The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

2.

2.

ชดุ วชิ า วัสดุศาสตร์ 2

รายวิชาเลือกบังคบั

ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
รหสั พว22003

หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน
พุทธศกั ราช 2551

สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
กระทรวงศึกษาธกิ าร



คำนำ

ชดุ วิชาวัสดุศาสตร์ 2 รหสั วชิ า พว22003 ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น นี้ ประกอบด้วยเนื้อหา
วัสดุศาสตร์รอบตัว การใช้ประโยชน์และผลกระทบจากการใช้วัสดุ การจัดการวัสดุท่ีใช้แล้ว
การคัดแยกและการรีไซเคิลวัสดุ และการจัดการวัสดุอันตราย เนื้อหาความรู้ ดังกล่าว มี
วัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้เรียน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวัสดุและสามารถเปรียบเทียบสมบัติ
ของวัสดุแต่ละชนิด การใช้ประโยชน์ การคัดแยกและการรีไซเคิลวัสดุในชีวิตประจาวัน รวมท้ัง
ตระหนักถึงผลกระทบจากการใช้วัสดุ ตลอดจนสามารถนาความรู้ไปใช้ ในการจัดการวัสดุ
อนั ตรายในชีวิตประจาวนั ของตนเอง และชุมชน

สานักงาน กศน. ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ที่ให้การสนับสนุน
องค์ความรู้ประกอบการนาเสนอเน้ือหา รวมทั้งผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการจัดทาชุดวิชา หวังเป็น
อยา่ งยง่ิ วา่ ชดุ วชิ าน้ี จะเกดิ ประโยชน์ต่อผเู้ รยี น กศน. และสรา้ งความตระหนกั ในการจัดการวัสดุ
ท่ีใช้แล้วอย่างรคู้ ุณค่าต่อไป

สานกั งาน กศน.



คำแนะนำกำรใช้ชดุ วชิ ำ

ชดุ วิชาวสั ดศุ าสตร์ 2 รหสั วิชา พว22003 ใช้สาหรบั นักศกึ ษาหลกั สตู รการศึกษา
นอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คอื

ส่วนที่ 1 โครงสร้างของชดุ วิชา แบบทดสอบกอ่ นเรียน โครงสรา้ งหนว่ ยการเรียนรู้
เนอื้ หาสาระ กจิ กรรมเรยี งลาดบั ตามหนว่ ยการเรียนรู้ และแบบทดสอบหลังเรียน

สว่ นท่ี 2 เฉลยแบบทดสอบและกิจกรรม ประกอบด้วย เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น
และหลังเรียน เฉลยและแนวตอบกจิ กรรมท้ายหนว่ ยการเรียน เรียงลาดบั ตามหนว่ ยการเรยี นรู้

วิธีกำรใชช้ ุดวิชำ

ใหผ้ ู้เรียนดาเนนิ การตามขั้นตอน ดงั นี้
1. ศกึ ษารายละเอยี ดโครงสร้างชุดวชิ าโดยละเอียด เพ่ือให้ทราบวา่ ผู้เรียน

ต้องเรยี นรู้เน้ือหาในเร่อื งใดบ้างในรายวิชานี้
2. วางแผนเพ่ือกาหนดระยะเวลาและจัดเวลาที่ผู้เรียนมีความพร้อมท่ีจะศึกษา

ชุดวิชาเพ่ือให้สามารถศึกษารายละเอียดของเนื้อหาได้ครบทุกหน่วยการเรียนรู้ พร้อมทา
กจิ กรรมตามทกี่ าหนดให้ทนั กอ่ นสอบปลายภาค

3. ทาแบบทดสอบก่อนเรยี นของชดุ วิชาตามที่กาหนด เพื่อทราบพื้นฐานความรู้
เดิมของผู้เรียน โดยให้ทาลงในสมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้และตรวจสอบคาตอบจากเฉลย
แบบทดสอบ เฉลยและแนวตอบกจิ กรรมท้ายหน่วยการเรียน

4. ศึกษาเนอื้ หาในชดุ วชิ าในแตล่ ะหน่วยการเรียนร้อู ยา่ งละเอียดให้เข้าใจ ทั้งใน
ชุดวิชาและสอ่ื ประกอบ (ถ้ามี) และทากจิ กรรมทีก่ าหนดไวใ้ หค้ รบถ้วน

5. เมอื่ ทากิจกรรมเสร็จแต่ละกิจกรรมแล้ว ผู้เรียนสามารถตรวจสอบคาตอบได้
จากเฉลยและแนวตอบกิจกรรมท้ายหน่วยการเรียน หากผู้เรียนตรวจสอบแล้วมีผลการเรียนรู้
ไม่เปน็ ไปตามทค่ี าดหวงั ให้ผ้เู รียนกลบั ไปทบทวนเน้ือหาสาระในเรื่องนั้นซ้าจนกว่าจะเข้าใจแล้ว
กลบั มาทากิจกรรมน้นั ใหม่

6. เมื่อศกึ ษาเนอื้ หาสาระครบทุกหน่วยแล้ว ให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน
และตรวจคาตอบจากเฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี นทใ่ี หไ้ วใ้ นท้ายเล่ม เพื่อประเมนิ ความรู้
หลังเรียนหากผลไม่เป็นไปตามท่ีคาดหวัง ให้ผู้เรียนกลับไปทบทวนเน้ือหาสาระในเรื่องนั้นให้
เข้าใจอีกคร้ังหน่ึง แล้วกลับมาทาแบบทดสอบหลังเรียนและตรวจให้คะแนนตนเองอีกคร้ัง
ผู้เรียนควร ทาแบบทดสอบหลังเรียนให้ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของแบบทดสอบ
ทง้ั หมด (หรอื 24 ข้อ) เพอื่ ใหม้ ัน่ ใจวา่ จะสามารถสอบปลายภาคผ่าน



7. หากผู้เรียนได้ทาการศึกษาเน้ือหาและทากิจกรรมแล้วยังไม่เข้าใจ ผู้เรียน
สามารถสอบถามและขอคาแนะนาได้จากครู ผูร้ ู้ หรอื แหลง่ ค้นคว้าอ่นื ๆ เพิ่มเตมิ

กำรศกึ ษำค้นคว้ำเพิ่มเตมิ

ผู้เรยี นอาจศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมไดจ้ ากแหล่งเรยี นรู้อื่น ๆ เชน่ หนงั สือเรยี น
รายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษา
ขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 คู่มือการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนอยา่ งครบวงจร คู่มือประชาชน
เพื่อการลด คดั แยก และใช้ประโยชนข์ ยะมูลฝอยชุมชน วารสาร แผ่นพับประชาสมั พันธ์
อนิ เทอร์เนต็ ผู้รู้ และแหลง่ เรียนรู้ในชมุ ชน เป็นต้น

กำรวดั ผลสัมฤทธ์ทิ ำงกำรเรยี น

การวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน หลักสูตรรายวิชาเลือกบงั คับ “วัสดศุ าสตร์ 2” เปน็ ดังน้ี
1. ระหว่างภาค วดั ผลจากการทากจิ กรรมหรอื งานที่ได้รบั มอบหมายระหว่างเรียน
2. ปลายภาค วัดผลจากการทาข้อสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิปลายภาค



โครงสรา้ งชดุ วิชา พว22003 วสั ดุศาสตร์ 2
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้

สาระการเรียนรู้
สาระความรู้พืน้ ฐาน

มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐานท่ี 2.2 มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะพื้นฐานเกีย่ วกับคณติ ศาสตร์

วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ
มคี วามรู้ความเขา้ ใจ และเหน็ คุณคา่ เกย่ี วกบั กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

เทคโนโลยี สิง่ มีชวี ิต ระบบนเิ วศ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมในท้องถิ่นและประเทศ
สาร แรง พลงั งาน กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลกและดาราศาสตร์ มจี ิตวิทยาศาสตรแ์ ละ
นาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวติ

ผลการเรียนร้ทู ี่คาดหวงั

1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับวัสดศุ าสตร์รอบตวั การใชป้ ระโยชน์และ
ผลกระทบจากการใช้วสั ดุ การจดั การวัสดุอันตราย การคดั แยกและการรีไซเคลิ วสั ดุ
และการจัดการวัสดทุ ใ่ี ชแ้ ลว้

2. ทดลองและเปรียบเทียบสมบัติของวัสดุชนดิ ตา่ ง ๆ ได้
3. ตระหนกั ถงึ ผลกระทบท่ีเกิดจากการใชว้ สั ดุในชวี ิตประจาวนั



สรุปสาระสาคัญ

1. วสั ดศุ าสตร์ (Materials Science) เป็นการศึกษาองคค์ วามรู้ท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั วัสดุ
ทน่ี ามาใชป้ ระกอบกันเป็นชิน้ งาน ตามการออกแบบ มีตวั ตน สามารถสัมผสั ได้ โดยวสั ดแุ ต่ละ
ชนิดจะมีสมบัตเิ ฉพาะตัว ได้แก่ สมบตั ทิ างฟิสิกส์ สมบตั ทิ างเคมี สมบัตทิ างไฟฟ้า และสมบัติ
เชงิ กล วัสดุทีเ่ ราใช้หรือพบเห็นในชวี ิตประจาวัน สามารถจาแนกตามแหลง่ ท่ีมาของวัสดุ ไดแ้ ก่
วัสดุธรรมชาติ แบง่ ออกเป็น วัสดธุ รรมชาตทิ ไี่ ด้จากส่ิงมชี ีวติ และวสั ดุธรรมชาติทไ่ี ด้จากไม่มีชีวติ
และวัสดสุ งั เคราะห์ ซึ่งเป็นวัสดุทเ่ี กดิ จากกระบวนการทางเคมี

2. วัสดุศาสตร์มคี วามผูกพันกับการดาเนินชีวิตของมนษุ ย์ มาเป็นเวลาชา้ นาน หรอื
อาจกลา่ วได้วา่ “วสั ดุศาสตร์อยู่รอบตัวเรา” ซง่ึ วตั ถตุ ่าง ๆ ลว้ นประกอบขึ้นจากวสั ดุ โดยการ
พัฒนาสมบตั ขิ องวสั ดุให้สามารถใช้งานในดา้ นตา่ ง ๆ ในชีวติ ประจาวันไดม้ ากขึ้น ทาให้วสั ดุท่ีใช้
ในปัจจบุ นั มคี วามแข็ง ความยืดหยนุ่ นาไฟฟ้า หรอื นาความรอ้ นได้ดี ตามความเหมาะสมของ
การใชง้ าน

3. ขยะมลู ฝอยทเ่ี ราพบเห็นในชีวติ ประจาวัน เริ่มทวีคณู เพม่ิ ปรมิ าณขึน้ เร่ือย ๆ
เพ่ือใหม้ ปี รมิ าณขยะทลี่ ดน้อยลง เราต้องมีการจดั การขยะมลู ฝอยให้ถกู วธิ ี เพื่อลดผลกระทบท่ี
จะเกิดขนึ้ กบั สิ่งแวดล้อมมากท่สี ุด ในปจั จุบนั การจัดการขยะมูลฝอยมีหลากหลายวิธี
เป็นการผสมผสาน เพอื่ ให้เป็นกระบวนการท่เี หมาะสมและมปี ระสิทธิภาพในการแกป้ ญั หา
ของขยะมูลฝอย การจัดการขยะมูลฝอยขึ้นอยู่กบั ปัจจยั หลายอย่าง มีความยืดหย่นุ ไม่มรี ูปแบบ
ทต่ี ายตัวข้นึ กบั เงอ่ื นไขและปัจจัยดา้ นการจดั การขยะมลู ฝอยของท้องถน่ิ นัน้ ๆ เชน่ พื้นทห่ี รอื
สถานท่ี ระดบั การมีส่วนร่วมของชุมชน และในปัจจุบนั วิธีการจากดั ขยะอยา่ งง่าย ๆ ที่พบเหน็
มี 2 วิธี คอื โดยการเผาไหม้และฝงั กลบ

4. การคัดแยกวัสดุเป็นการลดปริมาณขยะที่เกิดขึ้นจากต้นทาง ได้แก่ ครัวเรือน
สถานประกอบการหรือสถานท่ีสาธารณะ ทั้งนี้ ก่อนทิ้งขยะ ครัวเรือน หน่วยงาน หรือสถานท่ี
สาธารณะตา่ ง ๆ ควรจดั ให้มีระบบการคัดแยกวัสดุประเภทตา่ ง ๆ เพ่ือนาวสั ดุเหล่านั้นกลับไปใช้
ประโยชน์ใหม่อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และเขา้ สรู่ ะบบการคัดแยกวสั ดเุ พ่อื นาไปรไี ซเคลิ
เปน็ การเปล่ียนสภาพของวัสดุให้มีมูลค่า จากสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์ ให้สามารถนากลับมาใช้ใหม่
และลดคา่ ใช้จา่ ยในการกาจดั ขยะทเี่ กิดขึ้น

5. การจัดการวัสดุอนั ตราย ถอื เปน็ เรอ่ื งสาคญั ทตี่ อ้ งใสใ่ จให้มีการคัดแยกและ
การจดั การที่ถกู ตอ้ งเหมาะสม เพอ่ื ปอ้ งกนั ความเสียหายทีจ่ ะเกดิ ขึน้ ต่อสขุ ภาพและส่ิงแวดล้อม
โดยการลดปรมิ าณขยะอันตราย จากการเลือกซ้อื การใช้ การท้ิง รวมถงึ การรวบรวม
เพือ่ นาไปสกู่ ารจดั การขยะอันตรายที่ถูกวธิ ี รวมไปถงึ การจดั การขยะอเิ ลก็ ทรอนิกส์
ที่เปน็ เครื่องใชไ้ ฟฟา้ และอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ท่หี มดอายกุ ารใช้งาน ไม่สามารถนากลบั มาใชไ้ ด้
โดยคานงึ ถึงความจาเปน็ ที่จะตอ้ งใช้สง่ิ ของเหล่าน้อี ย่างร้คู ณุ ค่า และสามารถช่วยลดปรมิ าณ
ขยะอันตรายให้เหลือนอ้ ยที่สุดได้



ขอบข่ายเนื้อหา จานวน 30 ชว่ั โมง

หน่วยที่ 1 วสั ดศุ าสตรร์ อบตวั จานวน 20 ชว่ั โมง
หน่วยที่ 2 การใช้ประโยชน์และผลกระทบ จานวน 15 ชว่ั โมง
จานวน 30 ชว่ั โมง
จากการใช้วสั ดุ จานวน 25 ชัว่ โมง
หน่วยท่ี 3 การจัดการวัสดุท่ใี ช้แล้ว
หนว่ ยที่ 4 การคดั แยกและการรีไซเคิลวัสดุ
หนว่ ยท่ี 5 การจดั การวัสดุอันตราย

การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้

1. บรรยาย
2. ศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเองจากส่อื ท่ีเกีย่ วข้อง
3. พบกลุ่ม อภิปราย แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ วิเคราะห์ และสรุปการเรียนร้ทู ีไ่ ด้รบั
ในเอกสารการเรยี นรู้ด้วยตนเอง (กรต.)



สื่อประกอบการเรยี นรู้

1. สอื่ เอกสาร ไดแ้ ก่
1.1 ชดุ วชิ า วสั ดศุ าสตร์ 2 รหสั วิชา พว22003
1.2. สมุดบันทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ ชดุ วชิ า วัสดุศาสตร์ 2

2. สือ่ อิเล็กทรอนิกส์ ไดแ้ ก่
2.1 เว็ปไซต์
2.2 หนงั สอื เรยี นอิเลก็ ทรอนกิ ส์ กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์
2.3 CD,DVD ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

3. แหล่งเรยี นรใู้ นชมุ ชน ได้แก่
3.1 มุมหนังสือ กศน.ตาบล
3.2 ห้องสมุดประชาชนอาเภอ
3.3 หอ้ งสมุดประชาชนจังหวัด
3.4 ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษา
3.6 เทศบาลและสานกั งานสิง่ แวดลอ้ ม

จานวนหน่วยกติ

ระยะเวลาเรยี นตลอดหลักสูตร จานวน 120 ชว่ั โมง รวม 3 หนว่ ยกติ

กจิ กรรมการเรยี นรู้

1. ทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนและตรวจสอบคาตอบจากเฉลยท้ายเลม่ รายวิชา
วสั ดศุ าสตร์ 2

2. ศึกษาเนอื้ หาสาระในหนว่ ยการเรียนรู้ทุกหนว่ ย
3. ทากจิ กรรมตามทกี่ าหนดและตรวจสอบคาตอบจากเฉลยและแนวตอบ
ในทา้ ยเล่มรายวิชาวัสดุศาสตร์ 2
4. ทาแบบทดสอบหลังเรียนและตรวจสอบคาตอบจากเฉลยท้ายเล่มรายวิชา
วัสดศุ าสตร์ 2



การวัดและประเมินผล

1. ประเมนิ ความกา้ วหน้าผูเ้ รยี น จานวน 60 คะแนน ไดแ้ ก่
1.1 แบบทดสอบกอ่ นเรียน - หลงั เรียน
1.2 การสงั เกต การซักถาม ตอบคาถาม
1.3 ตรวจกจิ กรรมในแตล่ ะหนว่ ยการเรียนรู้ (กรต.)

2. ประเมินผลรวมผ้เู รียน จานวน 40 คะแนน โดยการทดสอบปลายภาคเรยี น
จานวน 40 คะแนน

สารบญั ฌ

คานา หนา้
คาแนะนาการใชช้ ุดวิชา ก
โครงสร้างชุดวชิ า ข
สารบญั ง
หน่วยท่ี 1 วัสดศุ าสตร์รอบตัว ฌ
1
เรอื่ งท่ี 1 ความหมายของวสั ดศุ าสตร์ 2
เร่อื งท่ี 2 ประเภทของวสั สดุ 3
เร่ืองที่ 3 สมบตั ขิ องวสั ดุ 5

หนว่ ยที่ 2 การใชป้ ระโยชน์และผลกระทบจากการใชว้ ัสดุ 11
เรือ่ งที่ 1 การนาวัสดุศาสตรไ์ ปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั 12
เร่ืองที่ 2 ผลกระทบจากการใช้วัสดุ 21
เร่อื งที่ 3 การเลอื กใช้ผลติ ภณั ฑ์ที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม 24
31
หนว่ ยท่ี 3 การจดั การเศษซากวสั ดุ 32
เรอ่ื งที่ 1 การจัดการเศษซากวสั ดุ 34
เรอ่ื งท่ี 2 อตั รายอ่ ยสลายของเศษซากวัสดุ 36
เร่อื งท่ี 3 หลกั 3R ในการจดั การเศษซากวัสดุ 39
เรอื่ งท่ี 4 ภาชนะรองรบั เศษซากวสั ดุ 42
เรื่องท่ี 5 เทคโนโลยกี ารกาจัดเศษซากวสั ดุ 50
51
หน่วยท่ี 4 การคดั แยกและการรไี ซเคลิ วสั ดุ 56
เรอ่ื งที่ 1 การคัดแยกวสั ดุ 67
เรอ่ื งที่ 2 การรีไซเคลิ วัสดุ 68
71
หนว่ ยที่ 5 การจัดการวัสดอุ ันตราย 74
เรื่องท่ี 1 วัสดอุ นั ตราย 76
เรื่องท่ี 2 การจัดการขยะอนั ตราย 82
เรอื่ งที่ 3 การลดปัญหาวัสดทุ ่เี ปน็ พิษต่อสิ่งแวดล้อม

บรรณานกุ รม
คณะผจู้ ัดทา

1

หน่วยท่ี 1
วัสดศุ าสตร์รอบตัว

สาระสาคัญ
วสั ดศุ าสตร์ (Materials Science) เป็นการศกึ ษาองคค์ วามรู้ทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั วัสดุ

ที่นามาใช้ประกอบกันเป็นช้ินงาน ตามการออกแบบ มีตัวตน สามารถสัมผัสได้ โดยวัสดุแต่ละ
ชนิดจะมีสมบัติเฉพาะตัว ได้แก่ สมบัติทางฟิสิกส์ สมบัติทางเคมี สมบัติทางไฟฟ้า และสมบัติ
เชิงกล วัสดุ ที่เราใช้หรือพบเหน็ ในชีวิตประจาวัน สามารถจาแนกตามแหล่งท่ีมาของวัสดุ ได้แก่
วัสดุธรรมชาติ แบ่งออกเป็น วัสดุธรรมชาติที่ได้จากสิ่งมีชีวิต เช่น ไม้ เปลือกหอย ขนสัตว์ ใย
ไหม ใยฝ้าย หนังสัตว์ ยางธรรมชาติ วัสดุธรรมชาติท่ีได้จากส่ิงไม่มีชีวิต เช่น ดินเหนียว หินปูน
ศิลาแลง กรวด ทราย เหล็ก และวัสดุศาสตร์สังเคราะห์ ซ่ึงเป็นวัสดุที่เกิดจากกระบวนการ
ทางเคมี เช่น พลาสตกิ เสน้ ใยสังเคราะห์ ยางสงั เคราะห์ โฟม เปน็ ต้น

ตัวชว้ี ัด
1. บอกความหมายของวสั ดุศาสตร์ได้
2. จาแนกประเภทของวสั ดศุ าสตร์ได้
3. เปรียบเทียบสมบัตขิ องวัสดุได้

ขอบขา่ ยเนอ้ื หา
1. ความหมายของวสั ดุศาสตร์
2. ประเภทของวสั ดศุ าสตร์
3. คุณสมบัติของวัสดุ

2

หน่วยที่ 1
วสั ดุศาสตร์รอบตัว

เรอ่ื งท่ี 1 ความหมายของวสั ดุศาสตร์

วสั ดุ (Materials) หมายถึง ส่ิงของหรอื วตั ถทุ ีน่ ามาใช้ประกอบกนั เปน็ ช้ินงานตาม
การออกแบบ มีตัวตน สัมผสั ได้ และมีสมบตั เิ ฉพาะตวั ทีแ่ ตกต่างกัน ได้แก่สมบตั ิทางฟสิ ิกส์
สมบตั ิทางเคมี สมบตั ิทางไฟฟ้า และสมบัตเิ ชงิ กล

วัสดุศาสตร์ (Materials Science) หมายถึง การศกึ ษาองค์ความรู้ท่เี กย่ี วข้องกับ
วัสดุ ทน่ี ามาใชป้ ระกอบกนั เปน็ ชิ้นงาน ตามการออกแบบ มตี วั ตน สามารถสัมผัสได้ โดยวสั ดุ
แตล่ ะชนดิ จะมีสมบัตเิ ฉพาะตวั ได้แก่ สมบตั ทิ างฟิสกิ ส์ สมบตั ิทางเคมี สมบัติทางไฟฟ้า และ
สมบตั ิเชงิ กล

วัสดศุ าสตร์รอบตวั เป็นการเรียนร้ดู ้านวสั ดุศาสตร์ทาใหเ้ ราทราบถงึ แหลง่ ทมี่ า
การเลอื กใช้ วัตถดุ ิบกระบวนการผลิต สมบตั แิ ละการใชง้ านวัสดุด้านตา่ ง ๆ ในชีวิตประจาวัน
ผลกระทบจากการใช้วัสดุ รวมถึงเทคโนโลยีการกาจัดวสั ดุ และการรไี ซเคิล ซึ่งเปน็ การนาวัสดุ
ทไ่ี ม่ตอ้ งการใชแ้ ลว้ ทงั้ ท่ีเกิดข้ึนภายหลงั เสรจ็ ส้นิ การใช้งานหรือระหวา่ งกระบวนการผลติ
กลับมาผ่านกระบวนการแปรรปู เพื่อผลติ เป็นผลติ ภัณฑ์ใหม่ ทาให้เกดิ มคี วามรู้ และความเข้าใจ
เกีย่ วกับวสั ดุ รสู้ ึกหวงแหนทรัพยากรของชาตซิ ่ึงจะก่อใหเ้ กดิ จิตสานกึ ทด่ี ีตอ่ การอนรุ ักษ์
ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม

ปัจจบุ นั ววิ ัฒนาการทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ทาให้มนุษยส์ ามารถผลิตวสั ดุ
หรือผลิตภัณฑ์ตา่ ง ๆ ในระดับอตุ สาหกรรมไดอ้ ย่างรวดเรว็ และมคี ุณภาพทด่ี ีขึน้ ตัวอย่างเช่น
พลาสติก เปน็ วัสดทุ ี่ถูกสงั เคราะห์มาเพอ่ื ทดแทนวสั ดุจากธรรมชาติ และเป็นที่ยอมรับวา่ เปน็ ส่ิง
ท่มี ีประโยชนแ์ ละขาดไม่ไดแ้ ล้วในชวี ิตประจาวนั ของมนษุ ย์ แต่ในทานองกลับกนั พบวา่ การใช้
พลาสติกก็ก่อให้เกดิ ปญั หาในการจัดการภายหลังเสร็จสนิ้ จากการใช้งาน เน่ืองจากเปน็ วัสดุ
ท่ยี ่อยสลายได้ยาก ดงั น้นั การศึกษาถึงสมบัติของวัสดทุ มี่ ีความแตกตา่ ง จะนาไปสูก่ ารจดั การ
วสั ดุภายหลงั จากการใช้งานไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกับวัสดุนน้ั

3

เร่ืองที่ 2 ประเภทของวสั ดุ
ในปจั จบุ ันไมว่ า่ ภาคการเกษตร ภาคอตุ สาหกรรม หรือภาคครัวเรอื น ล้วนตอ้ ง

เก่ยี วข้องกบั วัสดุ (Materials) อยูเ่ สมอทัง้ ในเชิงของผใู้ ชว้ สั ดุ ผูผ้ ลติ และผคู้ วบคุมกระบวน
การผลิต ตลอดจนผู้ออกแบบท้ังในรูปแบบ องค์ประกอบ และโครงสร้าง บุคคลเหล่าน้ีจาเป็น
อยา่ งยงิ่ ทีจ่ ะตอ้ งเลอื กใช้วัสดใุ หเ้ หมาะสมถกู ต้องจากสมบตั ิของวัสดุเหลา่ นนั้ นอกจากนี้
ยังจะต้องสามารถวิเคราะห์ได้ว่า เม่ือมีความผิดปกติเกิดข้ึนมันเป็นเพราะเหตุใด โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งในปัจจุบันการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีความก้าวหน้าไปอย่างมาก
วัสดุใหม่ ๆถูกผลิตขึ้น และมีการค้นคว้าคุณสมบัติพิเศษของวัสดุ เพ่ือใช้ประโยชน์มากข้ึน
กระบวนการผลิตก็สามารถทาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้ราคาของวัสดุนั้นต่าลง การศึกษา
เก่ียวกับสมบัติของวัสดุชนิดต่าง ๆ จะช่วยให้เราสามารถเลือกวัสดุมาใช้ประโยชน์ได้อย่าง
เหมาะสม จึงเป็นสิ่งจาเป็นท่ีทุกคนควรรู้ไว้การแบ่งประเภทของวัสดุ ตามคุณสมบัติทั่ว ๆไป
อาจจัดแบง่ ได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ ไดแ้ ก่ วัสดุประเภทโลหะและวัสดปุ ระเภทอโลหะ

2.1 วสั ดปุ ระเภทโลหะ (Metallic Materials) เปน็ วัสดุท่ไี ด้มาจากสนิ แร่ตาม
ธรรมชาตโิ ดยตรง ซึง่ สว่ นใหญ่จะเป็นของผสมกับวัสดุชนิดอื่น ๆ อยใู่ นรปู ของสารประกอบ
(Compound) ตอ้ งนามาผา่ นขบวนการถลุงหรือสกัด เพือ่ ใหไ้ ดแ้ ร่ หรอื โลหะทบ่ี ริสุทธิ์ เมือ่ นา
แรบ่ ริสทุ ธนิ์ ไ้ี ปผ่านขบวนการแปรรปู โลหะจะได้วสั ดเุ พือ่ การใชง้ าน โลหะสามารถแบง่ ได้เปน็
2 ชนิด คือ

2.1.1 โลหะจาพวกเหล็ก (Ferrous Metal) โลหะทม่ี พี นื้ ฐานเปน็ เหล็ก เช่น
เหลก็ หล่อ เหลก็ เหนียว เหล็กกล้า เหลก็ ไร้สนมิ เหล็กกล้าผสม เปน็ ตน้

2.1.2 โลหะนอกจาพวกเหลก็ (Non Ferrous Metal) โลหะนอกจาพวกเหลก็
เช่น ทอง เงนิ ทองแดง อะลมู เิ นียม สังกะสี ทงั สเตน แมกนีเซียม ตะก่วั ปรอท โบลิดิน่มั
รวมถึงโลหะผสม เช่น บรอนซ์ และทองเหลอื ง เป็นต้น

ภาพที่ 1.1 ของใช้ในครวั เรอื นประเภทโลหะ

4

2.2 วัสดปุ ระเภทอโลหะ (NonMetallic Materials) วสั ดใุ นกลมุ่ อโลหะนี้
สามารถแบ่งย่อย ไดด้ ังนี้

2.2.1 อนิ ทรยี ์สาร (Organic) เปน็ วัสดุทไ่ี ด้มาจากสิ่งทม่ี ีชีวติ เช่น ไม้ เส้นใย
ธรรมชาติ หนังสัตว์ นา้ มนั จากพืช ยางพารา ขนสัตว์ เปลือกหอย หวาย เปน็ ต้น

2.2.2 อนินทรีย์สาร (Inorganic) เปน็ วัสดุทีไ่ ด้มาจากธรรมชาติ จากสง่ิ ท่ไี มม่ ี
ชวี ิต เปน็ พวกแรธ่ าตตุ ่าง ๆ เชน่ หนิ ดนิ เหนียว กรวด ทราย ศิลาแลง หนิ ออ่ น ยปิ ซมั และ
อญั มณตี า่ ง ๆ เปน็ ต้น

2.2.3 วัสดุสังเคราะห์ (Synthetic Materials) เป็นวัสดทุ ีต่ ้องผา่ นขบวนการ
ทางดา้ นอตุ สาหกรรมและเคมี เกดิ จากการผสมตวั ของวสั ดุ ธาตุ และมเี คมีภัณฑ์อืน่ ๆ แบ่งยอ่ ย
ได้ 2 ชนดิ คือ

1. วสั ดอุ นิ ทรีย์สารสงั เคราะห์ เช่น กระดาษ ฟองน้า หนงั เทยี ม เสน้ ใย
สังเคราะห์ พลาสติก ยางเทียม เป็นต้น

2. วสั ดอุ นินทรียส์ ารสงั เคราะห์ เช่น ปูนซเี มนต์ คอนกรีต สีทาอาคาร
แกว้ อิฐ เซรามกิ เปน็ ต้น

ภาพท่ี 1.2 ของใชใ้ นครัวเรือนประเภทอโลหะ

5

เร่อื งท่ี 3 สมบตั ิของวัสดุ
สมบตั ขิ องวัสดุ หมายถึง ลักษณะเฉพาะตวั ของวัสดุ ที่แสดงวา่ วสั ดุชนดิ หนง่ึ

เหมือนหรือแตกต่างจากวัสดุอกี ชนิดหน่งึ สมบตั ิของวัสดุ สามารถแบ่งได้ ดังน้ี

3.1 สมบัติทางกายภาพ ประกอบด้วย
3.1.1 ความแข็ง หมายถึง ความทนทานของวัสดุต่อการถูกขูดขีด วัสดุที่มี

ความแข็งมาก จะทนต่อการขีดข่วนได้มาก และเมื่อถูกขีดข่วนจะไม่เกิดรอยหรือเกิดรอยเพียง
เล็กน้อย มีสมบัติท่ีมีความคงทนถาวร สึกกร่อน แตกหักยาก แข็งแกร่ง เช่น ก้อนหิน เพชร
เหล็ก เป็นต้น เราสามารถตรวจสอบคุณสมบัติความแข็งของวัสดุได้โดยการนาวัสดุมาขูดกัน
เพ่ือหาความทนทานต่อการขีดข่วน ถ้านาวัสดุชนิดหน่ึงขูดบนวัสดุอีกชนิดหนึ่ง วัสดุท่ีถูกขูด
เกดิ รอยแสดงวา่ มคี วามแข็งน้อยกวา่ วสั ดทุ ี่ใช้ขูด แตถ่ า้ วสั ดทุ ถี่ ูกขูดไม่เกดิ รอยแสดงว่ามี
ความแขง็ มากกว่าวสั ดทุ ่ีใช้ขูด

3.1.2 ความเหนียว หมายถงึ หน่วยวดั แรงท่ที าให้วัสดขุ าด เชน่ พลาสตกิ
มีความเหนียวมากกว่ากระดาษ เราจึงต้องออกแรงเพื่อฉีกถุงพลาสติกให้ขาดมากกว่าแรงที่ใช้
ฉกี ถุงกระดาษให้ขาด การตรวจสอบความเหนียวของวสั ดุ สามารถพจิ ารณาไดจ้ ากสมบัติ
2 ประการ คือ ความสามารถในการตีแผ่เป็นแผน่ บาง ๆ และความสามารถในการยืดเปน็ เส้น

คา่ ความเหนยี วจะมากหรือนอ้ ย ข้นึ อย่กู บั ปจั จยั ดงั นี้
1. ชนดิ ของวัตถุ เชน่ เส้นเอน็ เหนียวกวา่ เสน้ ดา้ ย เชือกไนลอนเหนยี ว

กว่าเชอื กฟาง
2. ขนาดของวัสดุ วสั ดุเส้นใหญ่จะทนตอ่ แรงดงึ ไดม้ ากกวา่ จึงเหนยี ว

กว่าวสั ดเุ ส้นเล็ก

3.1.3 ความยืดหย่นุ หมายถึง สมบัตขิ องวัสดุทส่ี ามารถกลับคืนส่สู ภาพเดมิ ได้
หลังจากหยดุ แรงกระทาที่ทาให้เปลยี่ นรูปร่างไป เชน่ ลูกโปง่ ยางรถยนต์ ยางยืด ฟองน้า
หนงั สต๊ิก ยางรดั ผม เป็นต้น

วสั ดุแตล่ ะชนดิ มคี วามยดื หยนุ่ ไม่เทา่ กัน วัสดุบางชนิดยังคงสภาพความยืดหยนุ่
อยู่ได้ แมจ้ ะมแี รงกระทามาก ๆ เช่น หนังสตก๊ิ วัสดุบางชนิดสภาพยดื หยุน่ หมดไป เมอื่ ได้รบั แรง
ท่มี ากระทามาก เช่น เอน็ เป็นต้น

6

วสั ดุท่ไี ม่กลบั สูส่ ภาพเดิมและมีความยาวเพ่ิมข้นึ จากเดมิ เรียกวา่ วัสดนุ ้นั หมด
สภาพยดื หยุน่

วสั ดบุ างชนิดไม่มสี ภาพยดื หยนุ่ เพราะเมื่อมแี รงมากระทาจะเปลี่ยนแปลง
รปู รา่ ง และไม่กลบั สสู่ ภาพเดมิ เมือ่ หยดุ แรงกระทา เช่น ใชม้ อื กดดินน้ามัน ดนิ น้ามันจะยุบตวั ลง
เมือ่ ปล่อยมือ จะเหน็ ดนิ น้ามันเป็นรอยกด ไม่กลบั สู่สภาพเดมิ

3.1.4 ความหนาแน่น หมายถึง อัตราส่วนระหว่างค่ามวลสาร ต่อหน่วย
ปรมิ าตร มีหนว่ ยเป็นกิโลกรัมตอ่ ลกู บาศกเ์ มตร หรอื กรัมต่อลกู บาศกเ์ ซนติเมตร

มวล คอื ปรมิ าณของเนอ้ื สารหรือเนอ้ื วัสดุ เช่น เหล็กและไมท้ ี่มีขนาด
หรอื ปรมิ าตรเท่ากนั หากเหล็กมีน้าหนักมากกวา่ ไม้ แสดงวา่ เหล็กมมี วลมากกวา่ ไม้

น้าหนกั ของวัสดุ คือ ผลจากแรงดงึ ดดู ของโลกที่กระทาตอ่ วัสดุหรอื วตั ถุ
น้ัน ถ้าวัสดุหรือวัตถนุ น้ั มีมวลมาก จะมนี ้าหนกั มากดว้ ย น้าหนกั ของวัตถุเป็นหน่วยทว่ี ดั ด้วย
เคร่ืองชั่ง มีหน่วยเปน็ กรัม กโิ ลกรมั

ปรมิ าตรของวตั ถุ คอื ขนาดของวสั ดุ เครอื่ งมอื ที่ใชว้ ัดความจุ ไดแ้ ก่
เคร่อื งตวง เช่น กระบอกตวง บกี เกอร์ ชอ้ นตวง ปริมาตรของวัตถุ มหี นว่ ยเป็น ลูกบาศกเ์ มตร
หรอื ลูกบาศก์เซนติเมตร

วสั ดแุ ต่ละชนิดจะมีความหนาแนน่ ไมเ่ ท่ากัน ความหนาแน่นจงึ จดั เปน็
คณุ สมบตั ิเฉพาะของวัสดุโดยความหนาแนน่ ของวัสดุ หาได้จากผลหารระหว่างมวลรวมกับ
ปรมิ าตรรวม ดงั สมการ

ความหนาแน่น = มวล
ปริมาตร

3.2 สมบตั ทิ างความรอ้ น เม่ือวัสดสุ องสง่ิ ที่มีอุณหภูมิต่างกนั จะเกดิ การถ่ายโอน
ความรอ้ นใหแ้ กก่ ันโดยความรอ้ นจะถ่ายเทจากวตั ถุ หรอื บรเิ วณทม่ี อี ุณหภมู สิ ูงไปยังวตั ถุ หรือ
บริเวณท่ีมอี ุณหภูมิตา่ กวา่ เสมอ และการถ่ายเทความร้อนจะหยดุ ลง เมื่อวัตถหุ รือบริเวณท้งั สอง
มอี ุณหภมู เิ ท่ากนั พลังงานความรอ้ นสามารถส่งผ่านจากวสั ดทุ ่หี น่ึงไปสู่วัสดุอีกแหง่ หนง่ึ ได้ 3 วิธี

3.2.1 การนาความร้อน เปน็ การส่งผ่านพลังงานความร้อนต่อ ๆ กันไปในเนอ้ื
ของตวั กลาง โดยตัวกลางไมไ่ ด้มีการเคลือ่ นท่ี แตค่ วามรอ้ นจะค่อย ๆ แผ่กระจายไปตามเนอื้
วัตถนุ ัน้ ซ่ึงการนาความร้อน เปน็ ปรากฏการณ์สง่ ผ่านความร้อนของวัสดุ จากบรเิ วณที่มี
อณุ หภมู สิ ูงไปยังบริเวณท่ีมีอุณหภมู ิตา่ เช่น กรณีที่ผ้เู รียนจับชอ้ นโลหะทแี่ ช่อยู่ในถ้วยแกง
รอ้ น ๆ แลว้ จะรสู้ ึกว่าท่ปี ลายช้อนโลหะที่จับนัน้ จะร้อนดว้ ย ทงั้ นี้เพราะโลหะเป็นตัวนา
ความร้อนท่ีดี

7

ภาพท่ี 1.3 แสดงการนาความร้อน

ท่มี า : https://www.slideshare.net

วัสดทุ ่นี าความร้อนสามารถถ่ายโอนความรอ้ นได้ดี เรยี กว่า ตวั นาความร้อน เช่น
เงิน ทองแดง ทองคา ทองเหลือง อะลมู ิเนียม เหล็ก ดีบกุ เปน็ ตน้ สว่ นวสั ดทุ ี่ความร้อนถ่ายโอน
ผา่ นไดไ้ ม่ดี เรียกว่า ฉนวนความร้อน เช่น แกว้ ไม้ กระดาษ พลาสติก ผา้ กระเบือ้ ง เปน็ ต้น

3.2.2 การพาความรอ้ น เป็นการสง่ ผ่านความรอ้ น โดยตัวกลางรบั ความรอ้ น
จากบรเิ วณหนึ่งแลว้ เคลือ่ นท่พี าความรอ้ นไปยังอกี บรเิ วณหนึ่ง เช่น พดั ลมพัดผ่านตัวเราแล้วพา
ความร้อนออกไป จึงทาให้เรารู้สึกเยน็ สบาย

3.2.3 การแผร่ งั สี เปน็ พลังงานความรอ้ นท่สี ามารถเดินทางจากทแี่ ห่งหนงึ่ ไปสู่
ทอ่ี ีกแห่งหนง่ึ โดยไม่ต้องมตี ัวกลาง เช่น ความรอ้ นจากดวงอาทติ ยเ์ ดินทางมาถงึ โลกของเรา
ในรูปของคลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า

ภาพที่ 1.4 แสดงการแผร่ ังสี

ท่มี า : http://thanapat53a25.wikispaces.com

8

3.3 สมบัตทิ างไฟฟา้ ประกอบด้วย การนาไฟฟ้าของวสั ดุ เปน็ สมบัตใิ นการยอมให้
กระแสไฟฟ้าผ่านได้ วสั ดุทก่ี ระแสไฟฟา้ ผา่ นไดด้ ี เรียกวา่ ตัวนาไฟฟ้า เช่น เงิน ทองแดง เหล็ก
อะลมู เิ นยี ม วสั ดุที่กระแสไฟฟ้าผา่ นได้ไมด่ ี เรียกว่า ฉนวนไฟฟ้า เช่น ไม้ พลาสตกิ ผ้า

กล่าวโดยสรุป การพัฒนาสมบัติของวัสดุให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น หรือให้มี
สมบัติตรงตามความต้องการนั้นล้วนต้องใช้องค์ความรู้ทางวัสดุศาสตร์เข้าไปเกี่ยวข้องทั้งส้ิน
ดงั นนั้ การพฒั นาความรู้ด้านวัสดุศาสตร์และการเรียนรู้เทคโนโลยีวสั ดุควบค่กู ันไป
จึงมีความสาคัญสาหรับมนุษย์ ในการนาความรู้มาประยุกต์ใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์และ
ปรับปรงุ กระบวนการผลิตวัสดุให้มีสมบัติตามความต้องการ และนามาสังเคราะห์สร้างวัสดุใหม่
เพอื่ ปรบั ปรงุ วัสดุให้มีสมบตั ติ ามตอ้ งการ นอกจากนี้ความร้ดู ้านวัสดุศาสตรย์ งั สนบั สนนุ
การเลอื กใช้วสั ดใุ หเ้ หมาะสมและสอดคลอ้ งกับความต้องการในชวี ติ ประจาวนั

ตารางที่ 1.1 ตวั อยา่ งของสมบัติและการใช้งานของวสั ดุประเภทโลหะ

ประเภท สมบตั ิ การใช้ประโยชน์

โลหะจาพวกเหลก็ นาไฟฟ้าดี ขนึ้ รปู ดี ลวดสายไฟฟ้า
- เหล็กหลอ่ หลอ่ ขึ้นรปู ง่าย ชิ้นส่วนเครื่องยนต์
- เหลก็ เหนียว กลงึ -กดั ได้งา่ ย เครื่องมือชา่ งตา่ ง ๆ
- เหลก็ กลา้ รบั แรงส่ันสะเทอื นดี
- เหล็กไรส้ นิท มีความแข็งแรง
- เหล็กกล้าผสม

โลหะนอกจาพวกเหล็ก ทนทานต่อการกัดกร่อนของ อุตสาหกรรมเคมี การผลิตไฟฉาย
- ทอง ทองแดง
- อะลมู เิ นียมแมกนเี ซียม กรดและดา่ ง อุปกรณไ์ ฟฟา้ สายเคเบิล
- ตะก่วั ปรอท โบลดิ นิ ่ัม
- บรอนซ์ ทองเหลือง นาไฟฟ้าไดด้ ี ใชผ้ ลิตเคร่ืองใช้ในครัวเรอื น

ทาใหโ้ ลหะอ่ืนง่ายต่อการ

ขึน้ รูป

นาความรอ้ นไดด้ ี

9

ตารางที่ 1.2 ตัวอยา่ งของสมบัติและการใชง้ านของวสั ดุประเภทอโลหะ

ประเภท สมบตั ิ การใช้ประโยชน์

อินทรยี ์สาร เปน็ ฉนวนกนั ไฟฟ้า เคร่อื งนงุ่ หม่
- ไม้ ฉนวนความร้อน ที่อยู่อาศยั
- เส้นใย มีความแข็งแรง
- หนงั สตั ว์
- ขนสัตว์ ขนึ้ รูปเปน็ แผน่ บางง่าย ภาชนะบรรจุอาหาร
- เปลอื กหอย ยืดหยุ่นดี สรา้ งท่อี ย่อู าศยั
เปน็ ฉนวนกันไฟฟ้า ฉนวนกนั ความรอ้ น
อนนิ ทรีย์สาร ตา้ นทานความชน้ื
- หนิ แขง็ แรง
- ดนิ เหนียว
- กรวด ขึ้นรปู เปน็ แผน่ บางง่าย ผลติ ภัณฑบ์ รรจอุ าหาร
- ทราย ยดื หย่นุ ดี เคลือบแผน่ วงจร
- ศลิ าแลง เป็นฉนวนกันไฟฟา้ ทากาวผลติ ไม้อัด
- หนิ ออ่ น ต้านทานความช้นื บา้ น
- ยปิ ซัม แขง็ แรง ของใช้ในครัวเรือน
- อัญมณี

วัสดุสงั เคราะห์
- กระดาษ
- ฟองนา้
- หนังเทยี ม
- เสน้ ใยสังเคราะห์
- พลาสติก
- ยางเทยี ม
- ปูนซีเมนต์
- คอนกรีต
- สที าอาคาร
- อฐิ
- เซรามิกส์

10

กิจกรรมท้ายหนว่ ยท่ี 1

หลังจากที่ผู้เรียนศึกษาเอกสารชุดการเรียนหน่วยที่ 1 จบแล้ว ให้ผู้เรียนศึกษา
ค้นคว้าเพ่ิมเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ แล้วทากิจกรรมการเรียนรู้หน่วยท่ี 1 ในสมุดบันทึก
กจิ กรรมการเรยี นรู้ แล้วจัดสง่ ตามที่ผสู้ อนกาหนด

11

หนว ยท่ี 2
การใชประโยชนและผลกระทบจากการใชวสั ดุ

สาระสําคญั
วัสดุศาสตรมีความผูกพันกับการดําเนินชีวิตของมนุษย มาเปนเวลาชานาน หรืออาจ

กลาวไดวา “วัสดุศาสตรอยรู อบตวั เรา” ซึง่ วัตถตุ าง ๆ ลวนประกอบขึ้นจากวัสดุ โดยการพัฒนา
สมบัติของวัสดุใหสามารถใชงานในดานตาง ๆ ในชีวิตประจําวันไดมากข้ึน ทําใหวัสดุท่ีใชใน
ปจ จุบนั มีความแขง็ ความยืดหยุน นําไฟฟา หรือนาํ ความรอนไดด ี ตามความเหมาะสมของ
การใชง าน
ตวั ชี้วัด

1. อธิบายประโยชนของวัสดุศาสตรใ นชวี ิตประจาํ วันได
2. บอกผลกระทบตอ ส่งิ แวดลอมจากการใชว ัสดใุ นชวี ิตประจําวันได
3. เลอื กใชผ ลติ ภณั ฑท่ีเปน มิตรกับสิง่ แวดลอ มได
ขอบขา ยเนื้อหา
1. การนาํ วสั ดุศาสตรไ ปใชในชีวิตประจาํ วัน
2. ผลกระทบจากการใชวัสดุ
3. การเลือกใชผลติ ภัณฑท่ีเปน มิตรกับสิง่ แวดลอม

12

หนวยท่ี 2
การใชประโยชนแ ละผลกระทบจากการใชว ัสดุ

เร่ืองที่ 1 การนาํ วัสดศุ าสตรไ ปใชใ นชีวิตประจาํ วนั
คนในสมยั กอ นใชว ัสดจุ ากธรรมชาติ ดิน หนิ เขาสตั ว กระดกู สัตว นํามาทําเปน สง่ิ ของ

เคร่ืองใช และนาํ ขนสตั ว หนังสัตว ใบไม มาทําเครื่องนุงหม ตอมามกี ารนําวัสดุจากธรรมชาติ
มาดดั แปลงมากขึ้น เชน ทํายางรถยนต การทอผา สียอมผา กระดาษ รวมทง้ั การนาํ เหล็ก
โลหะตา ง ๆ และแกวมาใชประโยชน ปจ จุบนั น้ีเราสามารถสังเคราะหว ัตถุขนึ้ หลายชนดิ ทีน่ ํามา
ทาํ เปนเคร่อื งใชไดม ากมาย ซงึ่ เราตอ งพจิ ารณาสมบัติของวสั ดชุ นิดน้ันใหเ หมาะสมกับการใชงาน
สิ่งของชนดิ นัน้ ซ่งึ วสั ดชุ นดิ ตาง ๆสามารถนํามาใชประโยชนได เชน โลหะผสมอะลมู ิเนยี ม
พลาสติก ยางสังเคราะห เสนใยสงั เคราะห

1.1 ประโยชนข องวสั ดุประเภทโลหะจําพวกเหล็ก
เนือ่ งดวยโลหะมีคณุ สมบตั ทิ ดี่ ีมากมายหลายประการ เชน เหล็กมี

ความแขง็ แรงทนทาน จงึ ทาํ ใหความตอ งการใชเ หล็กมีเพ่มิ มากขน้ึ มาโดยตลอด ดังจะเห็นไดจาก
ปจจุบนั ทเี่ หล็กเขา มาเปน สวนหน่ึงในชีวิตประจาํ วนั ของมนุษยจ นขาดไมได ไดแก เครอื่ งใช
ในครัวเรือน ภาชนะบรรจุภัณฑ เฟอรนิเจอร ยานพาหนะ สิ่งกอสราง ผลงานศิลปะ ซ่ึงลวนทํา
ข้นึ ดว ยเหล็กเปน สวนประกอบทั้งส้ิน โลหะสามารถนํามาใชประโยชนท้ังในรูปของเหล็กบริสุทธิ์
เหลก็ ผสมประเภทตาง ๆ และสารประกอบเหลก็

ภาพที่ 2.1 ของใชใ นครวั เรอื นประเภทโลหะจาํ พวกเหล็ก

13

โลหะจําพวกเหล็กชนิดตาง ๆ ทนี่ ิยมนําไปใชงานในปจ จบุ นั ไดแก เหล็ก เหล็กกลา
เหล็กเหนยี ว เหล็กไรสนิม และเหลก็ กลา ผสม สําหรับใชใ นงานอุตสาหกรรมการกอ สรา งอาคาร
ถนน สะพาน อตุ สาหกรรมบรรจภุ ัณฑ อตุ สาหกรรมเครือ่ งจักรกล อตุ สาหกรรมยานยนต
อตุ สาหกรรมไฟฟา และใชผลติ เคร่ืองใชในครัวเรือนตาง ๆ

1.2 ประโยชนข องวัสดปุ ระเภทโลหะนอกจาํ พวกเหลก็
เปนโลหะท่ีขาดความแข็งแรงทางดานโครงสรางหรือคณุ สมบตั ิทางเชงิ กล

ทไ่ี มดนี ัก จึงทําใหการนําไปใชโ ดยตรงไมเ ปน ท่นี ิยม แตจ ะถกู ใชใ นรปู ของสารประสมเพิม่ หรอื
ธาตุท่ีเพ่ิมเติมคุณสมบัตพิ เิ ศษใหก บั โลหะอ่นื ๆ เชน คุณสมบัตทิ างดานความทนทานตอ การ
กัดกรอนของกรดและดาง การนาํ ไฟฟา หรือ การทําใหโ ลหะอน่ื งายตอ การขึ้นรูป เชน
อะลูมเิ นียม ทองแดง ตะกว่ั ดีบกุ โคบอลตโครเมียมเงินซลิ ิกอนนิกเกิล ตะก่ัว ทองคําทองแดง
เปนตน

ภาพท่ี 2.2 ของใชใ นครัวเรือนประเภทโลหะนอกจาํ พวกเหล็ก

14

ตารางที่ 2.1 ตารางการนําไปใชงานชนิดตาง ๆ ท่ีนยิ มใชใ นปจจบุ ัน

โลหะนอกจําพวกเหลก็ การใชงาน

อะลูมิเนียม อุตสาหกรรมเคมี การผลติ ไฟฉาย อุปกรณไ ฟฟา สายเคเบิล
ทองแดง เครอื่ งใชครัวเรอื น
ตะกั่ว อุตสาหกรรมไฟฟา อตุ สาหกรรมกอ สรา ง ใชผลิตเคร่อื งใช
ดีบุก เครอ่ื งประดับ และงานประติมากรรมตาง ๆ
โคบอลต อุตสาหกรรมแบตเตอร่ี อุตสาหกรรมไฟฟา และอเิ ล็กทรอนกิ ส
โครเมียม เปน ฉนวนปองกันรังสี
แคดเมยี ม อุตสาหกรรมไฟฟา และอิเล็กทรอนกิ ส อตุ สาหกรรมเหล็กแผน
เงนิ เคลอื บ ใชผ ลติ เคร่ืองใชใ นครวั เรือน บรรจภุ ัณฑเ ครอ่ื งประดบั
ซลิ กิ อน อุตสาหกรรมผลติ เครอ่ื งจักรอากาศยาน เครอ่ื งจกั รกล
ใชผ ลติ แมเ หล็กถาวร และเครอ่ื งกรองไอเสีย
นกิ เกลิ อุตสาหกรรมเคลือบแผนเหลก็ อุตสาหกรรมฟอกหนัง
ตะกัว่ ใชผ ลติ เทปสเตอริโอ วีดีโอ และเปน สวนผสมในวสั ดทุ นไฟ
ทองคาํ แบตเตอรีช่ นดิ ประจุไฟฟา ใหมได ใชเคลือบผิวสกรู และนอ็ ต
ทองแดง เปนสารประกอบในการผลิตเม็ดสีแดงและเขยี ว
ใชผ ลิตเครอ่ื งประดับ กระจกเงา ฟลม ถา ยภาพ กระดาษอัดภาพ
อุตสาหกรรมการผลติ เซลลแ สงอาทติ ย อตุ สาหกรรมแกวกระจก
อุตสาหกรรมกอสราง ใชเปน โลหะผสมในอุตสาหกรรมเหล็ก
และอุตสาหกรรมอะลูมิเนยี ม
ใชผลติ เหรยี ญกษาปณ เครอ่ื งใชในครัวเรือน และแบตเตอรช่ี นิด
ประจไุ ฟฟาใหมไ ด
อตุ สาหกรรมแบตเตอร่ี อุตสาหกรรมไฟฟาและอเิ ล็กทรอนิกส
และเปน ฉนวนปอ งกันรังสี
ใชผลิตเครอื่ งประดับ ใชในงานทนั ตกรรม และอุปกรณ
อิเลก็ ทรอนิกส
อุตสาหกรรมไฟฟา อตุ สาหกรรมกอ สราง ใชผ ลติ เครือ่ งใช
เครอ่ื งประดับ และงานประติมากรรมตาง ๆ

15

1.3 ประโยชนข องวัสดุประเภทพลาสติก
ปจจบุ นั พลาสติก มคี วามสําคญั ตอชีวติ ประจําวันเปนอยา งมาก เครื่องมอื

เครือ่ งใช และวสั ดุกอ สรา งหลายชนิดทําดว ยพลาสติก เชน เครื่องใชในครัวเรอื นจาํ พวก จาน
ชาม ขวดโหลตาง ๆ ของเลนเดก็ วสั ดุกอ สรา ง สีทาบา น กาวติดไมแ ละตดิ โลหะ อุปกรณ
ทางวิทยาศาสตรและวิทยาศาสตรการแพทย เปนตน เหตุที่พลาสติกเปนท่ีนิยม เพราะมีราคา
ถูกมีนํ้าหนักเบา ทนความชื้นไดดีไมเปนสนิม ทําใหเปนรูปรางตาง ๆ ตามตองการไดงายกวา
โลหะ เปนฉนวนไฟฟา มีท้ังชนิดโปรงใส และมีสีตาง ๆ กัน ดวยเหตุน้ีพลาสติกจึงใชแทน
โลหะ หรือวัสดุบางชนิด เชน แกว ไดเปนอยางดี แตพลาสติกก็มีขอเสียหลายอยางดวยกัน คือ
ไมแ ข็งแรง (รบั แรงดงึ แรงบิด และแรงเฉอื นไดต่ํามาก) ไมท นความรอ น

ทง้ั นี้ เพราะพลาสติกสามารถนาํ มาหลอ ใหเปน รูปรา งตา ง ๆ ตามแบบโดยใช
ความรอ น และแรงอัดเพียงเล็กนอย จุดหลอมตัวของพลาสตกิ อยรู ะหวา ง 80 - 350 องศา
เซลเซียส ทงั้ นี้ขนึ้ อยูกบั ชนิดของพลาสตกิ จะเห็นไดวาจดุ หลอมตวั ของพลาสติกตํ่ากวาโลหะ
มาก วตั ถุเครอ่ื งใชที่ทําดว ยพลาสตกิ ที่เราคนุ เคยเปนอยางดีไดแ ก ตวู ทิ ยุ ตูโทรทศั น โทรศพั ท
หวี กรอบแวน ตา ถงุ พลาสติกใสข อง ของเลน เดก็ ผาปโู ตะ เปน ตน นอกจากนี้ พลาสติกยังใช
ประโยชนกบั โลหะหรอื วตั ถุบางชนิด เชน ทาํ พวงมาลยั รถยนต ใชพลาสตกิ หมุ เหลก็ ทําใหไ มเ ปน
สนิมและกระชับมือยงิ่ ขึ้น พลาสตกิ ใชห ุมสายไฟเปนฉนวนไฟฟา พลาสติกใชทาํ ไสกลางระหวา ง
กระจกสองแผน ประกบกนั เรยี กวา กระจกนริ ภยั ใชเปนกระจกรถยนต เพราะเมือ่ กระจกแตก
จะไมก ระจาย

ภาพท่ี 2.3 ตวั อยา งของใชในครัวเรอื นที่ทํามาจากพลาสติก

16

พลาสติกท่พี บในชีวติ ประจาํ วัน มี 2 ประเภท คอื เทอรโมพลาสติก และ เทอรโมเซตต้ิง
มขี อพจิ ารณาในการใชตามสมบตั ิทางความรอ น ดังน้ี

1. เทอรโ มพลาสตกิ เปน พลาสติกท่ีใชก ันแพรหลายที่สุด โดยสมบตั พิ ิเศษของพลาสติก
ประเภทน้ี เม่อื ไดรบั ความรอ นถึงจดุ หนงึ่ กจ็ ะหลอมเหลว และสามารถนํากลับมาใชใ หมไดอกี
หลังจากนําไปขนึ้ รปู เปน ผลติ ภณั ฑแ ลว

โพลิเมอรป ระเภทน้ีจะมีโครงสรางโมเลกลุ ของสายโซโพลิเมอรเปนแบบเสนตรงหรือ
แบบกง่ิ สั้น ๆ สามารถละลายไดด ีในตัวทําละลายบางชนดิ เมื่อไดรบั ความรอ นจะออ นตวั และ
หลอมเหลวเปน ของเหลวหนดื เนอ่ื งจาก โมเลกุลของโพลเิ มอรท ี่พนั กนั อยูสามารถเคลื่อนท่ีผาน
กันไปมาไดงา ยข้นึ เม่อื ไดรับความรอ น และเมอ่ื เย็นตัวลงกจ็ ะแขง็ ตวั ซ่ึงการหลอมเหลวและเย็น
ตวั นี้ สามารถเกดิ กลบั ไปกลับมาไดโดยไมท าํ ใหสมบตั ทิ างเคมแี ละทางกายภาพ หรือโครงสราง
ของโพลเิ มอรเปลยี่ นไปมากนัก พลาสติกประเภทนสี้ ามารถข้ึนรปู โดยการฉดี ขณะทพ่ี ลาสตกิ
ถูกทําใหอ อนตวั และไหลไดด ว ยความรอ นและความดัน เขา ไปในแมแบบทีม่ ชี องวางเปนรปู ราง
ตามตอ งการ ภายหลงั จากท่พี ลาสตกิ ไหลเขา จนเต็มแมพมิ พจะถูกทาํ ใหเ ย็นตวั และถอดออก
จากแมพิมพ ไดผลติ ภณั ฑท่มี ีรูปรางตามตอ งการ สามารถนาํ ไปใชง านได เมือ่ ใชเ สร็จแลว
สามารถนาํ กลับมารไี ซเคลิ ไดโ ดยการบด และหลอมดว ยความรอ นเพ่ือขึน้ รปู เปนผลิตภัณฑใหม
ไดอกี แตพ ลาสติกประเภทนมี้ ีขอเสยี และขีดจาํ กัดของการใชง าน คอื ไมสามารถใชง าน
ท่ีอุณหภมู สิ งู ได เพราะอาจเกิดการบิดเบีย้ วหรือเสยี รปู ทรงไป ตวั อยา ง เชน ขวดนํ้าดมื่
ไมเ หมาะสาํ หรบั ใชบรรจนุ ํ้ารอนจดั หรือเดอื ด

พลาสติกประเภทเทอรโ มพลาสติก ที่ใชก นั อยูท ่ัวไปในชวี ติ ประจาํ วัน ท่ีสามารถนํา
กลบั มาใชใหม (Recycle) ได มดี ังนี้

1) โพลเิ อทธิลนี เทเรฟทาเลต (Poly ethylene terephthalate : PET)
ทนแรงกระแทก ไมเปราะแตกงา ย สามารถทาํ ใหใส มองเห็นสง่ิ ที่บรรจอุ ยูภายในจึง

นยิ มใชบรรจนุ ํ้าดมื่ นา้ํ มันพชื และเคร่อื งสําอาง นอกจากนย้ี ังมีสมบตั ปิ องกนั การแพรผ า นของ
กาซไดเปนอยา งดี จงึ ใชเปนภาชนะบรรจนุ ํา้ อัดลม สามารถนาํ กลับมารีไซเคิลใชใ หมไ ด โดยนยิ ม
นํามาผลิตเปน เสนใยสาํ หรับทําเสอื้ กันหนาว พรม และเสนใยสงั เคราะหส าํ หรบั ยดั หมอน หรือ
เสอ้ื สําหรบั เลน สกี

17

2) โพลเิ อทธิลีนความหนาแนน สูง (High density polyethylene : HDPE)
โพลเิ อทธลิ นี ชนิดหนาแนนสงู มโี ครงสรา งโมเลกลุ เปนสายตรง คอ นขางแขง็ แตย ืดได

มาก ไมแตกงา ย สว นใหญทาํ ใหม สี ีสันสวยงาม ยกเวนขวดทใ่ี ชบรรจนุ ้ําด่ืม ซงึ่ จะขุน กวา ขวด
PET ข้ึนรปู ไดงายทนสารเคมจี ึงนยิ มใชท ําบรรจภุ ัณฑส ําหรบั นํ้ายาทาํ ความสะอาด แชมพู สระ
ผม แปงเด็ก และถุงหหู วิ้ นอกจากน้ีภาชนะท่ที ําจากโพลเิ อทธลิ ีนยงั มีสมบัตปิ องกันการแพรผาน
ของความชน้ื ไดด ี จึงใชเ ปนขวดนมเพ่อื ยืดอายขุ องนมใหน านขน้ึ สามารถนํากลบั มารีไซเคิลเพอ่ื
ผลติ ขวดตา ง ๆ เชน ขวดใสน าํ้ ยาซักผา แทงไมเ ทียมเพอ่ื ใชท ํารั้วหรือมา นง่ั ในสวน

3) โพลิไวนลิ คลอไรด (Poly vinyl chloride : PVC)
เปน พลาสติกแข็งใชท ําทอ เชน ทอ นํ้าประปา แตสามารถทําใหน่ิมโดยใสสาร

พลาสติกไซเซอร ใชทําสายยางใส แผน ฟล มสําหรบั หออาหาร มานในหองอาบนาํ้ แผน กระเบ้อื ง
ยาง แผน พลาสตกิ ปูโตะ ขวดใสแชมพูสระผม โพลไิ วนิลคลอไรด เปน พลาสติกที่มสี มบัติ
หลากหลาย สามารถนํามาใชผ ลิตผลติ ภัณฑอน่ื ไดอีกมาก เชน ประตู หนาตา ง วงกบ และ
หนงั เทยี ม สามารถนาํ กลับมารีไซเคลิ เพอ่ื ผลติ ทอประปาสําหรับการเกษตร กรวยจราจร และ
เฟอรน เิ จอร หรือมา นงั่ พลาสตกิ

4) โพลเิ อทธิลีนความหนาแนนตาํ่ (Low density polyethylene : LDPE)
โพลิเอทธลิ นี เปนพลาสติกทน่ี ่ิม สามารถยดื ตัวไดมาก มีความใส นยิ มนํามาทาํ เปน

ฟล มสําหรับหออาหารและหอของ ถงุ ใสขนมปง และถงุ เย็นสําหรับบรรจุอาหาร สามารถนาํ
กลบั มารีไซเคลิ ใชใหมได โดยใชผลิตเปนถุงดาํ สาํ หรับใสข ยะ ถุงหูหิ้ว หรือถงั ขยะ

5) โพลิโพรพลิ ีน (Polypropylene : PP)
โพลโิ พรพิลีนเปน พลาสติกท่แี ขง็ ทนตอแรงกระแทกไดด ี ทนตอ สารเคมี ความรอ น

และนํ้ามัน ทาํ ใหม สี ีสนั สวยงามได สว นใหญน ยิ มนํามาทําภาชนะบรรจอุ าหาร เชน กลอ ง ชาม
จาน ถงั ตะกรา หรอื กระบอกสําหรับใสนา้ํ แชเย็น สามารถนํากลบั มารไี ซเคิลใชใ หมไ ด โดยนิยม
ผลิตเปน กลอ งแบตเตอร่ีรถยนต ชิน้ สวนรถยนต เชน กันชน และกรวยสาํ หรบั นา้ํ มัน

6) โพลิสไตรีน (Polystyrene : PS)
โพลิสไตรนี เปน พลาสตกิ ที่แข็ง ใส แตเ ปราะ และแตกงา ย ราคาถกู นยิ มนาํ มาทํา

เปนภาชนะบรรจขุ องใช เชน เทปเพลง สาํ ลี หรือของแหง เชน หมแู ผน หมูหยอง และคกุ กี้
เน่อื งจาก โพลิสไตรนี เปราะและแตกงาย จงึ ไมนยิ มนําพลาสตกิ ประเภทนี้มาบรรจนุ ้าํ ด่มื หรอื
แชมพสู ระผม เนื่องจากอาจล่ืนตกแตกได มีการนําพลาสตกิ ประเภทนี้มาใชทําภาชนะหรอื ถาด
โฟมสําหรับบรรจอุ าหาร โฟมจะมีน้ําหนักทีเ่ บามากเนอ่ื งจากประกอบดว ย โพลสิ ไตรีนประมาณ
รอ ยละ 2-5 เทา น้ัน สวนที่เหลอื เปน อากาศท่ีแทรกอยใู นชอ งวา ง โพลิสไตรีน สามารถนาํ กลบั มา
ใชใหมได โดยนยิ มผลติ เปนไมแ ขวนเสือ้ กลอ งวีดีโอ ไมบ รรทดั หรอื ของใชอ่นื ๆ

18

7) พลาสตกิ อน่ื ๆ ทไ่ี มใ ช 6 ชนิดแรก หรอื ไมทราบวาเปน พลาสติกชนดิ ใด
ปจจบุ ันเรามพี ลาสตกิ หลายชนิดใหเ ลอื กใช พลาสตกิ ที่ใชใ นครัวเรอื นสว นใหญส ามารถนาํ
กลบั มารีไซเคิลเพอื่ หลอมใชใหมไ ด สาํ หรบั พลาสติกในกลุมท่ี 7 เปนพลาสติกชนิดอนื่ ที่ไมใช
6 ชนดิ แรก

2. เทอรโ มเซตติ้ง เปนพลาสตกิ ทม่ี รี ูปทรงถาวร เม่ือผานกรรมวิธกี ารผลติ โดยใช
ความรอนหรอื กรรมวิธีการหลอพลาสติกเหลว จะนํากลับไปหลอมละลายเพื่อนาํ กลับมาใชใหม
(recycle) ไมได

โพลเิ มอรประเภทนี้จะมีโครงสรา งเปน แบบรางแห ซง่ึ จะหลอมเหลวไดในขั้นตอน
การขน้ึ รูปคร้ังแรกเทา น้ัน ซ่ึงในข้ันตอนน้จี ะมปี ฏิกิริยาเคมเี กดิ ข้นึ ทําใหเ กดิ พันธะเช่ือมโยง
ระหวางโมเลกุล ทําใหโพลเิ มอรมีรปู รางที่ถาวร ไมสามารถหลอมเหลวไดอ ีกเม่ือไดร บั ความรอน
และหากไดรบั ความรอ นสูงเกนิ ไป จะทาํ ใหพันธะระหวา งอะตอมในโมเลกุลแตกออก ไดส ารทีไ่ ม
มสี มบัตขิ องความเปนโพลิเมอรต อไป

การผลิตพลาสติกชนิดเทอรโมเซตจะแตกตางจากพลาสติกชนดิ เทอรโมพลาสติก คอื ใน
ข้ันตอนแรกตองทําใหเกิดปฏกิ ิริยาโพลเิ มอไรเซชนั เพยี งบางสวน มีการเชือ่ มโยงโมเลกลุ เกดิ ข้นึ
บางเลก็ นอย และยังสามารถหลอมเหลวเม่อื ไดรับความรอ น จงึ สามารถขึน้ รูปภายใตความดนั
และอณุ หภูมสิ งู ได เมอ่ื ผลิตภัณฑมรี ปู รางตามตอ งการแลว ใหคงอุณหภมู ิไวประมาณ
200 - 300 องศาเซลเซยี ส เพอื่ ใหไ ดโครงสรางแบบรางแหท่เี สถยี รและแขง็ แรง สามารถนํา
ผลติ ภัณฑออกจากแบบโดยไมต องรอใหเย็น เนื่องจากผลติ ภัณฑจะแขง็ ตัวอยภู ายในแมพิมพ
ดงั น้ันการใหความรอ นในกระบวนการผลิตพลาสตกิ เทอรโ มเซตกลบั ทําใหวัสดุแขง็ ขึ้น ตางจาก
กระบวนการผลิตพลาสตกิ เทอรโ มพลาสตทิ ีก่ ารใหความรอ นจะทําใหพ ลาสติกนิ่ม และ
หลอมเหลว พลาสตกิ เทอรโมเซตเม่อื ใชงานเสร็จแลวไมสามารถนาํ มาผา นการหลอมและผลติ
เปนผลติ ภัณฑใ หมหรอื รีไซเคิล ไดอ ีก และถาใหความรอ นมากเกินไป จะทําใหพลาสติกเกดิ
การสลายตวั หรือไหม โดยไมเ กดิ การหลอมเหลว ตวั อยาง ของพลาสตกิ ในกลุม นี้ เชน
เบคเคอไลต และเมลามนี เปน ตน

19

ตารางที่ 2.2 แสดงความแตกตางระหวางเทอรโมพลาสติกและเทอรโ มเซตตงิ้

เทอรโ มพลาสตกิ เทอรโมเชตต้ิง
1. เปน โพลเิ มอรแบบเสนหรอื แบบกิง่ 1. เปนโพลเิ มอรแ บบเชือ่ มโยงหรอื
แบบรางแห

2. จะออ นตวั หรือหลอมเหลวเมอ่ื ไดร ับ 2. จะแข็งตัวเมอื่ ไดรับความรอ น
ความรอน

3. ตอ งทําใหเย็นกอนเอาออกจากแมแบบ 3. ไมตองรอใหเ ยน็ กอนเอาออกจาก
มฉิ ะน้ันจะเสียรูปทรงได แมแ บบ
4. ไมเ กิดปฏิกิรยิ าโพลเิ มอรไ รเซชนั ในแมพ มิ พ 4. เกิดปฏิกริ ยิ าโพลเิ มอรไ รเซชัน
ในแมพมิ พ

5. นาํ มารีไซเคลิ โดยการหลอมและขนึ้ รปู ใหมได 5. ไมส ามารถนํามารไี ซเคิลได

20

ตารางท่ี 2.3 การนาํ พลาสตกิ บางชนดิ ไปใชป ระโยชน

ที่ ตวั ยอ ชอ่ื เต็ม ผลิตภณั ฑ
1 PET โพลเิ อทธลิ นี เทเรฟทาเลต ภาชนะบรรจนุ าํ้ อัดลม เสนใยสาํ หรับทํา
(Polyethylene terephthalate) เสอื้ กันหนาว พรม
2 HDPE โพลิเอทธิลีนความหนาแนนสูง บรรจภุ ณั ฑสําหรับนํ้ายาทําความสะอาด
(High density polyethylene) แชมพสู ระผม แปงเดก็ และถงุ หหู ว้ิ
ขวดใสน ้ํายาซกั ผา
3 PVC โพลิไวนิลคลอไรด ทอนา้ํ ประปาสายยางใสแผนฟลมสาํ หรบั
(Polyvinyl chloride ) หออาหาร มานในหองอาบนํา้
แผน กระเบ้อื งยาง แผน พลาสตกิ
ปูโตะ แผนพลาสตกิ ปโู ตะ
ขวดใสแชมพูสระผม
4 LDPE โพลิเอทธิลีนความหนาแนนตาํ่ ฟลมสาํ หรบั หอ อาหารและหอของ
(Low density polyethylene ) ถุงใสขนมปง และถุงเย็นสําหรบั บรรจุ
อาหาร ถงุ ดาํ สาํ หรบั ใสข ยะ ถงุ หหู ้ิว
ถังขยะ
5 PP โพลิโพรพลิ ีน (Polypropylene ) กลอ ง ชาม จาน ถงั ตะกรา กระบอก
สาํ หรับใสน ้าํ แชเยน็ กลองแบตเตอร่ี
รถยนต ชน้ิ สวนรถยนต เชน กันชน และ
กรวยสําหรบั นา้ํ มนั
6 PS โพลสิ ไตรนี (Polystyrene ) ภาชนะบรรจขุ องใช เชน เทปเพลง สาํ ลี
หรือของแหง ถาดโฟมสําหรบั บรรจุ
อาหารไมแขวนเสอื้ กลองวดี โี อ
ไมบรรทดั หรือของใชอ ืน่ ๆ
7 PC โพลคี ารบอเนต (Polycarbonate) นํากลบั มารไี ซเคิลเปนขวดนํ้า กลอ ง
เปน พลาสตกิ ชนดิ อ่ืน ๆ ท่ีอาจจะนาํ ถุงบรรจุอาหาร กระสอบปุย และถงุ ขยะ
พลาสติกหลายชนดิ มาผสมกนั แต
ไมใชพ ลาสตกิ 6 ชนิดกอนหนา น้ี

21

เรอ่ื งท่ี 2 ผลกระทบจากการใชวสั ดุ
วัสดุเหลือใช หรือ ขยะมูลฝอย สําหรับคนท่ัวไป ซ่ึงสวนใหญจะคิดวาไมมีประโยชน

ตองเอาไปกําจัดเทานั้น แตความเปนจริงแลว ขยะเหลานั้น ยังสามารถนําไปใชประโยชนไดอีก
ถารูจกั คิดกอนท้ิง แลวนําขยะเหลาน้นั มาผานกระบวนการคัดแยกกอ นทง้ิ เพอ่ื นํากลบั มาใช
ใหเ กดิ ประโยชน หากขยะมูลฝอยไมผานกระบวนการคัดแยกกอ นท้ิง ขยะเหลาน้รี วมกนั
มปี ริมาณท่มี ากขนึ้ เรอื่ ย ๆ และเพิ่มทวีคูณ ซง่ึ เม่อื ทงิ้ ไวในระยะเวลานาน จะถูกหมักหมม
สรา งความสกปรก สง่ิ กลน่ิ เหมน็ สงผลกระทบทัง้ ตอ สุขภาพและระบบนเิ วศ

2.1 แหลงกําเกดิ ขยะมลู ฝอย
แหลงกําเนิดของขยะมลู ฝอยจากกจิ กรรมตาง ๆ ขยะเปน ส่งิ ท่ีเหลือใช หรือสิง่ ท่ไี ม

ตอ งการอีกตอไป สามารถแบงตามแหลง กําเนดิ ได ดังนี้
2.1.1 ของเสียจากครัวเรอื นแหลงชมุ ชน เชน หลอดไฟ ถา นไฟฉาย แบตเตอร่ี

แกว เศษอาหาร พลาสติก โลหะ หนิ ไม กระเบื้อง หนงั ยาง เปน ตน
2.1.2 ของเสยี จากภาคเกษตรกรรม เชน ยาฆาแมลงปุย มูลสัตว น้าํ ทง้ิ จากการทํา

ปศุสัตว เปน ตน
2.1.3 ของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม ของเสยี อันตรายท่ัวประเทศไทยรอยละ 73

มาจากระบบอุตสาหกรรม สวนใหญยังไมม กี ารจัดการที่เหมาะสมโดยท้ิงกระจายอยตู าม
สิ่งแวดลอมและทง้ิ รวมกับมลู ฝอยอืน่

2.1.4 ของเสียจากโรงพยาบาลและสถานที่ศึกษาวิจยั ซึ่งเปนของเสยี อันตราย
อยางยิ่ง เชน ขยะติดเช้ือ เข็มฉีดยา สําลีซับเลือด รวมทั้งของเสียที่ปนเปอนสารกัมมันตรังสี
สารเคมี ไดท้ิงสูส่ิงแวดลอมโดยปะปนกับมูลฝอย ส่ิงปฏิกูลเปนการเพิ่มความเส่ียง ในการ
แพรก ระจายของเช้อื โรคและสารอนั ตราย

2.2 ผลกระทบดานสขุ ภาพ
2.2.1 ความเสีย่ งตอ การเกิดโรค การไดร ับสารอันตรายบางชนดิ เขาไปใน

รา งกาย อาจทาํ ใหเ จ็บปวยเปน โรคตาง ๆ จนอาจถึงตายได พษิ ของขยะอนั ตรายสามารถ
เขาสูร า งกายของเราได ดังนี้

1) ทางการหายใจโดยการสูดดมไอระเหย ผง หรือละอองสารพิษเขาสู
รางกาย เชน สี ตวั ทาํ ละลายน้ํามนั รถยนต

2) ทางผิวหนังโดยการสัมผสั หรือจับตองสารพิษซึง่ สามารถซึมเขาสู
ผิวหนังและจะดูดซมึ ไดม ากยิง่ ขนึ้ หากมีบาดแผลท่ีผวิ หนงั หรอื เปน โรคผิวหนงั อยูก อนแลว

22

2.2.2 เปน แหลงเพาะพนั ธุของแมลง และพาหะของโรค
เศษวัสดุ ของเสยี มีปริมาณเพ่มิ มากข้ึนทุกขณะ เน่ืองจากการขยายตัว

ของเมืองการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออํานวยความสะดวกสบาย การอยูอาศัยอยางหนาแนน หาก
ใชวิธีกําจัดเศษวัสดุ ของเสียท่ีไมถูกตองเหมาะสม ยอมกอใหเกิดปญหาตามมา เนื่องจาก
เช้ือจุลินทรียท่ีปนเปอนมากับขยะมูลฝอย จากเศษวัสดุตาง ๆ มีโอกาสท่ีจะขยายพันธุเพ่ิม
จํานวนมากยิ่งขึ้นได เพราะขยะมูลฝอยมีท้ังความชื้นและสารอินทรียท่ีจุลินทรียใชเปนอาหาร
ขยะพวกอินทรียสารท่ีทิ้งคางไว จะเกิดการเนาเปอยกลายเปนแหลงเพาะพันธุของเช้ือโรค
นอกจากน้ันขยะที่ปลอยทิ้งไวนาน ๆ จะเปนที่อยูอาศัยของสัตวพาหะ โดยจะเขามาทํารัง
ขยายพันธุ เพราะมีท้ังอาหารและท่ีหลบซอน ดังนั้นขยะที่ขาดการเก็บรวบรวม และการกําจัด
จึงทําใหเกิดเปนแหลงเพาะพันธุท่ีสําคัญของเชื้อโรค แมลงวัน หนู แมลงสาบ ซ่ึงเปนพาหะนํา
โรคมาสูคน

2.2.3 กอ ใหเกดิ ความรําคาญ
การเก็บรวบรวมขยะไดไมห มดกจ็ ะเกดิ เปนกลิน่ รบกวน กระจายอยู

ทัว่ ไปในชมุ ชน นอกจากนั้นฝุน ละอองท่ีเกิดจากการเกบ็ รวบรวมการขนถาย และการกําจดั ขยะ
กย็ ังคงเปน เหตุรําคาญที่มักจะไดรบั การรอ งเรยี นจากประชาชนในชมุ ชนอยูเสมอ

2.3 ผลกระทบตอระบบนเิ วศ
ขยะเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดมลพิษของน้ํา มลพิษของดิน และมลพิษของ

อากาศ เนอื่ งจากขยะสวนทีข่ าดการเกบ็ รวบรวม หรือ ไมนาํ มากาํ จัดใหถ กู วธิ ี ปลอยทงิ้ คางไว
ในพนื้ ที่ของชุมชน เมือ่ มีฝนตกลงมาจะไหลชะนาํ ความสกปรก เช้อื โรค สารพษิ จากขยะไหลลง
สแู หลง นา้ํ ทาํ ใหแ หลงนา้ํ เกิดเนา เสยี ไดหากสารอันตรายซึมหรือไหลลงสูพ้ืนดิน หรือแหลงนา้ํ
จะไปสะสมในหวงโซอาหาร เปน อนั ตรายตอ สัตวน ํา้ และพืชผัก เมือ่ เรานาํ ไปบริโภคจะไดรับ
สารน้นั เขาสรู า งกายเหมอื นเรากินยาพิษเขาไปอยา งชา ๆ

2.3.1 มลพิษดา นส่ิงแวดลอ ม
ถามีการเผาขยะมูลฝอยกลางแจง เชน การเผาพลาสตกิ ถาการ

เผาไหมไมสมบูรณ จะกอใหเกิดกาซคารบอนมอนอกไซด (CO) ที่จัดเปนกาซพิษออกมาดวย
ทําใหเกิดควันมีสารพิษทําใหคุณภาพของอากาศเสีย สวนมลพิษทางอากาศจากขยะมูลฝอยนั้น
อาจเกิดข้ึนไดทงั้ จากมวลสารท่ีมีอยใู นขยะและพวกแกสหรอื ไอระเหย ทีส่ ําคัญก็คือ กล่นิ เหมน็
ท่เี กิดจากการเนาเปอ ย และสลายตัวของอนิ ทรยี สารเปน สว นใหญ นอกจากนี้พลาสตกิ ซ่ึงมี
โมโนเมอร มธี าตุคลอรีนเปนองคประกอบ เชน โพลิไวนลิ คลอไรด หรือจุลนิ ทรีย เมอื่ เผาไหม
จะใหก าซไฮโดรเจนคลอไรด ซ่ึงมสี มบัตเิ ปน กรดจะเปนอันตรายจากการสูดดม และอาจเปน
สวนหนึง่ ท่ีทําใหเกดิ ฝนกรด สว นพลาสติกประเภทท่ีใชยูเรียในการผลติ โพลเิ มอร เมื่อเผาแลว
จะเกิดกา ซแอมโมเนีย ซึง่ มสี มบตั เิ ปนดาง ดงั นน้ั จึงไมควรกําจดั พลาสติกดวยวธิ กี ารเผา

23

2.3.2 ระบบนิเวศถูกทําลาย
มูลฝอยอันตรายบางอยา ง เชน ไฟฉายหลอดไฟ ซง่ึ มีสารโลหะหนกั

บรรจุในผลิตภัณฑ หากปนเปอนสดู นิ และนํา้ จะสงผลเสยี ตอระบบนิเวศ และหว งโซอ าหาร
ซ่งึ เปนอนั ตรายตอ มนษุ ยแ ละส่ิงแวดลอม

ภาพท่ี 2.4 ผลกระทบของขยะมลู ฝอยตอ ระบบนเิ วศ
2.3.3 ปญหาดนิ เสอ่ื มสภาพ
ขยะมลู ฝอยและของเสียตาง ๆ ถาเราท้งิ ลงในดิน ขยะสว นใหญจะสลายตัวให
สารประกอบ อินทรียแ ละอนนิ ทรียมากมายหลายชนดิ ดว ยกัน แตก ็มีขยะบางชนดิ ที่สลายตัว
ไดยาก เชน ผาฝา ย หนงั พลาสติก โดยเฉพาะเกลอื ไนเตรตสะสมอยูเปนจาํ นวนมาก แลว
ละลายไปตามนา้ํ สะสมอยูในบริเวณใกลเคยี ง การทงิ้ ของเสียจากโรงงานอตุ สาหกรรมตาง ๆ
เปน แหลงผลิตของเสยี ท่ีสําคญั ย่ิง โดยเฉพาะของเสียจากโรงงานที่มโี ลหะหนักปะปน ทําใหด นิ
บรเิ วณนน้ั มีโลหะหนักสะสมอยูมาก โลหะหนักทสี่ ําคัญ ไดแก ตะก่วั ปรอท และแคดเมยี ม
ซ่ึงจะมผี ลกระทบมากหรอื นอยขึน้ อยกู ับคุณลักษณะของขยะมูลฝอย ถา ขยะมีซากถานไฟฉาย
ซากแบตเตอรี่ ซากหลอดฟลูออเรสเซนตจ ํานวนมาก กจ็ ะสงผลตอ ปริมาณโลหะหนกั พวกปรอท
แคคเมยี ม ตะก่วั ในดนิ มาก ซ่ึงจะสงผลเสยี ตอระบบนิเวศในดนิ และสารอินทรียใ นขยะมลู ฝอย
เมื่อมีการยอ ยสลาย จะทําใหเ กิดสภาพความเปน กรดในดิน และเมื่อฝนตกมาชะกองขยะ
มลู ฝอย จะทําใหน้าํ เสยี จากกองขยะมลู ฝอยไหลปนเปอนดินบริเวณรอบ ๆ ทําใหเกดิ มลพษิ
ของดินได การปนเปอนของดิน ยังเกิดจากการนาํ มลู ฝอยไปฝง กลบ หรือการยกั ยอกนําไปท้งิ
ทาํ ใหของเสียอันตรายปนเปอ นในดนิ นอกจากน้ันการเลี้ยงสตั วเปนจํานวนมาก กส็ งผลตอสภาพ
ของดิน เพราะสงิ่ ขับถายของสตั วท นี่ าํ มากองทับถมไว ทําใหเกิดจลุ ินทรยี ยอยสลาย
ไดอ นุมูลของไนเตรตและอนมุ ลู ไนไตรต ถาอนุมลู ดังกลาวน้ีสะสมอยูจํานวนมากในดนิ บริเวณ
นน้ั จะเกิดเปนพษิ ได ซ่งึ เปน อนั ตรายตอมนุษยโ ดยทางออม โดยไดร ับเขาไปในรูปของน้าํ ดื่มทมี่ ี

24

สารพิษเจอื ปน โดยการรับประทานอาหาร พืชผักทปี่ ลกู ในดินทีม่ ีสารพิษสะสมอยแู ละยงั สง ผล
กระทบตอคณุ ภาพดนิ

2.3.4 ปญหามลพษิ ทางนํ้า
ขยะมูลฝอยอินทรยี  จํานวนมากถา ถูกท้งิ ลงสูแ มน ํ้าลําคลอง จะถกู จุลนิ ทรีย
ในน้าํ ยอ ยสลายโดยใชอ อกซเิ จน ทาํ ใหอ อกซิเจนในน้ําลดลงและสงผลใหเ กดิ นํา้ เนา เสีย

ภาพท่ี 2.5 ผลกระทบของขยะมูลฝอยตอแมน้ําลําคลอง

ที่มา : http://contentcenter.prd.go.th

ปจจุบันเราพบวาอุณหภูมิของโลกเราสูงข้ึน ระบบนิเวศถูกทําลาย ซึ่งเกิดจากฝมือของ
มนุษยเรา ไดแก การท้ิงขยะไมถูกท่ี กําจัดขยะไมถูกวิธี นําไปเผาเกิดการเผาไหมท่ีไมสมบูรณ
และจากกระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมตาง ๆ เชน การทําความเย็นในตูเย็น
เคร่ืองปรับอากาศ โฟมกระปองสเปรย สารดับเพลิง สารชะลางในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส
ซึ่งสารเหลาน้ี เรียกวา สารคลอโรฟลูโอโรคารบอน (Chlorofluorocarbon,CFC) และใน
อนาคต ถาเราไมช วยกนั ลดการใชสารทําลายชั้นโอโซนที่เกิดจากสาร CFC โลกของเราก็จะเจอ
กบั ปญ หาสิ่งแวดลอ มเปนพิษ อยางหลีกเลี่ยงไมไ ด
เรอ่ื งที่ 3 การเลือกใชผลิตภัณฑท ่เี ปนมิตรกบั สิง่ แวดลอม

การเลือกใชสินคา ที่เปนมิตรกับส่ิงแวดลอ มเปนการประยุกตใชแนวทางตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง ท่ีพรอมรับมอื กับสิ่งทีจ่ ะเกิดข้นึ กับส่งิ แวดลอ ม สามารถลดปริมาณขยะ
ซงึ่ เปนปญหาสิง่ แวดลอ มในอนาคตได โดยเลอื กใชสนิ คา อยางพอประมาณ มเี หตุผลในการ
เลือกใช มภี มู ิคุม กนั ไมเกดิ พิษภยั ตอตนเองและสง่ิ แวดลอ ม โดยควรศึกษาความรูเกยี่ วกบั
ผลิตภณั ฑที่เปน มิตรกับส่งิ แวดลอ มเพ่ือจะไดเ ลอื กซื้อไดอ ยา งถกู ตอ ง และใชจนเกดิ เปน นสิ ัย
ซงึ่ เปนพนื้ ฐานแหง คณุ ธรรมในหลายดา น

25

3.1 คณุ สมบัติสนิ คาทเี่ ปนมิตรกับสงิ่ แวดลอม
3.1.1 ใชว ัสดทุ ีม่ ีผลกระทบตอ สง่ิ แวดลอ มนอย เชน วัสดุท่ีไมมีพษิ

วสั ดุหมุนเวียนทดแทนได วสั ดรุ ไี ซเคิลและวัสดุทีใ่ ชพลังงานต่ําในการจัดหามา
3.1.2 ใชวัสดุนอย เชน น้ําหนักเบา ขนาดเล็ก มีจํานวนประเภทของ

วัสดุนอ ย มกี ารเสริมความแข็งแรง เพื่อใหลดขนาดลงได
3.1.3 มกี ารใชเทคโนโลยีการผลิตที่มีประสทิ ธิภาพสูงสดุ เชน

ใชท รพั ยากรและพลงั งานอยา งมีประสิทธิภาพในการผลติ ใชพ ลงั งานท่ีสะอาด ลดการเกดิ
ของเสีย จากกระบวนการผลิตและลดขน้ั ตอนของกระบวนการผลิต

3.1.4 มีระบบขนสง และจดั จาํ หนายท่ีมีประสิทธภิ าพสูงสดุ เชน
ลดการใชหีบหอบรรจุภัณฑท ีฟ่ ุมเฟอย ใชบ รรจุภัณฑท ี่ทําจากวัสดทุ ่ีใชซ ํ้าหรือหมุนเวยี นใหมได
ใชร ูปแบบการขนสงทีก่ อ ผลกระทบตอ สิ่งแวดลอมตํา่ และเลอื กใชเสนทางการขนสง ท่ีประหยดั
พลังงานท่ีสุด

3.1.5 ลดผลกระทบตอ ส่งิ แวดลอ มทีเ่ กดิ ในชว งการใชงาน เชน
ใชพ ลังงานต่ํา มีการปลอ ยมลพษิ ต่ํา ในระหวางใชงาน ลดการใชว ัสดุส้ินเปลอื ง (เชน ตองเปล่ียน
ไสก รองบอ ย) และลดการใชชิน้ สว นท่ไี มจาํ เปน

3.1.6 มีความคุมคาตลอดชีวิตการใชงาน เชน ทนทาน ซอมแซมและ
ดแู ลรักษางา ย ปรบั ปรงุ ตอเตมิ ได ไมตอ งเปล่ียนบอย

3.1.7 มรี ะบบการจดั การหลงั หมดอายกุ ารใชงานทมี่ ปี ระสิทธิภาพสูงสุด
เชน การเก็บรวบรวมที่กอผลกระทบตอสิ่งแวดลอมต่ํา มีการออกแบบใหนําสินคาหรือชิ้นสวน
กลับมาใชซ ํา้ หมุนเวียนใชใ หมไดง าย หรอื หากตองกําจดั ทิง้ สามารถนําพลังงานกลับคืนมาใชได
และมคี วามปลอดภัยสําหรบั การฝงกลบ

3.2 ฉลากสนิ คาและบริการท่ีเปนมติ รตอ สงิ่ แวดลอม
ฉลากสง่ิ แวดลอ ม หมายถงึ ฉลากทีต่ ิดบนผลติ ภัณฑหรอื บริการวา เปนมติ ร
กบั ส่งิ แวดลอ มโดยในกระบวนการผลิตหรอื ใชง านสามารถลดการใชท รพั ยากรหรอื ลดผลกระทบ
ตอสิ่งแวดลอม ฉลากสิง่ แวดลอ มนับเปน กลยุทธอ ยางหนึง่ ทางการตลาด เพ่อื สรางแรงจงู ใจ
ใหประชาชนตระหนักถงึ ความสําคัญของการรกั ษาสภาพแวดลอ ม และเปนการเสริมสรา ง
ภาพลักษณท ีด่ ขี ององคก ร โดยสรางความตระหนักวา ผลติ ภณั ฑท่นี าํ ไปใชเปนเคร่ืองมอื หรอื
อปุ กรณสาํ คัญ ในการปกปองสภาพแวดลอ ม ซงึ่ เนนการมีสวนรวมของผบู ริโภคและผผู ลติ
ซ่ึงผลิตภณั ฑท ่สี ามารถติดฉลากแวดลอ มตอ งผา นกระบวนการประเมนิ จากหนวยงานทใี่ ห
การรบั รองวา ผลติ ภัณฑด งั กลาวสง ผลกระทบตอ ส่ิงแวดลอ มโดยรวมนอ ยกวา เมื่อเปรยี บเทียบ
กบั ผลิตภณั ฑประเภทเดียวกนั และมคี ณุ ภาพการใชงานอยูในมาตรฐานเดียวกัน ซ่ึงในทนี่ ้ี
หมายถงึ สินคา และบรกิ ารทวั่ ๆ ไปปจจุบนั ฉลากเพ่อื สิ่งแวดลอมซ่ึงจดั อยูใ นมาตรฐาน
การจัดการสงิ่ แวดลอ ม ISO 14001 จําแนกไดเ ปน 4 ประเภท ประกอบดวย

26

ฉลากประเภทท่ี 1
เปนฉลากสําหรับสินคาหรือบริการท่ีไดรับการรับรองจากบุคคลท่ี 3 ดําเนินการ
โดยองคกรอิสระ มอบใหกับผลิตภัณฑท่ีมีคุณสมบัติตรงตามขอกําหนดตามอนุกรมมาตรฐาน
ISO 14020 ซง่ึ การกาํ หนดเกณฑพ ิจารณาการลดผลกระทบตอส่ิงแวดลอมตลอดทั้งวัฏจักรชีวิต
ผลิตภัณฑ (Life cycle consideration) ภายใตกรอบดําเนินการตามอนุกรมมาตรฐาน ISO
14024 ปจจุบันมีการใชฉลากประเภทนี้มากกวา 50 ประเทศทั่วโลก โดยประเทศเยอรมณีเปน
ประเทศแรกที่เริ่มใชฉลากประเภทน้ี สําหรับฉลากประเภทน้ีในประเทศไทย ไดแก ฉลากเขียว
ซ่งึ ในปจจบุ นั มสี ินคา หลายประเภทที่ไดรับอนุมัติใหติดฉลากดงั กลาว ฉลากส่ิงแวดลอมประเภท
น้ีจะใหกับผลิตภัณฑประเภทอุปโภคบริโภค และบริการทุกประเภท ยกเวน อาหาร ยาและ
เครื่องดื่ม และทางภาครัฐก็ใหการสนับสนุน โดยการรณรงคใหหนวยงานราชการ พิจารณา
จัดซือ้ จดั จา งสนิ คา หรอื บรกิ ารสีเขียว

ภาพท่ี 2.6 ตวั อยางฉลากสาํ หรับสินคาหรอื บริการประเภทที่ 1

ท่มี า : http://www.thailandindustry.com

ฉลากประเภทที่ 2
เปนฉลากผลิตภัณฑที่ผูผลิตเปนผูออกฉลากเอง เพ่ือความมุงหมายเฉพาะ
ดาน เนนลักษณะทางสิ่งแวดลอมดานใดดานหน่ึง เน่ืองจากเปนการเผยแพรขอมูลประเด็น
ดานส่ิงแวดลอมเชิงเด่ียว ไมไดพิจารณาตลอดทั้งวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ และไมมีกลไก
การตรวจสอบโดยบุคคลท่ีสาม โดยการปฏิบิติตามอนุกรมมาตรฐาน ISO 14021 ซ่ึงเปนนิยาม
และคําศัพท ขอกําหนดและแนวทางในการเปดเผยขอมูลผลิตภัณฑ และบทลงโทษในกรณีที่
ละเมิดขอกาํ หนดที่เก่ยี วกับการใชฉ ลากผลติ ภณั ฑประเภทที่ 2

27

ภาพท่ี 2.7 ตวั อยา งฉลากสําหรับสินคาหรือบริการประเภทท่ี 2

ทีม่ า : http://www.thaitextile.org

ฉลากประเภทที่ 3
เปน ฉลากท่ีแสดงขอมลู เชงิ ปริมาณบนพน้ื ฐานของการประเมินตลอดวัฏจักรของ
สนิ คา โดยมีวัตถุประสงคเพอื่ ใหผ บู ริโภคสามารถประเมินผลกระทบของสินคาตอส่ิงแวดลอมได
จ า ก ก า ร เ ผ ย แ พ ร ข อ มู ล เ ชิ ง ป ริ ม า ณ ที่ บ อ ก ร า ย ล ะ เ อี ย ด เ ก่ี ย ว กั บ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ใ น ก า ร ใ ช
ทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน ปริมาณมลพิษที่เกิดข้ึน ซึ่งมีลักษณะคลายกับฉลากโภชนา
การอาหาร เปนสวนหนึ่งของอนุกรมมาตรฐาน ISO/TR 14025 เปนแนวทาง หลักการและ
ขอกาํ หนดของวิธีการรบั รองผลติ ภัณฑท ่ีจะใชฉลากผลิตภณั ฑประเภทที่ 3
ภาพท่ี 2.8 ตัวอยา งฉลากสําหรับสนิ คาหรือบริการประเภทที่ 3

ท่ีมา : http://www.thaitextile.org

28

ฉลากประเภทท่ี 4
เปน ฉลากสง่ิ แวดลอ มท่บี ง ชี้ประเด็นดา นสิ่งแวดลอมของผลิตภัณฑ เชน ฉลาก
ประหยัดไฟ หรือ Energy Star ในผลติ ภณั ฑเ ครอ่ื งใชไ ฟฟา

ภาพท่ี 2.9 ตวั อยางฉลากสาํ หรบั สินคาหรอื บริการประเภทที่ 4

ที่มา : http://www.thaitextile.org

3.3 แนวทางการเลอื กสนิ คาที่เปนมติ รกบั สิ่งแวดลอม
ผลิตภัณฑหรือสินคาทีเ่ ปน มติ รกบั สง่ิ แวดลอม ผบู ริโภค มีแนวทางการเลอื กสินคา
ทเ่ี ปน มติ รกับสง่ิ แวดลอ ม โดยพิจารณาคณุ สมบัตสิ ินคา ไดดงั นี้

3.3.1 ใชวัสดุที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอย เชน วัสดุที่ไมมีพิษ วัสดุ
หมนุ เวยี นทดแทนได วัสดรุ ีไซเคิล และวสั ดุที่ใชพลงั งานต่ําในการจดั หามา

3.3.2 ใชวัสดุนอย เชน น้ําหนักเบา ขนาดเล็ก มีจํานวนประเภทของวัสดุนอย
เชน มวี ัสดหุ ีบหอนอ ย มีการเสรมิ ความแข็งแรง เพือ่ ใหล ดขนาดลงได

3.3.3 มกี ารใชเ ทคโนโลยกี ารผลิตที่มีประสิทธิภาพสูงสุด เชน ใชทรัพยากรและ
พลังงานอยางมีประสิทธิภาพในการผลิต ใชพลังงานท่ีสะอาด ลดการเกิดของเสียจาก
กระบวนการผลติ และลดข้นั ตอนของกระบวนการผลิต

3.3.4 มีระบบขนสงและจัดจําหนายที่มีประสิทธิภาพ เชน ลดการใชหีบหอ
บรรจภุ ัณฑท่ีฟมุ เฟอ ย ใชบรรจภุ ณั ฑท่ีทําจากวัสดทุ ี่ใชซ้ําหรือหมุนเวียนใชใหมได ใชรูปแบบการ
ขนสง ทีก่ อผลกระทบตอสงิ่ แวดลอ มตํา่ และเลอื กใชเสนทางการขนสง ทป่ี ระหยัดพลงั งานท่สี ุด

3.3.5 ลดผลกระทบตอส่ิงแวดลอมท่ีเกิดในชวงการใชงาน เชนใชพลังงานต่ํา มี
การปลอ ยมลพษิ ตํ่าในระหวางใชงาน ลดการใชว ัสดุส้ินเปลือง และลดการใชช ้นิ สว นทีไ่ มจ ําเปน

3.3.6 มคี วามคุมคาตลอดชวี ติ การใชงาน เชน ทนทาน ซอมแซมและดูแลรักษา
งา ย ปรบั ปรุงตอเติมได ไมต อ งเปลย่ี นบอ ย

3.3.7 มีระบบการจัดการหลังหมดอายุการใชงานที่มีประสิทธิภาพสูงสุด เชน
การเก็บรวบรวมท่ีกอผลกระทบตอส่ิงแวดลอมต่ํา มีการออกแบบใหนําสินคาหรือช้ินสวน
กลับมาใชซ้ําหรือหมุนเวียนใชใหมไดงาย หรือหากตองกําจัดทิ้งสามารถนําพลังงานกลับคืนมา
ใชได และมคี วามปลอดภัยสาํ หรบั การฝง กลบ

29

3.3.8 การพิจารณาวา สนิ คา ใดเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมควรพิจารณาวาสินคาน้ัน
สงผลกระทบตอส่ิงแวดลอมมากในชวงใดของวัฏจักรชีวิต เชน เครื่องใชไฟฟา จะกอผลกระทบ
มากในชวงใชงานมากกวาในชวงการผลิต และหากมีการลดผลกระทบในชวงดังกลาวใหนอย
กวา สินคา อืน่ ทมี่ ลี ักษณะการทํางานเหมอื นกัน รวมท้งั ประเดน็ ดานส่งิ แวดลอมอ่นื ๆ ซ่ึงจะถือได
วาเปนสนิ คา ทีเ่ ปน มิตรกบั สง่ิ แวดลอ ม

ดังนัน้ การพจิ ารณาเลอื กใชส นิ คาและบรกิ ารท่ีเปนมิตรตอสิง่ แวดลอ ม โดยใช
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นํามาพิจารณาใหรอบคอบ บนพื้นฐานความรูนั้น จะทําให
สามารถตัดสินใจเลือกใชสินคาและบริการน้ัน ๆ อยางมีเหตุมีผล พอประมาณ และมีภูมิคุมกัน
พิษภัยท่ีเกิดข้ึนกับวัสดุเหลือใชจากสินคาอุปโภคบริโภค ที่สงผลตอสุขภาพตนเองและเปนพิษ
ตอ สงิ่ แวดลอ ม

ผลิตภัณฑหรือสิ่งของเคร่ืองใชมากมายหลายชนิดทําใหมนุษยมีชีวิตที่
สะดวกสบายมากขึ้น แตอยางไรก็ตามเทคโนโลยีก็มีผลกระทบตอมนุษยหลายดาน เชน ทําให
เกิดมลภาวะ ทําลายสภาพแวดลอม ปญหาสังคม ความยากจน อาชญากรรม ปญหาเศรษฐกิจ
ซึ่งปญหาเหลาน้ีจะตองแกไขโดยการมีจิตสํานึกของมนุษยทุกคนในการเลือกใชสิ่งของเคร่ืองใช
อยางสรา งสรรค เลือกสิ่งของเครื่องใชที่เปนมิตรกับชีวิต สังคม และส่ิงแวดลอม มนุษยสามารถ
จะเปลยี่ นความคิด ลดความเห็นแกตัว การใชส ่ิงของที่เปนอันตรายตอส่ิงแวดลอมทําใหเกิดโทษ
มากกวาประโยชน ซ่ึงการแกปญหานอกจากจะใชกระบวนการเทคโนโลยีโดยการหาวิธีใหมๆ
แลวมนุษยทุกคนจะตองมีจิตสํานึกในการอนุรักษพลังงาน รวมถึงมีจิตสาธารณะคํานึงถึง
ประโยชนข องสวนรวมมากกวาประโยชนส วนตวั ใชส ่ิงของเลือกใชอยางสรางสรรค รูคุณคาและ
ไมเกิดโทษตอ คนอ่ืน ๆ รวมถึงสังคม และกอ ใหเ กิดมลภาวะนอยทีส่ ดุ เปน ตน

30

กจิ กรรมทายหนว ยท่ี 2
หลงั จากทผ่ี ูเรียนศกึ ษาเอกสารชดุ การเรียนหนวยท่ี 2 จบแลว ใหผูเรียนคน ควา
เพิม่ เติมจากแหลง เรยี นรตู าง ๆ แลวทํากิจกรรมการเรียนรหู นวยท่ี 2 ในสมุดบันทึกกิจกรรม
การเรยี นรู แลวจัดสง ตามทผี่ สู อนกําหนด

31

หนว่ ยท่ี 3
การจัดการเศษซากวัสดุ

สาระสาคัญ

วสั ดุทใี่ ชแ้ ล้วหรอื เศษซากวสั ดุจะถูกเรียกว่า “ขยะมูลฝอย” ในชีวิตประจาวันขยะมูลฝอย
เริ่มทวคี ณู เพิม่ ปริมาณข้นึ เร่ือย ๆ เพ่อื ให้มปี ริมาณขยะท่ีลดนอ้ ยลง เราต้องมีการจัดการขยะ
มูลฝอยให้ถูกวธิ ี เพ่อื ลดผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึนกับสิ่งแวดล้อมมากที่สุด ในปัจจุบันการจัดการขยะ
มลู ฝอยมหี ลากหลายวิธี เป็นการผสมผสานเพ่ือให้เป็นกระบวนการที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
ในการแกป้ ัญหาของขยะมูลฝอย การจัดการขยะมูลฝอยขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง มีความยืดหยุ่น
ไม่มีรูปแบบที่ตายตัวข้ึนกับเง่ือนไขและปัจจัยด้านการจัดการขยะมูลฝอยของท้องถ่ินน้ันๆ เช่น
พ้ืนที่หรือสถานท่ี ระดับการมีส่วนร่วมของชุมชน และ ในปัจจุบันวิธีการจากัดขยะอย่างง่าย ๆ ท่ี
พบเหน็ มี 2 วธิ ี คือ โดยการเผาไหม้ และฝังกลบ

ตวั ช้วี ัด

1. อธิบายหลกั สาคัญในการจัดการเศษซากวสั ดุ
2. บอกอตั ราเร็วในการยอ่ ยสลายเศษซากวัสดุ
3. อธิบายหลกั 3R ในการจัดการเศษซากวสั ดุ
4. ระบุประเภทของภาชนะรองรบั เศษซากวัสดุ
5. อธบิ ายเทคโนโลยีการกาจัดเศษซากวสั ดุ

ขอบข่ายเนื้อหา
1. การจัดการเศษซากวสั ดุ
2. อตั รายอ่ ยสลายของเศษซากวัสดุ
3. หลกั 3R ในการจัดการเศษซากวสั ดุ
4. ภาชนะรองรับเศษซากวัสดุ
5. เทคโนโลยีการกาจัดเศษซากวสั ดุ

32

หน่วยที่ 3
การจดั การเศษซากวัสดุ

เร่ืองที่ 1 การจดั การเศษซากวสั ดุ

วัสดุที่ใชแ้ ล้ว หรอื เศษซากจากการใช้งาน หรือเศษซากท่หี ลงเหลือในขน้ั ตอน

การผลติ จะถูกเรียกว่า “ขยะมลู ฝอย” ขยะมูลฝอยทเี่ ราพบเห็นในชวี ิตประจาวนั เกดิ จาก

บา้ นเรือน ตลาดสด สถานประกอบการ แหล่งทอ่ งเที่ยวในชุมชน รวมถึงสถานที่สาธารณะตา่ ง ๆ
เร่ิมทวีคูณเพ่ิมปริมาณขึ้นเรื่อย ๆ เพ่ือให้มีปริมาณขยะทล่ี ดน้อยลง จงึ ต้องมีการจัดการขยะมูลฝอย
ใหถ้ กู วธิ ี เพ่ือลดผลกระทบทจ่ี ะเกิดขึ้นกับส่ิงแวดล้อมมากที่สุด ในปัจจบุ นั การจัดการขยะมูลฝอยมี
หลากหลายวธิ ี เป็นการผสมผสานเพ่อื ให้เป็นกระบวนการท่ีเหมาะสมและมีประสทิ ธภิ าพใน
การแกป้ ัญหาของขยะมูลฝอย การจดั การขยะมูลฝอยข้ึนอยูก่ ับปจั จัยหลายอย่าง มคี วามยืดหยุ่น
ไม่มรี ูปแบบทต่ี ายตวั ข้นึ กบั เง่ือนไขและปัจจัยด้านการจัดการขยะมลู ฝอยของทอ้ งถ่นิ นัน้ ๆ เชน่
พื้นทห่ี รือสถานท่ี ระดบั การมีสว่ นรว่ มของชุมชนในการลดและคดั แยกขยะมลู ฝอย สถานะทาง
การเงิน ความสามารถในการลงทนุ ของทอ้ งถิน่ การจัดการขยะมูลฝอย มีหลักการทีส่ าคัญ
3 ประการ ดังนี้

1) การเก็บรวบรวมและขนส่ง มวี ตั ถุประสงค์ เพ่อื ทจ่ี ะนาเอาขยะมลู ฝอย
ออกจากแหลง่ กาเนดิ เพอื่ ลดผลกระทบต่อสขุ อนามัยและสภาพแวดล้อม

2) กระบวนการใช้ประโยชนด์ ้วยวิธกี ารต่าง ๆ มีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ การใช้
ประโยชน์จากขยะมูลฝอยในรปู แบบการนากลับมาใช้ใหม่ เช่น การทาปุ๋ย การนามาผลิต
พลงั งาน หรอื จะนารูปแบบการลด คัดแยก และใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอยให้เกิดประโยชน์
สงู สุดโดยการใช้หลกั 3R คอื Reduce (ใช้นอ้ ย) Reuse (ใช้ซ้า) Recycle (นากลับมาใช้ใหม่)
ตามความเหมาะสม

3) การกาจัด มีวัตถุประสงค์ เพื่อกาจัดส่วนท่ีเหลือจากการใช้ประโยชน์ ใน
ปัจจบุ นั วิธกี ารจากดั ขยะอยา่ งง่าย ๆ มี 2 วธิ ี คือ

(1) โดยการเผาไหม้ เปน็ การนาขยะไปเผาในเตาเผา แต่วิธีนี้
จะก่อใหเ้ กิดปญั หา เพราะขยะบางชนิดเม่ือเผาแล้วทาให้เกดิ การเผาไหม้แบบไม่สมบูรณ์
จะปล่อยก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ ซ่ึงเปน็ อนั ตรายและทาให้เกิดมลพษิ ทางอากาศ การเผาขยะ
จึงเปน็ สิ่งทพ่ี งึ ระวงั โดยท่ัวไปขยะจากบ้านเรอื นจะใชว้ ธิ กี ารเผามากทส่ี ดุ

(2) โดยการฝังกลบ โดยท่ัวไปแล้ว ขยะจากบ้านเรือน ประมาณร้อยละ
80 จะถูกนาไปเทในหลุมขนาดมหึมา เพ่ือทาการฝังกลบ แต่การฝังกลบ หลุมฝังกลบที่มี
การจัดการท่ีดี จะต้องนาขยะเข้าเครื่องอัดให้แน่นเป็นแผ่นแบน ๆ แล้วทับถมด้วยดินท่ีสะอาด

33

เพื่อป้องกนั สตั วต์ า่ ง ๆ เช่น สุนัข แมว หนู นก แมลงวัน มาขุดคุ้ย ขยะที่ถูกฝังจะมีแบคทีเรียมา
ช่วยย่อยสลาย ขยะที่ย่อยสลายได้น้ัน จะถูกย่อยสลายด้วยกระบวนการทางชีวภาพตาม
ธรรมชาติ โดยมีปัจจัยประกอบด้วย แบคทีเรีย น้า ออกซิเจน และความร้อน หลุมฝังกลบ
จะต้องมีการป้องกันการไหลซึมของน้าเสียและเชื้อโรค เพราะขยะบางชนิดไม่สามารถย่อย
สลายตวั ได้ เนื่องจากไมไ่ ดส้ ัมผสั กับออกซิเจนหรือนา้ เลย การกาจดั ด้วยวธิ นี ที้ าให้เกิดผลกระทบ
หลายอยา่ งตามมาเช่นกนั เน่ืองจากการเน่าเสียของขยะ ทาให้เกิดของเหลวท่ีเป็นพิษ ไหลซึมลง
ไปทาให้น้าใต้ดินเป็นพิษได้ นอกจากนั้นการเน่าเสียของขยะ ยังทาให้เกิดก๊าซมีเทน ซ่ึงมีผลทา
ให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจก ซ่ึงการฝังกลบแต่ละสถานท่ี เมื่อขยะเต็มแล้วจะต้องหาที่ใหม่
ตอ่ ไปอีกเรื่อย ๆ ดงั นนั้ ต้องกาจัดขยะมูลฝอยให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ ด้วยการฝังกลบอย่าง
ถกู หลกั สุขาภิบาล เพ่อื ป้องกันผลกระทบที่จะเกิดข้ึนตามมา

ภาพท่ี 3.1 แสดงการกาจัดขยะมูลฝอยด้วยวธิ ีการฝังกลบ

ทมี่ า : http://kanchanapisek.or.th

34

เรือ่ งท่ี 2 อตั รายอ่ ยสลายของเศษซากวสั ดุ

ในการกาจัดเศษซากวัสดุ หรือกาจัดขยะ หรือลดปริมาณการใช้วัสดุแต่ละชนิดนั้น มีข้อ
ควรคานึง คือ อัตราเร็วในการย่อยสลายของวัสดุต่าง ๆ ซ่ึงวัสดุแต่ละชนิดมีอัตราเร็วของการย่อย
สลายแตกต่างกัน บางชนิดอัตราเร็วการย่อยสลายต่ามาก และวัสดุบางชนิด เช่น แก้ว ก็ไม่สามารถ
ย่อยสลายได้ ระยะเวลาการย่อยสลายตามธรรมชาติ อัตราเร็วของการย่อยสลายของขยะแต่ละชนิด
มีความแตกต่างกัน ดังนี้

1. เศษพืชผัก ในการกาจัดเศษซากวัสดุจาพวกเศษพืชหรือเศษผัก ท่ีมาจากครัวเรือนหรือ
จากภาคเกษตรกรรมน้ัน ต้องใช้ระยะเวลาในย่อยสลายตามธรรมชาติ เป็นเวลานาน 5 ถึง 1 เดือน
ขน้ึ อยกู่ บั ขนาดของเศษพืชผกั

2. ใบไม้ ใช้ระยะเวลาย่อยสลายเปน็ เวลา 3 เดอื นเปน็ อย่างนอ้ ย
3. เศษกระดาษ ระยะเวลาย่อยสลายตามธรรมชาติของเศษกระดาษใช้ระยะเวลา 2 – 5
เดอื น ขน้ึ อยกู่ บั ประเภทของกระดาษ
4. เปลอื กส้ม ระยะเวลาย่อยสลายตามธรรมชาติของเปลือกส้มใช้ระยะเวลานานถึง 6 เดือน
เปน็ อยา่ งน้อย
5. กล่องนมเคลอื บพลาสตกิ ใชร้ ะยะเวลาย่อยสลายตามธรรมชาตินานถึง 5 ปี
6. กน้ กรองบหุ ร่ี ใช้ระยะเวลายอ่ ยสลายตามธรรมชาตนิ านถึง 12 - 15 ปี
7. รองเท้าหนงั ใชร้ ะยะเวลาย่อยสลายตามธรรมชาตินานถึง 25 - 40 ปี
8. กระป๋องอะลมู เิ นียม ใชร้ ะยะเวลาย่อยสลายตามธรรมชาตินานถงึ 80 - 100 ปี
9. ถุงพลาสตกิ ขวดพลาสตกิ ผา้ ออ้ มเด็กชนิดสาเรจ็ รปู ใช้ระยะเวลาย่อยสลาย
ตามธรรมชาตินานถึง 450 – 500 ปี
10. โฟม ไมส่ ามารถยอ่ ยสลายได้เองตามธรรมชาติ

5 วัน – 1 เดอื น 3 เดอื น 35

เศษพืชผกั ใบไหม้ 2-5 เดือน

เศษกระดาษ

6 เดอื น 5 ปี 12-15 ปี

เปลือกสม้ กล่องนมเคลอื บพลาสติก ก้นกรองบหุ รี่

25-40 ปี 80-100 ปี 450 ปี

รองเทา้ หนัง กระปอ๋ งอะลมู ิเนยี ม ถุงพลาสติก

450 ปี 500 ปี ไมย่ ่อยสลาย

ขวดพลาสติก ผา้ อ้อมเด็กชนดิ สาเรจ็ รปู โฟม

ภาพที่ 3.2 ตารางภาพแสดงอตั ราเรว็ ในการย่อยสลายขยะมูลฝอย

36

เรื่องที่ 3 หลกั 3R ในการจัดการเศษซากวสั ดุ

การลดปริมาณขยะดว้ ยหลัก 3R ไดแ้ ก่ Reduce (ใช้น้อย) Reuse (ใชซ้ ้า) และ
Recycle (ผลติ ใช้ใหม่) ใช้เป็นแนวทางปฏบิ ัตใิ นการลดปริมาณขยะในครวั เรอื น โรงเรยี น
และชุมชน ดงั น้ี

1. Reduce หมายถงึ การใชน้ อ้ ย หรอื ลดปรมิ าณการใช้ เช่น
1) หลกี เลยี่ งการใชอ้ ยา่ งฟุ่มเฟอื ย ลดปรมิ าณการใช้ให้อยู่ในสัดส่วนที่พอเหมาะ

ลดปริมาณบรรจุภัณฑห์ ีบห่อทไี่ ม่จาเป็น ลดการขนขยะเขา้ บ้าน ไมว่ ่าจะเปน็ ถุงพลาสตกิ
ถุงกระดาษ โฟม หรอื หนังสือพมิ พ์ เป็นต้น

2) เลือกใช้สินคา้ ท่ีมีอายกุ ารใช้งานสูงใช้ผลติ ภณั ฑช์ นดิ เติม เชน่ น้ายาล้างจาน
นา้ ยาปรบั ผ้านุ่ม ถ่านชนิดชารจ์ ได้สบเู่ หลว น้ายารดี ผา้ เปน็ ต้น

3) เลอื กบรรจภุ ัณฑ์ทีส่ ามารถนากลับมาใชใ้ หม่ได้
4) คิดกอ่ นซอ้ื สนิ ค้า พจิ ารณาว่าส่ิงน้ันมีความจาเป็นมากน้อยเพียงใดหลีกเลี่ยง
การใช้สารเคมภี ายในบ้าน เช่น ยากาจัดแมลงหรือน้ายาทาความ สะอาดต่าง ๆ ควรจะหันไปใช้
วิธีการทางธรรมชาติจะดีกว่า อาทิ ใช้เปลือกส้มแห้ง นามาเผาไล่ยุง หรือใช้ผลมะกรูดดับกลิ่น
ภายในห้องน้า
5) ลดการใช้กล่องโฟมหลีกเล่ียงการใช้โฟมและพลาสติกโดยใช้ถุงผ้าหรือ
ตะกรา้ ในการจบั จ่ายซื้อ ของใชป้ นิ่ โต ใส่อาหาร
6) ลดการใชถ้ ุงพลาสติก ควรใช้ถงุ ผา้ หรอื ตะกร้าแทน

ใช้ถงุ ผ้า ถกู วิธี
ต้องไมม่ ี ถุงพลาสติก
หลบอยขู่ า้ งในนะจ๊ะ
.

ภาพที่ 3.3 ภาพการรณรงค์ลดใช้ถุงพลาสติก

37

2. Reuse ใชซ้ า้
Reuse หมายถึง การใชซ้ า้ ผลติ ภณั ฑส์ ง่ิ ของต่าง ๆ เช่นใช้แกว้ น้าเซรามคิ หรอื

แก้วใส ดว้ ยวิธีการใช้แลว้ ลา้ งนา้ ให้สะอาด สามารถนามาใช้ไดอ้ ีกครง้ั แทนการใช้แกว้ พลาสติก
ทต่ี อ้ งใช้แลว้ ตอ้ งทง้ิ นาถงุ พลาสตกิ ทใี่ ชแ้ ล้ว มาเป็นถงุ ขยะใชก้ ระดาษให้ครบท้ัง 2 หน้า บริจาค
ส่งิ ของเครื่องใช้ เสือ้ ผา้ ท่ีไม่ตอ้ งการให้ผอู้ นื่ ดดั แปลงวสั ดสุ ่ิงของเปน็ ของใชใ้ หม่เปน็ ต้น

 

ภาพที่ 3.4 การลดปริมาณขยะดว้ ย Reuse โดยใช้แกว้ นา้ เซรามิค
หรือ แกว้ ใส แทนแก้วพลาสติก หรอื แก้วกระดาษเคลอื บ

นาสิ่งของมาดัดแปลงให้ใช้ประโยชน์ได้อีก เช่น การนายางรถยนต์มาทาเก้าอ้ี
การนาขวดพลาสตกิ มาดัดแปลงเปน็ ทใ่ี ส่ของ หรอื แจกัน การนาเศษผ้ามาทาเปลนอน เปน็ ตน้

เกา้ อ้จี ากขวดน้า กระถางตน้ ไมจ้ ากรองเท้าเกา่

ภาพท่ี 3.5 การนาสิง่ ของมาดัดแปลงใช้ประโยชน์

ท่มี า : http://www.naibann.com

38

3. Recycle การแปรรปู นากลบั มาใช้ใหม่
Recycle หมายถึง การรีไซเคิลหรือแปรรูปกลับมาใช้ใหม่ เพ่ือนาวัสดุท่ียังสามารถ

นากลับมาใช้ใหม่หมุนเวียนกลับมาเข้าสู่กระบวนการผลิตตามกระบวนการของแต่ละประเภท
เพ่ือนากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ ซึ่งนอกจากจะเป็นการลดปริมาณขยะมูลฝอยแล้ว ยังเป็น
การลดการใช้พลังงานและลดมลพิษท่ีเกิดกับส่ิงแวดล้อม ขยะรีไซเคิลโดยท่ัวไป แยกได้เป็น
4 ประเภท คอื แกว้ กระดาษ พลาสติก โลหะ อโลหะ ส่วนบรรจุภัณฑ์บางประเภทอาจจะใช้ซ้า
ไมไ่ ด้ เชน่ กระป๋องอะลูมิเนียม หนังสือเก่า ขวดพลาสติก ซึ่งแทนที่จะนาไปทิ้ง ก็รวบรวมนามา
ขายใหก้ บั รา้ นรบั ซอื้ ของเก่า เพือ่ ส่งไปยังโรงงานแปรรูป เพื่อนาไปผลิตเป็นผลิตภณั ฑ์ต่าง ๆ ดงั นี้

1) นาขวดพลาสติก มาหลอมเป็นเม็ดพลาสติก
2) นากระดาษใช้แล้วแปรรปู เป็นเย่อื กระดาษ เพื่อนาไปเป็นส่วนผสมในการผลิต
เป็นกระดาษใหม่
3) นาเศษแกว้ เก่ามาหลอม เพอ่ื ข้นึ รูปเปน็ ขวดแกว้ ใบใหม่
4) นาเศษอลูมิเนียมมาหลอมข้ึนรูปเป็นแผ่น นามาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์อะลูมิเนียม
รวมทงั้ กระป๋องอะลูมิเนยี ม

ภาพที่ 3.6 การรีไซเคิลหรือการแปรรูปขยะนากลับมาใช้ใหม่

ทีม่ า : http://www.bantub.go.th

39

เร่ืองที่ 4 ภาชนะรองรบั เศษซากวัสดุ
เพื่อให้การจัดเก็บรวบรวมขยะมูลฝอย เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและลด

การปนเป้ือนของขยะมูลฝอยที่มีศักยภาพในการนากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ จะต้องมีการต้ังจุด
รวบรวมขยะมูลฝอย และใหม้ ีการแบง่ แยกประเภทของถงั รองรับขยะมูลฝอยตามสีต่าง ๆ โดยมี
ถงุ บรรจภุ ายในถงั เพ่ือสะดวกและไม่ตกหล่น หรอื แพรก่ ระจาย ดงั น้ี

ถังขยะมูลฝอยแบบแยกประเภท
1. สีเขียว รองรบั ขยะท่ีเน่าเสยี และยอ่ ยสลายได้ สามารถ นามาหมักทาปยุ๋ ได้

เชน่ ผกั ผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้ มีสญั ลักษณะท่ีถงั เปน็ รูปกา้ งปลาหรอื เศษอาหาร

ภาพท่ี 3.7 ภาพแสดงถังขยะสเี ขยี วและสญั ลกั ษณ์

ทมี่ า : http://psu10725.com

2. สีเหลือง รองรับขยะที่สามารถนามารีไซเคิลหรือขาย ได้ เช่น แก้วกระดาษ
พลาสตกิ โลหะ

ภาพที่ 3.8 ภาพแสดงถงั ขยะสเี หลืองและสัญลกั ษณ์

ทม่ี า : http://psu10725.com


Click to View FlipBook Version