบญั ชีรายรับ – รายจ่ายสู่ผจู้ าหน่ายอาหารตามส่ัง
ร้านอาหารครัวคุณเจนผูจ้ ดั ทาได้รวบรวมแนวคิดทฤษฎีและหลกั การต่าง ๆ จากเอกสารและ
งานวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ้ งดงั ตอ่ ไปน้ี

2.1 หลกั การ แนวคิด เกี่ยวกบั ตน้ ทุน
2.2 ความรู้เกี่ยวกบั ค่าใชจ้ ่ายในครัวเรือน
2.3 สภาพทว่ั ไปของชุมชน 40/4 หมู1่ ตาบลงิ้วราย อาเภอตะพานหิน จงั หวดั พิจิตร
2.4 งานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง

2.1 หลกั การ แนวคดิ เกย่ี วกบั ต้นทุน

ตน้ ทุน (Cost) หมายถึง ค่าใชจ้ า่ ยท่ีเกิดข้ึนในการดาเนินการผลิตสินคา้ หรือบริการหรือถา้
พดู กนั แบบภาษาชาวบา้ น ตน้ ทุนคือ จานวนเงินท่ีไดจ้ ่ายไปในการซ้ือสินคา้ ขา้ วของวตั ถุดิบต่าง ๆ
นานาจิปาถะ เพื่อนามาผลิตหรือขายสินคา้ เพื่อให้ก่อให้เกิดรายไดค้ ือยอดขายอีกที โดยเริ่มต้งั แต่
ข้นั ตอนการออกแบบผลิตภณั ฑ์ การผลิต การทดสอบ การจดั เก็บ และการขนส่ง

ตน้ ทุนการผลิต คือ ตน้ ทุนที่ทาใหไ้ ดส้ ินคา้ สาเร็จรูปใด ๆ ประกอบดว้ ย วตั ถุดิบทางตรงท่ี
เบิกใชใ้ นการผลิต แรงงานทางตรงท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั กระบวนการผลิตและค่าใชจ้ ่ายในการผลิตเม่ือท้งั
3 ส่วนประกอบ ไดเ้ ขา้ สู่ข้นั ตอนตา่ ง ๆ ของการผลิตก็จะถูกแปรสภาพเป็นสินคา้ สาเร็จรูป

การจาแนกประเภทของตน้ ทุนออกเป็น 7 ประเภท ไดแ้ ก่
2.1.1 การจาแนกตน้ ทุนตามลกั ษณะส่วนประกอบของผลิตภณั ฑ์
2.1.2 การจาแนกตน้ ทุนตามความสัมพนั ธ์กบั ระดบั ของกิจกรรม
2.1.3 การจาแนกตน้ ทุนตามหนา้ ท่ีงานหรือตามแผนกท่ีเกิดตน้ ทุน
2.1.4 การจาแนกตน้ ทุนตามงวดบญั ชีจากช่วงเวลาท่ีทากาไร
2.1.5 การจาแนกตามระยะเวลา
2.1.6 การจาแนกตน้ ทุนตามลกั ษณะการวเิ คราะห์ปัญหาเพ่ือการตดั สินใจ
2.1.7 การจาแนกตน้ ทุนตามลกั ษณะของความรับผดิ ชอบ

5

ซ่ึงมีรายละเอียดของการจาแนกตน้ ทุนแตล่ ะประเภท ดงั น้ี

2.1.1 การจาแนกตน้ ทุนตามส่วนประกอบของผลิตภณั ฑ์
การจาแนกตน้ ทุนและความสาคญั และลกั ษณะของตน้ ทุนการผลิตน้นั จะมีลกั ษณะ

ที่คลา้ ยคลึงกบั การจาแนกตน้ ทุนตามส่วนประกอบของการผลิต ซ่ึงวตั ถุประสงคข์ องการจาแนก
ตน้ ทุนในลกั ษณะน้ี กเ็ พอื่ ใชใ้ นการวางแผนและควบคุมมากกวา่ ที่จะจาแนกเพ่ือการคานวณตน้ ทุน
ของสินคา้ และบริการการจาแนกตน้ ทุนตามความสาคญั และลกั ษณะของตน้ ทุนการผลิตเราสามารถ
จาแนกได้ 3 ลกั ษณะ คือ

1) วตั ถุดิบทางตรง (Direct materials) หมายถึง วตั ถุดิบหลกั ที่ใชใ้ นการผลิต
และสามารถระบุไดอ้ ย่างชดั เจนว่าใช้ในการผลิตสินคา้ ชนิดใดชนิดหน่ึงในปริมาณและต้นทุน
เท่าใด รวมท้งั จดั เป็ นวตั ถุดิบส่วนใหญ่ที่ใชใ้ นการผลิตสินคา้ ชนิดน้ัน ๆ เช่น ไมแ้ ปรรูปจดั เป็ น
วตั ถุดิบทางตรงของการผลิตเฟอร์นิเจอร์ ผา้ ท่ีใชใ้ นอุตสาหกรรมเส้ือผา้ ยางดิบท่ีใชใ้ นการผลิต
ยางรถยนต์ แร่เหล็กท่ีใชใ้ นอุตสาหกรรมถลุงเหลก็ กระดาษท่ีใชใ้ นธุรกิจส่ิงพมิ พ์ เป็นตน้

2) ค่าแรงงานทางตรง (Direct labor) หมายถึง ค่าแรงงานต่าง ๆ ที่จ่ายให้แก่
คนงานหรือลูกจา้ งที่ทาหนา้ ที่เก่ียวกบั การผลิตสินคา้ สาเร็จรูปโดยตรง รวมท้งั เป็ นค่าแรงงานท่ีมี
จานวนมากเม่ือเทียบกบั ค่าแรงงานทางออ้ มในการผลิตสินคา้ หน่วยหน่ึง ๆ และจดั เป็ นค่าแรงงาน
ส่วนสาคญั ในการแปรรูปวตั ถุดิบใหเ้ ป็ นสินคา้ สาเร็จรูป เช่น คนงานที่ทางานเกี่ยวกบั การควบคุม
เคร่ืองจกั รที่ใชใ้ นการผลิตก็ควรถือเป็นแรงงานทางตรง พนกั งานในสายการประกอบ เป็นตน้

3) ค่าใช้จ่ายการผลิต (Manufacturing Overhead) หมายถึง แหล่งรวบรวม
ค่าใชจ้ ่ายต่าง ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การผลิตสินคา้ ซ่ึงนอกเหนือจากวตั ถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง
เช่น วตั ถุดิบทางออ้ ม ค่าแรงงานทางออ้ ม คา่ ใชจ้ า่ ยในการผลิตทางออ้ มอื่น ๆ ไดแ้ ก่ ค่าน้า ค่าไฟ
คา่ เช่า ค่าเส่ือมราคา ค่าประกนั ภยั ค่าภาษี เป็ นตน้ แต่อยา่ งไรก็ตามค่าใชจ้ ่ายเหล่าน้ีก็จะตอ้ งเป็ น
ค่าใช้จ่ายท่ีเก่ียวกับการดาเนินการผลิตในโรงงานเท่าน้ัน ไม่รวมถึงเงินเดือน ค่าเช่า ค่าไฟฟ้า
ค่าเส่ือมราคา ที่เกิดข้ึนจากการดาเนินงานในสานกั งาน ดงั น้นั ค่าใชจ้ ่ายการผลิตจึงถือเป็ นท่ีรวม
ของคา่ ใชจ้ า่ ยในการผลิตทางออ้ มตา่ ง ๆ (Cost pool of indirect manufacturing costs) นอกจากน้ี
ยงั จะพบวา่ ในบางกรณีกม็ ีการเรียกคา่ ใชจ้ ่ายการผลิต ในช่ืออื่น ๆ เช่น ค่าใชจ้ ่ายโรงงาน (Factory
Overhead) โสหุ้ยการผลิต (Manufacturing Burden) ตน้ ทุนผลิตทางออ้ ม (Indirect Costs)
เป็ นตน้

6

2.1.2 การจาแนกตน้ ทุนตามความสมั พนั ธ์กบั ระดบั กิจกรรม
เป็ นการวิเคราะห์พฤติกรรมตน้ ทุนวา่ ผนั แปรตามปริมาณกิจกรรมท่ีปรับสูงข้ึนหรือ

ลดลงหรือไม่ เช่น หน่วยสินคา้ ที่ผลิต จานวนชวั่ โมงเคร่ืองจกั ร เป็ นตน้ ซ่ึงสามารถจาแนกตน้ ทุน
ประเภทน้ีไดเ้ ป็น 3 ประเภท ไดแ้ ก่

1) ตน้ ทุนผนั แปร (Variable Costs) หมายถึง เปล่ียนแปลงไปตามสัดส่วนของ
ระดบั กิจกรรม กิจกรรมท่ีวา่ น้ีกห็ มายถึงการผลิต การบริการ หรืออะไรก็ตามที่ธุรกิจน้นั ทาเพื่อหา
รายได้ ยกตวั อยา่ งเช่น ธุรกิจน้าด่ืม ตน้ ทุนผนั แปรท่ีเห็นไดช้ ดั คือตน้ ทุนค่าขวด ฉลาก และน้าดื่ม
ท่ีบรรจุอยขู่ า้ งใน ถา้ ผลิตมาก ตน้ ทุนดงั กล่าวก็จะเพ่ิมสูง

2) ต้นทุนคงที่ (Fixed Costs) หมายถึง เป็ นตน้ ทุนซ่ึงจานวนรวมจะไม่
เปล่ียนแปลงไปกบั การเปลี่ยนแปลงของปริมาณการผลิตภายในช่วงท่ีพิจารณา หรือไม่วา่ ปริมาณ
กิจกรรมจะเพ่ิมข้ึนหรือลดลง ตน้ ทุนคงที่รวมจะไม่เปล่ียนแปลง เช่น เงินเดือนผูค้ วบคุมตรวจตรา
โรงงาน ค่าเส่ือมราคาเคร่ืองจกั ร ค่าประกนั ภยั โรงงานเครื่องจกั ร ภาษีและค่าเช่า ต้นทุนก่ึง
ผนั แปร คือ ตน้ ทุนที่มีลกั ษณะผสมท้งั ที่เป็ นตน้ ทุนคงที่และตน้ ทุนผนั แปร นนั่ คือ จานวนรวม
ของต้นทุนจะเปลี่ยนแปลงตามปริมาณของกิจกรรม แต่ไม่ไดแ้ ปรไปในอตั ราส่วนโดยตรงกบั
ปริมาณกิจกรรม เช่น ค่าโทรศพั ท์ ค่าเบ้ียประกนั ภยั ค่ากาลงั ไฟ ค่าตรวจสอบคุณภาพสินคา้
เป็ นตน้ ตน้ ทุนแผนกผลิต แผนกผลิตเป็ นแผนกท่ีทาการแปรสภาพวตั ถุดิบใหเ้ ป็ นสินคา้ สาเร็จรูป
โดยใช้แรงงานคนหรือเคร่ืองจกั ร ตน้ ทุนของแผนกผลิตจะถือเป็ นตน้ ทุนของผลิตภณั ฑ์เพราะ
เกี่ยวขอ้ งกบั การผลิตโดยตรง เช่น แผนกตดั แผนกประกอบ แผนกตกแตง่ เป็นตน้

3) ตน้ ทุนก่ึงผนั แปร (Semi variable cost) หมายถึง ตน้ ทุนที่จะมีตน้ ทุนส่วน
หน่ึงคงที่ทุกระดบั ของกิจกรรม และมีตน้ ทุนอีกส่วนหน่ึงจะผนั แปรไปตามระดบั ของกิจกรรม
เช่น ค่าโทรศพั ท์ ค่าโทรสาร เป็ นตน้ อย่างไรก็ตาม ในบางคร้ังก็เป็ นการยากท่ีจะระบุได้ว่า
ตน้ ทุนส่วนใดเป็ นตน้ ทุนผนั แปร ดงั น้นั จึงจาเป็ นตอ้ งใช้เทคนิคในการประมาณตน้ ทุนเขา้ มาช่วย
ในการวเิ คราะห์ ซ่ึงเทคนิคในการประมาณตน้ ทุนจะไดศ้ ึกษาต่อไปในส่วนของการบญั ชีตน้ ทุนที่
เกี่ยวกบั การใชข้ อ้ มูลเพ่อื การตดั สินใจ

2.1.3 การจาแนกตน้ ทุนตามหนา้ ท่ีงานหรือตามแผนกท่ีเกิดตน้ ทุน
การจาแนกตน้ ทุนตามหนา้ ท่ีงานหรือตามที่เกิดตน้ ทุน เป็ นการจาแนกโดยพิจารณา

ตน้ ทุนท่ีเกิดข้ึนจากการดาเนินงานหรือปฏิบตั ิงานของหน้าที่งานฝ่ ายต่าง ๆ ของแต่ละแผนกที่ทา
ตามงานที่ได้รับมอบหมาย จึงแบ่งตน้ ทุนส่วนประกอบท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ตน้ ทุนการผลิตสินคา้ กับ
ตน้ ทุนที่ไมเ่ กี่ยวขอ้ งกบั การผลิต

7

1) ตน้ ทุนการผลิต (production cost) ตน้ ทุนท่ีเก่ียวกบั การผลิตสินคา้ เพื่อแปร
สภาพวตั ถุดิบใหเ้ ป็นสินคา้ สาเร็จรูปออกมาเพ่อื จาหน่ายซ่ึงกค็ ือตน้ ทุนค่าใชจ้ ่ายในการผลิต ซ่ึงผา่ น
กระบวนการผลิตเพื่อเป็นสินคา้ สาเร็จรูป หรือตน้ ทุนการผลิตนนั่ เอง

2) ตน้ ทุนเก่ียวกบั การตลาด (Marketing costs) หมายถึง ตน้ ทุนท่ีใชส้ ่งเสริมการ
ขาย , การบริการลูกคา้ เช่น ค่าน้ามนั ของพนกั งานขาย , ค่าโทรศพั ทข์ องพนกั งานขาย , ค่าจา้ ง
ทาโบชวั ร์ , ค่าโปรโมทสินคา้ ทางสื่อต่าง ๆ ซ่ึงสรุปได้ กิจกรรมต่าง ๆ ที่เก่ียวขอ้ งกบั การขาย ,
การบริการลูกคา้ นบั เป็นตน้ ทุนทางการตลาด เพราะเป็นกิจกรรมที่สนบั สนุนใหเ้ กิดการซ้ือ - ขาย
เกิดข้ึน

3) ตน้ ทุนเกี่ยวกบั การบริหาร (Administrative costs) หมายถึง พวกธุรกิจ
โรงแรม พนกั งาน call center ลว้ นแลว้ แตว่ า่ เป็นตน้ ทุนท้งั น้นั ตน้ ทุนพวกน้ีจะถูกนาไปใชใ้ นการ
บริการเป็นหลกั ลกั ษณะของตน้ ทุนจะไม่แปรผนั ตามการผลิต

4) ตน้ ทุนทางการเงิน (Financial costs) หมายถึง ค่าใชจ้ ่ายหรือตน้ ทุนท่ีเกิดข้ึน
จากการก่อหน้ีสินของกิจการ เช่น ดอกเบ้ียเงินกู้ ค่าธรรมเนียมธนาคารท่ีเกิดจากการกู้ยืมเงิน
ดอกเบ้ียท่ีเกิดจากสญั ญาเช่าการเงิน เป็นตน้

2.1.4 การจาแนกตน้ ทุนตามงวดบญั ชีจากช่วงเวลาที่ทากาไร
การจาแนกต้นทุนตามงวดบัญชีจากช่วงเวลาที่ทากาไร เป็ นการวัดผลการ

ดาเนินงานสาหรับงวดบญั ชีหน่ึง โดยเปรียบเทียบรายไดค้ ่าใชจ้ ่ายของงวดบญั ชีเดียวกนั จึงตอ้ งมี
การพิจารณาวา่ ตน้ ทุนจานวนใดไดป้ ระโยชน์ และหากหมดประโยชน์ตอ้ งตดั เป็ นค่าใชจ้ ่ายประจา
งวดแต่หากจานวนใดยงั ไม่หมดประโยชน์ถือเป็ นสินทรัพย์ยกไปงวดหน้า จาแนกเป็ นต้นทุน
ผลิตภณั ฑแ์ ละตน้ ทุนตามงวดเวลา

1) ตน้ ทุนผลิตภณั ฑ์ (Product Cost) หมายถึง ตน้ ทุนท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การผลิต
ผลิตภณั ฑ์โดยตรง เป็ นตน้ ทุนที่ก่อประโยชน์ในอนาคต ไดแ้ ก่ วตั ถุดิบทางตรง ค่าแรงทางตรง
และค่าใช้จ่ายในการผลิต โดยเรียกชื่อตามสถานะของผลิตภณั ฑ์ ถา้ ผลิตภณั ฑ์ท่ีผลิตเสร็จแต่ยงั
ไม่ขาย เรียกวา่ สินคา้ สาเร็จรูปคงเหลือ และผลิตภณั ฑ์ที่ผลิตไม่เสร็จ เรียกวา่ สินคา้ ระหวา่ งผลิต
หรืองานระหวา่ งทา

2) ตน้ ทุนตามงวดเวลา (Period Costs) หมายถึง ตน้ ทุนที่ไม่เก่ียวขอ้ งกบั การ
ผลิตเป็นตน้ ทุนหรือค่าใชจ้ ่ายท่ีมิไดเ้ กิดข้ึน โดยตรงทางการผลิตสินคา้ เป็ นตน้ ทุนที่ใชแ้ ลว้ หมดไป
ในแต่ละงวด ต้นทุนส่วนน้ีจะถือเป็ นค่าใช้จ่ายเพ่ือนาไปหักออกจากรายได้กาไรสุทธิ เช่น
เงินเดือน พนกั งาน โฆษณา ค่านายหนา้ คา่ ขนส่งสินคา้ และค่าเสื่อมราคา เป็นตน้

8

2.1.5 การจาแนกตน้ ทุนตามระยะเวลา
1) ตน้ ทุนในอดีต (Historical cost) ตน้ ทุนที่กิจการไดจ้ า่ ยไปจริงตามหลกั ฐานอนั

เท่ียงธรรมท่ีปรากฏ จานวนเงินที่กิจการไดจ้ ่ายไปน้นั จึงถือเป็ นมูลค่าหรือตน้ ทุนของสินคา้ หรือ
สินทรัพยข์ องกิจการในอดีต แต่ตน้ ทุนในอดีตน้ีอาจจะไม่มีความเหมาะสมในการนามาใชเ้ พื่อการ
ตดั สินใจของฝ่ ายการบริหารในการบริการในปัจจุบนั ท้งั น้ีเพราะค่าของเงินในอดีตและในปัจจุบนั
ยอ่ มมีความแตกต่างอนั เนื่องมาจากภาวะเงินเฟ้อ และความเจริญทางดา้ นเศรษฐกิจ

2) ตน้ ทุนทดแทน (Replacement costs) หมายถึง มูลค่าหรือราคาตลาดปัจจุบนั
ของสินทรัพยป์ ระเภทเดียวกนั กบั ท่ีกิจการใชอ้ ยกู่ ล่าวอีกนยั หน่ึงก็คือสินทรัพยท์ ี่กิจการเคยซ้ือมาใน
อดีตที่ตอ้ งการจะซ้ือใหม่ในขณะน้ีท่ีจะตอ้ งจ่ายเงินในจานวนเท่าไร ซ่ึงโดยปกติมูลค่าหรือราคา
ตน้ ทุนทดแทนยอ่ ยมีมูลค่าสูงกวา่ ตน้ ทุนในอดีต ท้งั น้ีอาจจะเป็ นเพราะการเกิดภาวะเงินเฟ้อส่วน
หน่ึงและจากการเปล่ียนแปลงในเทคโนโลยีของสินทรัพย์ เพ่ือให้มีประสิทธิภาพการทางานท่ี
สูงข้ึนส่วนหน่ึง

3) ตน้ ทุนในอนาคต (Future costs) หมายถึง ตน้ ทุน หรือค่าใชจ้ ่ายท่ีกิจการคาด
ว่าจะเกิดข้ึนในอนาคต จากการตดั สินใจเรื่องใดเร่ืองหน่ึงของผูบ้ ริหาร ซ่ึงตน้ ทุนในอนาคตน้นั
อาจจะได้มาจากการประมาณการหรื อการพยากรณ์ก็เป็ นได้ บ่อยคร้ังท่ีตน้ ทุนในอนาคตจะถูก
นามาใช้ในการวางแผน ฉะน้นั การประมาณตน้ ทุนในอนาคตจึงตอ้ งทาดว้ ยความระมดั ระวงั และ
รอบคอบ

2.1.6 การจาแนกตน้ ทุนตามลกั ษณะการวเิ คราะห์ปัญหาเพือ่ ตดั สินใจ
การจาแนกตน้ ทุนโดยวิธีน้ี เป็ นการจาแนกต้นทุนของการวิเคราะห์ต้นทุนตาม

ปัญหาที่เกิดข้ึนเพ่ือการตดั สินใจ ซ่ึงเป็ นหนา้ ท่ีที่สาคญั อนั หน่ึงของผูบ้ ริหาร คือ การตดั สินใจใน
การดาเนินงานของธุรกิจซ่ึงบางคร้ังอาจจะตอ้ งประสบปัญหาต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนท้งั ปัญหาประจาวนั
หรือปัญหาเฉพาะหน้า ผูบ้ ริหารจาเป็ นตอ้ งใช้ขอ้ มูลต้นทุนเป็ นเครื่องมือในการตดั สินใจเลือก
ทางเลือกที่ดีท่ีสุด ทาใหธ้ ุรกิจไดร้ ับประโยชน์สูงสุด ในบางกรณีจะตอ้ งคาดหวงั หรือตอ้ งปรับปรุง
ตน้ ทุนท่ีเกิดข้ึนในอดีตมาปรับแกไ้ ขใหเ้ ขา้ กบั เหตุการณ์ในปัจจุบนั และยงั ตอ้ งพิจารณาตน้ ทุนที่ใช้
ในการตดั สินใจหรือตน้ ทุนที่เกี่ยวขอ้ งกบั ปัญหาหรือทางเลือกท่ีผูบ้ ริหารจาเป็ นตอ้ งพิจารณาเพ่ือ
ตดั สินใจ จาแนกเป็นตน้ ทุนส่วนตา่ ง ตน้ ทุนเสียโอกาส ตน้ ทุนท่ีหลีกเลี่ยงไดแ้ ละตน้ ทุนจม

1) ตน้ ทุนส่วนต่าง หมายถึง ตน้ ทุนที่เกิดจากการเปรียบเทียบตน้ ทุนในแต่ละ
ทางเลือกซ่ึงปกติจะเป็นอยา่ งนอ้ ย 2 ทางเลือก ส่วนแตกต่างท่ีเกิดข้ึนของตน้ ทุนอาจจะเพ่ิมข้ึนซ่ึง
เรียกว่า ตน้ ทุนส่วนต่างที่เพิ่ม (incremental cost) หรือลดลงเรียกว่าตน้ ทุนส่วนต่างที่ลดลง
(decremented cost) จากการเปรียบเทียบเพื่อท่ีจะตดั สินใจเลือกทางเลือกในปัจจุบนั หรืออนาคต ที่

9

มีผลประโยชน์หรือผลตอบแทนท่ีดีกวา่ หรือดีท่ีสุด ตน้ ทุนส่วนที่แตกต่างเป็ นไป
ได้ท้งั ผนั แปรหรือคงท่ี ในเร่ืองการตดั สินใจเลือกทางเลือกใหม่ นอกจากจะดูที่ต้นทุนส่วนท่ี
แตกต่างแลว้ อาจตอ้ งดูรายไดส้ ่วนที่แตกต่างดว้ ยจะเลือกทางเลือกที่มีรายได้ ส่วนเพิ่มที่มากกว่า
ตน้ ทุนส่วนเพ่ิมเพราะจะก่อใหเ้ กิดส่วนต่างของกาไรสุทธิที่เพมิ่ ข้ึน

2) ตน้ ทุนค่าเสียโอกาส หมายถึง รายไดห้ รือประโยชน์ท่ีไม่ไดเ้ กิดจากทางเลือก
ทางเลือกหน่ึง และปฏิเสธทางเลือกอีกทางหน่ึง ทาใหส้ ูญเสียรายไดท้ ี่ควรจะไดท้ ี่ควรจะไดร้ ับจาก
ทางเลือกที่ไม่ไดเ้ ลือก โดยปกติตน้ ทุนค่าเสียโอกาสจะไม่มีการบนั ทึกบญั ชีลงบญั ชีของกิจการ
เพราะมิไดเ้ ป็นตน้ ทุนท่ีเกิดข้ึนจริง แตเ่ ป็นตน้ ทุนที่สมบตั ิข้ึนเพือ่ ใชใ้ นการตดั สินใจ

3) ต้นทุนที่หลีกเลี่ยงได้ หมายถึง ตน้ ทุนที่สามารถหลีกเลี่ยงได้ จากการลด
ระดบั กิจกรรมหรือหยุดกิจกรรม และสามารถประหยดั ได้จากการตดั สินใจเลือกทางเลือกใด
ทางเลือกหน่ึงซ่ึงหากยกเลิกหรือหยุดกิจกรรมใดแลว้ สามารถยกเลิกตน้ ทุนน้นั ได้ และตน้ ทุนจะ
เพม่ิ ข้ึนเมื่อกิจกรรมเพ่ิมข้ึน

4) ตน้ ทุนจม หมายถึง ตน้ ทุนท่ีเกิดข้ึนเนื่องมาจากผลการตดั สินใจอดีต ไม่มีผล
ต่อการตดั สินใจในปัจจุบนั และอนาคตไม่สามารถนามาพิจารณาในการตดั สินใจ ตน้ ทุนจมเป็ น
ตน้ ทุนท่ีเกิดข้ึนแลว้ จะไม่เปลี่ยนแปลงไม่วา่ การตดั สินใจจะเป็ นอยา่ งไร ท้งั ในปัจจุบนั หรืออนาคต
ส่วนใหญ่จะเป็ นการลงทุนในสินทรัพยถ์ าวร เช่น บริษทั ไดต้ ดั สินใจซ้ือเคร่ืองจกั รเมท่อ 5 ปี
ก่อน แต่หลงั จากซ้ือแลว้ ก็มาสามารถเปล่ียนแปลงได้ ค่าเครื่องจกั รที่ซ้ือจะกลายเป็ นตน้ ทุนทนั ที
ถึงแมว้ ่าตน้ ทุนจมจะไม่มีผลต่อการตดั สินใจในปัจจุบนั แต่ควรตดั สินใจเลือกทางที่สามารถใช้
ประโยชน์จากตน้ ทุนไดม้ ากท่ีสุด

2.1.7 การจาแนกตน้ ทุนตามลกั ษณะของความรับผดิ ชอบ
1) ตน้ ทุนที่ควบคุมได้ (Controllable Cost) หมายถึงตน้ ทุนท่ีเกิดข้ึนซ่ึงผจู้ ดั การ

หรือหัวหน้าแผนกหรือศูนย์มีอานาจในการตดั สินใจการเกิดข้ึนของต้นทุนน้ันได้กล่าวถึงคือ
สามารถควบคุมใหเ้ กิดมากหรือเกิดนอ้ ยไดเ้ ช่น วตั ถุดิบ คา่ แรงทางตรง เป็นตน้

2) ตน้ ทุนท่ีควบคุมไม่ได้ (Uncontrollable Cost) หมายถึง ตน้ ทุนท่ีเกิดข้ึนซ่ึง
ผูจ้ ดั การหรือหัวหน้าแผนกหรือศูนย์ไม่มีอานาจควบคุมหรือไม่มีอิทธิพลต่อตน้ ทุนน้ัน ต้นทุน
เหล่าน้ีเป็ นตน้ ทุนที่อยู่ในอานาจการตดั สินใจและสั่งการของผูบ้ ริหารระดบั สูงข้ึนไป หรือเป็ น
ตน้ ทุนท่ีไดร้ ับการปันส่วนมาจากส่วนกลางหรือจากแผนกอ่ืน เช่น แผนกผลิตรับปันส่วนตน้ ทุน
จากแผนกซ่อมบารุง แต่แผนกผลิตไม่สามารถควบคุมประสิทธิภาพการทางานหรือตน้ ทุนท่ีเกิดข้ึน
ท้งั หมดในแผนกซ่อมบารุงได้ ดงั น้นั ตน้ ทุนท่ีไดร้ ับปันส่วนมาจึงเป็นตน้ ทุนท่ีควบคุมไม่ได้

10

2.2 ความรู้เกย่ี วกบั ค่าใช้จ่ายในครัวเรือน

จากสภาวะสังคมในปัจจุบนั ท่ีเต็มไปดว้ ยกระแสวตั ถุนิยม และความฟ่ ุมเฟื อย ฟุ้งเฟ้อ จน
ทาใหค้ นไทยหลงเดินทางผดิ ไปตามกระแสนิยมจนกลายเป็นปัญหา โดยเฉพาะปัญหาหน้ีสินท่ีไม่มี
วนั จบสิ้น อยา่ งไรกต็ ามคนไทยยงั มีทางออก ซ่ึงการจะดารงชีวติ ให้อยรู่ อดภายใตส้ ังคมในปัจจุบนั
แนวทางหน่ึงท่ีประชาชนไทยควรยดึ ถือ คือการพ่ึงตนเอง รู้จกั ความพอประมาณ และไม่ประมาท
ตามแนวปรัชญา “เศรษฐกิจกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวท่ีทรงมองเห็นถึง
ความสาคญั ของการสร้างภูมิคุม้ กนั ให้กบั ตวั เอง รู้จกั ความพอมีพอกิน พอมีพอใช้ คานึงถึงหลกั
เหตุผลและการประมาณตนเอง พร้อมกบั ทรงเตือนสติประชาชนคนไทยไม่ใหป้ ระมาท โดยเฉพาะ
การใชจ้ ่ายเงินอนั เป็นปัจจยั สาคญั ในการดาเนินชีวิต

การทาบญั ชี คือ การจดบนั ทึก ขอ้ มูลเกี่ยวกบั เงื่อนไขปัจจยั ในการดารงชีวิตของตวั เอง
และภายในครอบครัว ชุมชน รวมถึงประเทศ ขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการบนั ทึกจะเป็ นบ่งช้ีอดีตปัจจุบนั
และอนาคตของชีวิตของตวั เอง สามารถนาขอ้ มูลอดีตมาบอกปัจจุบนั และอนาคตได้ขอ้ มูลท่ี
บนั ทึกไว้ จะเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนชีวติ และกิจกรรมตา่ ง ๆ ในชีวติ ในครอบครัว

บญั ชีครัวเรือน มิไดห้ มายถึง การทาบญั ชีหรือบนั ทึกรายรับรายจ่ายประจาวนั เท่าน้นั แต่
อาจหมายถึงการบนั ทึกขอ้ มูลดา้ นอ่ืน ๆ ในชีวิต ในครอบครัว เป็ นตน้ ของเราไดด้ ว้ ย เช่น บญั ชี
ทรัพยส์ ิน พนั ธุ์ไม้ ในบา้ นเราในชุมชนเรา บญั ชีความรู้ความคิดของเรา บญั ชีผูท้ รงคุณผูร้ ู้ใน
ชุมชนเรา บญั ชีเด็กและเยาวชนของเรา บญั ชีภูมิปัญญาดา้ นต่าง ๆ ของเรา เป็ นตน้ หมายความวา่
สิ่งหรือเรื่องราวตา่ ง ๆ ในชีวติ ของเรา เราจดบนั ทึกไดท้ ุกเร่ือง หากประชาชนทุกคนจดบนั ทึกจะมี
ประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชนและประเทศ จะเป็ นแหล่งที่เรียนรู้ ครอบครัวเรียนรู้
ชุมชนเรียนรู้ และประเทศเรียนรู้การเรียนรู้เป็ นท่ีมาของปัญญา ปัญญาเป็ นที่มาของความเจริญท้งั
กาย สังคม ใจ และจิตวิญญาณของมนุษยจ์ ะเห็นว่า การทาบญั ชี หรือการจดบนั ทึกน้ีสาคญั
ยง่ิ ใหญ่มาก บุคคลสาคญั ในประเทศหลายท่านเป็ นตวั อยา่ งที่ดีของการจดบนั ทึก เช่น ท่านพุทธ
ทาส ในหลวง และสมเดจ็ พระเทพ ลว้ นเป็นนกั บนั ทึกท้งั สิ้น การบนั ทึก คือ การเขียน เมื่อมีการ
เขียนยอ่ มมีการคิด เมื่อมีการติดต่อยอ่ มก่อปัญญา แกไ้ ขปัญหาไดโ้ ดยใชเ้ หตุผลวเิ คราะห์พิจารณา
ไดถ้ ูกตอ้ ง นนั่ คือ ทางเจริญของมนุษย์

การทาบญั ชีครัวเรือนในด้านเศรษฐกิจ หรือการบนั ทึกรายรับ - รายจ่ายท่ีทางราชการ
พยายามส่งเสริมให้ประชาชนได้ทากันน้ันเป็ นเรื่องการบันทึกรายรับ - รายจ่ายประจาวนั
ประจาเดือนวา่ มีรายรับจากแหล่งใดบา้ ง จานวนเท่าใด มีรายจ่ายอะไรบา้ ง จานวนเท่าใด ในแต่
ละวนั สัปดาห์ เดือน และ ปี เพ่ือจะได้เห็นภาพร่วมว่า ตนเองและครอบครัวมีรายรับเท่าใด
รายจ่ายเทา่ ใด คงเหลือเท่าใด หรือ เงินไม่พอใชเ้ ท่าใด คือ รายจ่ายมากกวา่ รายรับ และสารวจวา่

11

รายการใดจ่ายนอ้ ยจา่ ยมาก จาเป็นนอ้ ยเป็นมาก จาเป็นนอ้ ย อาจลดลง จา่ ยเฉพาะที่จาเป็ น
มาก เช่น ซ้ือกบั ขา้ ว ซ้ือยา ซ้ือเส้ือผา้ ซ่อมแซมบา้ น การศึกษา เป็ นตน้ ส่วนรายจ่ายที่ไม่จาเป็ น
ให้ลด ละ เลิก เช่น ซ้ือบุหร่ี ซ้ือเหลา้ เล่นการพนนั เป็ นตน้ เม่ือนารายรับ - รายจ่าย มาบวก
ลบกนั แลว้ ขาดดุลเกินดุลไปเท่าใด เมื่อเห็นตวั เลข จะทาใหเ้ ราคิดไดว้ า่ สิ่งไม่จาเป็ นน้นั มีมากหรือ
นอ้ ยสามารถลดไดห้ รือไม่ เลิกไดไ้ หม ถา้ ไม่ลดไมเ่ ลิกจะเกิดอะไรข้ึนกบั ตวั เอง ครอบครัว ชุมชน
และประเทศ หากเราวางแผนการรับการจ่ายเงินของตนเองได้ เท่ากบั ว่า รู้จกั ความเป็ นคนได้
พฒั นาตนเอใหเ้ ป็นคนมีเหตุมีผลเป็ นคนรู้จกั พอประมาณเป็ นคนรักตนเอง รักครอบครัว รักชุมชน
และรักประเทศชาติมากข้ึนจึงเห็นไดว้ ่า การทาบญั ชีครัวเรือน ในเรื่องรายรับ - รายจ่าย ก็คิด
วถิ ีแห่งการเรียนรู้เพ่อื พฒั นาชีวติ ตามปรัชญาชีวติ ที่ถูกตอ้ งเหมาะสม พอดี สอดคลอ้ งถูกตอ้ งตาม
กฎธรรมชาติที่มีท้งั ความเป็นเอกภาพและดุลยภาพอยเู่ สมอ

การทาบญั ชีครัวเรือนเป็ นการจดบนั ทึกรายรับ - รายจ่ายประจาวนั ของครัวเรือน และ
สามารถนาขอ้ มูลมาวางแผนการใชจ้ ่ายเงินในอนาคตไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ทาให้เกิดการออมการใช้
จ่ายเงินอยา่ งประหยดั คุม้ ค่า ไมฟ่ ่ ุมเฟื อย ดงั น้นั การทาบญั ชีครัวเรือนมีความสาคญั ดงั น้ี

2.2.1 ทาให้ตนเองและครอบครัวทราบรายรับ - รายจ่าย หน้ีสิน และเงินคงเหลือในแต่
ละวนั รายรับ หรือ รายได้ คือ เงิน หรือสินทรัพยท์ ่ีวดั มูลค่าได้ ที่ไดร้ ับจากการประกอบอาชีพ
หรือผลตอบแทนท่ีไดร้ ับจากการให้ผอู้ ื่นใชส้ ินทรัพย์ หรือ ผลตอบแทนจากการลงทุนในรูปแบบ
ต่าง ๆ เช่น รายไดจ้ ากค่าจา้ งแรงงาน เงินเดือน ดอกเบ้ียรับจากเงินฝากธนาคาร หรือ จากเงินให้
กูย้ มื รายไดจ้ ากการขายสินคา้ หรือบริการ เป็นตน้ รายจ่าย หรือ ค่าใชจ้ า่ ย คือ เงิน หรือสินทรัพย์
ที่วดั มูลค่าไดท้ ี่จ่ายออกไปเพื่อให้ไดส้ ่ิงตอบแทนกลบั มา ส่ิงตอบแทนอาจเป็ นสินคา้ หรือบริการ
เช่น ค่าอาหาร ค่าน้าค่าไฟฟ้า ค่าสาธารณูปโภค ค่าน้ามนั ค่าหนงั สือตารา เป็ นตน้ หรือรายจ่าย
อาจไม่ได้รับสิ่งตอบแทนคือสินค้าหรือบริการก็ได้ เช่น เงินบริจาคเพื่อการกุศล เงินทาบุญ
ทอดกฐิน ทอดป้าป่ า เป็ นตน้ หน้ีสิน คือ ภาระผูกพนั ที่ชดใชค้ ืนในอนาคต การชดใชอ้ าจจ่าย
เป็ นเงินหรือของมีค่าท่ีครอบครัวหรือตนมีอยู่ หน้ีสินเป็ น เงินหรือส่ิงของที่มีค่าท่ีครอบครัวหรือ
ตนเองไดร้ ับจากบุคคลหรือแหล่งเงินภายนอก เช่น การกูย้ ืมเงินจากเพื่อนบา้ น การกูย้ ืมเงินจาก
กองทุนต่าง ๆ การซ้ือสินคา้ หรือบริการเป็ นเงินเช่ือ การซ้ือสินทรัพยเ์ ป็ นเงินผ่อนชาระ หรือการ
เช่าซ้ือ เป็ นตน้ เงินคงเหลือ คือ เงิน หรือ ทรัพยส์ ินท่ีวดั มูลค่าได้ หลงั จากนารายรับลบด้วย
รายจ่ายแล้วปรากฏรายรับมากกว่ารายจ่ายจะทาให้มีเงินคงเหลือ หรือในหลกั ทางบญั ชีเรียกว่า
กาไร แต่หากหลงั จากนารายรับลบดว้ ยรายจ่ายแลว้ ปรากฏว่ารายจ่ายมากกวา่ รายรับจะทาให้เงิน
คงเหลือติดลบหรือทางบญั ชีเรียกวา่ ขาดทุน นนั่ เอง

12

2.2.2 นาขอ้ มูลการใชจ้ า่ ยเงินภายในครอบครัวมาจดั เรียงลาดบั ความสาคญั ของรายจ่ายและ
วางแผนการใชจ้ ่ายเงิน โดยพิจารณาแต่ละรายการในแต่ละวนั มีรายจ่ายใดที่มีความสาคญั มากและ
รายจ่ายใดไม่จาเป็ นให้ตดั ออก เพื่อให้การใชจ้ ่ายภายในครอบครัวมีพอใช้และเหลือเก็บเพ่ือการ
ออมทรัพยส์ าหรับใชจ้ า่ ยสิ่งท่ีจาเป็ นในอนาคต บญั ชีครัวเรือนถือเป็ นส่วนสาคญั ในการปฏิบตั ิตาม
แนวเศรษฐกิจพอเพียง โดยยดึ หลกั 3 ขอ้ คือ การพอประมาณ ถา้ รู้รายรับ - รายจ่าย ก็จะใชแ้ บบ
พอประมาณ แต่ มีเหตุผล รู้ว่ารายจ่ายใดจาเป็ น และเมื่อเหลือจากใช้จ่ายก็เก็บออม นั่นคือ
ภูมิคุม้ กัน ท่ีเอาไวค้ ุ้มกันตวั เราและครอบครัว บญั ชีครัวเรือนสามารถจดั ได้หมด จึงนับว่ามี
ประโยชน์มาก ข้อควรระวงั ในการจดั ทาบญั ชีครัวเรือน คือ ลืมบนั ทึกบญั ชี ทาให้ขาดความ
ต่อเน่ืองในการบนั ทึก และส่งผลให้ไม่อยากบนั ทึก ผูจ้ ดั ทาเขา้ ใจผิดในรายการบญั ชี ไม่เขา้ ใจ
รายการท่ีเป็นรายรับ จึงไม่ไดบ้ นั ทึกบญั ชี เช่น ลูกส่งเงินมาให้พ่อแม่ใชจ้ ่ายทุกวนั สิ้นเดือนแต่พ่อ
แม่ไม่ไดบ้ นั ทึกบญั ชีรายรับเน่ืองจากเขา้ ใจวา่ เงินท่ีไดร้ ับมาน้นั มิไดเ้ กิดจากการประกอบอาชีพของ
ตนเองหรือ เขา้ ใจผิดรายการหน้ีสินแต่บนั ทึกวา่ เป็ นรายรับ ทาให้มิไดเ้ ก็บเงินไวส้ าหรับจ่ายชาระ
หน้ีในอนาคต เช่น ยืมเงินจากเพ่ือนบา้ นมาใช้จ่ายภายในครอบครัว ถึงแมจ้ ะได้รับเงินมาแต่
รายการดงั กล่าวไมถ่ ือวา่ เป็นรายรับเน่ืองจากตนเองตนเองมีภาระผกู พนั ที่ตอ้ งชดใชอ้ นาคต ซ่ึงอาจ
ชดใช้เงินตน้ พร้อมดอกเบ้ียด้วย จากสาเหตุดงั กล่าวอาจทาให้ครอบครัววางแผนการใช้จ่ายเงิน
ผดิ พลาด ส่วนขอ้ ผดิ พลาดอีกประการหน่ึงคือการเขียนชื่อรายการผิดการบนั ทึกตวั เลขผิดการบวก
หรือการลบจานวนเงินผดิ พลาดเกิดจากการลืมจดบนั ทึกรายการบญั ชี หรือบนั ทึกรายการซ้า ๆ กนั
หลายรายการ ปัญหาดงั กล่าวแกไ้ ขโดยการคานวณจานวนเงินกระทบยอดเงินคงเหลือในบญั ชีกบั
ยอดเงินฝากธนาคารที่ครอบครัวมีอยู่จริง หรือยอดเงินท่ีเก็บไวส้ าหรับใช้จ่ายจริง หากพบว่า
ยอดเงินเหลือในบญั ชีเท่ากบั ยอดเงินคงเหลือในบญั ชีเงินฝากธนาคาร แสดงว่าการจดั ทาบญั ชี
ถูกตอ้ ง แต่หากกระทบยอดแลว้ ยอดเงินท้งั สองไม่เท่ากนั อาจเกิดจากการบนั ทึกบญั ชีผดิ พลาดหรือ
เงินสดของครอบครัวสูญหาย การวางแผนการใชจ้ ่ายเงินให้เหมาะสมระหว่างรายรับและรายจ่าย
ครอบครัวตอ้ งมีรายรับมากกวา่ รายจ่าย หากพบวา่ รายรับนอ้ ยกวา่ รายจา่ ย ตอ้ งหาแนวทางนาเงินมา
ใช้จ่ายให้เพียงพอ โดยอาจต้องกู้ยืมเงินมาใช้จ่าย แต่การกู้ยืมเงินไม่ใช่แนวทางแก้ไขปัญหา
ดงั กล่าวได้ เพียงแต่ช่วยให้การใชจ้ ่ายมีสภาพคล่องชว่ั ขณะเท่าน้นั และในระยะยาวยงั ส่งผลให้
ครอบครัวมีภาระหน้ีสินจานวนท้งั เงินตน้ และดอกเบ้ียซ่ึงจะเพ่ิมจานวนมากข้ึนระยะเวลาท่ียาวนาน
ในการกูย้ ืมเงิน เป็ นปัญหาที่แกไ้ ขไดย้ าก สาหรับการแกไ้ ขปัญหาการขาดสภาพคล่องในการใช้
จา่ ยเงินหรือปัญหารายรับไมเ่ พยี งพอกบั รายจ่ายน้นั มีแนวทางดงั น้ี

13

1) การตัดรายจ่ายที่ไม่จาเป็ นออก เพื่อลดภาระการจ่ายเงินออกจากครอบครัว เช่น
รายจ่ายเก่ียวกบั การพนนั ส่ิงเสพติดของมึนเมา รายจ่ายฟ่ ุมเฟื อย เป็ นตน้ เป็ นการสร้างนิสัยมิให้
ใชจ้ า่ ยฟ่ ุมเฟื อย

2) การลดรายจ่ายท่ีจาเป็นลง เพื่อสร้างนิสัยการประหยดั อดออม การใชท้ รัพยากรท่ีมีอยู่
จากดั อยา่ งคุม้ ค่า เช่น การปลูกผกั ผลไมไ้ วร้ ับประทานเอง เพื่อช่วยลดค่าอาหาร และค่าเดินทาง
ไปตลาด อีกท้งั ทาให้สุขภาพดีอีกดว้ ย ลดการใช้น้ามนั เช้ือเพลิงแลว้ หนั มาออกกาลงั กายโดยการ
การปั่นจกั รยาน หรือ การเดิน การวา่ งแทนการขบั จกั รยานยนต์ หรือรถยนต์ เป็นตน้

3) การเพิ่มรายรับ หารายไดเ้ สริมนอกเวลาทางานปกติ เช่นการใชเ้ วลาวา่ งรับจา้ งตดั เยบ็
เส้ือผา้ การขายอาหารหลงั เลิกงาน การปลูกผกั หรือเล้ียงสตั วไ์ วข้ าย เป็นตน้

4) การทาความเขา้ ใจกนั ภายในครอบครัวเพื่อใหท้ ุกคนร่วมมือกนั ประหยดั รู้จกั ออมการ
ใชท้ รัพยากรต่าง ๆ ลด ละ เลิก รายจ่ายหรือส่ิงที่ไม่จาเป็ น และช่วยกนั สร้างรายรับให้เพียงพอ
เหมาะสมกบั เศรษฐกิจปัจจุบนั

2.3 สภาพทว่ั ไปของชุมชน หมู่ท1่ี ตาบลงวิ้ ราย อาเภอตะพานหิน จังหวดั พจิ ิตร

ตาบลงิ้วราย และ ตาบลไทรโรงโขน มีพ้ืนท่ีท้งั หมดประมาณ 32,437.5 ไร่ หรือ 51.9
ตารางกิโลเมตร แบ่งออกเป็ นพ้ืนที่ทาการเกษตร 16,586 ไร่ และ พ้ืนที่อาศยั ประมาณ 988 ไร่
จานวนประชากรท้งั หมด 7,565 คน แยกเป็น ชาย 3,718 คน คิดเป็ นร้อยละ 49.15 หญิง 3,847
คน คิดเป็ นร้อยละ 50.85 ตาบลงิ้วราย พ้ืนที่ส่วนใหญ่เป็ นที่ราบลุ่มเหมาะสมกับการทานา
เกษตรกรรม ตาบลไทรโรงโขน มีแม่น้าไหลผ่านทางทิศตะวนั ตก พ้ืนที่ส่วนใหญ่เป็ นที่ราบมี
คลองและหนองกระจายทว่ั ไป พ้ืนท่ีส่วนใหญ่เหมาะสาหรับการทานา นอกจากน้ีสภาพพ้ืนที่ของ
ตาบลไทรโรงโขนยงั มีห้วยหนอง คลอง บึง แต่แหล่งนาต่าง ๆ เหล่าน้ีบางแห่งไม่สามารถท่ีจะ
นาเอามาใชป้ ระโยชน์ทางดา้ นการเกษตรได้ เพราะแหล่งน้าต้ืนเขินและมีน้านอ้ ย

14

2.4 งานวจิ ัยทเ่ี กยี่ วข้อง

ไดศ้ ึกษาปัจจยั ท่ีมีอิทธิพลต่อค่าใช้จ่ายของประชาชนในเขต กรุงเทพมหานคร โดยมี
วตั ถุประสงค์เพื่อศึกษา ค่าใชจ้ ่าย ระดบั พฤติกรรมผูบ้ ริโภค และปัจจยั ท่ีมี อิทธิพลต่อค่าใชจ้ ่าย
ของประชาชนใน กรุงเทพมหานคร โดยใชแ้ บบสอบถามท่ีมีค่าความเชื่อมน่ั ในส่วน ท่ีเกี่ยวกบั
อิทธิพลทางสังคม เท่ากบั 0.9486 และอิทธิพลทางจิตวทิ ยาเท่ากบั 0.9496 สถิติที่ใชใ้ นการ
วเิ คราะห์ขอ้ มูล ไดแ้ ก่ความถี่ ร้อยละค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอย
พหุคูณ ผลการวิจยั พบวา่ ค่าใช้จ่ายของประชาชนในกรุงเทพมหานครในหมวดการเดินทางและ
การส่ือสารเป็น ค่าใชจ้ ่ายสูงท่ีสุดของประชาชนในกรุงเทพมหานคร โดยมีค่าเฉลี่ย 13,137.43 บาท
ตอ่ เดือน รองลงมาคือ คา่ ใชจ้ ่ายท่ีไมเ่ กี่ยวกบั การอุปโภคบริโภคมีค่าเฉล่ีย 10,392.68 บาทต่อเดือน
ในส่วนพฤติกรรมของ ผบู้ ริโภค พบว่า อิทธิพลทางสังคมและอิทธิพลทางจิตวิทยาต่างมีระดบั
พฤติกรรมอยใู่ นระดบั ปานกลาง นอกจากน้ียงั พบวา่ ปัจจยั ส่วนบุคคลในดา้ นรายไดม้ ีอิทธิพลต่อ
ค่าใช้จ่ายทุกหมวด อย่างมีนยั สาคญั ทาง สถิติส่วนอิทธิพลทางสังคมบางประการมีอิทธิพลต่อ
ค่าใช้จ่ายในหมวดอาหารและ เครื่องด่ืม หมวด ค่าใช้จ่ายส่วนบุคคล หมวดเวชภณั ฑ์ละค่า
รักษาพยาบาล และหมวดค่าใชจ้ ่ายท่ีไม่เก่ียวกบั การอุปโภค บริโภค ส่วนอิทธิพลทางจิตวิทยา
หลายประการมีอิทธิพลต่อค่าใชจ้ ่ายในหมวดเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอลแ์ ละ ยาสูบ และหมวดบนั เทิง
การอ่านหนงั สือ กิจกรรมทางศาสนา และการศึกษา (ภทั รภร กิจชยั นุกลู . 2556)

ได้ศึ ก ษ าพ ฤ ติ ก ร รม ก าร ใ ช้จ่ า ย ข อ งนัก ศึ ก ษ า วิทย า ลัย ก าร ป ก ค ร อง ท้อง ถิ่ น
มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พ่อื ศึกษาพฤติกรรมการใชจ้ ่ายของนกั ศึกษาช้นั ปี สุดทา้ ย
วิทยาลยั ปกครองทอ้ งถิ่นมหาวิทยาลยั ขอนแก่น ผลการศึกษาพบวา่ นกั ศึกษาส่วนใหญ่มี ค่าใชจ้ ่าย
มากกว่ารายรับท่ีไดร้ ับจากบิดา มารดา โดยมีค่าใชจ้ ่ายเก่ียวกบั การศึกษาร้อยละ30ของรายได้ ที่
ไดร้ ับในแต่ละเดือน ค่าใชจ้ ่ายเกี่ยวกบั ชีวติ ประจาวนั ร้อยละ 50 ของรายไดแ้ ละค่าใชจ้ ่ายเกี่ยวกบั
การพกั ผอ่ นหย่อนใจและค่าใชจ้ ่ายฟ่ ุมเฟื อยอยูถ่ ึงร้อยละ 50 จะเห็นวา่ นกั ศึกษามีรายจ่ายมากกว่า
รายไดท้ ี่ ไดร้ ับและหากประสบปัญหาเงินไม่พอใชจ้ ่ายในแต่ละเดือนก็จะแกไ้ ขปัญหาโดย การขอ
เพ่ิมจากบิดา มารดาหรือทางานพิเศษ แสดงให้เห็นว่านกั ศึกษาขาดการวางแผนในการใชจ้ ่ายให้
รายจา่ ยมี สดั ส่วน พอดีกบั รายรับ บิดามารดา ผูป้ กครอง และวิทยาลยั การปกครองทอ้ งถิ่นควรดูแล
และปลูกฝังใหค้ วามรู้ 20 แก่ นกั ศึกษาในการวางแผนการใชจ้ ่าย ลดพฤติกรรมการใชจ้ ่ายฟ่ ุมเฟื อย
จดั สรรค่าใชจ้ ่ายและทรัพยากร ที่ตอนเองมีอยอู่ ยา่ งเหมาะสมและคุม้ ค่า เพ่ือกา้ วเขา้ สู่วยั ทางานอยา่ ง
มีคุณภาพ ไม่สบประสบภาวะเป็น หน้ีสินซ่ึงส่งผลใหต้ นเอง และครอบครัวเดือดร้อนในอนาคต
(สุธาสินี บวั ชาบาล. 2557)

15

ไดศ้ ึกษาแนวทางการส่งเสริมการทาบญั ชีรายรับ – รายจ่าย เพื่อการพฒั นาการออมของ
นกั เรียนโรงเรียนสังวาลยว์ ทิ ยา มีวตั ถุประสงค์เพ่ือศึกษาพฤติกรรมการใช้จ่ายเงินการออมเงินของ
นกั เรียนโรงเรียนสังวาลยว์ ิทยาโดยใชก้ ารสัมภาษณ์บุคลากรภายในโรงเรียน เก่ียวกบั ขอ้ มูลของ
นกั เรียนและขอ้ มูลภายในโรงเรียนและใช้แบบสารวจขอ้ มูลเป็ นเครื่องมือในการเก็บ รวบรวม
ข้อมูลพฤติกรรมการใช้จ่ายเงินการออมของนักเรียนและ วิเคราะห์การทาแบบสารวจขอ้ มูล
โดยนา ขอ้ มูลที่ไดม้ า ศึกษาเพ่ือจดั ทาแบบฟอร์มบญั ชีให้เหมาะสมแก่นกั เรียน เพ่ือสอนนกั เรียน
โรงเรียนสังวาลยว์ ิทยา บนั ทึกรายรับ - รายจ่าย และจดั ทาบญั ชีรายรับ - รายจ่าย แจกให้กบั
นกั เรียนเพ่ือให้ นกั เรียนนาบญั ชีรายรับ - รายจ่ายมาพฒั นาการออมของตน ผลการศึกษาพบวา่
นกั เรียนโรงเรียนสังวาลย์ วทิ ยาไม่มีความรู้เก่ียวกบการบนั ทึกบญั ชีรายรับ - รายจา่ ย และไม่เขา้ ใจ
การบนั ทึกบญั ชีอย่างถูกตอ้ งมี ปัญหาในการปฏิบตั ิงานจริงเกี่ยวกบั การบนั ทึกบญั ชี รายรับ - รายจ่าย
เนื่องจากคณะวจิ ยั มีระยะเวลา จากดั ในการใหค้ วามรู้แก่นกั เรียน นกั เรียนจึงไม่เขา้ ใจการบนั ทึก
บญั ชีอยา่ งถูกตอ้ ง และพ้ืนฐานทาง การศึกษาของนกั เรียนส่วนใหญ่ยงั ตอ้ ง พฒั นาทาใหน้ กั เรียน
ทึกบวกลบตวั เลขยงั ไมถ่ ูกตอ้ ง จากปัญหาท่ี กล่าวมาขา้ งตน้ ผจู้ ดั ทาบญั ชีไดป้ รับปรุงและไดม้ ีการ
ปรับเปล่ียนสมุดบนั ทึก บญั ชีรายรับ - รายจ่ายเพื่อใหเ้ หมาะสม และเขา้ ใจง่ายต่อการบนั ทึกบญั ชี
รายรับ - รายจา่ ยและคณะวจิ ยั ไดม้ ีการตรวจสมุดบนั ทึก บญั ชีของนกั เรียนทุกอาทิตยแ์ ละแนะนา
วธิ ีการบนั ทึกบญั ชีท่ีถูกตอ้ ง (ศิริวงค์ มะศกั ด์ิ และคณะ. 2557)

บทท่ี 3

วธิ ีการดาเนินงาน

การดาเนินงานการศึกษาคร้ังน้ี เพ่ือจัดทาโครงงานให้บริ การความรู้จัดทาบัญชี
รายรับ - รายจ่ายสู่ผจู้ าหน่ายร้านอาหารตามสง่ั ครัวคุณเจน ซ่ึงผจู้ ดั ทาโครงงานไดด้ าเนินการศึกษา
ตามลาดบั ข้นั ตอนดงั น้ี

3.1 กลุ่มเป้าหมายที่ใชใ้ นการศึกษา
3.2 เครื่องมือท่ีใชใ้ นการศึกษา
3.3 วธิ ีการดาเนินการศึกษา
3.4 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล

3.1 กลุ่มเป้าหมายทใ่ี ช้ในการศึกษา

กลุ่มเป้าหมายท่ีใชใ้ นการศึกษาและบริการความรู้การจดั ทาบญั ชีรายรับ - รายจ่าย ใหแ้ ก่
ร้านของนางสาวพิมพ์ณัฐชา ศิลลา บา้ นเลขที่40/4 หมู่ที่1 ตาบลงิ้วราย อาเภอตะพานหิน
จงั หวดั พจิ ิตร

3.2 เคร่ืองมือทใี่ ช้ในการศึกษา

3.2.1 แบบฟอร์มสมุดบญั ชี
3.2.2 งบรายรับ - รายจา่ ย
3.2.3 สรุป

17

3.3 วธิ ีการดาเนินการศึกษา

3.3.1 ขอคาแนะนาจากอาจารยท์ ี่ปรึกษาโครงงาน
3.3.2 คดั เลือกหวั ขอ้ โครงงานท่ีน่าสนใจศึกษา คณะผูจ้ ดั ทาโครงงานการตดั สินใจเลือก
หัวขอ้ โครงงานบริการความรู้จดั ทาบญั ชีรายรับ - รายจ่าย คณะผูจ้ ดั ทาโครงงานควรพิจารณา
องคป์ ระกอบสาคญั ดงั น้ี

1) ตอ้ งมีความรู้และทกั ษะพ้ืนฐานอยา่ งเพียงพอในหวั ขอ้ เร่ืองท่ีจะศึกษา
2) สามารถจดั แบบฟอร์มบญั ชีรายรับ - รายจ่ายและขอ้ มูลที่เก่ียวขอ้ งได้
3) มีแหล่งความรู้ที่จะคน้ ควา้ หรือขอคาปรึกษา
4) มีงบประมาณเพยี งพอ
5) มีทกั ษะการสอนจดั ทาบญั ชีที่เขา้ ใจง่าย
3.3.3 ประชุมกลุ่มโครงงาน เลือกหวั หนา้ กลุ่มโครงงาน
3.3.4 ศึกษาคน้ ควา้ จากแหล่งเอกสารและแหล่งขอ้ มูล
การศึกษาค้นควา้ จากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซ่ึงรวมถึงการขอคาปรึกษาจาก
คณะอาจารยป์ ระจาวิชาและอาจารยท์ ี่ปรึกษาโครงงาน จะช่วยให้ได้แนวคิดท่ีใช้ในการกาหนด
ขอบเขตของเรื่องท่ีจะปรึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากย่ิงข้ึน รวมท้งั ได้ความรู้เพิ่มเติมในเร่ืองท่ี
จะปรึกษา จนสามารถออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงานน้นั ได้
3.3.5 จดั ทาเคา้ โครงของโครงงานท่ีจะทา มีรายละเอียดดงั น้ี
1) ศึกษาคน้ ควา้ เอกสารอา้ งอิงและรวบรวมขอ้ มูล
2) วเิ คราะห์ขอ้ มูล เพ่ือกาหนดขอบเขตและลกั ษณะของโครงงานท่ีจะพฒั นา
3) ทาการพฒั นาโครงงานข้นั ตน้ เพื่อศึกษาความเป็ นไปไดเ้ บ้ืองตน้ โดยอาจจะ
ทาการพฒั นาส่วนยอ่ ย ๆ บางส่วนตามท่ีไดอ้ อกแบบ
4) เสนอเคา้ โครงของโครงงานให้บริการความรู้การจดั ทาบญั ชีรายรับ - รายจ่าย
ของกิจการร้านของนายประเจน กลิ่นหา้ วหาญ ต่ออาจารยท์ ่ีปรึกษาเพ่ือขอคาแนะนาและปรับปรุง
แกไ้ ขเพื่อให้การวางแผนและดาเนินการ ทาโครงงานเป็ นอยา่ งเหมาะสมเป็ นข้นั ตอนต้งั แต่เร่ิมตน้
จนสิ้นสุด
3.3.6 การลงมือทาโครงงาน
เมื่อเคา้ โครงของการได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่า
การจดั ทาโครงงานได้ผ่านพน้ ไปแล้วมากกว่าคร่ึง ข้นั ตอนต่อไปจะเป็ นการลงมือพฒั นาตาม
ข้นั ตอนที่วางแผนไว้ เช่น จัดเตรียมวสั ดุ - อุปกรณ์ให้พร้อม รวมถึงกาหนดหน้าท่ีความ
รับผิดชอบในกลุ่มให้ชัดเจนว่าแต่ละคนจะมีหน้าท่ีทาอะไร แล้วจึงดาเนินการทาโครงงาน

18

ขณะเดียวกันต้องมี การทดสอบ ตรวจสอบปรับปรุงแกไ้ ข และพฒั นาโครงงานเป็ นระยะ ๆ
เพอ่ื ใหแ้ น่ใจวา่ เจา้ ของกิจการเขา้ ใจการจดั ทาบญั ชีรายรับ - รายจ่ายในกิจการแลว้

3.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
ผจู้ ดั ทาโครงงานไดด้ าเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มูลโดยดาเนินตามขอ้ มูลดงั น้ี
3.4.1 นาแบบฟอร์มไปเกบ็ ขอ้ มูลจากร้านนางสาวพิมพณ์ ฐั ชา ศิลลา บา้ นเลขท่ี40/4

หมูท่ ี่1 ตาบลงิ้วราย อาเภอตะพานหิน จงั หวดั พจิ ิตร
3.4.2 นาขอ้ มูลที่ไดม้ าบนั ทึก วเิ คราะห์แบบฟอร์มใหเ้ หมาะสมกบั กิจการ
3.4.3 ทาการบนั ทึกรายรับ - รายจา่ ย
3.4.4 ติดตามการบนั ทึกบญั ชีรายรับ - รายจา่ ยของกิจการ

บทที่ 4

ผลการดาเนินงาน

จากการศึกษาคร้ังน้ีสามารถแสดงผลการวจิ ยั และวเิ คราะห์ขอ้ มูล ไดด้ งั น้ี
การประเมินความคิดเห็นผูต้ อบแบบสอบถามโครงงานบริการความรู้การจดั ทาบญั ชี
รายรับ - รายจ่าย สู่ผูจ้ าหน่ายอาหารตามสั่ง กรณีศึกษาร้านคุณเจน ของแผนกวิชาการบัญชี
วทิ ยาลยั เทคนิคพจิ ิตร คณะผจู้ ดั ทาไดด้ าเนินการวเิ คราะห์ขอ้ มูล และนาเสนอผลการวเิ คราะห์

หลกั เกณฑก์ ารประเมิน โดยใหร้ ะดบั คะแนน 1 – 5 ตามเกณฑด์ งั น้ี
ระดบั คะแนน 4.51 - 5.00 ดีมาก
ระดบั คะแนน 3.51 - 4.50 ดี
ระดบั คะแนน 2.51 - 3.50 ปานกลาง
ระดบั คะแนน 1.51 - 2.50 นอ้ ย
ระดบั คะแนน 1.00 - 1.50 นอ้ ยที่สุด

4.1 ข้อมูลสภาพทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

การศึกษาคร้ังน้ี ผูศ้ ึกษาได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างท่ีเป็ นผู้จาหน่าย
อาหารตามสั่ง ซ่ึงผูศ้ ึกษาไดน้ ามาวิเคราะห์ขอ้ มูลสภาพทว่ั ไปของผูต้ อบแบบสอบถามเกี่ยวกบั เพศ
อายุ สถานภาพ ดงั แสดงในตารางที่ 4.1.1 - 4.1.5

20

ตารางที่ 4.1.1 แสดงจานวนและคา่ ร้อยละของสถานะภาพทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม

รายการ จานวน ร้อยละ
ชาย 0 0.00
หญิง 1 100.00

รวม 1 100.00

จากตารางที่ 4.1.1 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามเป็นเพศหญิง จานวน 1 คน
คิดเป็นร้อยละ 100

ตารางที่ 4.1.2 แสดงจานวนและค่าร้อยละของอายผุ ตู้ อบแบบสอบถาม

รายการ จานวน ร้อยละ
ต่ากวา่ 20 ปี 0 0.00
20 - 30 ปี 0 0.00
31 - 40 ปี 1 100.00
40 ปี ข้ึนไป 0 0.00
1 100.00
รวม

จากตารางท่ี 4.1.2 พบวา่ ผูต้ อบแบบสอบถามมีอายุ 31 - 40 ปี ข้ึนไป จานวน 1 คน
คิดเป็น ร้อยละ 100

ตารางที่ 4.1.3 แสดงจานวนและค่าร้อยละของสถานะภาพทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม

รายการ จานวน ร้อยละ
โสด 0 0.00
สมรส 1 100.00

รวม 1 100.00

จากตารางที่ 4.1.3 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามมีสถานภาพสมรสแลว้ จานวน 1 คน
คิดเป็นร้อยละ 100

21

ตารางท่ี 4.1.4 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนแบบมาตรฐานความคิดเห็นของคุณเจน

รายการ ผลการวเิ คราะห์ ระดบั

̅ S.D. ความคิดเห็น

1. รูปแบบบญั ชีมีความเหมาะสม 4.00 4.00 มาก
2. มีความเขา้ ใจกระบวนการบนั ทึกบญั ชี 4.00 4.00 มาก

บญั ชีรายรับ - รายจา่ ย 4.00 4.00 มาก
3. ระยะเวลาในการใหค้ วามรู้มีความ
4.00 4.00 มาก
มีความเหมาะสมมากนอ้ ยเพยี งใด
4. ลาดบั ข้นั ตอนเน้ือหาและรูปแบบการ 4.00 4.00 มาก

ใหบ้ ริการของนกั ศึกษาใหค้ วามรู้ 4.00 4.00 มาก
5. นกั ศึกษามีความเป็นกนั เองใหค้ วาม 4.00 4.00 มาก
4.00 4.00 มาก
สนใจที่จะบริการ
6. ท่านไดร้ ับประโยชน์จากการฝึกทาบญั ชี 4.00 4.00 มาก
7. ความประทบั ใจในการทากิจกรรม
8. สามารถนามาใชป้ ระโยชนใ์ นการทาบญั ชี 4.00 4.00 มาก

ของกิจการร้านอาหารตามสัง่
9. การใหบ้ ริการของนกั ศึกษาช่วยในการ

นาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั

รวม

จากตารางท่ี 4.1.4 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามมีความคิดเห็นวา่ การใหค้ วามรู้บญั ชี
รายรับ - รายจ่าย มีคา่ เฉล่ียสูงสุด 4 ( ̅ = 4.00 , S.D. = 4.00 )

22

ตารางท่ี 4.1.5 แสดงขอ้ มูลสินทรัพยแ์ ละค่าเสื่อมอุปกรณ์

ที่ รายการ ราคา อายกุ ารใชง้ าน (ปี ) คา่ เสื่อมต่อปี

1 หมอ้ ก๋วยเตี๋ยว 2,050.00 5 410.00
2 ตูแ้ ช่น้าแขง็ 3,900.00 5 780.00
3 ปล่องดูดควนั 8,200.00 5 1,640.00

ค่าเส่ือมราคาตอ่ ปี 2,830.00
ค่าเส่ือมราคาสะสมตอ่ เดือน 235.83

จากตารางที่ 4.1.5 แสดงข้อมูลทรัพย์สินและค่าเสื่อมราคาเฉล่ียต่อใบ ในการทา
ก๋ วยเต๋ียวเฉลี่ยต่อใบ อันดับแรกคือ ตู้แช่น้ าแข็งราคา 780.00 บาทต่อปี หม้อก๋ วยเต๋ียว
ราคา 410.00 บาทต่อปี ปล่องดูดควนั 1,640.00 บาทต่อปี รวมค่าเส่ือมต่อปี 2,830.00 บาท
ต่อเดือน 235.83 บาท

4.2 สรุปผลการวเิ คราะห์สอบถามร้านค้ากลุ่มตัวอย่าง มีดงั นี้

จากการวเิ คราะห์จากแบบสอบถามของกลุ่มร้านคา้ ตวั อยา่ งปรากฏวา่

4.2.1 รูปแบบบญั ชีมีความเหมาะสม จากการตอบแบบสอบถามว่ารูปแบบบญั ชี
มีความเหมาะสม อยู่ในระดับค่าเฉลี่ย 4 อยู่ในระดบั ดี

4.2.2 มีความเข้าใจกระบวนการบนั ทึกบญั ชีรายรับ - รายจ่าย จากการตอบ
แบบสอบถามปรากฏว่ามีความเขา้ ใจกระบวนการบนั ทึกบญั ชีเหมาะสม อยู่ในระดบั
ค่าเฉล่ีย 4 อยู่ในระดบั ดีมากรายรับ - รายจ่าย อยู่ในระดับค่าเฉล่ีย 4 อยู่ในระดับดี

4.2.3 ระยะเวลาในการให้ความรู้มีความเหมาะสม จากการตอบแบบสอบถามว่า
ระยะเวลาในการให้ความรู้มีความเหมาะสม อยู่ในระดบั ค่าเฉล่ีย 4 อยู่ในระดับดี

4.2.4 ลาดับข้ันตอนเนื้อหาและรูปแบบการให้บริการของนักศึกษาให้ความรู้
จากการตอบแบบสอบถามปรากฏว่าลาดบั ข้ันตอนเนื้อหาและรูปแบบการให้บริการของ
นักศึกษาให้ความรู้อยู่ในระดับค่าเฉลี่ย 4 อยู่ในระดบั ดี

4.2.5 นักศึกษาที่มีความเป็ นกนั เองให้ความสนใจที่จะบริการ จากการตอบ
แบบสอบถามปรากฏว่านักศึกษาท่ีมีความเป็ นกันเองให้ความสนใจที่จะบริการ อยู่ในระดับ
ค่าเฉล่ีย 4 อยู่ในระดับดี

23

4.2.6 ท่านได้รับประโยชน์จากการฝึ กทาบญั ชี จากการตอบแบบสอบถามปรากฏ
ว่าท่านได้รับประโยชน์ จากการฝึ กทาบญั ชีอยู่ในระดบั ค่าเฉลี่ย 4 อยู่ในระดบั ดี

4.2.7 ความประทบั ใจในการทากิจกรรม จากการตอบแบบสอบถามปรากฏว่า
ความประทบั ใจในการทากิจกรรม อยู่ในระดบั ค่าเฉล่ีย 4 อยู่ในระดบั ดี

4.2.8 สามารถนามาใช้ประโยชน์ในการทาบญั ชีของกิจการร้านคา้ จากการตอบ
แบบสอบถามปรากฏว่าสามารถนามาใช้ประโยชน์ในการบญั ชีของกิจการร้านคา้ อยู่ใน
ระดับค่าเฉลี่ย 4 อยู่ในระดบั ดี

4.2.9 การให้บริการของนักศึกษาช่วยในการไปประยุกต์ในชีวิตประจาวนั จาก
ก า ร ต อ บ แ บ บ ส อ บ ถ า ม ป ร า ก ฏ ว่ า ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ข อ ง นัก ศึ ก ษ า ช่ ว ย ใ น ก า ร น า ไ ป
ประยุกต์ในชีวิตประจาวนั อยู่ในระดับค่าเฉล่ีย 4 อยู่ในระดบั ดี

24

ค่าใชจ้ ่าย เดือนมิถุนายน กาไรสุทธิ
32% 18%

กาไรสุทธิ
รายได้
ค่าใชจ้ า่ ย
รายได้

50%

จากกราฟสรุป เดือนมิถุนายน มีรายได้ 13,400.00 บาท ใหเ้ ป็ น 100.00 % ค่าใชจ้ ่าย
8,500.00 บาท คิดเป็น 32.00 % จึงทาใหม้ ีกาไรสุทธิ 4,900.00 บาท คิดเป็น 18 .00%

เดือนกรกฎาคม กาไรสุทธิ
18%
ค่าใชจ้ า่ ย
32%

กาไรสุทธิ
รายได้
ค่าใชจ้ ่าย

รายได้

50%

จากกราฟสรุป เดือนกนั ยายน มีรายได้ 11,900.00 บาท ให้เป็ น 100.00% ค่าใชจ้ ่าย
7,600.00 บาท คิดเป็น 32.00% จึงทาใหม้ ีกาไรสุทธิ 4,300.00 บาท คิดเป็น 18.00%

25

เปรียบเทียบระหวา่ งเดือนมิถุนายนกบั เดือนปัจจุบนั

16000

14000

12000

10000

8000

6000

4000

2000

0

เดือนมิถุนายน เดือนกรกฎาคม รายได้ ค่าใชจ้ า่ ย

ในเดือนมิถุนายน จะมีรายไดม้ ากกวา่ เดือนกรกฎาคม คิดเป็ น 100.00% และมี
คา่ ใชจ้ ่ายนอ้ ยกวา่ เดือนมิถุนายน 900.00 บาท คิดเป็น 8.69%

บทที่ 5

สรุป อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ

การออกให้บริ การการจัดทาบัญชีรายรับ - รายจ่ายให้กับร้านค้าโครงงานน้ี
มีวตั ถุประสงค์เพื่อนาความรู้จากการที่ได้ศึกษาจากสถานศึกษามาใช้ให้เกิดประโยชน์ใน
ร้านอาหารตามสั่ง ครัวคุณเจนการดาเนินงานการสอนบญั ชี รูปแบบการลงบญั ชีที่
เหมาะสมตอ้ งประกอบด้วยการสร้างเอกสารแบบฟอร์มจาเป็ นต้องใช้รูปแบบและการ
ถ่า ย ท อ ด ค ว า ม รู ้ รู ป แ บ บ ก า ร ศึก ษ า เ ชิ ง คุ ณ ภ า พ มีข้ัน ต อ น ก า ร ศึก ษ า คือ ก า ร เ ต รี ย ม ก า ร เ รื่ อ ง
รูปแบบการลงบญั ชีที่เหมาะสม

5.1 อภปิ รายผลการดาเนินงาน

5.1.1 รูปแบบบญั ชีมีความเหมาะสม จากการตอบแบบสอบถามปรากฏวา่ รูปแบบ
บญั ชีมีความเหมาะสม อยใู่ นระดบั ดี

5.1.2 มีความเข้าใจกระบวนการบนั ทึกบญั ชีรายรับ - รายจ่ายจากการตอบ
แบบสอบถามปรากฏว่ามีความเขา้ ใจกระบวนการบนั ทึกบญั ชีรายรับ - รายจ่าย อยู่ในระดบั ดี
สามารถนาความรู้การบนั ทึกบญั ชีรายรับ - รายจ่ายไปใชไ้ ดจ้ ริง

5.1.3 ระยะเวลาในการให้ความรู้มีความเหมาะสม จากการตอบแบบสอบถาม
ปรากฏวา่ ระยะเวลาในการใหค้ วามรู้มีความเหมาะสม อยใู่ นระดบั ดี

5.1.4 ลาดบั ข้นั ตอนเน้ือหาและรูปแบบการให้บริการของนักศึกษาให้ความรู้
จากการตอบแบบสอบถามปรากฏวา่ ลาดบั ข้นั ตอนเน้ือหาและรูปแบบการให้บริการของนกั ศึกษา
ใหค้ วามรู้ อยใู่ นระดบั ดี

5.1.5 นักศึกษาท่ีมีความเป็ นกันเองให้ความสนใจที่จะบริการ จากการตอบ
แบบสอบถามปรากฏวา่ นกั ศึกษาที่มีความเป็นกนั เองใหค้ วามสนใจท่ีจะบริการ อยใู่ นระดบั ดี

5.1.6 ทา่ นไดร้ ับประโยชน์จากการฝึ กทาบญั ชี จากการตอบแบบสอบถามปรากฏ
วา่ ทา่ นไดร้ ับประโยชน์จากการฝึกทาบญั ชี อยใู่ นระดบั ดี

5.1.7 ความประทบั ใจในการทากิจกรรม จากการตอบแบบสอบถามปรากฏว่า
ความประทบั ใจในการทากิจกรรม อยใู่ นระดบั ดี

27

5.1.8 สามารถนามาใช้ประโยชน์ในการทาบญั ชีของกิจการร้านคา้ จากการตอบ
แบบสอบถามปรากฏวา่ สามารถนามาใชป้ ระโยชนใ์ นการบญั ชีของกิจการร้านคา้ อยใู่ นระดบั ดี

5.1.9 การให้บริการของนกั ศึกษาช่วยในการนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวนั
จากการตอบแบบสอบถามปรากฏว่าการให้บริการของนกั ศึกษาช่วยในการนาไปประยุกตใ์ ช้ใน
ชีวติ ประจาวนั อยใู่ นระดบั ดี

หากวิเคราะห์งบกาไรขาดทุนเดือนกรกฎาคมมีรายได้ 11,900.00 บาท ให้เป็ น
100.00 เปอร์เซ็นต์ คา่ ใชจ้ า่ ย 7,600.00 บาท คิดเป็น 32.00 เปอร์เซ็นต์ จึงทาใหม้ ีกาไรสุทธิ
4,300.00 บาท คิดเป็ น 18.00 เปอร์เซ็นต์และเดือนมิถุนายนมีรายได้ 13,400.00 บาทให้เป็ น
100.00 เปอร์เซ็นต์ ค่าใช้จ่าย 8,500.00 บาท คิดเป็ น 32.00 เปอร์เซ็นต์ จึงทาให้กาไรสุทธิ
4,900.00 บาท คิดเป็น 18.00 เปอร์เซ็นต์

ผลการวเิ คราะห์งบแสดงฐานะการเงินของผูจ้ าหน่ายอาหารตามส่ังคุณเจน จะเห็นไดว้ า่
เงินสดเท่ากบั 13,400.00 บาท คิดเป็ นร้อยละ 100.00 เปอร์เซ็นต์ ทุน - คุณเจนเท่ากับ
8,500.00 บาท คิดเป็ นร้อยละ 32.00 เปอร์เซ็นต์ กาไรสุ ทธิเท่ากับ 4,900.00 บาท
คิดเป็นร้อยละ 18.00 เปอร์เซ็นต์

หากเปรียบเทียบในเดือนกรกฎาคมเงินสดลดลง 1,500.00 บาท คิดเป็ นร้อยละ
7.77 เปอร์เซ็นต์ ทุน - คุณเจน เดือนมิถุนายนเพิ่มข้ึน 900.00 บาท คิดเป็ นร้อยละ
2.26 เปอร์เซ็นต์ และกาไรสุทธิเพมิ่ ข้ึน 600.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 8.43 เปอร์เซ็นต์

5.2 ปัญหาและอุปสรรคทเี่ กิดขนึ้

5.2.1 กลุ่มร้านคา้ ตวั อยา่ งไมค่ อ่ ยเขา้ ใจในเร่ืองการทาบญั ชี
5.2.2 รายรับ - รายจ่ายอาจจะไม่ตรงตามความเป็ นจริ งเน่ื องจากมีบางรายการท่ี

ไมไ่ ดบ้ นั ทึก

5.3 ข้อเสนอแนะ

5.3.1 ควรจดั ทาบญั ชีร้านคา้ ในรูปแบบใหม่ ๆ เพอื่ ความน่าสนใจ
5.3.2 ควรเพิ่มระยะเวลาในการเก็บรวบรวมขอ้ มูลเพ่ือที่จะนามาเสนอขอ้ มูลที่ได้
ไปเปรียบเทียบก่อนทาบญั ชีร้านคา้ กบั หลงั ทาบญั ชีร้านคา้

28

บรรณานุกรม

นางสาว มณีวรรณ “ความรู้เกี่ยวกบั การจดั ทาบญั ชีครัวเรือน” , [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก
https://sites.google.com [สืบคน้ เมื่อ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2564]

ดร.ภทั รา เรืองสินภิญญ “บญั ชีครัวเรือน” , [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก
http://ms.pbru.ac.th [สืบคน้ เมื่อ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2564]

ภทั รภร กิจชยั นุกูล “งานวจิ ยั ” , [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก
https://research.psru.ac.th [สืบคน้ เม่ือ 16 กรกฎาคม 2564]

สุธาสินี บวั ชาบาล“งานวจิ ยั ” , [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก
https://research.psru.ac.th [สืบคน้ เม่ือ 16 กรกฎาคม 2564]

ศิริวงค์ มะศกั ด์ิ “งานวจิ ยั ” , [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก
https://research.psru.ac.th [สืบคน้ เม่ือ 16 กรกฎาคม 2564]

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก
เคร่ืองมือทใี่ ช้ในการศึกษา
แบบสอบถามความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั การทาบญั ชีรายรับ - รายจ่าย ครัวคุณเจน

31

แบบสอบถามฉบบั น้ีจดั ทาข้ึนโดย นกั ศึกษากลุ่มโครงงานการบริการความรู้การจดั ทาบญั ชี
รายรับ - รายจ่าย กรณีศึกษากิจการร้านอาหารตามสัง่ ครัวคุณเจน

ทาสแกน QR-CODE ทางด้านบนเพื่อเข้าสู่เวบ็ ไซต์ตอบแบบสอบถาม
หรือเข้าไปทเ่ี วบ็ ไซต์ shorturl.asia/ymonc

32
ภาพท1ี่ รูปภาพการส่งแบบสอบถามออนไลนใ์ หผ้ ตู้ อบแบบสอบถาม



9/10/64 19:27 แบบสอบถามเพื่อการวิจัย

แบบสอบถามเพื่อการวิจัย

ความพึงพอใจของผู้ดูแล ที่มีต่อการบริการความรู้การจัดทำบัญชีรายรับ - รายจ่าย กรณีศึกษา กิจการ
ร้านอาหารตามสั่งครัวคุณเจน 40/4 หมู่1 ต.งิ้วราย อ.ตะพานหิน จ.พิจิตร
*จำเป็ น

1
ทำเครื่องหมายเพียงหนึ่งช่อง

ตัวเลือก 1

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

กรุณากรอกข้อมูลตามความเป็ นจริง

2 คำนำหน้าชื่อ *
ทำเครื่องหมายเพียงหนึ่งช่อง

นาย
นาง
นางสาว
อื่นๆ:

3 ชื่อ - นามสกุล *

4 ตำแหน่ง *

https://docs.google.com/forms/d/1UUWq9UwruBF7mEDswCDO30JtaL08yVDzV_4WAcIB1pM/edit?fbclid=IwAR1cMERb6cim402Nuh4EfOtYbO9t… 1/3

9/10/64 19:27 แบบสอบถามเพื่อการวิจัย

5 1. เพศ *
ทำเครื่องหมายเพียงหนึ่งช่อง

ชาย
หญิง
อื่นๆ:

6 2. อายุ *
ทำเครื่องหมายเพียงหนึ่งช่อง

ต่ำกว่า 20 ปี
20 - 30 ปี
31 - 40 ปี
40 ปี ขึ้นไป

7 3. สถานภาพ *
ทำเครื่องหมายเพียงหนึ่งช่อง

โสด
สมรส
อื่นๆ:

ส่วนที่ 2 แบบประเมินความพึงพอใจ

เกณฑ์ระดับการประเมินความพึงพอใจในการบริการ


5=พึงพอใจมากที่สุด


4=พึงพอใจมาก


3=พึงพอใจปานกลาง


2=พึงพอใจน้อย


1=พึงพอใจน้อยที่สุด


https://docs.google.com/forms/d/1UUWq9UwruBF7mEDswCDO30JtaL08yVDzV_4WAcIB1pM/edit?fbclid=IwAR1cMERb6cim402Nuh4EfOtYbO9t… 2/3

9/10/64 19:27 แบบสอบถามเพื่อการวิจัย

8 กรุณาเลือกข้อที่ตรงกับความพึงพอใจของท่าน *

ทำเครื่องหมายแถวละหนึ่งช่องเท่านั้น 54321
รูปแบบบัญชีมีความเหมาะสม

มีความรู้ความเข้าใจในการบันทึกบัญชี
รายรับ-รายจ่าย

ระยะเวลาในการให้ความรู้มีความเหมาะสม

ลำดับขั้นตอนเนื้อหาและรูปแบบการให้
บริการของนักศึกษาที่ให้ความรู้

นักศึกษามีความเป็ นกันเองให้ความสนใจที่
จะบริการ

ท่านได้รับประโยชน์จากการฝึ กทำบัญชี

ความประทับใจในการทำกิจกรรม

สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการทำบัญชี
กิจการร้านค้า

การให้บริการของนักศึกษาช่วยในการนำไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

9 ข้อเสนอแนะ

เนื้อหานี้มิได้ถูกสร้างขึ้นหรือรับรองโดย Google

 ฟอร์ม

https://docs.google.com/forms/d/1UUWq9UwruBF7mEDswCDO30JtaL08yVDzV_4WAcIB1pM/edit?fbclid=IwAR1cMERb6cim402Nuh4EfOtYbO9t… 3/3

ประทบั เวลา คานาหนา้ ชื่อ ช่ือ - นามสกลุ
8/10/2021 12:50:17 นางสาว พิมพณ์ ฐั ชา

ตาแหน่ง 1. เพศ 2. อายุ
บา้ นตน้ ชุมแสง หญิง 31 - 40 ปี

3. สถานภาพ กรุณาเลือกขอ้ ที่ตรงกบั ความกพรึงุณพาอเใลจือขกอขงอ้ ทท่า่ีตนรง[รกูปบั แคบวาบมบ
สมรส 44


Click to View FlipBook Version