The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ทักษะการเรียนรู้ ทร11001

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nattakita Jomsri, 2023-12-06 00:00:04

ทักษะการเรียนรู้ ทร11001

ทักษะการเรียนรู้ ทร11001

42 การที่เรามีการจัดการความรู้ในตนเอง จะพบว่าความรู้ในตวัเราที่คิดว่าเรามีเยอะแลว ้ น้ัน จริง ๆ แลว ้ ยงันอ ้ ยมากเมื่อเทียบกบับุคคลอื่น และหากเรามีการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ กบับุคคล อื่น จะพบวา่มีความรู้ บางอยา่งเกิดข้ึนโดยที่เราคาดไม่ถึงและหากเราเห็นแนวทาง มีความรู้ แลว ้ไม่ น าไปปฏิบัติความรู้ น้นัก ็ จะไม่มีคุณค่าอะไรเลย หากนา ความรู้ น้นั ไป แลกเปลี่ยนและนา ไปสู่การ ปฏิบตัิที่เป็ นวงจรต่อเนื่องไม่รู้ จบ จะเกิดความรู้ เพิ่มข้ึนอยา่งมาก หรือที่เรียกวา่ยงิ่ให ้ ยงิ่ ได"้ หลกัการของการจัดการความรู้ การจัดการความรู้ไม่มีสูตรส าเร็จในวิธีการของการจดัการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายใน เรื่องใด เรื่องหนึ่งแต่ข้ึนอยกู่บั ปณิธานความมุ่งมนั่ที่จะทา งานของตนหรือกิจกรรมของกลุ่มให้ดีข้ึนกวา่เดิม แล้ว ใช้วิธีการจัดการความรู้เป็ นเครื่องมือหนึ่งในการพัฒนาหรือสร้างนวัตกรรมในงาน มีหลักการส าคัญ 4 ประการ ดงัน้ี 1. ให้คนหลากหลายทักษะ หลากหลายวิธีคิด ท างานร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ การจัดการ ความรู้ที่มีพลงัตอ้งทา โดยคนที่มีพ้ืนฐานแตกต่างกนัมีความเชื่อหรือวิธีคิดแตกต่างกนั (แต่มีจุดรวมพลงั คือ มีเป้าหมายอยทู่ ี่งานดว้ยกนั ) ถา้กลุ่มที่ ด าเนินการจัดการความรู้ประกอบด้วยคนที่คิดเหมือน ๆ กนั การจัดการความรู้ จะไม่มีพลงัในการจัดการความรู้ ความแตกต่างหลากหลาย มีคุณค่ามากกวา่ความ เหมือน 2. ร่วมกันพัฒนาวิธีการท างานในรูปแบบใหม่ๆ เพื่อบรรลุประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ที่กา หนดไว้ประสิทธิผลประกอบด้วยองค์ประกอบ 4 ประการคือ 2.1 การตอบสนองความต้องการ ซึ่ งอาจเป็ นความต้องของตนเอง ผู้รับบริการ ความต้องการของสังคม หรือความตอ้งการที่กา หนดโดยผนู้า องคก์ร 2.2 นวัตกรรม ซ่ึงอาจเป็นนวตักรรมดา้นผลิตภณัฑใ์หม่ๆ หรือวธิีการใหม่ๆ ก็ได้ 2.3 ขีดความสามารถของบุคคลและขององค์กร 2.4 ประสิทธิภาพในการท างาน 3. ทดลองและการเรียนรู้เนื่องจากกิจกรรมการจดัการความรู้เป็นกิจกรรมที่สร้างสรรค ์ จึงต้องทดลองท าเพียงน้อย ๆ ซ่ึงถา้ลม้เหลวก็ก่อผลเสียหายไม่มากนกัถา้ไดผ้ลไม่ดีก็ยกเลิกความคิดน้นั ถ้าได้ผลดีจึงขยายการทดลอง คือ ปฏิบตัิมากข้ึน จนในที่สุดขยาย เป็นวิธีทา งานแบบใหม่หรือที่เรียกวา่ ไดว้ธิีการปฏิบตัิที่ส่งผลเป็นเลิศ(best practice) ใหม่นนั่เอง


43 4. น าเข้าความรู้จากภายนอกอย่างเหมาะสม โดยตอ้งถือวา่ความรู้จากภายนอกยงัเป็นความรู้ที่ "ดิบ" อยตู่อ้งเอามาทา ให้"สุก" ให้พร้อมใช้ตามสภาพของเราโดยการเติมความรู้ที่มีตามสภาพของเราลงไป จึงจะเกิดความรู้ที่เหมาะสมกบัที่เราตอ้งการใช้ หลักการของการจัดการความรู้จึงมุ่นเนน้ ไปที่การจดัการที่มีประสิทธิภาพ เพราะการจัดการ ความรู้เป็ นเครื่องมือระดมความรู้ในคน และความรู้ในกระดาษท้งัที่เป็นความรู้จาก ภายนอกและความรู้ ของกลุ่มผรู้่วมงาน น ามาใช้และยกระดับความรู้ของบุคคล ของผรู้่วมงาน และขององค์กรท าให้งานมี คุณภาพสูงข้ึน คนเป็นบุคคลเรียนรู้และองคก์รเป็นองคก์รแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้จึงเป็ นทักษะ สิบส่วน เป็นความรู้เชิงทฤษฎีเพียงส่วนเดียวการจดัการความรู้จึงอยใู่นลกัษณะ "ไม่ทา -ไม่รู้" กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 ให้อธิบายความหมายของ "การจัดการความรู้" มาพอสังเขป …………………………………………………………. …………………………………………………………. …………………………………………………………. …………………………………………………………. …………………………………………………………. …………………………………………………………. …………………………………………………………. …………………………………………………………. กิจกรรมที่ 2 ให้อธิบายความส าคัญของ "การจัดการความรู้" มาพอสังเขป …………………………………………………………. …………………………………………………………. …………………………………………………………. …………………………………………………………. …………………………………………………………. …………………………………………………………. ………………………………………………………….


44 กิจกรรมที่ 3 ให้อธิบายหลักการของ "การจัดการความรู้" มาพอสังเขป …………………………………………………………. …………………………………………………………. …………………………………………………………. …………………………………………………………. …………………………………………………………. …………………………………………………………. …………………………………………………………. เรื่องที่ 2 กระบวนการจดัการความร ู้ รูปแบบการจัดการความรู้ การจดัการความรู้น้ันมีหลายรูปแบบ หรือที่เรียกกนัว่า "โมเดล" มีหลากหลายโมเดล หัวใจของการจัดการความรู้คือ การจดัการความรู้ที่อยู่ในฐานะผปู้ฏิบตัิและเป็นผมู้ีความรู้ การจัดการ ความรู้ที่ทา ให้คนเคารพในศกัด์ิศรีของคนอื่น การจัดการความรู้นอกจากการจัดการความรู้ในตนเอง เพื่อให้เกิดการพฒันางานและพฒันาตนเองแลว้ยงัมองรวมถึงการจดัการความรู้ในกลุ่มหรือองคก์รดว้ย รูปแบบการจัดการความรู้จึงอยู่บนพ้ืนฐานของความเชื่อที่ว่า ทุกคนมีความรู้ ปฏิบัติในระดับ ความชา นาญที่ต่างกนัเคารพความรู้ที่อยใู่นตวัคน ดร.ประพนธ์ผาสุกยืด ได้คิดค้นรูปแบบการจัดการความรู้ไว้2 รูปแบบ คือรูปแบบปลาทูหรือ ที่เรียกวา่ "โมเดลปลาทู" และรูปแบบปลาตะเพียน หรือที่เรียกวา่ "โมเดลปลาตะเพียน " แสดงให้เห็นถึง รูปแบบการจัดการความรู้ภาพรวมของการจัดการที่ครอบคลุม ท้งความรู้ที่ชัดแจ้งและความรู้ที่ฝั ั งลึก ดงัน้ี โมเดลปลาทู เพื่อให้การจัดการความรู้หรือ KM เป็นเรื่องที่เขา้ใจง่าย จึงกา หนดให้การจดัการความรู้เปรียบ เหมือนกบั ปลาทูตวัหน่ึง มีสิ่งที่ตอ้งดา เนินการจดัการความรู้อยู่ 3 ส่วน โดยกา หนดวา่ส่วนหวัคือการ กา หนดเป้าหมายของการจัดการความรู้ที่ชัดเจน ส่วนตวัปลาคือการแลกเปลี่ยนความรู้ซ่ึงกนัและกนัและ ส่วนหางปลาคือความรู้ที่ได้รับจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้


45 รูปแบบการจัดการความร ู้ตาม “โมเดลปลาทู” ส่วนที่ 1 “หัวปลา” หมายถึง “Knowledge Vision” หรือ KV คือ เป้ าหมายของการจัดการ ความรู้ผู้ใช้ต้องรู้วา่จะจดัการความรู้เพื่อบรรลุเป้าหมายอะไรเกี่ยวขอ้งหรือสอดคลอ้งกบัวิสัยทศัน์พนัธกิจ และยุทธศาสตร์ขององคก์รอยา่งไร เช่น จดัการความรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของงาน จัดการความรู้เพื่อ พัฒนาทักษะชีวิตด้านยาเสพติด จัดการความรู้เพื่อพัฒนาทกัษะชีวิตดา้นสิ่งแวดลอ้ม จัดการความรู้เพื่อ พัฒนาทักษะชีวิตด้านชีวิตและทรัพย์สิน จดัการความรู้เพื่อฟ้ืนฟูขนบธรรมเนียมประเพณีด้งัเดิมของคน ในชุมชน เป็ นต้น ส่วนที่ 2 “ตัวปลา” หมายถึง “Knowledge Sharing” หรือ KSเป็ นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หรือ การแบ่งปันความรู้ที่ฝังลึกในตัวตนคนผู้ปฏิบัติเน้นการแลกเปลี่ยน วิธีการท างานที่ประสบผลส าเร็จ ไม่ เน้นที่ปัญหา เครื่องมือในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มีหลากหลายแบบ อาทิการเล่าเรื่อง การสนทนา เชิงลึก การชื่นชมหรือการสนทนาในเชิงบวกเพื่อนช่วยเพื่อน การทบทวนการปฏิบัติงาน การถอดบทเรียน การ ถอดองค์กรความรู้ ส่วนที่ 3 “หางปลา” หมายถึง “Knowledge Assets” หรือ KA เป็ นขุมความรู้ที่ได้จากการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีเครื่องมือในการจดัเก็บความรู้ที่มีชีวิตไม่หยุดนิ่ง คือ นอกจาก จดัเก็บความรู้แลว้ ยงัง่ายในการนา ความรู้ออกมาใชจ้ริง ง่ายในการนา ความรู้ออกมาต่อยอด และง่ายในการปรับขอ้มูลไม่ให้ ล้าสมัย ส่วนน้ีจึงไม่ใช่ส่วนที่มีหน้าที่เก็บขอ้มูลไวเ้ฉย ๆ ไม่ใช่ห้องสมุดส าหรับเก็บสะสมขอ้มูลที่ น าไปใช้จริงได้ยาก ดงัน้ัน เทคโนโลยีการสื่อสารและสารสนเทศ จึงเป็นเครื่องมือจดัเก็บความรู้ อนัทรงพลงัยงในกระบวนการจัดการความรู้ ิ่


46 ตัวอย่างการจัดการความร ู้เร ื่อง “การพฒันากลุ่มวสิาหกจิชุมชน” ในรูปแบบปลาทู โมเดลปลาตะเพียน จากโมเดล “ปลาทู”ตวัเดียวมาสู่โมเดล “ปลาตะเพียน” ที่เป็ นฝูง โดยเปรียบแม่ปลา “ปลา ตวัใหญ่” ไดก้บัวิสัยทศัน์พนัธกิจ ขององคก์รใหญ่ ในขณะที่ปลาตัวเล็กหลาย ๆ ตัว เปรียบไดก้บั เป้าหมายของการจดัการความรู้ที่ตอ้งไปตอบสนองเป้าหมายใหญ่ขององค์กร จึงเป็นปลาท้งัฝูงเหมือน “โมบายปลาตะเพียน”ของเล่นเด็กไทยสมยัโบราณที่ผใู้หญ่สานเอาไวแ้ขวนเหนือเปลเด็กเป็ นฝูงปลาที่ หันหน้าไปในทิศทางเดียวกนั และมีความเพียรพยายามที่จะว่ายไปในกระแสน้า ที่เปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลา ปลาใหญ่อาจเปรียบเหมือนการพฒันาอาชีพตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน ซ่ึงการพฒันาอาชีพดงักล่าวตอ้งมีการแกป้ ัญหาและพฒันาร่วมกนัไปท้งัระบบ เกิดกลุ่มต่าง ๆ ข้ึนใน ชุมชน เพื่อการเรียนรู้ร่วมกนัท้งการท าบัญชีครัวเรือน ั การท าเกษตรอินทรีย์การท าปุ๋ ยหมักการเล้ียงปลา การเล้ียงกบ การแปรรูปผลิตภณัฑเ์พื่อใชใ้นครอบครัวหรือจา หน่ายเพื่อเพิ่มรายได้เป็ นต้น เหล่าน้ีถือเป็น ปลาตัวเล็ก หากการแกป้ ัญหาที่ปลาตวัเล็กประสบผลส าเร็จจะส่งผลให้ปลาใหญ่หรือเป้ าหมายในระดับ ชุมชนประสบผลสา เร็จดว้ยเช่นกนันนั่คือ ปลาวา่ยไปขา้งหนา้อยา่งพร้องเพรียงกนั ที่ส าคญั ปลาแต่ละตวัไม่จา เป็นตอ้งมีรูปร่างและขนาดเหมือนกนั เพราะการจัดการความรู้ของ แต่ละเรื่อง มีสภาพของความยากง่ายในการแกป้ ัญหาที่แตกต่างกนั รูปแบบของการจัดการความรู้ของ แต่ ละหน่วยยอ่ยจึงสามารถสร้างสรรค์ปรับให้เขา้กบัแต่ละที่ไดอ้ยา่งเหมาะสม ปลาบางตวัอาจจะทอ้งใหญ่ เพราะอาจมีส่วนของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มาก บางตัว อาจเป็นปลาที่หางใหญ่เด่นในเรื่องของการ จัดระบบคลังความรู้เพื่อใช้ในการปฏิบัติมาก แต่ ทุกตัวต้องมีหัวและตาที่มองเห็นเป้ าหมายที่จะไปอยา่ง ชัดเจน การจดัการความรู้ไดใ้หค้วามสา คญักบัการเรียนรู้ที่เกิดจากการปฏิบตัิจริง เป็ นการเรียนรู้ในทุก ข้นัตอนของการทา งาน เช่น ก่อนเริ่มงานจะตอ้งมีการศึกษาทา ความเขา้ใจในสิ่งที่กา ลงัจะทา จะเป็ นการ เรียนรู้ดว้ยตวัเองหรืออาศยัความช่วยเหลือจากเพื่อนร่วมงาน มีการศึกษาวิธีการและเทคนิคต่าง ๆ ที่ใช้ ได้ผล พร้อมท้งัคน้หาเหตุผลดว้ยวา่เป็นเพราะอะไรและจะสามารถนา สิ่งที่ไดเ้รียนรู้น้นัมาใชง้านที่กา ลงั


47 จะทา น้ีไดอ้ยา่งไรในระหวา่งที่ทา งานอยเู่ช่นกนัจะตอ้งมีการทบทวนการทา งานอยตู่ลอดเวลา เรียกไดว้า่ เป็ นการเรียนรู้ที่ได้จากการทบทวนกิจกรรมยอ่ยในทุก ๆ ข้นัตอน หมนั่ตรวจสอบอยเู่สมอวา่จุดมุ่งหมาย ของงานที่ทา อยนู่้ีคืออะไร กา ลงัเดินไปถูกทางหรือไม่เพราะเหตุใด ปัญหาคืออะไร จะต้องท าอะไรให้ แตกต่างไปจากเดิมหรือไม่และนอกจากน้นัเมื่อเสร็จสิ้นการทา งานหรือเมื่อจบโครงการก็จะตอ้งมีการ ทบทวนสิ่งต่าง ๆ ที่ไดม้าแลว้ว่ามีอะไรบา้งที่ทา ไดด้ีมีอะไรบา้งที่ตอ้งปรับปรุงแกไ้ขหรือ รับไว้เป็ น บทเรียน ซ่ึงการเรียนรู้ตามรูปแบบปลาทูน้ีถือเป็นหัวใจส าคญัของกระบวนการเรียนรู้ที่เป็นวงจรอยู่ ส่วนกลางของรูปแบบการจดัการความรู้นนั่เอง กระบวนการจัดการความรู้ กระบวนการจัดการความรู้เป็นกระบวนการแบบหน่ึงที่จะช่วยให้องคก์รเขา้ใจถึงข้นัตอนที่ทา ให้เกิดกระบวนการจดัการความรู้หรือพฒันาการของความรู้ที่จะเกิดข้ึนภายในองค์กร มีข้นัตอน 7 ข้นัตอน ดงัน้ี 1. การบ่งชี้ความรู้เป็นการพิจารณาวา่ เป้ าหมายการท างานของเราคืออะไร และเพื่อให้ บรรลุเป้ าหมายเราจ าเป็ นต้องรู้อะไร ขณะน้ีเรามีความรู้อะไรอยใู่นรูปแบบใด อยทู่ ี่ใคร 2. การสร้างและแสวงหาความรู้เป็ นการจัดบรรยากาศและวัฒนธรรมการท างานของคน ในองค์กรเพื่อเอ้ือให้คนมีความกระตือรือร้นในการแลกเปลี่ยนความรู้ซ่ึงกนัและกนัซ่ึงจะก่อให้เกิด การสร้างความรู้ใหม่เพื่อใชใ้นการพฒันาอยตู่ลอดเวลา 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ เป็นการจดัทา สารบญัและจดัเก็บความรู้ประเภทต่าง ๆ เพื่อให้ การเก็บรวบรวมและการคน้หาความรู้นา มาใชไ้ดง้่ายและรวดเร็ว 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้เป็นการประมวลความรู้ให้อยู่ในรูปเอกสาร หรือ รูปแบบอื่น ๆ ที่มีมาตรฐาน ปรับปรุงเน้ือหาใหส้มบูรณ์ใช้ภาษาที่เขา้ใจง่ายและใชไ้ดง้่าย 5. การเข้าถึงความรู้เป็นการเผยแพร่ความรู้เพื่อให้ผอู้ื่นไดใ้ชป้ระโยชน์เขา้ถึงความรู้ไดง้่าย และสะดวกเช่น ใช้เทคโนโลยีเว็บบอร์ด หรือบอร์ด ประชาสัมพันธ์เป็ นต้น 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ท าได้หลายวิธีการ หากเป็นความรู้เด่นชดั อาจจัดท าเป็ น เอกสารฐานความรู้ที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หากเป็นความรู้ที่ฝังลึกที่อยใู่นตวัคน อาจจัดท าเป็ นระบบ แลกเปลี่ยนความรู้เป็ นทีมข้ามสายงาน ชุมชนแห่งการเรียนรู้พี่เล้ียงสอนงาน การสับเปลี่ยนงาน การยืมตัว เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เป็ นต้น 7. การเรียนรู้การเรียนรู้ของบุคคลจะทา ให้เกิดความรู้ใหม่ๆ ข้ึนมากมาย ซ่ึงจะไปเพิ่มพูน องคค์วามรู้ขององคก์รที่มีอยแู่ลว้ให้มากข้ึนเรื่อย ๆ ความรู้เหล่าน้ีจะ ถูกนา ไปใชเ้พื่อสร้างความรู้ใหม่ๆ เป็นวงจรที่ไม่สิ้นสุด เรียกวา่เป็น “วงจรแห่งการเรียนรู้”


48 ตัวอย่างของกระบวนการจัดการความรู้ “วสิาหกจิชุมชน” บ้านทุ่งรวงทอง 1. การบ่งชี้ความรู้ หมู่บา้นทุ่งรวงทองเป็นหมู่บา้นหน่ึงที่อยใู่นอา เภอจุน จังหวัดพะเยา จากการที่หน่วยงานต่างๆ ไดไ้ปส่งเสริมให้เกิดกลุ่มต่าง ๆ ข้ึนในชุมชน และเห็นความส าคญัของการรวมตวักนัเพื่อเก้ือกูลคนใน ชุมชนให้มีการพ่ึงพาอาศยัซ่ึงกนัและกนั จึงมีเป้าหมายจะพฒันาหมู่บา้นให้เป็นวิสาหกิจชุมชน จึงต้องมี การบ่งช้ีความรู้ที่จา เป็นที่จะพฒันาหมู่บา้นใหเ้ป็น วิสาหกิจชุมชน นนั่คือ หาข้อมูลชุมชนในประเทศไทย มีลกัษณะเป็นวิสาหกิจชุมชน และเมื่อศึกษาขอ้มูลแลว้ทา ให้รู้ว่าความรู้เรื่องวิสาหกิจชุมชนอยู่ที่ไหน นนั่คือ อยู่ที่เจา้หน้าที่หน่วยงานราชการที่มาส่งเสริม และอยู่ในชุมชนที่มีการทา วิสาหกิจชุมชนแล้ว ประสบผลส าเร็จ 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ จากการศึกษาหาขอ้มูลแลว้ว่า หมู่บา้นที่ทา เรื่องวิสาหกิจชุมชนประสบผลส าเร็จอยู่ที่ไหน ได้ประสานหน่วยงานราชการ และจัดท าเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อเตรียมการในการไปศึกษาดูงาน เมื่อไปศึกษาดูงานได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ท าให้ได้รับความรู้เพิ่มมากข้ึน เข้าใจรูปแบบ กระบวนการของ การทา วิสาหกิจชุมชน และแยกกนัเรียนรู้เฉพาะกลุ่มเพื่อนา ความรู้ที่ไดร้ับมาปรับใชใ้นการทา วิสาหกิจ ชุมชนในหมู่บา้นของตนเอง เมื่อกลับมาแล้ว มีการทา เวทีหลายคร้ัง ท้งัเวทีใหญ่ที่คนท้งัหมู่บา้นและ หน่วยงานหลายหน่วยงานมาให้ค าปรึกษา ชุมชนร่วมกนัคิด วางแผน และตัดสินใจรวมท้งัเวทียอ่ยเฉพาะ กลุ่มจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผา่นเวทีชาวบา้นหลายคร้ัง ทา ให้ชุมชนเกิดการพฒันาในหลายดา้น เช่น ความสัมพันธ์ของคนในชุมชน การมีส่วนร่วมท้งัร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมดา เนินการ ร่วมประเมินผล และร่วมรับผลประโยชน์ที่เกิดข้ึนในชุมชน 3. การจัดความรู้ให้เป็นระเบียบ การทา หมู่บา้นให้เป็นวิสาหกิจชุมชน เป็นความรู้ใหม่ของคนในชุมชน ชาวบ้านได้เรียนรู้ไป พร้อม ๆ กนัมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กนัอยา่งเป็นทางการและไม่เป็นทางการ โดยมีส่วนราชการและ องค์กรเอกชนต่าง ๆ ร่วมกนัหนุนเสริมการทา งานอยา่งบูรณาการ และจากการถอดบทเรียนหลายคร้ัง ชาวบา้นมีความรู้เพิ่มมากข้ึนและบนัทึกความรู้อย่างเป็นระบบนั่นคือ มีความรู้เฉพาะกลุ่มส่วนใหญ่ จะบันทึกในรูปเอกสารและมีการท าวิจัยจากบุคคลภายนอก 4. การประมวลและกลนั่กรองความรู้ มีการจัดท าข้อมูล ซึ่งมาจากการถอดบทเรียน และการจดัทา เป็นเอกสารเผยแพร่เฉพาะกลุ่มเป็น แหล่งเรียนรู้ให้กบันกัศึกษากศน. และนักเรียนในระบบโรงเรียน รวมท้งัมีการน าข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อ จดัทา เป็นหลกัสูตรทอ้งถิ่นของกศน. อ าเภอจุนด้วย


49 5. การเข้าถึงความรู้ นอกจากการมีข้อมูลในชุมชนแล้ว หน่วยงานต่าง ๆ โดยเฉพาะองคก์ารบริหารส่วนตา บลได้ จดัทา ขอ้มูลเพื่อให้คนเขา้ถึงความรู้ไดง้่าย ไดน้า ขอ้มูลใส่ไวใน้ อินเทอร์เน็ต และในแต่ละตา บลจะมี อินเทอร์เน็ตต าบลให้บริการ ทา ให้คนภายนอกเขา้ถึงขอ้มูลไดง้่าย และมีการเข้าถึงความรู้จากการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกนัมาศึกษาดูงานคนภายนอก 6. การแบ่งปันแลกเปลยี่นความรู้ ในการดา เนินงานกลุ่ม ชุมชน ไดม้ีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กนั ในหลายรูปแบบ ท้งัการไปศึกษาดู งานการศึกษาเป็นการส่วนตวัการรวมกลุ่มในลกัษณะชุมชนนกัปฏิบตัิ(CoP) ที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกนั ท้งัเป็นทางการและไม่เป็นทางการ ทา ให้กลุ่มไดร้ับความรู้มากข้ึน และบางกลุ่มเจอปัญหาอุปสรรค โดยเฉพาะเรื่องการบริหารจดัการกลุ่ม ทา ให้กลุ่มตอ้งมาทบทวนร่วมกนั ใหม่สร้างความเขา้ใจร่วมกนั และเรียนรู้เรื่องการบริหารจดัการจากกลุ่มอื่นเพิ่มเติม ทา ใหก้ลุ่มสามารถดา รงอยไู่ด้โดยไม่ล่มสลาย 7. การเรียนรู้ กลุ่มไดเ้รียนรู้หลายอยา่งจากการดา เนินการวิสาหกิจชุมชน การที่กลุ่มมีการพฒันาข้ึน นนั่แสดงวา่ กลุ่มมีความรู้มากข้ึนจากการลงมือปฏิบตัิและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกนั การพัฒนา นอกจากความรู้ที่ เพิ่มข้ึน ซึ่งเป็ นการยกระดับความรู้ของคนในชุมชนแล้ว ยังเป็ นการพัฒนาความคิดของคนในชุมชนด้วย ชุมชนมีความคิดที่เปลี่ยนไปจากเดิม มีการทา กิจกรรมเพื่อเรียนรู้ร่วมกนับ่อยข้ึน มีความคิดในการพึ่งพา ตนเองและเกิดกลุ่มต่าง ๆ ข้ึนในชุมชน โดยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 รูปแบบของการจัดการความรู้มีอะไรบ้าง และมีลกัษณะอยา่งไร ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………


50 กิจกรรมที่ 2 กระบวนการจดัการความรู้มีกี่ข้นัตอน อะไรบ้าง ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… กิจกรรมที่ 3 ใหผ้เู้รียนยกตวัอยา่งกลุ่ม หรือชุมชนที่มีการจัดการความรู้ประสบผลส าเร็จ และอธิบาย ดว้ยวา่สา เร็จอยา่งไร เพราะอะไร ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… เรื่องที่ 3 กระบวนการจดัการความร ู้ด ้ วยตวัเอง การจัดการความรู้เป็นเรื่องที่เริ่มต้นที่คน เพราะความรู้เป็นสิ่งที่เกิดมาจากคน มาจาก กระบวนการเรียนรู้การคิดของคน คนจึงมีบทบาทท้งัในแง่ของผูส้ร้างความรู้ และเป็ นผู้ที่ใช้ความรู้ ซึ่งถ้าจะมองภาพกว้างออกไปเป็ นครอบครัว ชุมชน หรือแมแ้ต่ในหน่วยงาน ก็จะเห็นไดว้า่ท้งัครอบครัว ชุมชน หน่วยงานลว้นประกอบข้ึนมาจากคนหลาย ๆ คน ดงัน้นั หากระดับปัจเจกบุคคลมีความสามารถ ในการจัดการความรู้ยอ่มส่งผลต่อความสามารถในการจดัการความรู้ของกลุ่มดว้ย วธิีการเรียนรู้ทเี่หมาะสมเพอื่ให้เกดิการจัดการความรู้ด้วยตนเองคือให้ผเู้รียนไดเ้ริ่มกระบวนการ เรียนรู้ต้งัแต่การเริ่มคิด คิดแล้วลงมือปฏิบัติและเมื่อปฏิบตัิแลว้จะเกิดความรู้จากการปฏิบตัิซ่ึงผปู้ฏิบตัิจะ จดจ าท้งัส่วนที่เป็นความรู้ฝังลึกและความรู้ที่เปิดเผย มีการบนัทึกความรู้ในระหวา่งเรียนรู้กิจกรรมหรือ โครงการลงในสมุดบันทึก ความรู้ปฏิบตัิที่บนัทึกไวใ้นรูปแบบต่าง ๆ จะเป็ นประโยชน์ส าหรับตนเอง


51 และผูอ้ื่นในการน าไปปฏิบัติแก้ไขปัญหาที่ชุมชนประสบอยู่ให้บรรลุเป้าหมาย และ ข้นสุดท้ายคือ ั ให้ผูเ้รียนไดพ้ฒันาปรับปรุงสิ่งที่กา ลงัเรียนรู้อยตู่ลอดเวลา ย้อนดูว่าในกระบวนการเรียนรู้น้นั มีความ บกพร่องในข้นัตอนใด ก็ลงมือพฒันาตรงจุดน้นั ใหด้ี การจะเรียนรู้ไดด้ีน้นั ผู้เรียนจะต้องพัฒนาตนเองให้มีความสามารถและมีทักษะในการจัดการ ความรู้ดว้ยตนเองใหม้ีความรู้ที่สูงข้ึน ซ่ึงสามารถฝึกทกัษะเพื่อการเรียนรู้ไดด้งัน้ี ฝึ กสังเกต ใช้สายตาและหูเป็ นเครื่องมือการสังเกตจะช่วยให้เขา้ใจในเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ น้นัๆ ฝึ กตั้งค าถาม คา ถามจะเป็นเครื่องมืออยา่งหน่ึงในการเขา้ถึงความรู้ได้เป็นการต้งัคา ถามให้ ตนเองตอบ หรือจะใหใ้ครตอบก็ได้ทา ให้ไดข้ยายขอบข่ายความคิด ความรู้ท าให้รู้ลึกและรู้กวา้งยิ่งข้ึนไปอีก อนัเนื่องมาจากการที่ไดศ้ึกษาคน้ควา้ในคา ถามที่สงสัยน้นั ค าถาม ควรจะถามวา่ทา ไมอยา่งไร ซึ่งเป็ นค าถาม ระดับสูง ฝึ กแสวงหาค าตอบ ตอ้งรู้วา่ความรู้หรือค าตอบที่ตอ้งการน้นัมีแหล่งขอ้มูลให้คน้ควา้ ได้จากที่ ไหนบ้าง เป็นความรู้ที่อยใู่นห้องสมุด ในอินเทอร์เน็ต หรือเป็นความรู้ที่อยใู่นตวัคนที่ตอ้งไปสัมภาษณ์ ไปสกดัความรู้ออกมา เป็ นต้น ฝึ กบันทึกจะบันทึกแบบจดลงสมุด หรือเป็ นภาพ หรือใช้เครื่องมือบันทึกใด ๆ ก็ได้ต้องบันทึก ไว้บนัทึกใหป้รากฏร่องรอยหลกัฐานของการคิด การปฏิบัติ เพื่อการเข้าถึงและการ เรียนรู้ของบุคคลอื่น ด้วย ฝึ กการเขียน เขียนงานของตนเองให้เป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของตนเองและผอู้ื่น งานเขียน หรือขอ้เขียนดงักล่าวจะกระจายไปเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กบัผคู้นในสังคมที่มาอ่านงานเขียน ตัวอย ่ างการจัดการความร ู้ด ้ วยตนเอง “เกษตรประณีต” ทางเลอ ื กท ี่ถูกต ้ องของคุณพ่อจนัทร ์ ท ี เมื่อก่อนท าเกษตรเชิงเดี่ยวท านาอย่างเดียว พอฝนแล้ง นาไม่มีข้าวก็ไม่มีรายได้จะซื้อข้าว ปลาอาหารก็ต้องติดหนี้เขาเคยเป็ นหนี้พวกนายทุนถึงแสนกว่าบาทจ่ายดอกเบี้ยวันละ 114 บาท กลุ้มใจมากไม่มีทางออก ต้องจากครอบครัวไปขายแรงงานที่มาเลเซีย ได้เงินกลับมาแสนกว่าบาท เอาไปไถ่ที่นาคืนแต่เครื่ องมือท านาไม่มีแล้ว ต้องกู้เงินมาซื้อเครื่ องมือแล้วก็ขาดทุนเหมือนเดิม เลยมานั่งคิดกันในครอบครัวว่าสิ่งที่ก าลังท ามันไม่ใช่ คนที่เขาไม่เป็ นหนี้คนที่เขามีความสุข เขาท ายังไงกัน ไปดูงานที่ไร่ ดูการใช้ชีวิตของพ่อผายสร้ อยสระกลางที่จังหวัดบุรี รัมย์ก็เห็นว่าเขา มีกินมีเก็บเพราะท าเกษตรแบบผสมผสาน


52 คุณพ่อจันทร์ ทีจึงเริ่มต้นด้วยการสร้ างแหล่งน ้าบนที่ดินของตนเอง ซึ่งตอนนั้นไม่มีเงิน จ้างรถขุดดินต้องใช้สองมือของคนทั้งครอบครัวช่วยกันขุด“ช่วยกันขุดทั้งบ้านขุนตอนกลางวัน ถ้าคืนไหนเดือนหงายก็ขุดตอนกลางคืนด้วยเราไม่มีเงินแต่มีแรงมีความตั้งใจอยากให้ครอบครัวอยู่ รอด พอ3 เดือนก็ได้บ่อน ้าส าหรับเริ่ มต้นท าเกษตรประณีตหรื อเกษตรแบบผสมผสาน เริ่ มจาก ที่ดินแค่งานขุดบ่อเลี้ยงปลา ปลูกผักสวนครัว ไม้ผลไม้ยืนต้นพืช ผักสวนครัวผลไม้และปลา พอกินทั้งบ้านแล้วยังเหลือพอแจกจ่ายพี่น้องสร้ างความรักใคร่ กลมเกลียวในชุมชน” คุณพ่อจันทร์ ทีบอกว่า“ตอนท าเกษตรเชิงเดี่ยวใช้ปุ๋ ยเคมีดินเลวลงทุกวัน ค่าใช้จ่ายสูง ราคาผลผลิตก็ผันผวนตามตลาด ตอนท าเกษตรประณีตไม่ใช้ยาฆ่าแมลงใช้ปุ๋ ยคอกราคาถูกแถม ดินยังดีขึ้นด้วยท ามา 4 ปี แล้ว จากงานกลายเป็ นท าเต็มพื้นที่ 22 ไร่ แบ่งเป็ นปลูกข้าว10 ไร่ ปลูกไม้ผลไม้ยืนต้นพืชผักสวนครัว 5 ไร่ เป็ นที่อยู่อาศัยห้องน ้าและท าศูนย์อบรมปราชญ์ชาวบ้าน อีก2 ไร่” นอกจากผลตอบแทนที่เป็ นพืชผลและรายได้แล้วเกษตรประณีตยังให้ผลตอบแทนเป็ น ความอบอุ่นของครอบครัวอีกด้วย เมื่อก่อนลูกหลานเรียนจบก็ไปท างานที่กรุงเทพฯ ได้เงินเดือน หมื่นกว่าบาท แต่ไม่มีเหลือก็เริ่ มหันกลับมามองว่าพ่อจันทร์ ทีใช้ชีวิตอย่างไรท าอย่างไรจึงมีเงิน เหลือเก็บปี ละเป็ นแสนทั้ง ๆ ที่ไม่มีเงินเดือนเลยพากันกลับบ้านแล้ว ช่วยกันท างานในไร่ “เกษตรประณี ตท าให้ ครอบครั วได้ อยู่ ด้ วยกันมีอยู่ มีกินมีเก็บและมีสุ ขภาพดี ถ้าเกษตรกรท าได้อย่างนี้ทุกคนหายจนแน่นอน ผมลองมาแล้วขุดบ่อมาเองกับมือรู้ ดีว่า ท าได้ขอ แค่ ใจสู้ และตั้งใจจริ ง คนที่ล้มเหลวก็เพราะไม่สู้หยุดก่อนส าเร็จ ใจร้ อนอยากเห็นผลเร็ว ๆ หลักของเกษตรประณีตคือท าแบบค่อยเป็ นค่อยไป ตามก าลังของตน อย่าคิดใหญ่เกินตัว เน้นเก็บ เล็กผสมน้อยท าแบบน ้าซึมบ่อทราย ที่ส าคัญท างานแบบยึดความสุขและความพอเพียงเป็ นที่ตั้ง อย่ายึดที่ตัวตนแล้วจะพบกับความสุขที่ยั่งยืน” การจัดการความรู้ด้วยตนเอง ของคุณพ่อจันทร์ทีประทุมภา วัย69 ปีปราชญ์ชาวบ้านแห่งต าบลตลาดไทรอา เภอชุมพวงจังหวัดนครราชสีมา การกา หนดความรู้หลกัทจี่ าเป็น หรือส าคัญต่องานและกิจการ การกา หนดความรู้หลกัที่จา เป็น คือการค้นหาความรู้เพื่อการแกป้ ัญหาและพฒันาตนเอง ดงัเช่น พ่อจนัทร์ทีประทุมภา มีปัญหาจากการท าเกษตรเชิงเดี่ยว อาศยัฝนอยา่งเดียวในการทา งาน เมื่อฝนแล้ง ไม่มีน้า ทา ใหท้า นาไม่ได้ไม่มีรายได้และเป็นหน้ีนายทุน จึงหาแนวทางใหม่ในการทา การเกษตรความรู้ หลกัที่จา เป็นของพอ่จนัทร์ทีคือการท าเกษตรประณีต หรือท าเกษตรผสมผสาน


53 การเสาะแสวงหาความรู้ เมื่อได้ระบุความรู้ที่ต้องการแล้ว ก็ดา เนินการเสาะแสวงหาความรู้โดยจา เพาะเจาะจงใชว้ิธีการ หาความรู้ให้ลึกซ้ึงจากผมู้ีประสบการณ์โดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้คิด วิเคราะห์เชื่อมโยงกบั ประสบการณ์ ของตนเอง เกิดเป็นความรู้ใหม่หรือความรู้เดิมเพิ่มข้ึน พ่อจนัทร์ที ประทุมภา ได้เสาะแสวงหาความรู้เรื่องการท าเกษตรประณีต หรือเกษตร ผสมผสาน จากพอ่ผาย สร้อยสระกลาง ปราชญ์ชาวบ้าน จังหวัดบุรีรัมย์เพราะเห็นวา่พ่อผาย มีกิน มีเก็บ เพราะท างานเกษตรแบบผสมผสาน เป็ นการเสาะแสวงหาความรู้โดยจ าเพาะเจาะจง การประยุกต์ใช้ความรู้ เมื่อเสาะแสวงหาความรู้และรู้วา่ความรู้ที่ตอ้งการน้นัอยทู่ ี่ไหน พ่อจนัทร์ที ประทุมภา ได้ไป ศึกษาหาความรู้จากพ่อผาย สร้อยสระกลาง เมื่อเข้าใจในหลกัการจดัการพ้ืนที่เพื่อทา การเกษตรแบบ ผสมผสานแล้ว ไดว้างแผนที่จดัการในพ้ืนที่ของตนเอง นนั่คือเกิดความคิดในการประยุกตใ์ชค้วามรู้ให้ เหมาะสมกบัสภาพพ้ืนที่หรือสิ่งแวดลอ้มของตนเอง พ่อผาย สร้อยสระกลาง ปราชญ์ชาวบ้าน นักจัดการจ.บุรีรัมย ์


54 พ่อจันทร์ทีประทุมภา บนทนี่าของตนเอง การแลกเปลยี่นความรู้ นอกจากแลกเปลี่ยนความรู้การทา นาแบบผสมผสานกบัพอ่ผายแลว้พอ่จนัทร์ทีได้มีการแลกเปลี่ยน ความรู้กบัเกษตรกรอื่น ๆ ที่มีความสนใจเรียนรู้เกี่ยวกบัการทา การเกษตรแบบผสมผสานจดัพ้ืนที่ส าหรับ การอบรมใหค้วามรู้กบัผทู้ี่สนใจ โดยการเป็ นวิทยากรให้ความรู้ การพฒันาความรู้ยกระดับความรู้และการต่อยอดความรู้ ในการจดัการความรู้ของพ่อจนัทร์ที ประทุมภา การแลกเปลี่ยนเรียนรู้การท าเกษตรประณีต หรือเกษตรผสมผสาน ทา ใหพ้อ่จนัทร์ทีมีการพัฒนาความรู้และยกระดับความรู้นนั่คือมีความรู้เรื่องการ ท าเกษตรประณีต และเมื่อน าความรู้จากการปฏิบัติไปแลกเปลี่ยน เรียนรู้กบัเกษตรกรผอู้ื่น ซึ่งเกษตรกร ในหมู่บา้นก็ดีหรือเกษตรกรที่มาศึกษาดูงานก็ดีทา ให้ไดร้ับความรู้เพิ่มมากข้ึน เป็นการต่อยอดความรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อยกระดับความรู้ของ พอ่จนัทร์ทีจึงมี3 รูปแบบ คือ 1. การยกระดบัความรู้โดยเคลื่อนความรู้ระหวา่งคนกบัความรู้ที่อยใู่นกระดาษ นนั่คือ พ่อจนัทร์ที เรียนรู้จากการอ่านหนงัสือ บทความ บนัทึกผ่านเรื่องราวที่ผูป้ฏิบตัิงานได้บนัทึกจากเรื่องเล่าแห่ง ความส าเร็จ การถ่ายทอดประสบการณ์การท างานบนกระดาษ เป็ นการยกระดับความรู้ของบุคคลจาก การศึกษาด้วย ตนเองผา่นกระดาษหรือสื่ออื่น ๆ 2. การยกระดบัความรู้โดยเคลื่อนความรู้ระหวา่งคนกบัคน เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหวา่ง กนั โดยเฉพาะคนที่มีมุมมองหรือวิธีคิดที่แตกต่างกนั จะเป็ นลักษณะของการเติมเต็มความรู้และต่อยอด ความรู้ใหแ้ก่กนัและกนั


55 ในการพัฒนาความรู้ยกระดบัความรู้เพื่อให้เกิดการต่อยอดความรู้น้นั ความรู้จะเปลี่ยนสถานภาพ สลบักนัไปตลอดเวลา บางคร้ังความรู้ที่ชดัแจง้ซ่ึงอยใู่นกระดาษหรือสื่ออื่น ๆ ก็แปรสภาพเป็นความรู้ฝัง ลึกที่อยใู่นตวับุคคลและบางคร้ังความรู้ฝังลึกที่อยใู่นตวับุคคลก็แปรสภาพเป็นความรู้ชดัแจง้นนั่คือมีการ ถ่ายทอดความรู้ออกมาและบันทึกเป็ นลายลักษณ์อักษรเพื่อให้คนอื่นได้ศึกษา การสรุปองค์ความรู้ เกษตรกรส่วนใหญ่มกัเริ่มตน้ดว้ยการทา เกษตรเชิงเดี่ยว แต่สุดทา้ยก็พบวา่ “เกษตร ประณีต” คือทางเลือกที่ใช่และถูกตอ้งที่สุด เช่นเดียวกบัคุณพ่อจนัทร์ที ประทุมภา ปราชญช์าวบา้นท่านหน่ึงแห่ง เมืองโคราช การท าเกษตรประณีต หลักส าคัญคือ“การออม”แต่ไม่ใช่การออมที่ใชเ้งินเป็นตวัต้งัหากแต่เป็นการ ออมทรัพยากรธรรมชาติเริ่มจาก ออมน้า ตอ้งขุดบ่อรอบพ้ืนที่หรือขุดสระบาดาล ต่อมาคือ ออมความ สมบูรณ์ของดิน ไม่เปิดหนา้ดิน ไม่ทา ลายไส้เดือนดิน ไม่ใชย้าฆ่าแมลงหรือปุ๋ยเคมีใช้ปุ๋ ยคอกและปุ๋ ย หมักชีวภาพ นอกจากน้นัก็ตอ้งออมสัตว์เล้ียงกุง้หอย ปูปลา ไว้ในสระที่ขุด เล้ียงเป็ด ไก่ โค กระบือ และสุดท้ายออมต้นไม้ต้องปลูกพืชให้หลากหลายแบ่งพ้ืนที่นาขา้ว ท าโรงเพาะเห็ด ปลูกพืชสวนครัวไว้ บริโภคแจกจ่ายและไวข้ายโดยพืชที่ปลูกไว้ขาย ตอ้งมีมากกวา่ 10 ชนิด และปลูกไม้ดอกเพื่อความสดชื่น ปลูกพืชสมุนไพรไว้รักษาโรค การท าเกษตรประณีตมีความแตกต่างจากเกษตรเชิงเดี่ยวดังนี้ ความหมาย เกษตรเชิงเดี่ยว : ปลูกพืชชนิดเดียวกนัท้งัหมดเตม็พ้ืนที่ เกษตรประณีต : ปลูกพืชหลากหลายชนิด และแบ่งพ้ืนที่สา หรับเล้ียงสัตวแ์ละสร้างแหล่งน้า รายได้ เกษตรเชิงเดี่ยว : มีรายได้ทางเดียวจากพืชชนิดเดียวที่ปลูก เกษตรประณีต : มีรายได้หลายทางและมีรายได้ทุกวัน ความเสี่ยง เกษตรเชิงเดี่ยว : มีความเสี่ยงสูงราคาพืชผลผันแปรตามตลาด เกษตรประณีต : มีความเสี่ยงเป็ นศูนย์ เพราะถา้ผลผลิตชนิดใดราคาตกก็ยงัมีพืชผลชนิดอื่นแทน และยงัไงก็ไม่อดตายเพราะมีพืชผกัสวนครัวและปลาไวก้ิน ทุกวัน


56 ความสุข เกษตรเชิงเดี่ยว : ถ้าปลูกมัน แลว้มนัไดร้าคาก็มีความสุข ถ้ามันราคาตกก็ไม่มีความสุข สรุปคือถา้กา ไรถึงจะมีความสุขเมื่อไหร่ที่ขาดทุนก็ทุกขท์นัที เกษตรประณีต : มีความสุขอยา่งยงั่ยนืมีกิน มีเก็บ ชื่นใจเมื่อเห็นพืชผลงอกการไดก้ินอาหารปลอดสารพิษ ไดอ้อกกา ลงักายร่างกายแขง็แรง การจัดทา สารสนเทศองค์ความรู้ในการพฒันาเอง สารสนเทศ คือ ข้อมูลต่าง ๆ ที่ผ่านการกลนั่กรองและประมวลผลแลว้บวกกบั ประสบการณ์ความ เชี่ยวชาญที่สะสมมาแรมปีมีการจดัเก็บหรือบนัทึกไวพ้ร้อมในการนา มาใชง้าน การจัดทา สารสนเทศองค์ความรู้ในการพฒันาตนเอง ในการจัดการความรู้ จะมีการรวบรวมและสร้างองค์ความรู้ที่เกิดจากการปฏิบตัิข้ึนมากมาย การจดัทา สารสนเทศจึงเป็นการสร้างช่องทางใหค้นที่ตอ้งการใชค้วามรู้สามารถเข้าถึงองค์ความรู้ได้และ ก่อให้เกิดการแบ่งปันความรู้กนัอย่างเป็นระบบ ในการจดัเก็บเพื่อให้คน้หาความรู้คือไดง้่ายน้นั ต้อง กา หนดสิ่งส าคญัที่จะเก็บไวเ้ป็นองคค์วามรู้และต้องพิจารณาถึงวิธีการในการเก็บรักษาและน ามาใช้ให้ เกิดประโยชน์ตามตอ้งการ การจดัทา สารสนเทศเป็นการถ่ายทอดความรู้ที่มีอยอู่อกมาในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การจดบันทึก เป็ นตัวอักษรการจัดท าเป็ นใบความรู้การบันทึกเสียงการบันทึกวีดีโอเป็ นต้น กิจกรรม ให้ผู้เรียนวิเคราะห์ปัญหาของตนเอง และเขียนแผนการพัฒนาตนเอง ส่งครูผสู้อน ดงัน้ี 1. ปัญหาของผู้เรียนคืออะไร ทา ไมถึงเกิดปัญหาน้นั ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………


57 2. ความรู้หลักที่จ าเป็ นของผู้เรียน คืออะไร ใช้แกป้ ัญหาของผเู้รียนไดอ้ยา่งไร ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… 3. ผู้เรียนมีวิธีเสาะแสวงหาความรู้ด้วยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผู้อื่นที่ไหน อยา่งไร ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… 4. ผเู้รียนนา ความรู้ที่ไดร้ับไปแกป้ ัญหาหรือประยกุตใ์ชอ้ยา่งไร ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………


58 เรื่องที่ 4 กระบวนการจดัการความร ู้ด ้ วยการปฏิบัตกิารกลุ่ม ในชุมชนมีปัญหาซบัซ้อนที่คนในชุมชนตอ้งร่วมกนัแกไ้ขการจัดการความรู้จึงเป็ นเรื่องที่ทุก คนตอ้งใหค้วามร่วมมือและให้ข้อเสนอแนะในเชิงสร้างสรรค์การรวมกลุ่ม เพื่อแกไ้ขปัญหาหรือร่วมมือ กนัพฒันา โดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกนัเรียกวา่ “กลุ่มปฏิบตัิการ” บุคคลในกลุ่มจึงตอ้งมีเจตคติที่ดีใน การแบ่งปันความรู้นา ความรู้ที่มีอยู่มาพฒันากลุ่มจากการลงมือปฏิบตัิและเคารพในความคิดเห็นของ ผู้อื่น กระบวนการจดัการความรู้ดว้ยการปฏิบตัิการกลุ่มจะทา ใหบุ้คคลในกลุ่มเกิดการเรียนรู้ซ่ึงกนัและกนั โดยเฉพาะการเรียนรู้จากประสบการณ์การทา งานร่วมกนั เป็ นความรู้ที่บุคคลเคยประสบผลส าเร็จมาแล้ว และเมื่อนา มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกนั จะเป็ นการยกระดบัความรู้ให้กบัคนที่ไม่รู้และคนที่รู้บางส่วน แลว้จะเกิดการต่อยอดความรู้และสามารถนา ความรู้ที่ไดร้ับไปปฏิบตัิไดอ้ยา่งเป็นรูปธรรม บุคคลและเครื่องมือทเี่กยี่วข้องกบัการจัดการความรู้ บุคคลทเี่กยี่วข้องกบัการจัดการความรู้ ในการจดัการความรู้ดว้ยวิธีการรวมกลุ่มปฏิบตัิการเพื่อต่อยอดความรู้การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อดึงความรู้ที่ฝังลึกในตวับุคคลออกมาแลว้สกดัเป็นขุมความรู้หรือองค์ความรู้เพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน น้นัตอ้งมีบุคคลที่ส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในบรรยากาศของการมีใจในการแบ่งปันความรู้ รวมท้งัผที่ท าหนู้้ าที่กระตุน้ ให้คนอยากที่จะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซ่ึงกนัและกนับุคคลที่ส าคญัและเกี่ยวขอ้ง กบัการจดัการความรู้มีดงัต่อไปน้ี “คุณเออื้ ” ชื่อเต็มคือ “คุณเอ้ือระบบ ” เป็ นผู้น าระดับสูงขององค์กร ท าหน้าที่ส าคัญคือ 1) ท าให้การจัดการความรู้เป็นส่วนหน่ึงของการปฏิบัติงานตามปกติขององค์กร 2) เปิ ดโอกาสให้ทุกคนในองค์กรเป็ น “ผู้น า” ในการพัฒนาวิธีการท างานที่ตนรับผิดชอบ และนา ประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กบัเพื่อนร่วมงาน สร้างวฒันธรรมเอ้ืออาทรและ แบ่งปันความรู้ 3) หากุศโลบายท าให้ความส าเร็จของการใช้เครื่องมือการจัดการความรู้มีการนา ไปใชม้ากข้ึน “คุณอ านวย” หรือผู้อ านวยความสะดวกในการจัดการความรู้เป็นผกู้ระตุน้ ส่งเสริมให้เกิดการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และอา นวยความสะดวกต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้น าคนมาแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ทา งานร่วมกนัช่วยให้คนเหล่าน้นัสื่อสารกนั ให้เกิดความเขา้ใจ เห็นความสามารถของกนัและกนั เป็ นผู้ เชื่อมโยงคนหรือหน่วยงานเขา้หากนั โดยเฉพาะอยา่งยงิ่เชื่อมระหวา่งคนที่มีความรู้หรือประสบการณ์กบั ผู้ต้องการเรียนรู้และนา ความรู้น้นั ไปใชป้ระโยชน์คุณอ านวยต้องมีทักษะที่ส าคัญคือ ทักษะการสื่อสาร กบัคนที่แตกต่างหลากหลาย รวมท้งัตอ้งเห็นคุณค่าของความแตกต่างหลากหลาย


59 และรู้จกัประสานความแตกต่างเหล่าน้นั ให้เห็นคุณค่าในทางปฏิบตัิผลกัดนั ให้เกิดการพฒันางาน และ ติดตามประเมินผลการด าเนินงาน ค้นหาความส าเร็จหรือการเปลี่ยนแปลงที่ต้องการ “คุณกิจ” คือเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน คนท างานที่รับผิดชอบงานตามหน้าที่ของคนในองค์กร ถือเป็นผจู้ดัการความรู้ตวัจริงเพราะเป็นผดู้า เนินกิจกรรมจดัการความรู้มีประมาณร้อยละ 90 ของท้งัหมด เป็นผูร้่วมกนักา หนดเป้าหมายการใช้การจดัการความรู้ของกลุ่มตน เป็ นผู้ค้นหาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ภายในกลุ่ม และด าเนินการเสาะหาและดูดซับความรู้จากภายนอกเพื่อน ามาประยุกต์ใช้ให้บรรลุเป้ าหมาย ร่วมกา หนดไวเ้ป็นผดู้า เนินการ จดบันทึกและจดัเก็บความรู้ใหห้มุนเวยีนต่อยอดความรู้ไปไม่รู้จบ “คุณลขิิต” คือคนที่ทา หนา้ที่จดบนัทึกกิจกรรมจดัการความรู้ต่าง ๆ เพื่อจัดท าเป็ นคลังความรู้ ขององค์กร ชุมชนนักปฏิบัติหรือชุมชนแห่งการเรียน (CoP) ในชุมชนมีปัญหาซับซ้อน ที่คนในชุมชนตอ้งร่วมกนัแกไ้ขการจดัการความรู้จึงเป็นเรื่องที่ ทุกคนตอ้งใหค้วามร่วมมือและให้ข้อเสนอแนะในเชิงสร้างสรรค์การรวมกลุ่มเพื่อแกป้ ัญหาหรือร่วมมือ กนัพฒันาโดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกนัเรียกวา่ “ชุมชนนักปฏิบัติ”บุคคลในกลุ่มจึงตอ้งมีเจตคติที่ดี ในการแบ่งปันความรู้นา ความรู้ที่มีอยมู่าพฒันากลุ่มจากการลงมือปฏิบัติและเคารพในความคิดเห็นของ ผู้อื่น ชุมชนนักปฏิบัติคืออะไร ชุมชนนักปฏิบัติคือ คนกลุ่มเล็ก ๆ ซ่ึงทา งานดว้ยกนัมาระยะหน่ึง มีเป้าหมายร่วมกนัและ ตอ้งการที่จะแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์จากการท างาน กลุ่มดงักล่าวมกัจะไม่ไดเ้กิดจากการ จดัต้งัโดยองคก์ารหรือชุมชน เป็นกลุ่มที่เกิดจากความตอ้งการแกป้ ัญหา พัฒนาตนเอง เป็ นความพยายาม ที่จะท าให้ความฝันของตนเองบรรลุผลส าเร็จ กลุ่มที่เกิดข้ึน ไม่มีอา นาจใด ๆ ไม่มีการกา หนดไวใ้น แผนภูมิโครงสร้างองค์กร ชุมชนเป้าหมายของการเรียนรู้ของคนมีหลายอย่าง ดังน้นัชุมชน นักปฏิบัติ จึงมิไดม้ีเพียงกลุ่มเดียว แต่เกิดข้ึนเป็นจา นวนมาก ท้งัน้ีอยทู่ ี่ประเด็นเน้ือหาที่ตอ้งการจะเรียนรู้ร่วมกนั นนั่เองและคนคนหนึ่งจะเป็ นสมาชิกในหลายชุมชนก็ได้ ชุมชนนักปฏิบัติมีความส าคัญอย่างไร ชุมชนนกัปฏิบตัิเกิดจากกลุ่มคนที่มีเครือข่ายความสัมพนัธ์ที่ไม่เป็นทางการรวมตวักนัเกิดจาก ความใกล้ชิด ความพอใจจากการมีปฏิสัมพนัธ์ร่วมกนัการรวมตวักนั ในลกัษณะที่ไม่เป็นทางการจะเอ้ือ ต่อการเรียนรู้และการสร้างความรู้ใหม่ๆ มากกวา่การรวมตวักนัอยา่งเป็น ทางการ มีจุดเน้นคือต้องการ เรียนรู้ร่วมกนัจากประสบการณ์ทา งานเป็นหลกัการทา งานในเชิงปฏิบตัิหรือจากปัญหาในชีวิตประจ าวัน หรือเรียนรู้เครื่องมือใหม่ๆ เพื่อน ามาใช้ในการพัฒนางาน หรือวธิีการทา งานที่ไดผ้ลและไม่ไดผ้ลการมี


60 ปฏิสัมพนัธ์ระหวา่งบุคคล ทา ใหเ้กิดการถ่ายทอดแลกเปลี่ยนความรู้ฝังลึก สร้างความรู้และความเข้าใจได้ มากกว่าการเรียนรู้จากหนงัสือ หรือการฝึ กอบรมตามปกติเครือข่ายที่ไม่เป็นทางการในเวทีชุมชนนกั ปฏิบัติซึ่งมีสมาชิกจาก ต่างหน่วยงาน ต่างชุมชน จะช่วยใหอ้งคก์รหรือชุมชนประสบความส าเร็จไดด้ีกวา่ การสื่อสาร ตามโครงสร้างที่เป็ นทางการ การเล่าเรื่อง การถอดความรู้ฝังลกึ ด้วยกิจกรรมเรื่องเล่าเร้าพลัง การเล่าเรื่องเป็นเทคนิคของการใชเ้รื่องเล่าในกลุ่มเพื่อนแบ่งปันความรู้หรือสร้างแรงบันดาลใจ ในการพัฒนาการปฏิบัติงาน โดยใชภ้าษาง่าย ๆ ในชีวิตประจ าวัน เล่าเฉพาะ เหตุการณ์บรรยากาศตัวละคร ที่เกี่ยวขอ้งกบัผูเ้ล่าในขณะที่เกิดเหตุการณ์ตามจริง เล่าให้เห็นบุคคล พฤติกรรม การปฏิบัติ การคิด ความสัมพันธ์ ขอ้ ส าคญัผูเ้ล่าตอ้งไม่ตีความระหวา่งเล่า ไม่ใส่ความคิดเห็นของผเู้ล่าในเรื่องขณะที่เล่า เมื่อเล่าจบแลว้ผฟู้ ังสามารถซกัถามผเู้ล่าได้ การเล่าเรื่องที่ดีควรมีลักษณะดังนี้ 1. เรื่องที่เล่าตอ้งเป็นเรื่องจริงที่เกิดข้ึน อยา่แต่งเรื่องข้ึนมาเอง 2. เรื่องเล่าสอดคลอ้งกบัหวัปลาหรือประเด็นของกลุ่ม 3. มีชื่อเรื่องที่บอกถึงความส าเร็จ 4. ผเู้ล่าเป็นเจา้ของเรื่อง 5. ลีลาการเล่า เร้าพลงัผฟู้ ังใหเ้กิดแนวคิดที่จะนา ไปปฏิบตัิหรือคิดต่อ 6. เรื่องที่เล่าควรจบภายในเวลาไม่เกิน 5 นาที 7. ท่าทางขณะเล่า เล่าอยา่งมีชีวติชีวาจะทา ใหเ้กิดพลงัขบัเคลื่อน 8. การเล่าเรื่อง ตอ้งให้ครบท้งั 3 ส่วน คือเป็นมาอยา่งไรแกป้ ัญหาอยา่งไรและได้ผลเป็ น อยา่งไร กิจกรรมการเล่าเรื่อง 1. ให้คุณกิจ (สมาชิกทุกคน) เขียนเรื่องเล่าประสบการณ์ความส าเร็จในการทา งานของ ตนเองเพื่อให้ความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge) ปรากฏออกมาเป็ น ความรู้ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ลงในกระดาษ A4 ส่งครูผสู้อนก่อนเล่าเรื่อง 2. เล่าเรื่องความสา เร็จของตนเอง ใหส้มาชิกในกลุ่มยอ่ยฟัง 3. คุณกิจ(สมาชิก) ในกลุ่ม ช่วยกนัสกดัขมุความรู้จากเรื่องเล่า เขียนบนกระดาษ ฟลิปชาร์ด


61 4. ช่วยกนัสรุปขุมความรู้ที่สกดัไดจ้ากเรื่อง ซึ่งมีจ านวนหลายข้อ ให้กลายเป็นแก่นความรู้ ซึ่งเป็ นหัวใจที่ท าให้งานประสบผลส าเร็จ 5. ใหแ้ต่ละกลุ่ม คดัเลือกเรื่องเล่าที่ดีที่สุด เพื่อนา เสนอในที่ประชุมใหญ่ 6. รวมเรื่องเล่าของทุกคน จัดท าเป็นเอกสารคลงัความรู้ของกลุ่ม หรือเผยแพร่ผา่นทางเวบ็ไซด์ เพื่อแบ่งปัน แลกเปลี่ยนความรู้และน ามาใช้ประโยชน์ในการท างาน สกดัขุมความรู้และแก่นความรู้ 1. ขุมความรู้ในการฟังเรื่องเล่าน้นัผฟู้ ังจะตอ้งฟังอยา่งต้งัใจ ฟังอยา่งลึกซ้ึง หากไม่เขา้ใจหรือ ไดย้นิไม่ชดัเจน สามารถซักถามเมื่อผู้เล่า (คุณกิจ) เล่าจบแลว้ ในบางช่วง บางตอน ที่ไม่ชดัเจนได้ซึ่งจะมี ผู้บันทึก (คุณลิขิต) ช่วยบนัทึกเรื่องเล่าและอ่านบนัทึกให้ที่ประชุมฟัง อีกคร้ังหน่ึงเพื่อสอบทานการจด บนัทึกกบัการเล่าเรื่องของผเู้ล่า (คุณกิจ) ให้สอดคลอ้งตรงกนั ผู้อ านวยการประชุม (คุณอ านวย) จะช่วย ให้ผฟู้ ังสกดัเอาวิธีการปฏิบตัิของผเู้ล่า (คุณกิจ) ที่ท าให้งานส าเร็จออกมา วิธีการกระทา ที่สกดัออกได้ เรียกว่าขุมความรู้ผฟู้ ังแต่ละคนจะเขียนขุมความรู้ออกโดยใช้กระดาษแผ่นนอ้ยเขียน 1 ขุมความรู้ต่อ กระดาษ 1 แผ่น ไม่จา กดัจา นวนว่าแต่ละคนจะเขียนไดก้ี่ขุม กี่แผ่น ข้ึนอยู่กบัทกัษะการฟังและ ความสามารถในการจบั ประเด็นของแต่ละคน ลักษณะของขุมความรู้ควรมีลกัษณะดังนี้ 1) เป็นประโยคที่ข้ึนดว้ยคา กริยา 2) เป็ นวิธีการปฏิบัติ( How to ) 3) เป็นประโยคหรือขอ้ความที่สื่อความเขา้ใจไดโ้ดยทวั่ ไป 2. แก่นความรู้ แก่นความรู้จะมาจากขุมความรู้ที่สกดัไดจ้ากเรื่องเล่า ซึ่งจะมีเป็ นจ านวนมาก และเมื่อวเิคราะห์และพิจารณาอยา่งจริงจงัจะเห็นวา่ขมุความรู้เหล่าน้นัสามารถจดักลุ่มได ้การจัดกลุ่มขุม ความรู้ประเภทเดียวกันไวด้ ้วยกนัแล้วต้งัชื่อให้กบัขุมความรู้ใหม่น้ัน โดยให้ครอบคลุมขุมความรู้ ท้งัหมดที่อยใู่นกลุ่มเดียวกนั ตัวอย่างการเล่าเรื่องจากชุมชนนักปฏิบัติ โลกใหม่ของเเน็ต แน็ต เป็นเด็กสาวในหมู่บา้นและเคยอยทู่ ี่กรุงเทพฯ พ่อแม่เสียชีวิตหมด อยกู่บัยาย และยายก็ ได้เสียชีวิตไปแล้ว อยกู่รุงเทพได้6 - 7 ปีไดก้ลบัมาอยใู่นหมู่บา้น กลบัมาไม่มีใครรู้วา่แน็ตติดเชื่อ HIV มาด้วย เมื่อมาอยใู่หม่ๆ ทุกคนก็สงสัยทา ไมเก็บตวั ไม่ออกไปไหน บางคร้ังก็ชอบเหม่อมองไปขา้งนอกบา้น โดยไม่มีจุดหมาย มีหนุ่ม ๆ แวะเวยีนไปหาแน็ตก็ออกไปกบับางคน


62 มีคร้ังหน่ึงกองผา้ป่าที่ต้งัไวท้ี่หอประชุมหมู่บา้นก็หายไป มีชาวบา้นมาแจง้วา่ เห็นถัง พลาสติก ที่ต้งักองผา้ป่าแอบอยขู่า้งหอประชุมหมู่บา้น เงินหายไปหมดเหลือแต่ถงัพลาสติกกบักิ่งไมท้ ี่ใชแ้ขวนเงิน ขา้พเจา้และคนในหมู่บา้นลงความเห็นวา่ คนที่เอาเงินไปน่าจะเป็นคนที่มีบา้นอยใู่กลบ้ริเวณน้ีเพราะตอน ที่เงินหายไปคนดูแลเพียงแต่ไปเขา้หอ้งน้า ที่อยดู่า้นหลงัหอประชุมเท่าน้นั ต่อมามีคนไปพบแน็ตที่โรงพยาบาล เห็นพูดกบัหมออยนู่าน และไดย้ินมาวา่แน็ตติดเช้ือ HIV และตอ้งการเงินมาเป็นค่ายาเพื่อรักษาตนเอง เมื่อคนน้ันมาบอกขา้พเจา้และขา้พเจา้ ได้ปรึกษากบั คณะกรรมการหมู่บา้น ลงความเห็นวา่ตอ้งให้ความช่วยเหลือแน็ต เพราะหากแน็ตไม่ยอมรับความจริง และยงัไปกบัเด็กผชู้ายในหมู่บาน้ก็จะเป็นการแพร่เช้ือให้กบัคนในหมู่บา้นไปอีก และหากทุกคนรู้ว่า แน็ตติดเช้ือจะพากนัรังเกียจไม่ใหเ้ขา้สังคมดว้ย ขา้พเจา้ไดพู้ดคุยกบัแน็ตเป็นการส่วนตวัและแนะนา ให้แน็ตเลิกเที่ยวกบัเด็กผชู้ายในหมู่บา้น และให้ไปพบกบัเจา้หน้าที่มูลนิธิสุขใจ เพื่อร่วมกบักลุ่มผตู้ิดเช้ือทา กิจกรรมร่วมกนั และเรียนรู้วิธีการ ดูแลตนเองที่ถูกต้อง ตอนแรกแน็ตไม่ยอมไป เพราะเมื่อไปแล้วในหมู่บา้นจะรู้ว่าแน็ตติดเช้ือ HIV ขา้พเจา้จึงไปขอร้องภรรยาผใู้หญ่บา้นซ่ึงเป็นญาติกบัแน็ตให้ช่วยพูด เพื่อให้แน็ตยอมรับสภาพตัวเอง แน็ตร้องไหอ้ยนู่าน คร ่าครวญถึงชีวิตอันแสนรันทด และยอมไปที่มูลนิธิสุขใจ การไปมลูนิธิสุขใจคร้ังน้ีแน็ตได้รู้จักกบัเพื่อนที่ติดเช้ือเหมือนกนั ไดพ้ดูคุยกนัรวมตวักนัเป็นกลุ่ม เพื่อทา กิจกรรมร่วมกนัทุกวนัศุกร์แน็ตคลายกงัวลใจและคิดวา่ตวัเองมีเพื่อนหวัอกเดียวกนั ไม่โดดเดี่ยว แลกเปลี่ยนความรู้วธิีการดูแลตนเองกบัเพื่อน ๆ และหาอาชีพใหก้บัตนเอง ไม่แพร่เช้ือใหค้นอื่น ข้าพเจ้าได้ไปเยี่ยมเยียนแน็ตที่มูลนิธิสุขใจ เห็นแน็ตหวัเราะกบัเพื่อน ๆ พดูคุยกบัคนอื่นมากข้ึน และแน็ตบอกวา่ “นี่เป็นโลกใหม่ของแน็ต โลกของคนหวัอกเดียวกนั ” ข้าพเจา้สร้างความเขา้ใจกบัคนในหมู่บา้นไม่ใหแ้ สดงอาการรังเกียจ โรคน้ีไม่ติดกนัไดง้่าย ๆ นี่ ผา่นมา 4 ปี แล้ว แน็ตก็ยงัใชช้ีวติไดเ้หมือนปกติและช่วยสังคมโดยการเป็นวทิยากร ใหค้วามรู้กบัเยาวชน ในหมู่บา้นในเรื่องการป้องกนัโรคที่เกี่ยวกบัเพศสัมพนัธ์ กิจกรรม 1. การจัดการความรู้ในการปฏิบัติการคืออะไร มีความสา คญัอยา่งไร ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………


63 2. บุคคลที่เกี่ยวขอ้งกบัการจดัการความรู้ในการปฏิบตัิการกลุ่มมีใครบา้ง ท าหน้าที่อะไรบ้าง ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… 2. ใหผ้เู้รียนเขียนเรื่องเล่าแห่งความสา เร็จและรวมกลุ่มกบัเพื่อนที่มีเรื่องเล่าลกัษณะ คลา้ยกนัผลดักนัเล่าเรื่อง สกดัความรู้จากเรื่องเล่าของเพื่อน ตามแบบฟอร์มน้ี แบบฟอร์มการบันทกึขุมความรู้จากเรื่องเล่า ชื่อเรื่อง ………………………………………………………… ชื่อผู้เล่า ………………………………………………………… 1. เนื้อเรื่องย่อ ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………


64 2. การบันทกึขุมความรู้จากเรื่องเล่า 2.1 ปัญหา ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………. ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… 2.2 วธิีแกป้ ัญหา (ขุมความรู้) ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………. …………………………………………………………


65 2.3 ผลที่เกิดข้ึน ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………. ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… 2.4 ความรู้สึกของผเู้ล่า / ผเู้ล่าไดเ้รียนรู้อะไรบา้งจากการทา งานน้ี ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………. ………………………………………………………… …………………………………………………………


66 3. แก่นความรู้ ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………. ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… เรื่องที่5 การสร ้ างองค ์ ความร ู้พฒันา ต่อยอด และยกระดบัความร ู้ องค์ความรู้เป็ นความรู้และปัญหาที่แตกต่างกนั ไปตามสภาพและบริบทของชุมชน การสร้าง องคค์วามรู้หรือชุดความรู้ของกลุ่ม จะทา ให้สมาชิกกลุ่มมีองคค์วามรู้หรือชุด ความรู้ไว้เป็ นเครื่องมือใน การพัฒนางาน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กบัคนอื่น หรือกลุ่มอื่นอยา่ง ภาคภูมิใจ เป็นการต่อยอดความรู้และ การทา งานของตนต่อไปอย่างไม่มีที่สิ้นสุด อยา่งที่เรียกวา่เกิดการเรียนรู้และพฒันากลุ่มอย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิต บุคคลที่ท าหน้าที่ศึกษาค้นคว้าและปฏิบัติบุคคลน้นัยอ่มมีโอกาสไดส้ ัมผสักบัองคค์วามรู้น้นั โดยตรงและหากมีการเรียนรู้อยา่งต่อเนื่อง จะทา ใหเ้กิดการพฒันาต่อยอด ความรู้ข้ึนไปเรื่อย ๆ การสร้างองค์ความรู้พฒันา ต่อยอด และยกระดับความรู้ ความรู้เป็ นผลจากการเรียนรู้เกิดจากความเขา้ใจในสิ่งที่เรียนรู้เป็ นความสามารถเฉพาะบุคคล ซ่ึงความรู้ที่ทุกคนมีน่าจะมาจากความรู้รอบตวั ความรู้ทางวิชาการหรือความรู้จากต าราที่ไดเ้รียนมาต้งัแต่ ระดบั ประถมนนั่เอง


67 มนุษย์แต่ละคนมีความรู้และปัญญาแตกต่างกันออกไป เนื่องจากปัจจัยต่าง ๆ เช่น สภาพแวดล้อม ภูมิศาสตร์พ้ืนฐานการศึกษารวมท้งัความสามารถของสมองเองก็ทา ให้มนุษย์คิดหรือมี ความรู้ที่แตกต่างกนั ความรู้จากการปฏิบัติเป็ นความรู้ที่ท าให้มนุษยค์ิดคน้ สิ่งใหม่ๆ ข้ึนมา และการปฏิบตัิก็ทา ให้ มนุษยเ์กิดการเรียนรู้การเรียนรู้จนเกิดความชา นาญสามารถแกป้ ัญหาและพฒันาในสิ่งที่ตนเองตอ้งการได้ ถือวา่เกิดปัญญาหรือสร้างองคค์วามรู้ใหก้บัตวัเอง ความรู้มีการเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย การที่จะด ารงชีวิตในสังคมไดอ้ยา่งมีความสุขจึงต้อง มีการพฒันาตนเองอยตู่ลอดเวลา เรียนรู้ในสิ่งใหม่ๆ ที่เกิดข้ึนในสังคม การแสวงหาความรู้เพื่อพฒันาต่อ ยอดให้กบัตนเองน้นั การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกบัผอู้ื่นเป็นการแสวงหาความรู้ที่ทนัสมยัสอดคลอ้งกบั สภาวะปัจจุบัน หากมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แล้ว ทา ให้เรามีความรู้มากข้ึนถือว่ามีการยกระดบัความรู้ นนั่เอง รู้แลว้แต่ยงัไม่ครอบคลุมและอาจไม่ทนัสมยัเขา้กบัสถานการณ์การเรียนรู้เพิ่มเติมจึงถือวา่เป็นการ ยกระดบัความรู้ใหก้บัตนเอง หัวใจของการจัดการความรู้ คือการส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนความรู้ดงัน้นัการด าเนินการ จดัการองคค์วามรู้อาจตอ้งดา เนินการตามข้นัตอนต่าง ๆ ดงัน้ี 1. การกา หนดความรู้หลกัที่จา เป็นหรือสา คญัต่องาน หรือกิจกรรมของกลุ่มหรือองคก์ร 2. การเสาะหาความรู้ที่ต้องการ 3. การปรับปรุง ดัดแปลง หรือสร้างความรู้บางส่วนใหเ้หมาะต่อการใชง้านของตน 4. การประยกุตใ์ชค้วามรู้ในกิจกรรมงานของตน 5. การน าประสบการณ์จากการท างาน และการประยุกต์ใช้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสกดั ขุมความรู้ออกมาบันทึกไว้ 6. การจดบันทึก “ขุมความรู้”และ “แก่นความรู้” ส าหรับไว้ใช้งาน และปรับปรุงเป็ นชุด ความรู้ที่ครบถ้วน ลุ่มลึกและเชื่อมโยงมากข้ึน เหมาะต่อการใชง้านมากข้ึน เรื่องที่6การจดัท าสารสนเทศเผยแพร่องค ์ ความร ู้ สารสนเทศการจัดการความรู้ด้วยการรวมกลุ่มปฏิบัติการ หมายถึง การรวบรวมข้อมูลที่เป็ น ประโยชน์ต่อการพฒันางาน พัฒนาคน หรือพฒันากลุ่ม ซ่ึงอาจจดัทา เป็นเอกสารคลงัความรู้ของกลุ่ม หรือเผยแพร่ผา่นทางเวบ็ไซด์เพื่อแบ่งปัน แลกเปลี่ยนความรู้และน ามาใช้ประโยชน์ในการท างาน


68 ตัวอย่างของสารสนเทศจากการรวมกลุ่มปฏิบัติการ ได้แก่ 1. การบันทึกเรื่องเล่า เป็นเอกสารที่รวบรวมเรื่องเล่าที่แสดงให้เห็นถึงวิธีการทา งานให้ ประสบผลส าเร็จอาจแยกเป็นเรื่องต่าง ๆ เพื่อให้ผู้ที่สนใจเฉพาะ เรื่องได้ศึกษา 2. บันทึกการถอดบทเรียนหรือการถอดองค์ความรู้ เป็ นการทบทวน สรุปผล การท างาน หรือผลจากเรื่องเล่าในรูปแบบเอกสาร การถอดบทเรียนหรือถอดองค์ความรู้มีหลาย ลักษณะเช่น การเขียนเป็ นความเรียง เป็ นตารางแยกเป็ น หัวข้อเพื่อให้อ่านเขา้ใจง่าย 3. วีซีดีเรื่องส้ัน เป็นการจดัทา ฐานขอ้มูลความรู้ที่สอดคลอ้งกบัสังคมปัจจุบนั ที่มีการใช้ เครื่องอิเล็กทรอนิกส์กนัอย่างแพร่หลาย การทา วีซีดีเป็นเรื่องส้ันเป็นการเผยแพร่ให้ บุคคลได้เรียนรู้และนา ไปใชใ้นการแกป้ ัญหา หรือพฒันางานในโอกาสต่อไป 4. คู่มือการปฏิบัติงาน การจัดการความรู้ที่ประสบผลส าเร็จจะท าให้เห็นแนวทางของการ ท างานที่ชัดเจน การจดัทา เป็นคู่มือเพื่อการปฏิบตัิงาน จะท าให้งานมีมาตรฐาน และ ผเู้กี่ยวขอ้งสามารถนา ไปพฒันางานได้ 5. อินเทอร์เน็ต ปัจจุบนัมีการใช้อินเทอร์เน็ตกันอย่างแพร่หลาย และมีการสื่อสาร แลกเปลี่ยนความรู้ผ่านทางอินเทอร์เน็ตในเว็บไซด์ต่าง ๆ มีการบนัทึกความรู้ท้งัใน รูปแบบของเว็บเพจ เว็บบอร์ด และรูปแบบอื่น ๆ อินเทอร์เน็ตจึงเป็นแหล่ง เก็บขอ้มูล จ านวนมากในปัจจุบัน เพราะคนสามารถเขา้ถึงขอ้มูลไดอ้ยา่งรวดเร็ว ทุกที่ทุกเวลา


69 ตัวอย่างการถอดองค ์ ความร ู้


70 กิจกรรม 1. การสร้างองคค์วามรู้จะก่อให้เกิดการพฒันาต่อยอดและยกระดบัความรู้ ไดอ้ยา่งไร ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………


71 2. ใหผ้เู้รียนสรุปองคค์วามรู้จากกิจกรรมทา้ยบทที่4 " การเล่าเรื่อง " ตาม แบบฟอร์มที่ กา หนดใหแ้ละใหด้า เนินการดงัน้ี 2.1 รวบรวมเรื่องเล่าทุกเรื่อง (จากบทที่4) ใหอ้ยใู่นเล่มเดียวกนั 2.2 นา สรุปองคค์วามรู้ใส่ไวใ้นตอนทา้ยเล่ม จัดท าปก ค าน า สารบัญ และ เย็บเป็ น รูปเล่ม 2.3 นา ไปเผยแพร่ใหก้บัคนในชุมชนของผเู้รียน


72 แบบทดสอบเรื่องการจัดการความรู้ ค าชี้แจง จงกาบาท X เลอืกข้อทที่่านคิดว่าถูกต้องทสีุ่ด 1. การจดัการความรู้เรียกส้ันๆ วา่อะไร ก. MK ข. KM ค. LO ง. QA 2. เป้ าหมายของการจัดการความรู้คืออะไร ก. พัฒนาคน ข. พัฒนางาน ค. พัฒนาองค์กร ง. ถูกทุกข้อ 3. ข้อใดถูกต้องมากที่สุด ก. การจดัการความรู้หากไม่ทา จะไม่รู้ ข. การจัดการความรู้คือการจัดการความรู้ของผู้เชี่ยวชาญ ค. การจัดการความรู้ถือเป็ นเป้ าหมายของการท างาน ง. การจัดการความรู้คือการจัดการความรู้ที่มีในเอกสาร ต ารามาจัดให้เป็ น ระบบ 4. ข้นัสูงสุดของการเรียนรู้คืออะไร ก. ปัญญา ข. สารสนเทศ ค. ข้อมูล ง. ความรู้ 5. ชุมชนนักปฏิบัติ( CoP ) คืออะไร ก. การจัดการความรู้ ข. เป้ าหมายของการจัดการความรู้ ค. วิธีการหนึ่งของการจัดการความรู้ ง. แนวปฏิบัติของการจัดการความรู้


73 บทสะท้อนทไี่ด้จากการเรียนรู้ 1. สิ่งที่ท่านประทบัใจในการเรียนรู้รายวิชาการจัดการความรู้ ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… 2. ปัญหา / อุปสรรคที่พบในการเรียนรู้รายวิชาการจัดการความรู้ ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… 3. ขอ้เสนอแนะเพิ่มเติม ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………


74 บทที่ 4 คิดเป็ น สาระส าคัญ ศึกษาทา ความเขา้ใจกบัความเชื่อพ้ืนฐานทางการศึกษาผใู้หญ่ดว้ยกระบวนการอภิปรายกลุ่ม และร่วมสรุปสาระสา คญัที่เชื่อมโยงไปสู่กระบวนการคิดเป็น ดว้ยการวิเคราะห์ขอ้มูลท้งัดา้นวชิาการ ตนเองและสังคมสิ่งแวดลอ้ม ผลการเรียนรู้ทคี่าดหวงั 1. อธิบายเรื่องความเชื่อพ้ืนฐานทางการศึกษาผใู้หญ่ได้ 2. บอกความสัมพนัธ์เชื่อมโยงของความเชื่อพ้ืนฐานทางการศึกษาผใู้หญ่ไปสู่กระบวนการ “คิดเป็ น” ได้ ขอบข่ายเนื้อหา 1. ความเชื่อพ้ืนฐานทางการศึกษาผใู้หญ่ดว้ยการสรุปจากกรณีตวัอยา่ง 2. “คิดเป็ น” และกระบวนการคิดเป็ น 3. ฝึ กทักษะการคิดเป็ น ข้อแนะน าการจัดการเรียนรู้ 1. คิดเป็ น เป็ นวิชาที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยการคิด การวิเคราะห์ และแสวงหาค าตอบด้วย การใชก้ระบวนการที่หลากหลายเปิดกวา้ง เป็นอิสระมากกวา่การเรียนรู้ที่เนน้เน้ือหาให้ ท่องจา หรือมีคา ตอบสา เร็จรูปใหโ้ดยผเู้รียนไม่ตอ้งคิด ไม่ตอ้งวิเคราะห์เหตุและผลเสียก่อน 2. ขอแนะนา วา่กระบวนการเรียนรู้ในระดบั ประถมศึกษาตอ้งใชว้ธิีการพบกลุ่ม อภิปรายถกแถลง เพื่อใหผ้เู้รียน และครูช่วยกนัแสวงหาคา ตอบตามประเด็นที่กา หนด และช่วยใหผ้เู้รียนได้ คุน้เคยและมนั่ใจในการเรียนรู้ดว้ยกระบวนการกลุ่มสัมพนัธ์ต่อไป 3. เนื่องจากเป็ นวิชาที่ประสงค์จะให้ผู้เรียนได้ฝึ กการคิด การวิเคราะห์ เพื่อแสวงหาค าตอบด้วย ตนเอง มากกวา่ท่องจา เน้ือหาความรู้แบบเดิม ครูและผเู้รียนจึงควรจะตอ้งปฏิบตัิตาม กระบวนการที่แนะนา โดยไม่ขา้มข้นัตอน จะช่วยใหก้ารเรียนรู้เกิดข้ึนอยา่งมีประสิทธิภาพ


75 เร ื่องท ี่1 ความเช ื่อพน ื้ฐานทางการศ ึ กษาผ ู้ใหญ่ / ปฐมบทของ “คิดเป็ น” คร้ังหน่ึง ดร.โกวิท วรพิพฒัน์อดีตปลดักระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงเคยเป็นอธิบดีกรมการศึกษา นอกโรงเรียนมาก่อนเคยเล่าใหฟ้ ังวา่มีเพื่อนฝรั่งถามท่านวา่ทา ไมคนไทยบางคนจนก็จน อยกู่ระต๊อบเก่า ๆ ทา งานก็หนัก หาเช้ากินค่า แต่เมื่อกลบับา้นก็ยงัมีแก่ใจนั่งเป่าขลุ่ย ต้งัวงสนทนา สนุกสนาน เฮฮากบั เพื่อนบ้านหรือโขกหมากรุกกบัเพื่อนไดอ้ยา่งเบิกบานใจ ตกเยน็ก็นงั่กินขา้วคลุกน้า พริกคลุกน้า ปลากบั ลูกเมียอย่างมีความสุขได้ท่านอาจารยต์อบไปว่า เพราะเขาคิดเป็ น เขาจึงมีความสุข มีความพอเพียง ไม่ทุกข์ไม่เดือดร้อนทุรนทุรายเหมือนคนอื่น ๆ เท่าน้ันแหละคา ถามก็ตามมาเป็นหางว่าว เช่น ก็เจ้า “คิดเป็ น” มนัคืออะไรอยทู่ ี่ไหน หนา้ตาเป็นอยา่งไร หาไดอ้ยา่งไร หายากไหม ทา อยา่งไรจึงจะคิดเป็น ตอ้งไปเรียนจากพระอาจารยท์ ิศาปาโมกขห์รือเปล่าค่าเรียนแพงไหม มีค่ายกครูไหม ใครเป็ นครูอาจารย์ หรือศาสดา ฯลฯ ดูเหมือนวา่“คิดเป็ น” ของท่านอาจารยแ์มจ้ะเป็นคา ไทยง่าย ๆ ธรรมดา ๆ แต่ก็ออกจะ ลึกล้า ชวนใหใ้ฝ่หาคา ตอบยงิ่นกั ประมาณปีพ.ศ. 2513 เป็นตน้มา ท่านอาจารย์ดร.โกวิท วรพิพัฒน์และคณะได้น าแนวคิดเรื่อง “คิดเป็ น” มาเป็ นเป้ าหมายสา คญั ในการจดัการศึกษาผใู้หญ่หลายโครงการ เช่น โครงการการศึกษาผใู้หญ่ แบบเบ็ดเสร็จ โครงการรณรงค์เพื่อการรู้หนังสือแห่งชาติโครงการการศึกษาประชาชนและการศึกษา ผใู้หญ่ข้นัต่อเนื่อง* เป็นตน้ต่อมาท่านยา้ยไปเป็นอธิบดีกรมวิชาการ ท่านก็นา “คิดเป็ น” ไปเป็ นแนวทาง จัดการศึกษาส าหรับเด็กในโรงเรียนจนเป็นที่ยอมรับมากข้ึน เพื่อให้การทา ความเขา้ใจกบัการคิดเป็นง่ายข้ึน พอที่จะให้คนที่จะมามีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอนตามโครงการดงักล่าวเขา้ใจ และสามารถ ดา เนินการกิจกรรมการเรียนรู้ใหส้อดคลอ้งกบัหลกัการ “คิดเป็ น” ได้ จึงมีการน าเสนอแนวคิด * นบัเป็นวิธีการทางการศึกษาที่สมยัใหม่มากยงัไม่มีหน่วยงานไหนเคยทา มาก่อน “คิดเป็ น” คืออะไรใครรู้บ้าง มีทิศทางมาจากไหนใครเคยเห็น จะเรียนร่า ทา อยา่งไรให้ “คิดเป็ น” ไม่ลอ ้ เล่นใครตอบได ้ ขอบใจเอย


76 เรื่องความเชื่อพ้ืนฐานทางการศึกษาผใู้หญ่ข้ึนเป็นคร้ังแรกโดยใชก้ระบวนการคิดเป็น ในการทา ความเขา้ใจกับความเชื่อพ้ืนฐานทางการศึกษาผูใ้หญ่ให้กบัผูท้ ี่จะจดักระบวนการเรียนการสอนตาม โครงการดังกล่าวในรูปแบบของการฝึกอบรม ** ด้วยการฝึกอบรมผูร้่วมโครงการการศึกษาผูใ้หญ่ แบบเบ็ดเสร็จ และโครงการการศึกษาผูใ้หญ่ข้นัต่อเนื่องระดับ 3 - 4 - 5 จนเป็นที่รู้จกัฮือฮากันมาก ในสมยัน้นัผเู้ขา้รับการอบรมยงัคงร าลึกถึงและนา มาใชป้ระโยชน์จนทุกวนัน้ี การเรียนรู้เรื่องความเชื่อพ้ืนฐานทางการศึกษาผใู้หญ่ให้เขา้ใจไดด้ีผเู้รียนตอ้งทา ความเขา้ใจดว้ย การร่วมกิจกรรมการคิด การวิเคราะห์เรื่องราวต่าง ๆ เป็นข้นัเป็นตอนตามลา ดบัและสรุปความคิดเป็น ข้นัเป็นตอนตามไปดว้ยโดยไม่ตอ้งกงัวลว่าคา ตอบหรือความคิดที่ไดจ้ะผิดหรือถูกเพียงใด เพราะไม่มี คา ตอบใดถูกท้งัหมด และไม่มีคา ตอบใดผิดท้งัหมด เมื่อไดร้่วมกิจกรรมครบตามกา หนดแลว้ผูเ้รียนจะ ร่วมกนัสรุปแนวคิดเรื่องความเชื่อพ้ืนฐานทางการศึกษาผใู้หญ่ไดด้ว้ยตนเอง ต่อไปน้ีเราจะมาเรียนรู้เรื่องความเชื่อพ้ืนฐานทางการศึกษาผูใ้หญ่เพื่อนา ไปสู่การสร้างความ เขา้ใจเรื่อง การคิดเป็นร่วมกนัเริ่มดว้ยการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ เป็นข้นัเป็นตอนไปต้งัแต่กิจกรรมที่1 - กิจกรรมที่5โดยจะมีครูเป็นผรู้่วมกิจกรรมดว้ย ** ที่ให้วิทยากรที่เป็ นผู้จัดอบรมและผเู้ขา้รับการอบรมมีส่วนเรียนรู้ไปพร้อมๆ กนัดว้ยกระบวนการอภิปรายถกแถลงในรูปกระบวนการ กลุ่มมีการวิเคราะห์กรณีตวัอยา่งหลายเรื่อง ที่กา หนดข้ึน นา เหตุผลและขอ้คิดเห็นของกลุ่มมาสรุปสังเคราะห์ออกมาเป็นความเชื่อพ้ืนฐาน ทางการศึกษาผูใ้หญ่ (สมยัน้นั ) หรือกศน. (สมยัต่อมา)ผลสรุปของการอภิปรายถกแถลงไม่ว่าจะเป็นกลุ่มไหนก็จะไดอ้อกมาเป็นทิศทาง เดียวกนัเพราะเป็นสจัธรรมที่เป็นความจริงในชีวิต เราจะมาท าความรู้จักกับความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่ที่เป็นปฐมบทของการคิดเป็น กันบ้างดีไหม


77 กิจกรรมที่ 1 ครูและผเู้รียนนงั่สบาย ๆ อยกู่นัเป็นกลุ่ม ครูแจกใบงานที่1 ที่เป็นกรณีตวัอยา่งเรื่อง “หลายชีวิต” ให้ผู้เรียนทุกคน ครูอธิบายใหผ้เู้รียนทราบวา่ครูจะอ่านกรณีตวัอยา่งใหฟ้ ัง 2 เที่ยวชา้ ๆ ใครที่ พออ่านไดบ้า้งก็อ่านตามไปดว้ยใครที่อ่านยงัไม่คล่องก็ฟังครูอ่านและคิดตามไปดว้ย เมื่อครูอ่านจบแลว้ก็ จะพดูคุยกบัผเู้รียนเชิงทบทวนถึงเน้ือหาในกรณีตวัอยา่งเรื่อง “หลายชีวิต” เพื่อจะให้แน่ใจวา่ผเู้รียนทุกคน เขา้ใจเน้ือหาของกรณีตวัอยา่งตรงกนัจากน้นัครูจึงอ่านประเด็น ซ่ึงเป็นคา ถามปลายเปิด (คา ถาม ที่ไม่มี คา ตอบสา เร็จรูป) ที่กา กบัมากบักรณีตวัอยา่งใหผ้เู้รียนฟัง ใบงานที่ 1 กรณีตวัอยา่ง เรื่อง “หลายชีวิต” พระมหาสมชัย เป็ นพระนักเทศน์ มีประสบการณ์การเทศน์มหาชาติกัณฑ์มัทรีที่มีชื่อเสียงเป็นที่ แพร่หลายในหลายที่หลายภาคของไทยวดัหลายแห่งตอ้งจองท่านไปเทศน์ให้งานของวดัน้นัๆ เพราะญาติโยมขอร้องและพระนกัเทศน์ท้งัหลายก็นิยมเทศน์ร่วมกบัท่าน มหาสมชยัต้งัใจไวว้า่ อยากเดินทางไปเทศน์ที่วดัไทยในอเมริกาสักคร้ังในชีวติเพราะไม่เคยไปต่างประเทศเลย เจ๊เกียวเป็นนกัธุรกิจช้นันา มีกิจการหลายอยา่งในความดูแลเช่น กิจการเส้ือผา้ส าเร็จรูป กิจการจา หน่าย สินค้าโอท็อป กิจการส่งออกสินคา้อาหารกระป๋อง กิจการจา หน่ายสินค้าทางอินเทอร์เน็ต แต่เจเ๊กียวไม่มีลูกสืบสกุลเลย ต้งัความหวงัไวว้า่ขอมีลูกสักคน แต่ก็ไม่เคยสมหวงัเลย ลุงแป้น เป็นเกษตรกรอาวโุส อายเุกิน 60 ปีแลว้แต่ยงัแขง็แรง มีฐานะดีชอบทา งานทุกอยา่ง ไม่อยนู่ ิ่ง ทา งานส่วนตวังานสังคม งานช่วยเหลือคนอื่น และงานบา รุงศาสนาลุงแป้ นแอบมีความหวังลึก ๆ อยากได้ปริญญากิตติมศกัด์ิจากมหาวิทยาลัยราชภัฏสักแห่งเพื่อเก็บไวเ้ป็นความภูมิใจของ ตนเอง และวงศ์ตระกูล เด็กหญิงนวลเพ็ญ เป็ นเด็กหญิงจนๆ ในต่างจงัหวดัห่างไกลไม่เคยเห็นกรุงเทพฯ ไม่เคยเขา้เมือง ไม่เคย ออกจากหมู่บา้นไปไกลๆ เลย ด.ญ. นวลเพญ็คิดว่าถา้มีโอกาสไปเที่ยวกรุงเทพสักคร้ังจะดีใจ และมีความสุขมากที่สุด ทิดแหวง บวชเป็นเณรต้งัแต่เล็กเมื่ออายคุรบบวชก็บวชเป็ นพระ เพิ่งสึกออกมาช่วยพอ่ทา นา ทิดแหวง ต้งัความหวงัไวว้่าเขาอยากแต่งงานกบัหญิงสาวสาย ร่ ารวยสักคน จะได้มีชีวิตที่สุขสบาย ไม่ตอ้งท างานหนักเหมือนที่เป็นอยในู่ ปัจจุบัน ประเด็น กรณีตวัอยา่งเรื่อง “หลายชีวิต” บอกอะไรบา้งเกี่ยวกบัชีวติมนุษย์ หลายชีวิต


78 แนวทางการท ากิจกรรม ครูแบ่งกลุ่มผูเ้รียนออกเป็น 2 - 3กลุ่มย่อย ให้ผเู้รียนเลือกประธานกลุ่มและเลขานุการกลุ่ม เพื่อเป็ นผู้น าอภิปรายและผู้จดบันทึก ผลการอภิปรายของกลุ่มและนา ผลการอภิปรายของกลุ่มเสนอต่อที่ ประชุมใหญ่จากน้ันให้ผู้เรียนทุกกลุ่มอภิปรายถกแถลงเพื่อหาค าตอบตามประเด็นที่ก าหนดให้ ครูติดตามสังเกต เหตุผลของกลุ่มหากขอ้มูลยงัไม่เพียงพอครูอาจช้ีแนะให้อภิปรายเพิ่มเติม ในส่วนของ ขอ้มูลที่ยงัขาดอยู่ได้เลขานุการกลุ่มบนัทึกผลการพิจารณาหาคา ตอบตามประเด็นที่กา หนด ให้เป็น คา ตอบส้ัน ๆ ไดใ้จความเท่าน้นัและนา คา ตอบน้นั ไปรายงานในที่ประชุมกลุ่มใหญ่หากมีผเู้รียนไม่มาก นกัครูอาจไม่ตอ้งแบ่งกลุ่มย่อย ให้ผูเ้รียนทุกคนร่วมอภิปรายถกแถลง หรือสนทนาแลกเปลี่ยนความคิด กนั ในกลุ่มใหญ่เลยโดยมีประธานหรือหวัหนา้กลุ่มเป็นผนู้า และมีเลขานุการกลุ่มเป็นผบู้นัทึกขอ้คิดเห็น ของคนในกลุ่ม ลงบนกระดาษปรู๊ฟ หรือกระดานดา (ครูอาจเป็นผชู้่วยบนัทึกได)้ ในการประชุมกลุ่มใหญ่ผูแ้ทนกลุ่มย่อยนา เสนอรายงาน ครูบนัทึกขอ้คิดเห็นของกลุ่ม ย่อยไวท้ี่กระดาษปรู๊ฟ ซ่ึงเตรียมจดัไวก้่อนแลว้เมื่อทุกกลุ่มรายงานแลว้ครูนา อภิปรายในกลุ่มใหญ่ถึง ค าตอบของกลุ่ม ซ่ึงจะหลอมรวมบูรณาการคา ตอบของกลุ่มยอ่ยออกมาเป็นคา ตอบประเด็นอภิปรายของ กรณีตวัอยา่ง “หลายชีวิต”ของกลุ่มใหญ่จากน้นัครูนา สรุปคา ตอบที่ไดเ้ป็นขอ้เขียนที่สมบูรณ์ข้ึน และนา คา ตอบน้นับนัทึกในกระดาษปรู๊ฟติดไวใ้หเ้ห็นชดัเจน กรณีตวัอย่างเรื่อง “หลายชีวิต” เริ่มเปิดตวัออกมาเป็ นเรื่องแรก ผู้เรียนจะต้องติดตาม ต่อไปด้วยการทา กิจกรรมที่2 ที่3 ที่4 ถึงที่5 ตามลา ดบัจึงจะพบคา ตอบว่า “ความเชื่อพ้ืนฐานทาง การศึกษาผู้ใหญ่คืออะไรแน่และจะเป็นปฐมบทของ “การคิดเป็ น”อยา่งไร พกัสักครู่ก่อนนะ ตัวอย่าง ข้อ ส รุป ของกรณี ตวัอย่าง เรื่อง “หลายชีวิต” จาก ความเห็นของผเู้รียนหลายกลุ่มที่ ผ่านมา ปรากฏดังในกรอบด้าน ขวามือตัวอย่างข้อสรุปน้ีอาจ ใกลเ้คียงกบัขอ้สรุปของท่านก็ได้ ตัวอย่าง ขอ้สรุปผลการอภิปรายจากกรณีตวัอยา่งเรื่อง “หลายชีวิต” -------------- คนแต่ละคนมีความแตกต่างกนัมีวิถีการดา เนินชีวิตที่ไม่ เหมือนกัน แต่ทุกคนมีความต้องการที่คล้ายกัน คือ ต้องการประสบความส าเร็จ ซึ่งถ้าบรรลุตามต้องการของ ตน คนน้นัก็จะมีความสุข


79 กิจกรรมที่ 2 ครูและผเู้รียนนงั่รวม ๆ อยกู่นัเป็นกลุ่ม ครูแจกใบงานที่2 ที่เป็นกรณีตวัอยา่ง เรื่อง “แป๊ ะฮง”ครูดา เนินกิจกรรมเช่นเดียวกบัการดา เนินงานในกิจกรรมที่1 ใบงานที่ 2 กรณีตวัอยา่งเรื่องแป๊ะฮง ท่านขนุพิชิตพลพา่ยเป็นคหบดีมีชื่อเสียงมากในดา้นความเมตตากรุณาท่านเป็นคน ที่พร้อมไปดว้ยทรัพยส์มบตัิขา้ทาสบริวารเกียรติยศ ชื่อเสียงและสุขกายสบายใจ ตาแป๊ ะฮง เป็นชายจีนชราตัวคนเดียว ขายเต้าฮวย อาศยัอยทู่ ี่หอ้งแถวเล็ก ๆ หลังบ้าน ขุนพิชิต แป๊ ะฮงขายเต้าฮวยเสร็จกลับบ้านตอนเย็น ตกค ่าหลังจากอาบน้า อาบท่ากินขา้วเสร็จก็นงั่สีซอ เพลิดเพลินทุกวันไป วนัหน่ึงท่านขนุคิดวา่แป๊ะฮงดูมีความสุขดีแต่ถา้ไดม้ีเงินมากข้ึนคงจะมีความสุข อยา่งสมบูรณ์มากข้ึน ทานขุนจึงเอาเงินหนึ่ ่งแสนบาทไปใหแ้ป๊ะฮงจากน้นัมาเป็นเวลาอาทิตย์หนึ่งเต็ม ๆ ท่านขนุไม่ไดย้นิเสียงซอจากบา้นแป๊ะฮงอีกเลย ท่านขนุรู้สึกเหมือนขาดอะไรไปอยา่งหน่ึง เยน็วนัที่แปด แป๊ะฮงก็มาพบท่านขนุพร้อมกบันา เงินที่ยงัเหลืออีกหลายหมื่นมาคืน แป๊ะฮงบอกท่านขนุวา่ “ผมเอาเงินมาคืนท่านครับ ผมเหนื่อยเหลือเกิน มีเงินมากก็ตอ้งทา งานมากข้ึนตอ้งคอย ระวงัรักษาเงินทอง เตา้ฮวยก็ไม่ไดข้าย ตอ้งไปลงทุนทางอื่นเพื่อให้รวยมากข้ึนอีกลงทุนแลว้ก็กลวั ขาดทุน เหนื่อยเหลือเกิน ผมไม่อยากไดเ้งินแสนแลว้ครับ” คืนน้นัท่านขุนก็หายใจโล่งอก เมื่อได้ยินเสียงซอจากบ้านแป๊ ะฮงแทรกเขา้มากบัสายลม ประเด็น ในเรื่องของความสุขของคนในเรื่องน้ีท่านไดแ้นวคิดอะไรบา้ง? แนวทางการท ากิจกรรม 1. เลขานุการกลุ่มบนัทึกความเห็นของกลุ่มที่ร่วมกนัอภิปราย ความเห็นอาจมีหลายคา ตอบก็ได้ 2. เปรียบเทียบความเห็น หรือค าตอบของกลุ่มผเู้รียนกบัตวัอยา่งขอ้สรุปที่นา เสนอวา่ ใกลเ้คียงกนั หรือไม่เพียงใด 3. เลือกขอ้คิดหรือคา ตอบที่กลุ่มคิดวา่ดีที่สุดไว้1คา ตอบ แป๊ะฮง


80 4. คา ตอบที่กลุ่มคิดวา่ดีที่สุดที่เลือกบนัทึกไวค้ือ …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………….. ตัวอย่าง ข้อสรุปของกรณีตัวอย่าง เรื่ อง “แป๊ ะฮง” จากความเห็นของ ผู้เรียนหลายกลุ่มที่เคยเสนอไว้ดัง ปรากฏในกรอบด้านขวามือ ตวัอยา่ง ข้อสรุปน้ีอาจใกล้เคียงกับข้อสรุป ของกลุ่มของท่านก็ได้ ตัวอย่าง ขอ้สรุปผลการอภิปรายจากกรณีตวัอยา่งเรื่อง “แป๊ ะฮง” ----------- เมื่อคนมีความแตกต่างกัน แต่ทุกคนต่างก็ ตอ้งการความสุข ดงัน้นัความสุขของแต่ละคนก็ อาจไม่เหมือนกัน ต่างกันไปตามสภาวะของ แต่ละบุคคลที่แตกต่างกนัดว้ย


81 กิจกรรมที่ 3 ครูและผเู้รียนนงั่รวม ๆ อยกู่นัเป็นกลุ่ม ครูแจกใบงานที่3 ที่เป็นกรณีตวัอยา่ง เรื่อง “ธัญญวดี”ครูดา เนินกิจกรรมเช่นเดียวกบัการดา เนินงานในกิจกรรมที่2 ใบงานที่ 3 กรณีตวัอยา่งเรื่อง “ธัญญวดี” ธญัญวดีไดร้ับการบรรจุเป็นครูในโรงเรียนมธัยมที่ต่างจงัหวดัพอเป็นครูได้1 ปีก็มีอนั เป็นตอ้งยา้ยเขา้มาอยู่ในกรุงเทพมหานคร โรงเรียนที่ธัญญวดีย้ายเข้ามาท าการสอนเป็ นโรงเรียนมัธยม เช่นเดียวกนัแต่มีการสอนการศึกษาผูใ้หญ่ระดบัที่3 - 4 และ 5 ในตอนเย็นอีกด้วย มาเมื่อเทอมที่แล้ว ธัญญวดีได้รับการชกัชวนจากอาจารยใ์หญ่ให้สอนการศึกษาผูใ้หญ่ในตอนเย็น ธัญญวดีเห็นว่าตวัเอง ไม่มีภาระอะไรก็เลยตกลงโดยไม่ตอ้งคิดถึงเรื่องอื่น ซ้า ยงัจะมีรายไดเ้พิ่มข้ึนอีกดว้ย แต่ธัญญวดีจะคิดผิดหรือเปล่าไม่ทราบ เริ่มตน้จากเสียงกระแนะกระแหนจากครูเก่า บางคนว่ามาอยู่ยงัไม่ทนั ไรก็ได้สอนภาคค่า ส่วนครูเก่าที่สอนภาคค่า ก็เลือกสอนเฉพาะชั่วโมงตน้ๆ โดยอ้างว่า เขามีภารกิจที่บ้าน ธัญญวดียงัสาว ยงัโสด ไม่มีภาระอะไรต้องสอนชั่วโมงทา้ย ๆ ท าให้ ธญัญวดีตอ้งกลบับา้นดึกทุกวนัถึงบา้นก็เหนื่อยอาบน้า แลว้หลบัเป็นตายทุกวนั การสอนของครูภาคค่า ส่วนใหญ่ไม่ค่อยคา นึงถึงผูเ้รียน เขาจะรีบสอนให้หมดไป ชั่วโมงหน่ึงๆ เท่าน้ัน เทคนิคการสอนที่ได้รับการอบรมมาเขาไม่นา พา ทา งานแบบขอไปทีเช้าชาม เยน็ชาม ธญัญาวดีเห็นแลว้ก็คิดวา่คงจะร่วมสังฆกรรมไม่ได้จึงพยายามทุ่มเทกา ลงักายกา ลงัใจและเวลา ท าทุกๆ วิถีทาง เพื่อหวงัจะให้ครูเหล่าน้นั ไดเ้อาเยี่ยงอย่างของตนบา้งแต่ก็ไม่ไดผ้ล ทุกอยา่งเหมือนเดิม ธญัญวดีแทบหมดกา ลงัใจไม่มีความสุขเลยคิดจะยา้ยหนีไปอยู่ที่อื่น มาฉุกคิดว่าที่ไหน ๆ คงเหมือน ๆ กนัคนเราจะใหเ้หมือนกนัหมดทุกคนไปไม่ได้ ประเด็น ถา้ท่านเป็นธญัญวดีทา อยา่งไรจึงจะอยใู่นสังคมน้นัไดอ้ยา่งมีความสุข ธัญญวดี


82 แนวทางการท ากิจกรรม 1. เลขานุการกลุ่มบนัทึกความเห็นของกลุ่มที่ร่วมกนัอภิปรายความเห็นอาจมีหลายคา ตอบก็ได้ 2. เปรียบเทียบความเห็น หรือคา ตอบของกลุ่มผเู้รียนกบัตวัอยา่งขอ้สรุปที่นา เสนอวา่ ใกลเ้คียงกนั หรือไม่เพียงใด 3. เลือกขอ้คิดหรือคา ตอบที่กลุ่มคิดวา่ดีที่สุดไว้1คา ตอบ 4. คา ตอบที่กลุ่มคิดวา่ดีที่สุดที่เลือกบนัทึกไวค้ือ …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ……………................................................................................................................................... ตัวอย่างข้อสรุปของกรณีตัวอย่าง เรื่อง “ธัญญวดี” จากความเห็นของ ผู้เรียนหลายกลุ่มที่เคยเสนอไว้ดัง ป ร าก ฏ ดังใ นก ร อบ ด้าน ข วา มื อ ตวัอยา่งขอ้ สรุปน้ีอาจจะใกลเ้คียงกบั ขอ้สรุปของกลุ่มของท่านก็ได้ ตวัอยา่ง ขอ้สรุปผลการอภิปรายจากกรณีตวัอยา่งเรื่อง “ธัญญวดี” --------------------- การที่คนเราจะมีชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุขน้ัน ต้องรู้จักป รับตัวเองให้เข้ากับ สถานการณ์ สิ่งแวดลอ้มหรือปรับสถานการณ์สิ่งแวดลอ้มให้เขา้ กบัตนเองหรือปรับท้งัสองทางให้เขา้หากนั ไดอ้ย่าง ผสมกลมกลืนก็จะเกิดความสุขได้


83 กิจกรรมที่ 4 ครูและผเู้รียนนงั่รวม ๆ อยกู่นัเป็นกลุ่ม ครูแจกใบงานที่4 ที่เป็นกรณีตวัอยา่ง เรื่อง “วุน่” ครูดา เนินกิจกรรมที่4 เช่นเดียวกบัการดา เนินงานในกิจกรรมที่3 ใบงานที่ 4 กรณีตัวอย่างเรื่อง “วุ่น” หมู่บา้นดอนทรายมูลที่เคยสงบเงียบมาแต่กาลก่อน กลบัคึกคกัดว้ยผูค้นที่อพยพเขา้ไป อยู่เพิ่มกนัมากข้ึน ๆ ทุกวนัท้งัน้ีเป็นเพราะการคน้พบพลอยในหมู่บา้น มีการต่อไฟฟ้าทา ให้สว่างไสว ถนนลาดยางอย่างดีรถราวิ่งดูขวกัไขว่ไปหมด สิ่งที่ไม่เคยเกิดข้ึนมาก่อนก็เกิดข้ึน เช่น เมื่อวานเจา้จุก ลูกผใู้หญ่จา้งถูกรถจากกรุงเทพฯ ทบัตายขณะวงิ่ ไล่ยงินกเมื่อเดือนก่อน น.ส.เหรียญเงิน เทพีสงกรานต์ปี น้ีถูกไฟฟ้าดูดขณะรีดผา้อยู่ซ่องผหู้ ญิงเกิดข้ึนเป็นดอกเห็ด เพื่อตอ้นรับผู้คนที่มาทา ธุรกิจ ที่ร้ายก็คือเป็น ที่เที่ยวของผชู้ายในหมู่บา้นน้ีไปดว้ย ทา ใหผ้วัเมียตีกนัแทบไม่เวน้แต่ละวนั ครูสิงห์แกนั่งดูเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดข้ึนแล้ว ไดแ้ต่นั่งปลงอนิจจงั “เออ ไอพ้วกน้ีเคย สอนจา จ้ีจ้า ไชมา ต้งัแต่หัวเท่ากา ป้ัน เดียยวน้ีดูมนัขดัหูขดัตากันไปหมด จะสอนมนัอย่างเดิมคงจะไป ไม่รอดแลว้เราจะทา อยา่งไรดี” ประเด็น 1. ทา ไมจึงเกิดปัญหาต่าง ๆ เหล่าน้ีข้ึนในหมู่บา้นดอนทรายมูล 2. ถา้ท่านเป็นคนในหมู่บา้นทรายมูล ท่านจะแกป้ ัญหาอยา่งไร 3. ท่านคิดวา่ การเรียนรู้ที่เหมาะสมกบัสภาพของชุมชนเช่นน้ีควรเป็นอยา่งไร “วุ่น”


84 แนวทางการท ากิจกรรม 1. บนัทึกความเห็นของกลุ่มที่ร่วมกนัอภิปรายถกแถลงความเห็นอาจมีหลายข้อ 2. เปรียบเทียบความเห็น ที่กลุ่มผเู้รียนเสนอกบัตวัอยา่งขอ้คิดเห็นที่เสนอไวว้า่ ใกลเ้คียงกนัหรือไม่ เพียงใด 3. เลือกคา ตอบหรือขอ้คิดเห็นที่กลุ่มผเู้รียนเลือกไวว้า่ดีที่สุดบนัทึกไว้1คา ตอบ 4. ค าตอบที่เลือกไว้คือ …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ตวัอย่างข้อสรุปของกรณีตวัอย่าง เรื่ อง “วุ่น” จาก ความ เห็ นของ ผเู้รียนหลายกลุ่มที่เคยเสนอไวด้งัที่ ป ร า ก ฏ ใ น ก ร อ บ ด้ า น ข ว า มื อ ตวัอย่างข้อสรุปน้ีอาจจะใกล้เคียง กบัขอ้สรุปของกลุ่มของท่านก็ได้ ตัวอย่าง ขอ้สรุปผลการอภิปรายจากกรณีตวัอยา่งเรื่อง “วุ่น” ---------------------------- สังคมปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอยา่งรวดเร็วความ เจริญทางวัตถุและเทคโนโลยีวิ่งเข้าสู่ชุมชนอย่าง รวดเร็วและรุนแรงตลอดเวลา จนคนในชุมชนต้งัรับ ไม่ทนั ปรับตวัไม่ไดจ้ึงเกิดปัญหาที่หลากหลายท้งัดา้น เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง การศึกษา อาชีพ ความมั่นคง และความปลอดภัยของคนใน ชุมชน การจัดการเรียนการสอนในปัจจุบันจะใช้วิธี สอนโดยการบอก การอธิบายของครูให้ผู้เรียนจ าได้ เท่าน้นัคงไม่เพียงพอแต่ตอ้งให้ผูเ้รียนรู้จกัคิดรู้จักการ แกป้ ัญหาที่ตอ้งไดข้อ้มูลที่หลากหลายมาประกอบการ คิดแก้ปัญหาให้สอดคล้องกับความเชื่อ ความจา เป็น ของตนเอง และความต้องการของชุมชนด้วย


85 กิจกรรมที่ 5 ครูและผเู้รียนนงั่รวม ๆ อยกู่นัเป็นกลุ่ม ครูแจกใบงานที่5 ที่เป็นกรณีตวัอยา่ง เรื่อง “สู้ไหม” ครูเปิดเทปที่อดัเสียงกรณีตวัอยา่งเรื่อง “สู้ไหม” ให้ผู้เรียนฟังพร้อม ๆ กนัถา้ไม่มีเทปครูตอ้ง อ่านใหฟ้ ังแบบละครวทิยุเพื่อสร้างบรรยากาศใหต้ื่นเตน้ตามเน้ือหาในกรณีตวัอยา่งเมื่อครูอ่านจบแลว้ก็ จะพดูคุยกบัผเู้รียนในเชิงทบทวนถึงเน้ือหาและเหตุการณ์ในเน้ือเรื่องของกรณีตวัอยา่งตรงกนั ไม่ตกหล่น จากน้นัครูจึงเสนอประเด็นกา กบักรณีตวัอยา่งใหผ้เู้รียนนา ไปอภิปรายถกแถลง เพื่อหาคา ตอบในกลุ่มยอ่ย ใบงานที่ 5 กรณีตัวอย่างเรื่อง “สู้ไหม” ผมตกใจสะดุง้ตื่นข้ึนเมื่อเกิดเสียงเอะอะ พอลืมตาข้ึนมา เห็นทุกคนยนืกนัเกือบหมดรถ“ทุกคน นงั่ลงอยู่นิ่ง ๆ อย่าเคลื่อนไหวไม่ง้นัยิงตายหมด” เสียงตวาดลนั่ออกมาจากปากของเจา้ชายหน้าเห้ียม คอส้ันที่ยนือยหู่นา้รถกา ลงัใชป้ืนจ่ออยทู่ ี่คอของคนขบั ผมรู้ทนัทีว่ารถทวัร์ที่ผมโดยสารคนัน้ีถูกเล่นงานโดยเจ้าพวกวายร้ายแน่หันไปดูด้านหลัง เห็นไอว้ายร้ายอีกคนหน่ึงถือปืนจงักา้อยู่ผมใชม้ืออนัสั่นเทาลว้งลงไปในกระเป๋ากางเกงคลา .38 เห่าไฟ ของผมซ่ึงซ้ือออกมาจากร้านเมื่อบ่ายน้ีเอง นึกในใจวา่“โธ่เพิ่งซ้ือเอามายงัไม่ทนัยิงเลย เพียงใส่ลูกเต็ม เท่าน้นัเองก็จะถูกคนอื่นเอาไปเสียแลว้” เสียงเจา้ตาพองหนา้รถตะโกนข่บูอกคนขบัรถ“หยุดรถเดียยวน้ีมึงอยากตายโหงหรือไง” ผมนึก ในใจวา่เดียยวพอรถหยดุมนัคงตอ้งให้เราลงจากรถแลว้กวาดกนัเกล้ียงตวัแต่ผมตอ้งแปลกใจแทนที่รถ จะหยุดมนักลบัยิ่งเร็วข้ึนทุกทีทุกทียิ่งไปกวา่น้นัรถกลบัส่ายไปมาเสียดว้ย ไอพ้วกมหาโจรเซไปเซมา แต่เจ้าตาพองยงัไม่ลดละ แม้จะเซออกไปมันก็กลับวิ่งไปยืนประชิดคนขับอีก พร้อมตะโกนอยู่ ตลอดเวลา “หยุดโว้ย หยุด ไอ้นี่กูลงไปได้ละมึง จะเหยียบให้คาส้นทีเดียว” รถคงตะบึงไปต่อคนขบับา้เลือดเสียแลว้ผมไม่แน่ใจวา่เขาคิดอยา่งไรขณะน้นัผมกวาดสายตา เห็นผชู้ายที่นงั่ถดัไปทางมา้นงั่ดา้นซา้ยเป็นตา รวจยศจ่ากา ลงัจอ้งเขม็งไปที่ไอว้ายร้ายและถดัไปอีกเป็น ชายผมส้ันเกรียนอีก2คน ใส่กางเกงสีกากีและสีข้ีมา้ผมเขา้ใจวา่คงจะเป็นตา รวจหรือทหารแน่กา ลงั เอามือลว้งกระเป๋ากางเกงอยทู่้งัสองคน บรรยากาศตอนน้นัช่างเครียดจริง ๆ ไหนจะกลวัถูกปล้น ถูกยิง ไหนจะกลัวรถคว ่า ทุกคนเกร็ง ไปหมด ทุกสิ่งทุกอยา่งถึงจุดวกิฤตแลว้ ประเด็น 1. ถา้คุณอยใู่นเหตุการณ์อยา่งผม คุณจะตดัสินใจอยา่งไร 2. ก่อนที่คุณจะตดัสินใจคุณคิดถึงอะไรบา้ง “ส ู้ไหม”


86 แนวทางการท ากิจกรรม ครูแบ่งกลุ่มผเู้รียนออกเป็น 2 - 3กลุ่มยอ่ย ให้ผเู้รียนเลือกประธานกลุ่มและเลขานุการกลุ่มเพื่อ เป็นผนู้า และผจู้ดบนัทึกผลการอภิปรายของกลุ่มตามลา ดบัและนา ผลการอภิปรายที่บนัทึกไวไ้ปเสนอต่อ ที่ประชุมใหญ่จากน้นั ให้ผูเ้รียนทุกกลุ่มอภิปรายถกแถลงเพื่อหาคา ตอบตามประเด็นที่กา หนดให้ครู ติดตามสังเกต การใชเ้หตุผลของแต่ละกลุ่ม หากขอ้มูลยงัไม่เพียงพอครูอาจช้ีแนะให้อภิปรายเพิ่มเติมได้ เลขานุการกลุ่มบนัทึกผลการพิจารณาหาคา ตอบตามประเด็นที่กา หนด และนา คา ตอบน้นั ไปรายงานในที่ ประชุมกลุ่มใหญ่(หากมีผเู้รียนไม่มากครูอาจให้มีการสนทนาหรืออภิปรายถกแถลงกนั ในกลุ่มใหญ่เลย โดยไม่ตอ้งแบ่งกลุ่มยอ่ยก็ได)้ ในการประชุมกลุ่มใหญ่ครูเตรียมกระดาษปรู๊ฟแบ่งเป็น 3 ช่อง ให้หวัขอ้แต่ละช่องวา่ขอ้มูลทาง วิชาการขอ้มูลดา้นตนเอง และขอ้มูลดา้นสังคมสิ่งแวดลอ้ม ข้อมูลทางวิชาการ คือ ข้อมูลที่เป็ นความรู้ ความจริง ทฤษฎี ต ารา ฯลฯ ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง คือ ข้อมูลส่วนตวัของผูค้ิด ผูว้ิเคราะห์เอง เช่น ประสบการณ์ของผู้วิเคราะห์ ความชอบ ความถนัด ความสนใจ จุดอ่อน จุดแข็ง ความรัก ความชอบ ความกลวัความกลา้ของตนเอง ฯลฯ ขอ้มูลเกี่ยวกบัสังคมสิ่งแวดลอ้ม คือขอ้มูลที่อยใู่นสังคมรอบตวัของ ผวู้เิคราะห์เช่น ความเชื่อวฒันธรรมประเพณีสภาวะแวดลอ้ม กฎหมายขอ้บงัคบัภูมิประเทศ ภูมิอากาศ กระแสสังคม ฯลฯ นา มาติดไวล้่วงหน้า เมื่อแต่ละกลุ่มรายงานถึงเหตุผลของกลุ่มว่าสู้หรือไม่สู้เพราะ เหตุผลอะไรขอ้มูลที่นา มาเสนอจะถูกบนัทึกลงในช่องที่เหมาะสมกบัขอ้มูลน้นัๆ เช่น ถา้ยกเหตุผลว่า สู้หรือไม่สู้เพราะสังเกตจากปฏิกิริยาหรือพฤติกรรมของผูค้นรอบขา้งในรถ ก็น่าจะบนัทึกเหตุผลน้ัน ลงในช่องที่3 เรื่องข้อมูลด้านสังคมสิ่งแวดล้อม หากเหตุผลที่เสนอเป็นเรื่องความมั่นใจหรือความ เขม้แข็งทางจิตใจของตนเองก็บนัทึกเหตุผลลงในช่องที่2ขอ้มูลดา้นตนเอง หรือถา้เหตุผลที่เสนอเป็น เรื่องของความรู้เรื่องการยงิปืน ชนิดของปืน ก็บนัทึกเหตุผลลงในช่องที่1ขอ้มูลทางวิชาการ เป็นตน เมื่อ ้ ทุกกลุ่มรายงานและขอ้มูลถูกบนัทึกลงในแบบบนัทึกขอ้มูลท้งั3กลุ่มแลว้ครูนา กระดาษปรู๊ฟที่บันทึก ขอ้มูลท้งั3 ดา้นข้ึนมาใหผ้เู้รียนพิจารณาแลว้จะถามผเู้รียนวา่พอใจกบัการคิด การตดัสินใจหรือยงัถา้ยงั ไม่พอใจใหทุ้กคนเพิ่มเติมตามที่ตอ้งการจากน้นัครูสรุปให้ผเู้รียนเขา้ใจวา่การคิดการแกป้ ัญหาต่าง ๆ ผู้ แกป้ ัญหาจะมีการนา ขอ้มูลมาประกอบการคิดอยา่งนอ้ย3 ประการ เสมอคือขอ้มูลวิชาการขอ้มูลตนเอง และขอ้มูลสังคมสิ่งแวดล้อม อาจมีคนคิดถึงข้อมูลด้านอื่น ๆ อีกก็ได้แต่จะมีข้อมูลหลกัอย่างน้อย 3 ประการเสมอการคิดแกป้ ัญหาน้นัจึงจะรอบคอบและพอใจถา้ยงัไม่พอใจก็ตอ้งกลบัไปคิดถึงปัญหาและ ขอ้มูลที่นา มาคิดแกไ้ข พยายามคิดหาขอ้มูลเพิ่มเติมแต่ละดา้นให้มากข้ึน จนพอเพียงที่จะใชแ้กป้ ัญหาจน พอใจก็ถือวา่การคิดการแกป้ ัญหาน้นัเสร็จสิ้นดว้ยดี


87 ตวัอยา่งแบบฟอร์มในการเตรียมบนัทึกขอ้มูลจากการคิดการสรุปของผู้เรียน หลังจากอภิปรายถกแถลง กรณีตวัอยา่งเรื่อง “สู้ไหม”แลว้ครูนา มาบนัทึกลงตารางในกระดาษปรู๊ฟขา้งล่างน้ี 1. ข้อมูลทางวิชาการ 2. ขอ้มูลเกี่ยวกบัตนเอง 3.ขอ้มูลทางสังคมสิ่งแวดลอ้ม ................................................. ................................................. ................................................. ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................. ................................................. ................................................. ................................................ ................................................ ……………………………… ……………………………… ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................. ................................................. ................................................. ................................................ ................................................ ……………………………… ……………………………… ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................


88 ตัวอย่าง แบบฟอร์มในการเตรียมบันทึกข้อมูลจากการคิดการสรุปของผู้เรียน หลังจากอภิปราย ถกแถลงกรณีตวัอยา่งเรื่อง “สู้ไหม” แล้วครูน ามาบันทึกลงตารางในกระดาษปรู๊ฟขา้งล่างน้ี 1 ข้อมูลทางวิชาการ 2 ข้อมูลเกยี่วกบัตนเอง 3 ข้อมูลทางสังคมและสิ่งแวดล้อม ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ............................................. ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ตวัอยา่งขอ้ สรุปของกรณีตวัอยา่ง เรื่อง “สู้ไหม” จากความเห็นของ ผเู้รียนหลายกลุ่มหลายคนที่เคย เสนอไว้ ดังที่ปรากฏในกรอบ ดา้นขวามือ ตวัอยา่งขอ้สรุปน้ี อาจจะใกลเ้คียงกบัขอ้สรุปของ กลุ่มของท่านก็ได้ ตัวอย่าง ขอ้สรุปผลการอภิปรายจากกรณีตวัอยา่งเรื่อง “สู้ไหม” -------------- ปั ญ ห า ใ น สั ง ค ม ปั จ จุ บั น ซั บ ซ้ อ น แ ล ะ เปลี่ยนแปลงรวดเร็ว การเรียนรู้โดยการฟัง การจ า จาก การสอนการอธิบายของครูอย่างเดียวคงไม่พอที่จะ แก้ปัญหาได้อย่างยงั่ยืน ทนัต่อเหตุการณ์การสอนให้ ผเู้รียนรู้จกัคิดเอง โดยใชข้อ้มูลที่หลากหลายอยา่งนอ้ย 3 ประการ คือ ข้อมูลที่เกี่ยวขอ้งกบัหลกัวิชาการขอ้มูล เกี่ยวกับตนเอง และข้อมูลเกี่ยวกับสภาพของสังคม สิ่งแวดล้อม มาประกอบในการคิด การตดัสินใจอย่าง พอเพียงก็จะทา ให้การคิด การตดัสินใจเพื่อแกป้ ัญหาน้นั มีความมนั่ใจและถูกตอ้งมากข้ึน


89 เมื่อผเู้รียนไดร้่วมทา กิจกรรม ความเชื่อพ้ืนฐานทางการศึกษาผใู้หญ่ครบท้งั5กิจกรรมแลว้ ครูนา กระดาษปรู๊ฟที่สรุปกรณีตวัอย่างท้งั5 แผ่นติดผนงัไว้เชิญทุกคนเขา้ร่วมประชุมกลุ่มใหญ่แลว้ให้ ผเู้รียนบางคนอาสาสมคัรสรุปความเชื่อพ้ืนฐานทางการศึกษาผใู้หญ่ให้เพื่อนฟัง จากน้นัครูสรุปสุดทา้ย ด้วยบทสรุป ตวัอยา่งดงัน้ี ความเชื่อพ้ืนฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่เชื่อว่าคนทุกคนมีพ้ืนฐานที่แตกต่างกัน ความตอ้งการก็ไม่เหมือนกนัแต่ทุกคนก็มีจุดมุ่งหมายปลายทางของตนที่จะกา้วไปสู่ความส าเร็จ ซ่ึงถา้ บรรลุถึงสิ่งน้นัไดเ้ขาก็จะมีความสุข ดงัน้นัความสุขเหล่าน้ีจึงเป็นเรื่องต่างจิตต่างใจที่กา หนดตามสภาวะ ของตน อยา่งไรก็ตามการจะมีความสุขอยไู่ดใ้นสังคม จา เป็นตอ้งปรับตวัเอง และสังคมให้ผสมกลมกลืน กนัจนเกิดความพอดีแก่เอกตัภาพ และบางคร้ังหากเป็นการตดัสินใจที่ไดก้ระทา ดีที่สุดตามกา ลงัของ ตวัเองแล้ว ก็จะมีความพอใจกบัการตดัสินใจน้ัน อีกประการหน่ึงในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็วน้ีการที่จะปรับตวัเองและสิ่งแวดลอ้มให้เกิดความพอดีน้นัจา เป็นตอ้งรู้จกัการคิด การแกป้ ัญหา การเรียนการสอนที่จะใหค้นรู้จกัแกป้ ัญหาไดน้ ้นัการสอนโดยการบอกอยา่งเดียวคงไม่ไดป้ระโยชน์มาก นัก การสอนให้รู้จักคิด รู้จักวิเคราะห์จึงเป็ นวิธีที่ควรน ามาใช้กระบวนการคิด การแกป้ ัญหามีหลากหลาย วิธีแตกต่างกนั ไป แต่กระบวนการคิด การแกป้ ัญหาที่ตอ้งใช้ขอ้มูลประกอบการคิด การวิเคราะห์อย่าง น้อย 3 ประการ คือขอ้มูลทางวิชาการ ขอ้มูลเกี่ยวกบัตวัเอง และขอ้มูลเกี่ยวกบัสังคมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเมื่อนา ผลการคิดน้ีไปปฏิบตัิแลว้พอใจมีความสุขก็จะเรียกการคิดเช่นน้นัวา่คิดเป็น บทสรุป เรื่องความเชื่อพนื้ฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่ เราไดเ้รียนรู้ถึงความเชื่อพ้ืนฐานทางการศึกษาผใู้หญ่โดยการทา กิจกรรมร่วมกนัท้งั5กิจกรรม แลว้ดงับทสรุปที่ไดร้่วมกนัเสนอไวแ้ลว้ความเชื่อพ้ืนฐานที่สรุปไวน้้ีคือความเชื่อพ้ืนฐานที่เป็นความจริง ในชีวิตของคนที่ กศน. น ามาเป็ นหลักให้คนท างาน กศน. ตลอดจนผู้เรียนได้ตระหนักและเข้าใจแล้ว นา ไปใช้ในการดา รงชีวิตเพื่อการคิด การแกป้ ัญหาการทา งานร่วมกบัคนอื่น การบริหารจดัการในฐานะ เป็ นนายเป็ นผู้น าหรือผู้ตาม ในฐานะผู้สอน ผู้เรียนในฐานะเป็ นสมาชิกในครอบครัว สมาชิกในชุมชน และสังคม เพื่อให้รู้จกัตวัเอง รู้จกัผูอ้ื่น รู้จกัสภาวะสิ่งแวดล้อม การคิดการตดัสินใจต่าง ๆ ที่คา นึงถึง ขอ้มูลที่เพียงพออย่างน้อยประกอบดว้ยขอ้มูล 3 ดา้น คือขอ้มูลทางวิชาการขอ้มูลเกี่ยวกบัตนเองและ ขอ้มูลเกี่ยวกบัสังคม สิ่งแวดลอ้ม ดว้ยความใจกวา้ง มีอิสระ ยอมรับฟังความคิดเห็นของผอู้ื่นไม่เอาแต่ใจ ตนเองจะไดม้ีสติรอบคอบ ละเอียดถี่ถว้น ไม่ผดิพลาดจนเกินไป เราถือวา่ความเชื่อพ้ืนฐานทางการศึกษา ผูใ้หญ่ดังกล่าวน้ีคือ พ้ืนฐานเบ้ืองตน้ของการน าไปสู่การคิดเป็น หรือเรียกตามภาษานักวิชาการว่า ปฐมบทของกระบวนการคิดเป็ น


90 เรื่องที่ 2 คิดเป็ นและกระบวนการคิดเป็ น ในเรื่องที่1 เราไดเ้รียนรู้เรื่องของความเชื่อพ้ืนฐานทางการศึกษาผูใ้หญ่มาแล้วว่า เป็นพ้ืนฐาน หรือปฐมบทของคิดเป็ น เป็ นความจริงหรือสัจธรรมในชีวิตที่สามารถน าไปใช้ในการด ารงชีวิตให้มี ความสุขได้ดงัน้นัคิดเป็นจึงควรจะเป็นเรื่องที่อยู่ในแวดวงของความจริงที่อยู่ในวิถีการดา รงชีวิตของ มนุษย์และสามารถน ามาปรับใช้ในการเรียนรู้และการมีชีวิตอยู่ร่วมกับ เพื่อนมนุษย์อย่างเป็ นสุขได้ เพื่อให้ผูเ้รียนได้เรียนรู้เรื่องคิดเป็นอย่างกวา้งขวางเพิ่มข้ึน ขอให้ผูเ้รียนได้ร่วมกิจกรรมที่กา หนดให้ ต่อไปน้ี กิจกรรมที่ 1 ใหผ้เู้รียนไปหาความหมายของคา วา่“คิดเป็ น” ในแง่มุมต่าง ๆ ท้งัโดยการอ่านหนงัสือ สนทนา ธรรม ฟังวิทยุคุยกบัเพื่อน ฯลฯ แล้วบนัทึกการคิดดงักล่าวลงในหน้าว่างของแบบเรียนน้ีอย่างส้ัน ๆ โดยไม่ตอ้งกงัวลวา่จะไม่ถูกตอ้ง 1. คิดเป็ น คือ ......................................................................................................................... .................................................................................................................................... 2. คิดเป็ น คือ ......................................................................................................................... .................................................................................................................................... 3. คิดเป็ น คือ ......................................................................................................................... .................................................................................................................................... 4. คิดเป็น คือ ......................................................................................................................... ..................................................................................................................................... กิจกรรมที่ 2 ขอให้ผู้เรียนลองให้ความเห็นของผู้เรียนเองบ้างว่า คิดเป็นคืออะไร โดยไม่ต้องกังวลว่า จะไม่ถูกตอ้ง คิดเป็ น คือ ........................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................


91 ขอให้ผูเ้รียนนา บนัทึกความเขา้ใจที่ไดศ้ึกษาเรื่องคิดเป็น ในกิจกรรมที่1 และ 2 ไปปรึกษาครู วา่ท่านมีความเขา้ใจเรื่องคิดเป็นมากนอ้ยเพียงใด ครูใหค้ะแนนผเู้รียนแต่ละคนดว้ยเครื่องหมาย เข้าใจดีมาก เข้าใจดีพอควร ให้ผูเ้รียนได้ศึกษาเรื่องของคิดเป็นและกระบวนการคิดเป็นต่อไปน้ีอย่างช้า ๆ ไม่ตอ้งรีบร้อน แล้วให้คะแนนความเข้าใจของตัวเองด้วยเครื่องหมาย ลงในกรอบการประเมินหลังจากการท าความ เข้าใจเสร็จแล้ว คิดเป็ นและกระบวนการคิดเป็ น “คิดเป็ น” เป็ นค าไทยส้ัน ๆ ง่าย ๆ ที่ดร.โกวิท วรพิพฒัน์ใช้เพื่ออธิบายถึงคุณลักษณะที่ พึงประสงคข์องคนในการดา รงชีวติอยใู่นสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยา่งรวดเร็วรุนแรงและซบัซ้อนไดอ้ยา่ง ปกติสุข “คิดเป็ น” มาจากความเชื่อพ้ืนฐานเบ้ืองตน้ที่วา่คนมีความแตกต่างกนัเป็นธรรมดาแต่ทุกคนมีความ ต้องการสูงสุดเหมือนกันคือความสุขในชีวิต คนจะมีความสุขได้ก็ต่อเมื่อมีการปรับตัวเองและสังคม สิ่งแวดลอ้มใหเ้ขา้หากนัอยา่งผสมกลมกลืนจนเกิดความพอดีนา ไปสู่ความพอใจและมีความสุขอยา่งไรก็ตาม สังคมสิ่งแวดลอ้มไม่ไดห้ยดุนิ่งแต่จะมีการเปลี่ยนแปลงอยา่งรวดเร็วและรุนแรงอยตู่ลอดเวลาก่อให้เกิดปัญหา เกิดความทุกข์ความไม่สบายกายไม่สบายใจข้ึนไดเ้สมอกระบวนการปรับตนเองกบัสังคมสิ่งแวดลอ้มให้ผสม กลมกลืนจึงตอ้งดา เนินไปอย่างต่อเนื่องและทนัการคนที่จะทา ไดเ้ช่นน้ีตอ้งรู้จกัคิด รู้จกัใช้สติปัญญารู้จกั ตัวเองและธรรมชาติสังคมสิ่งแวดลอ้มเป็นอย่างดีสามารถแสวงหาขอ้มูลที่เกี่ยวขอ้งอย่างหลากหลายและ พอเพียงอย่างน้อย3 ประการคือขอ้มูลทางวิชาการขอ้มูลทางสังคมสิ่งแวดลอ้ม และขอ้มูลที่เกี่ยวขอ้งกบั ตนเองมาเป็นหลักในการวิเคราะห์ปัญหาเพื่อเลือกแนวทางการตัดสินใจที่ดีที่สุดในการแก้ปัญหา หรื อ สภาพการณ์ที่เผชิญอยู่อย่างรอบคอบ จนมีความพอใจแล้วก็พร้อมจะรับผิดชอบการตัดสินใจน้ันอย่าง สมเหตุสมผลเกิดความพอดีความสมดุลในชีวิตอยา่งสันติสุขเรียกไดว้า่“คนคิดเป็ น” กระบวนการ คิดเป็ น อาจสรุปไดด้งัน้ี


Click to View FlipBook Version