The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

2.

2.

40

3. สีแดง หรือสีเทาฝาสีส้ม รองรับขยะที่มีอันตรายต่อส่ิงมีชีวิต และส่ิงแวดล้อม
เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ ขวดยา ถ่านไฟฉาย กระป๋องสีสเปรย์ กระป๋องยาฆ่าแมลง ภาชนะ
บรรจุสารอนั ตรายตา่ ง ๆ

ภาพที่ 3.9 ภาพแสดงถงั ขยะสีแดงและสัญลักษณ์

ทีม่ า : http://psu10725.com

4. สีฟ้าหรอื สนี ้าเงนิ รองรับขยะท่ัวไป คือ ขยะมูลฝอยประเภทอ่นื นอกจาก
ขยะยอ่ ยสลาย ขยะรีไซเคิลและขยะอนั ตราย ขยะทว่ั ไปจะมีลักษณะท่ยี อ่ ยสลายยาก ไม่คุ้มค่า
สาหรับการนากลับไปใชป้ ระโยชน์ใหม่ เช่น พลาสติกหอ่ ลกู อม ซองบะหม่สี าเรจ็ รูป ถงุ พลาสตกิ
โฟมและฟอล์ยท่ีเปอ้ื นอาหาร

ภาพท่ี 3.10 ภาพแสดงถังขยะสฟี ้าหรือสีน้าเงนิ และสญั ลักษณ์

ที่มา : http://psu10725.com

41

นอกจากจะมถี ังเปน็ สีตา่ ง ๆ ตามประเภทของขยะที่ตอ้ งคัดแยกทิ้งแลว้ บางแหง่
ก็ใชเ้ ปน็ ถังสีขาวเพอ่ื ความสวยงาม แตต่ ิดสญั ลักษณแ์ ละสีตามแบบถังขยะสตี ่าง ๆ ไว้ เช่น
ตามป้มั นา้ มัน โรงแรม หรือ สถานที่ท่องเทยี่ วต่าง ๆ เปน็ ตน้

ภาพท่ี 3.11 ภาพแสดงถงั ขยะสีขาวติดสติกเกอรส์ ัญลักษณแ์ ละขอ้ ความประเภทขยะ

ทมี่ า : http://www.thaihealth.or.th

เกณฑม์ าตรฐานภาชนะรองรบั ขยะมลู ฝอย
ขอ้ กาหนดเกีย่ วกับเกณฑ์มาตรฐานภาชนะรองรบั ขยะมลู ฝอย เป็นดงั น้ี

1. ควรมีสัดส่วนของถังขยะมูลฝอยจากพลาสติกที่ใช้แล้วไม่ต่ากว่าร้อยละ 50
โดยนา้ หนกั

2. ไม่มีส่วนประกอบสารพิษ (toxic substances) หากจาเป็นควรใช้สารเติม
แต่งในปรมิ าณทน่ี ้อยและไม่อยู่ในเกณฑ์ที่เป็นอันตรายตอ่ ผู้บริโภค

3. มคี วามทนทาน แข็งแรงตามมาตรฐานสากล
4. มีขนาดพอเหมาะมีความจุเพียงพอต่อปริมาณขยะมูลฝอย สะดวกต่อการ
ถ่ายเทขยะมลู ฝอยและการทาความสะอาด
5. สามารถปอ้ งกนั แมลงวนั หนู แมว สนุ ขั และสตั ว์อื่นๆ มิให้สัมผัสหรือคุ้ยเขี่ย
ขยะมูลฝอยได้

42

เรือ่ งท่ี 5 เทคโนโลยีการกาจัดเศษซากวัสดุ

เทคโนโลยีการกาจัดมูลฝอยชุมชนสามารถแบ่งเป็น 5 ประเภท ที่เป็นท่ียอมรับในระดับ
สากล ดงั น้ี

1. เทคโนโลยีการผลิตพลงั งานมลู ฝอยชมุ ชนโดยใชเ้ ตาเผา (Incinerator)
2. เทคโนโลยกี ารผลิตก๊าซเชื้อเพลิงจากมลู ฝอยชุมชน (MSW Gasification)
3. เทคโนโลยกี ารผลิตเชอ้ื เพลิงขยะ (Refuse Derived Fuel)
4. เทคโนโลยีการยอ่ ยสลายแบบไม่ใช้ออกซเิ จน (Anaerobic Digestion)
5. เทคโนโลยกี ารผลิตพลงั งานโดยใช้ก๊าซชีวภาพจากหลุมฝังกลบมูลฝอยชุมชน

(Landfill Gas-to-Enaergy)

1.1 เทคโนโลยกี ารผลติ พลงั งานมลู ฝอยชุมชนโดยใชเ้ ตาเผา (Incinerator)
การเผา (Incineration) เป็นกระบวนการกาจัดเศษวัสดุเหลือท้ิงที่ใช้ความร้อน

สูงเพ่ือเผาไหม้ส่วนประกอบท่ีเป็นสารอินทรีย์ในเศษวัสดุเหลือทิ้ง สิ่งท่ีเหลือจากการเผา คือ
ความร้อน ขี้เถ้า และแก๊สปล่องไฟ (Flue gas) ขี้เถ้าเป็นส่วนผสมของสารอนินทรีย์ อาจอยู่ใน
รูปของของแข็งหรือฝุ่นละอองท่ีมากับแก๊สปล่องไฟ แก๊สปล่องไฟต้องถูกทาให้สะอาดก่อนถูก
ปล่อยออกสู่ชั้นบรรยากาศ ส่วนความร้อนที่ได้จากเตาเผา สามารถนาไปใช้ผลิตไฟฟ้าได้
การกาจัดเศษวัสดุด้วยการเผาแล้วสามารถผลิตพลังงานข้ึนมาได้น้ี เป็นเทคโนโลยีที่เปล่ียนเศษ
วัสดุให้เป็นพลังงานวิธีหน่ึง นอกเหนือจากการแปรสภาพเป็นแก๊ส(Gasification) การแปรรูป
เป็นแก๊สด้วยวิธีพลาสมาอาร์ค (Plasma arc gasification) การแปรรูปเป็นน้ามัน(pyrolysis)
และการย่อยโดยไม่ใช้อากาศ (anaerobic digestion) แต่การกาจัดเศษวัสดุโดยวิธีนี้ในบางคร้ัง
กไ็ มไ่ ด้มจี ดุ ประสงค์ในการนาพลงั งานมาใช้

(ก) ปฏิกิรยิ าในเตาเผาเศษวสั ดุทุกแบบ (ข) เตาเผาเศษวัสดุแห่งหนง่ึ ในออสเตรยี
แต่ละแบบมีรายละเอียดท่แี ตกตา่ งกัน มีสถาปัตยกรรมและภาพวาดเพ่อื ให้สบายตาแก่ชมุ ชน

ภาพที่ 3.12 ภาพเตาเผาวัสดุ ท่ีมา : https://th.wikipedia.org

43

เทคโนโลยกี ารกาจัดวสั ดเุ หลือทง้ิ ด้วยการเผา สามารถแบ่งรูปแบบของการเผาได้ 2 ประเภท
ดังนี้

1) เตาเผาแบบเชิงตะกอน
แบบน้ีง่ายและธรรมดาที่สุดสาหรับเศษวัสดุในครัวเรือนขนาดเล็ก โดยเอาเช้ือไฟและ
เศษวัสดุซ้อนกันเป็นชั้นๆบนพื้นดิน แล้วจุดไฟเผาเลย การเผาแบบน้ี ไม่ควรทาในแหล่งชุมชน
เพราะถ้ามีลมพัดอาจทาให้เกิดอัคคีภัย หรือเศษเขม่าไฟปลิวเข้าบ้านเรือนได้ นอกจากในพ้ืนที่
นอกเมืองท่ีบางครั้งชาวบ้านต้องการเผาตอไม้หรือเศษตกค้างเพื่อเตรียมดินสาหรับการ
เพาะปลกู

รูปท่ี 3.13 การเผาเศษวสั ดุเหลอื ทิ้งเชิงตะกอน

ท่ีมา : https://th.wikipedia.org

2) เตาเผาแบบถังเผา
การเตาเผาแบบถังเผา จะใช้ถังเหล็กขนาด 200 ลิตรเจาะรูด้านข้างให้อากาศเข้า ซ่ึงจะ
ปลอดภัยกวา่ แบบเชิงตะกอน แม้มีลมพดั เปลวไฟและเศษวัสดุติดไฟก็จะถูกจากัดอยู่ในถังเหล็ก
นี้ อย่างไรก็ตาม การกาจัดเศษวัสดุของตนเองภายในบ้านควรต้องระมัดระวังเป็นอย่างมาก
เพราะเศษวัสดุบางชนิดอาจมีพิษหรือมีกลิ่นรบกวนชาวบ้านได้ ควรทาครั้งละน้อย ๆ จะดีกว่า
และควรรับผดิ ชอบถ้าเกดิ ความเสียหายแกผ่ ู้อื่น

รปู ท่ี 3.14 ถังเผาเศษวัสดเุ หลอื ทงิ้

ที่มา : http://www.engineer.mju.ac.th

44

3.2 เทคโนโลยกี ารผลติ กา๊ ซเชื้อเพลงิ จากมูลฝอยชุมชน (MSW Gasification)
เตาเผาแบบตะกรับเคล่ือนท่ี ซ่ึงเป็นเทคโนโลยีที่ใช้กันแพร่หลาย โดยการเคล่ือนที่ของ
ตะกรับ ทาให้เศษวัสดุท่ีถูกเผาเคล่ือนไปในห้องเผาไหม้ ถูกเผาได้อย่างสมบูรณ์มากย่ิงข้ึน
เตาเผาแบบน้ีบางทีถูกเรียกว่าเตาเผาเศษวัสดุชุมชน (Municipal Solid Waste Incinerator)
เศษวัสดุจะถูกป้อนด้วยเครนเข้าไปใน"คอหอย" ซึ่งเป็นปลายของตะกรับด้านหน่ึงที่อยู่ด้านบน
จากน้ันตะกรบั จะเล่ือนลง พาเศษวสั ดุไปที่ตะกรับบานลา่ ง ตอ่ ๆกันไปยังบ่อข้ีเถ้าท่ีปลายอีกด้าน
หน่ึง ขี้เถ้าจะถูกคัดออกผ่านม่านน้า ของแข็งท่ีเผาไม่หมด จะตกลงท่ีพ้ืนด้านล่าง โดยการเผา
ไหมข้ องเตาเผาแบบตะกรับเคล่ือนทจี่ ะมกี ารเผาอยู่ 2 ขน้ั ตอน ดังน้ี

3.1) อากาศท่ีใช้เผาไหม้คร้ังแรกบางส่วนไหลผ่านมาจากตะกรับด้านล่าง ทา
หน้าที่เป่าตะกรับให้เย็นลงไปในตัวด้วย การทาให้ตะกรับมีอุณหภูมิลดลงก็เพื่อเพิ่มความแข็งแกร่ง
ใหต้ ะกรับ บางระบบมีการระบายความรอ้ นของตะกรบั ด้วยน้า

3.2) อากาศเผาไหม้ครั้งท่ีสอง จะถูกจ่ายให้หม้อต้มด้วยความเร็วสูงผ่านหัวฉีด
เหนือตะกรับ อากาศนี้ทาให้แก๊สปล่องไฟถูกเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ โดยให้อากาศหมุนไปมา
เพ่อื ใหม้ ันผสมกันไปกับอากาศและออกซิเจนส่วนเกินได้ดียงิ่ ขนึ้

จากนน้ั แก๊สปลอ่ งไฟจะถูกทาให้เยน็ ลงในสว่ นของเตาท่เี รียกว่า ไอร้อนยงิ่ ยวด ความ
รอ้ นจะถกู ย้ายไปทไ่ี อนา้ ทาให้ไอนา้ มอี ณุ หภูมิสงู ประมาณ 400 องศาเซลเซียส ทคี่ วามดนั
40 บาร์ สง่ เข้ากังหันผลิตไฟฟ้าตอ่ ไป ณ จดุ น้ี แกส๊ ปล่องไฟจะมีอุณหภูมปิ ระมาณ 200 องศา
เซลเซียส และถกู สง่ เขา้ เครื่องทาความสะอาดกอ่ นปลอ่ ยออกทางปล่องไฟสู่บรรยากาศภายนอก

รูปท่ี 3-15 ห้องเผาของเตาแบบตะกรบั เคลื่อนที่
ท่สี ามารถจดั การกับเศษวัสดุ 15 ตันต่อช่ัวโมง

ที่มา : https://th.wikipedia.org

45

ตามขอ้ กาหนดของยโุ รป แก๊สปล่องไฟต้องมอี ุณหภูมิอยา่ งต่า 850 องศาเซลเซยี ส
เปน็ เวลา 2 วนิ าที เพ่ือกาจัดสารพิษให้หมด ดงั นัน้ จงึ ต้องมีตวั เผาสารองเผ่ือไวใ้ นกรณอี ุณหภูมิ
ในหอ้ งเผาไม่ถงึ ข้อกาหนด จาเปน็ ตอ้ งเพ่ิมความร้อนดว้ ยเตาสารองน้ี

ภาพที่ 3.16 เตาเผาแบบหมนุ

ท่มี า : https://thai.alibaba.com

3.3 เทคโนโลยกี ารผลติ เชอ้ื เพลงิ ขยะ (Refuse Derived Fuel)
เชื้อเพลิงขยะ (Refuse Derived Fuel : RDF) เป็นรูปแบบของการจัดการขยะเพ่ือ
นามาใช้เป็นเช้ือเพลิงวิธีหนึ่ง โดยการปรับปรุงและแปลงสภาพของขยะมูลฝอยให้เป็นเช้ือเพลิง
แข็งที่มีคุณสมบัติในด้านค่าความร้อน (Heating Value) ความชื้น ขนาด และความหนาแน่น
เหมาะสมในการใช้เป็นเช้ือเพลิงป้อนหม้อไอน้าเพื่อผลิตไฟฟ้าหรือความร้อน และมี
องค์ประกอบทั้งทางเคมีและกายภาพสม่าเสมอ ทั้งนี้ข้ันตอนและรูปแบบเพ่ือเปล่ียนสภาพจาก
ขยะมาเป็นเชอื้ เพลงิ นั้นกม็ อี ยู่หลากหลายขนึ้ อยูก่ บั สภาพของขยะและสภาพของเชื้อเพลิงขยะที่
ตอ้ งการ แตข่ ้ันตอนโดยทว่ั ไปจะประกอบด้วยการคดั แยก การลดขนาด การลดความชื้น
เป็นต้น ซงึ่ ในแต่ละข้นั ตอนนน้ั ก็จะมรี ายละเอยี ดของเทคโนโลยีแตกต่างกันออกไป
หลักการทางานของเทคโนโลยีเชือ้ เพลงิ ขยะ (RDF) เร่ิมจากการคดั แยกขยะทไ่ี ม่สามารถ
เผาไหมไ้ ด้ (โลหะ แก้ว เศษ หิน) ขยะอันตราย และขยะรีไซเคิลออกจากขยะรวม โดยคัดแยก
มลู ฝอยทม่ี ีเหลก็ และอลูมเิ นียมเป็นส่วนประกอบออกจากมลู ฝอย จากน้นั จึงป้อนขยะมลู ฝอยไป
เขา้ เคร่อื งสบั -ย่อยเพื่อลดขนาด และป้อนเขา้ เตาอบเพือ่ ลดความชน้ื ของมูลฝอย โดยการใช้
ความร้อนจากไอนา้ หรือลมรอ้ นเพ่อื อบขยะให้แห้งซ่งึ จะทาใหน้ า้ หนักลดลงเกือบ ร้อยละ 50
(ความชน้ื เหลอื ไม่เกนิ ร้อยละ 15) และสุดทา้ ยจะสง่ ไปเขา้ เคร่ืองอัดเมด็ (Pellet) เพื่อทาใหไ้ ด้
เชอื้ เพลงิ ขยะอดั เมด็ ทม่ี ีขนาดและความหนาแน่นเหมาะสมตอ่ การขนส่งไปจาหนา่ ยเป็น
เชื้อเพลงิ ซ่ึงในบางกรณีจะมีการเตมิ หินปูน (CaO) เขา้ ไปกบั มูลฝอยระหว่างการอดั เปน็ เม็ด

46

เพื่อควบคมุ และลดปรมิ าณกา๊ ซพษิ ทเี่ กิดขนึ้ จากการเผาไหม้ เช้ือเพลิงขยะสามารถแบ่งออกได้
เปน็ 7 ชนิด ตามมาตรฐาน ASTME-75 ซงึ่ ข้ึนอยกู่ บั กระบวนการจัดการทใ่ี ช้

3.4 เทคโนโลยีการยอ่ ยสลายแบบไมใ่ ชอ้ อกซิเจน (Anaerobic Digestion)
การย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic Digestion) ซ่ึงเป็นข้ันตอน
การผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะมูลฝอยอินทรีย์สาหรับนาไปใช้เป็นพลังงาน และเพ่ือทาให้ขยะมูล
ฝอยอินทรีย์ถูกย่อยสลายเปล่ียนเป็นอินทรียวัตถุที่มีความคงตัว ไม่มีกลิ่นเหม็น ปราศจากเช้ือ
โรคและเมล็ดวัชพืช โดยอาศัยการทางานของจุลินทรีย์ในสภาพท่ีไร้ออกซิเจน ซ่ึงข้ันตอนการ
ย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจนน้ีสามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภทหลักๆ คือ Dry Digestion
Process และ Wet Digestion Process ซึ่งมีการควบคุมการป้อนสารอินทรีย์เข้าสู่ระบบ ให้
ปริมาณของแข็งทั้งหมด (Total Solid Content) ให้เป็นประมาณร้อยละ 20-40 และน้อยกว่า
ร้อยละ 20 ตามลาดับ
การใช้กระบวนการย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซเิ จนในการจดั การขยะมูลฝอยชมุ ชน โดยท่ัวไป
สามารถแบ่งการทางานออกเป็น 3 ข้นั ตอน ประกอบดว้ ย
1. การบาบัดขั้นต้น (Pre-treatment/Front-end Treatment) ซ่ึงประกอบด้วยการ
คัดแยก (Sorting) ขยะมูลฝอยอินทรีย์จากขยะมูลฝอยรวม หรือการคัดแยกสิ่งปะปนออกจาก
ขยะมูลฝอยอินทรีย์ และลดขนาด (Size Reduction) ของขยะมูลฝอยอินทรีย์ให้เหมาะสม
สาหรับการย่อยสลาย และเพ่ือให้เกิดความสม่าเสมอ (Homogeneity) ของสารอินทรีย์ที่จะ
ป้อนเข้าสู่ระบบ (Feed Substrate) รวมท้ังเพ่ือป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับระบบ ซ่ึง
โดยทัว่ ไประบบบาบัดขั้นตน้ สาหรบั เทคโนโลยยี ่อยสลายแบบไมใ่ ชอ้ อกซิเจนสามารถแบ่งออกได้
เป็น 2 แบบ คือ (1) Dry Separation Process ซึ่งมักจะใช้ Rotary Screen เป็นอุปกรณ์
สาคัญในการคัดแยกขยะมูลฝอยอินทรีย์ และใช้ Shredder ในการบดย่อยขยะมูลฝอยอินทรีย์
ให้มีขนาดเหมาะสาหรับการย่อยสลาย (2) Wet Separation Process จะใช้หลักการคัดแยก
ส่ิงปะปนออกจากขยะมูลฝอยอินทรีย์โดยวิธีการจม-ลอย (Sink-Float Separation) ซึ่งส่วน
ใหญ่จะมีอุปกรณ์สาคัญที่เรียกว่า Pulper ทาหน้าที่ในการคัดแยกและบดย่อยขยะมูลฝอย
อินทรยี ์
2. การย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic Digestion) ซึ่งเป็นข้ันตอน
การผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะมูลฝอยอินทรีย์สาหรับนาไปใช้เป็นพลังงาน และเพ่ือทาให้ขยะมูล
ฝอยอินทรีย์ถูกย่อยสลายเปล่ียนเป็นอินทรียวัตถุท่ีมีความคงตัว ไม่มีกลิ่นเหม็น ปราศจากเชื้อ
โรคและเมล็ดวัชพืช โดยอาศัยการทางานของจุลินทรีย์ในสภาพท่ีไร้ออกซิเจน ซึ่งข้ันตอนการ
ย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจนน้ีสามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภทหลักๆ คือ Dry Digestion
Process และ Wet Digestion Process ซ่ึงมีการควบคุมการป้อนสารอินทรีย์เข้าสู่ระบบให้
ปริมาณของแข็งทั้งหมด (Total Solid Content) ให้เป็นประมาณร้อยละ 20-40 และน้อยกว่า
ร้อยละ 20 ตามลาดับ

47

3. การบาบัดขั้นหลัง (Post-treatment) ซ่ึงส่วนใหญ่จะเป็นข้ันตอนการจัดการกาก
ตะกอนจากการย่อยสลายแบบไมใ่ ช้ออกซิเจนให้มีความคงตัวมากขึ้น เช่น การนาไปหมักโดยใช้
ระบบหมักปุ๋ยแบบใช้อากาศ รวมท้ังการคัดแยกเอาส่ิงปะปนต่างๆ เช่น เศษพลาสติกและเศษ
โลหะออกจาก Compost โดยใช้ตะแกรงร่อน ตลอดจนการปรับปรุงคุณภาพของ Compost
ให้เหมาะสมกับการนาไปใช้ประโยชน์ในการเพาะปลูกพืช เช่น การอบเพื่อฆ่าเชื้อโรคและลด
ความช้นื เป็นตน้

จดุ เดน่ ของเทคโนโลยยี อ่ ยสลายแบบไม่ใช้ออกซเิ จน
1. ทางดา้ นสง่ิ แวดล้อมและการจดั การของเสยี

- เป็นเทคโนโลยกี ารบาบัดขยะมลู ฝอยทเี่ ปน็ มติ รต่อสิ่งแวดลอ้ ม
- สามารถแกป้ ญั หากล่ินเหมน็ สัตวพ์ าหะนาโรคท่ีเกดิ จากการกาจดั ขยะมลู ฝอย
ท่ไี มถ่ ูกหลักวชิ าการ
- เปน็ การหมุนเวยี นขยะมูลฝอยอนิ ทรียก์ ลบั มาใช้ใหม่ในรูปของสารปรับสภาพดนิ
- ลดการใชพ้ ืน้ ทีใ่ นการกาจดั ขยะมูลฝอย เมอื่ เทยี บกับระบบฝังกลบแบบถกู หลัก
สขุ าภิบาล และระบบหมักปยุ๋ แบบใชอ้ ากาศแบบดง้ั เดิม (Conventional Anaerobic composting)
- สามารถใช้บาบัดขยะมูลฝอยอินทรีย์ในที่ซ่ึงการฝังกลบขยะมูลฝอยอินทรีย์ใน
พื้นทฝี่ งั กลบแบบถกู หลกั สขุ าภบิ าลไมเ่ ป็นที่ยอมรบั
- สามารถลดปรมิ าณขยะมูลฝอยท่จี ะตอ้ งกาจัดในข้ันตอนสุดทา้ ย
- สามารถหมักร่วมกบั ของเสียอินทรยี ป์ ระเภทอน่ื (Co-digestion) เช่น เศษซาก
วัสดเุ หลอื ใช้ทางการเกษตร มลู สตั ว์ตา่ งๆ และของเสยี จากโรงงานอตุ สาหกรรม
2. ทางดา้ นพลังงาน
- เปน็ เทคโนโลยีในการบาบัดขยะมูลฝอยซ่งึ สามารถให้พลังงานสุทธิ (Net
Energy Producer)
- มีศักยภาพในการผลิตพลังงานจาก ”ขยะเปียก” ซึ่งไม่เหมาะสมสาหรับการ
เผาเพื่อผลิตพลังงาน มีศักยภาพที่จะได้รับผลตอบแทนทางการเงินและเศรษฐศาสตร์สูง
โดยเฉพาะเมื่อพลังงานชนิดอ่ืนมีราคาสูง และรัฐมีมาตรการส่งเสริมการผลิตพลังงานจากก๊าซ
ชวี ภาพ

3.5 เทคโนโลยีการผลิตพลังงานโดยใช้ก๊าซชีวภาพจากหลุมฝังกลบมูลฝอยชุมชน
(Landfill Gas-to-Enaergy)

การกาจัดขยะชุมชนด้วยวิธีการฝังกลบน้ัน เป็นการนาขยะชุมชนมากองหรือฝังกลบใน
พน้ื ท่จี ัดเตรียมไว้ แล้วเคร่ืองจักรเกล่ียและบดอัดให้ขยะมูลฝอยยุบตัวลงจนมีความหนาแน่นนข
องชน้ั ขยะมูลฝอยตามท่กี าหนด จากนัน้ ใชด้ ินบดทับและอดั ให้แน่นอีกครัง้ หนึ่งแล้วจึงนาขยะมูล
ฝอยชุมชนมาเกล่ียและบดอัดอีกเป็นช้ัน ๆ สลับด้วยช้ันดินกลบทับเพื่อป้องกันปัญหาเรื่องกลิ่น
แมลง นา้ ชะขยะ และเหตเุ ดือนรอ้ นราคาญอ่ืน ๆ ปฏิกิรยิ าการย่อยสลายสารอินทรยี ์ในขยะ

48

มลู ฝอยชุมชนทถ่ี กู ฝังกลบในช่วงแรกจะเปน็ การย่อยสลายแบบใช้อากาศ (Aerobic
Decomposition) ซ่ึงเปน็ การใชอ้ ากาศท่ีแทรกอยู่ตามช่องวา่ งภายในบริเวณฝังกลบ และเม่ือ
ออกซเิ จนที่มอี ยหู่ มดลง การยอ่ ยกจ็ ะเปลยี่ นไปเปน็ แบบไม่ใชอ้ ากาศ ซึ่งจะทาให้เกดิ ก๊าซท่ีเกิด
จากปฏิกิริยาการย่อยสลายทางเคมีของขยะมลู ฝอยในบรเิ วณหลุมฝังกลบ ได้แก่ มีเทน
คารบ์ อนไดออกไซด์ แอมโมเนยี คารบ์ อนมอนอกไซด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ ไนโตรเจน และ
แอมโมเนยี โดยจะพบก๊าซมเี ทนและคาร์บอนไดออกไซดใ์ นปริมาณท่มี ากกวา่ ก๊าซชนดิ อืน่ ๆ
ซงึ่ ก๊าซทีเ่ กิดจากหลุมฝงั กลบขยะมูลฝอยนี้เปน็ ที่รจู้ กั กันในช่อื กา๊ ซชีวภาพหรอื Landfill Gas
(LFG)

เพอ่ื ประโยชนใ์ นการลดปริมาณขยะในการขนย้ายไปเพอื่ กาจดั ได้แก่ การบบี อดั ใน
การจัดการขยะในระดบั ชุมชน จะมวี ธิ ีการหรือใชเ้ ทคโนโลยีการกาจัดขยะมูลฝอยเพอื่ ลดปริมาณ
ขยะจาพวกอโลหะ ด้วยการแปรสภาพขยะมูลฝอย คือ การเปลี่ยนแปลงสภาพลักษณะทาง
กายภาพเพ่อื ลดปรมิ าณเปลี่ยนรูปร่าง โดยวิธีคดั แยกเอาวัสดุท่ีสามารถหมนุ เวยี นใช้ประโยชนไ์ ด้
ออกมา ด้วยวธิ กี ารบดใหม้ ีขนาดเล็กลง และวธิ อี ดั เป็นกอ้ นเพื่อลดปรมิ าตรของขยะมลู ฝอยได้
รอ้ ยละ 20-75 ของปริมาตรเดมิ ทั้งนี้ข้นึ อยูก่ บั ประสิทธภิ าพของเครอ่ื งมือและลักษณะของขยะ
มลู ฝอย ตลอดจนใชว้ ิธกี ารห่อหุ้มหรือการผูกรดั กอ้ นขยะมลู ฝอยให้เป็นระเบียบมากย่งิ ขนึ้ ผลท่ี
ได้รับจากการแปรสภาพมูลฝอยน้ี จะชว่ ยใหก้ ารเก็บรวบรวม ขนถา่ ย และขนสง่ ได้สะดวกข้นึ
สามารถลดจานวนเที่ยวของการขนสง่ ช่วยใหไ้ ม่ปลิวหลน่ จากรถบรรทุกและช่วยรีดเอาน้าออก
จากขยะมูลฝอย ทาให้ ไม่มนี ้าชะขยะมลู ฝอยรว่ั ไหลในขณะขนส่ง ตลอดจนเพม่ิ ประสิทธิภาพ
การกาจัดขยะมูลฝอยโดยวิธีฝงั กลบ โดยสามารถจดั วางซอ้ นไดอ้ ยา่ งเปน็ ระเบียบ จึงทาให้
ประหยดั เวลา และค่าวัสดใุ นการกลบทับ และชว่ ยยืดอายกุ ารใชง้ านของบอ่ ฝังกลบ

ภาพท่ี 3.17 ขยะที่ถูกบบี อดั เปน็ ก้อนเพ่ือลดปริมาณขยะ

ทีม่ า : http://www.prdnorth.in.th

49

กจิ กรรมท้ายหน่วยที่ 3
หลังจากท่ีผู้เรียนศึกษาเอกสารชุดการเรียนหน่วยที่ 3 จบแล้ว ให้ผู้เรียนค้นคว้า
เพ่ิมเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ แล้วทากิจกรรมการเรียนรู้หน่วยท่ี 3 ในสมุดบันทึกกิจกรรม
การเรยี นรู้ แลว้ จดั ส่งตามท่ผี สู้ อนกาหนด

50

หน่วยท่ี 4
การคัดแยกและรไี ซเคลิ วัสดุ

สาระสาคญั
การคัดแยกวสั ดุเป็นการลดปริมาณขยะทเี่ กดิ ข้นึ จากตน้ ทาง ไดแ้ ก่ ครวั เรือน

สถานประกอบการหรือสถานท่สี าธารณะท้งั นี้ ก่อนทิ้ง ครวั เรอื น หน่วยงาน หรือสถานท่ี
สาธารณะตา่ งๆ ควรจัดให้มีระบบการคัดแยกวัสดุประเภทต่าง ๆ ตามแตล่ ักษณะองค์ประกอบ
โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เพือ่ นาวัสดุกลับไปใช้ประโยชน์ใหม่อยา่ งมีประสิทธภิ าพและสอดคล้องกบั
ระบบการคัดแยกวสั ดกุ ารรีไซเคลิ เป็นการเปลย่ี นสภาพของวัสดใุ หม้ ีมูลค่า จากสงิ่ ทไ่ี ม่เปน็
ประโยชน์ แปรเปล่ียนสภาพเป็นวัตถุดิบ เพ่ือนากลบั มาใชใ้ หม่ และลดคา่ ใช้จ่ายในการกาจัด
ขยะทเี่ กดิ ข้ึน

ตัวชวี้ ดั
1. อธิบายวิธีการคดั แยกวัสดุแต่ละประเภทได้
2. อธบิ ายการรไี ซเคิลวสั ดแุ ตล่ ะประเภทได้
3. อธิบายความหมายสญั ลักษณ์รีไซเคลิ วัสดุแต่ละประเภทได้

ขอบขา่ ยเน้อื หา
1. การคัดแยกวัสดุ
2. การรีไซเคิลวสั ดุ

51

หน่วยที่ 4
การคดั แยกและการรีไซเคลิ วสั ดุ

เร่อื งที่ 1 การคัดแยกวัสดุ

ปัจจุบนั คนไทยหนั มาเปลยี่ นอาชีพใหม่ จากการขายแรงงาน มาเป็นเถา้ แก่รบั ซอ้ื
ของเก่าค่อนข้างเยอะ เพราะมองเหน็ ชอ่ งทางการเจริญเติบโตในอนาคตของอาชีพนี้ เนอื่ งจาก
ปริมาณขยะในประเทศไทยมจี านวนมหาศาล และจะเพ่มิ ทวคี ณู ข้ึนเร่ือย ๆ ดงั น้ัน อาชีพรบั ซื้อ
ของเก่า จึงกลายเป็นอาชีพหนึง่ ทท่ี ารายไดใ้ ห้กับเจ้าของกิจการมาก ซ่งึ รบั ซ้ือและขายสง่ ตาม
โรงงาน เพ่อื นาไปแปรรูปกลับมาเปน็ ผลติ ภัณฑ์ใหม่ แต่ราคาทีซ่ ื้อขายจะแตกตา่ งกันไปตาม
ความต้องการของตลาด ดังน้นั เพ่อื ความสะดวก และเพ่ือให้การขายวสั ดรุ ีไซเคลิ ไดร้ าคาสูง
ต้องทาการคัดแยกวัสดุกอ่ น

ในการจัดการวสั ดุแบบครบวงจร จาเป็นต้องจัดใหม้ ีระบบการคัดแยกวัสดุ
ประเภทตา่ ง ๆ ตามแต่ลักษณะองค์ประกอบโดยมวี ัตถุประสงคเ์ พื่อนากลบั ไปใช้ประโยชน์ใหม่
สามารถดาเนนิ การไดต้ งั้ แต่แหล่งกาเนดิ โดยจัดวางภาชนะใหเ้ หมาะสม ตลอดจนวางระบบ
การเก็บรวบรวมวสั ดุอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและสอดคล้องกับระบบการคัดแยกวัสดุ ซึ่งสามารถ
ดาเนินการ ดงั นี้

1. คัดแยกวัสดุที่สามารถนากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้หรือวัสดุรีไซเคิลออกจาก
วสั ดยุ ่อยสลาย วสั ดุอันตรายและวัสดุทัว่ ไป

2. จัดเก็บวสั ดทุ ที่ าการคัดแยกแลว้ ในถุงหรอื ถงั รองรบั วัสดุแบบแยกประเภท
ที่หนว่ ยราชการกาหนด

3. จัดเก็บวัสดุที่ทาการคัดแยกแล้วในบริเวณที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก มีแสงสว่าง
เพียงพอ ไม่กีดขวางทางเดิน อยู่ห่างจากสถานที่ประกอบอาหาร ท่ีรับประทานอาหาร และ
แหลง่ นา้ ดื่ม

4. ให้จัดเก็บวัสดุอันตราย หรือภาชนะบรรจุสารที่ไม่ทราบแน่ชัด เป็นสัดส่วนแยก
ตา่ งหากจากวสั ดุอน่ื ๆ เพ่ือปอ้ งกนั การแพร่กระจายของสารพิษ หรือการระเบิดเพ่ือแยกทิ้งตาม
รูปแบบการเก็บรวบรวมของเทศบาลหรือองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น ซ่ึงมี 3 แบบหลกั ๆ ไดแ้ ก่

อนั ตราย 4.1 การเกบ็ จากหน้าบ้านพร้อมขยะทว่ั ไปโดยการเก็บขนมชี ่องแยกขยะ
เฉพาะ
4.2 การเกบ็ จากหน้าบา้ นตามวันท่ีกาหนดโดยมรี ถเก็บขยะอันตรายโดยเฉพาะ
4.3 การนาไปท้ิง ในภาชนะหรอื สถานทร่ี วบรวมขยะอันตรายของชุมชนทจ่ี ดั ไว้

52

5. ห้ามเก็บกักวัสดุอันตรายไว้รวมกัน โดยให้แยกเก็บเป็นประเภท ๆ หากเป็น
ของเหลวให้ใส่ถังหรือภาชนะบรรจุที่มิดชิดและไม่ร่ัวไหล และห้ามเทของเหลวต่างชนิดปนกัน
เนอ่ื งจากอาจเกดิ การระเบดิ หากเปน็ ของแขง็

6. หลกี เลย่ี งการเกบ็ กกั วัสดุ ทท่ี าการคดั แยกแล้วและมีคณุ สมบตั ทิ เี่ หมาะแก่
การเพาะพันธุ์ของพาหะนาโรค หรอื ท่อี าจเกิดการรั่วไหลของสารพษิ ไว้เปน็ เวลานาน

7. หากมีการใช้น้าทาความสะอาดวัสดุคัดแยกแล้วหรือวัสดุเหลือใช้ที่มีไขมันหรือ
ตะกอนน้ามันปนเปื้อน จะต้องระบายน้าเสียน้ันผ่านตะแกรงและบ่อดักไขมันก่อนระบายสู่ท่อ
น้าสาธารณะ

8. หา้ มเผา หลอม สกัดหรือดาเนินกจิ กรรมอ่ืนใด เพ่ือการคัดแยก การสกัดโลหะมี
คา่ หรือการทาลายวัสดุในบริเวณที่พักอาศัย หรือพื้นท่ีที่ไม่มีระบบป้องกันและควบคุมของเสียที่
จะเกิดขน้ึ

ก่อนที่จะนาวัสดุกลับมาใช้ประโยชน์ ต้องมีการคัดแยกประเภทวัสดุภายในบ้าน
เพ่ือเป็นการสะดวกแก่ผู้เก็บขนและสามารถนาวัสดุบางชนิดไปขายเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับตนเอง
และครอบครัว รวมทั้งง่ายตอ่ การนาไปกาจดั อีกดว้ ย โดยสามารถทาได้ ดังนี้

1.1 การคดั แยกวสั ดุประเภทกระดาษ
1) แยกประเภทกระดาษ ได้แก่ กระดาษสานักงาน กระดาษหนังพิมพ์

นติ ยสาร หนงั สอื กระดาษรวม กระดาษหลาย ๆ ชนิดเม่ือนามารวมกันร้านรับซ้ือของเก่าจะรับ
ซื้อท้ังหมด แตถ่ า้ เราสามารถแยกประเภทกระดาษ แล้วมดั แยกประเภทไว้ จะขายไดร้ าคาดกี ว่า

2) กระดาษคุณภาพสูง เช่น กระดาษถ่ายเอกสาร กระดาษสานักงาน ควรดึง
กระดาษบนั ทกึ (Post-it) สติก๊ เกอร์ คลิปหนีบ หรอื ลวดเย็บกระดาษออก ซ่ึงกระดาษประเภทน้ี
ควรให้ความสนใจเปน็ พิเศษ เพราะถา้ นาไปขายจะไดร้ าคาค่อนข้างสงู

3) กล่องกระดาษ กล่องกระดาษลูกฟูก ควรแยกไว้ต่างหาก และต้องดึง
สต๊ิกเกอร์ออกก่อน เพราะมีกาวเหนียว นาไปรีไซเคิลไม่ได้ นาเศษส่ิงของต่างๆออกจากกล่อง
และคลก่ี ระดาษออก ทาให้แบน มัดรวมกนั เป็นมัด ๆ

4) กระดาษรวม เชน่ กระดาษหอ่ ของ ใหแ้ ยกเทปกาว และริบบนิ้ ออก
ซองจดหมาย ใหแ้ ยกพลาสตกิ สตก๊ิ เกอร์ออกกอ่ น เป็นต้น

53

ภาพท่ี 4.1 การแยกกระดาษแต่ละประเภทมดั รวมกันกอ่ นขาย
1.2 การคดั แยกวัสดุประเภทพลาสตกิ

1) แยกพลาสตกิ แตล่ ะประเภทออกจากกัน โดยการสงั เกตจากสญั ลกั ษณ์
เนอ่ื งจากพลาสติกแต่ละชนิดมมี ูลคา่ ไม่เท่ากนั

2) นาฝาขวดออก เทน้าออกให้หมด ถา้ ขวดสกปรกท้ังภายนอกและภายในขวด
ต้องทาความสะอาด ล้างส่ิงสกปรกออกให้หมด

3) ขวดและฝาขวดพลาสติกจะเป็นพลาสตกิ ตา่ งชนิดกนั จึงควรแยกฝาและขวด
ออกจากกนั เพราะถ้าไม่แยกประเภท เม่ือนาไปขาย ร้านค้าส่วนใหญ่จะรับซ้ือเป็นพลาสติกรวม
ซ่ึงราคาจะถกู ว่า

4) ขวดพลาสติกควรแยกขวดใสและขวดสอี อกจากกัน เมื่อนาไปขายจะได้
ราคาสูง

5) ควรสอบถามร้านรับซื้อของเก่า ว่ารับซื้อพลาสติกประเภทใด เพ่ือจะได้
รวบรวมไดถ้ ูกตอ้ งและไดร้ าคาท่ีสูง

ภาพที่ 4.2 ดึงแยกฝาขวดพลาสติก เทนา้ ออกให้หมด

54

1.3 การคดั แยกขยะประเภทแกว้
1) นาฝาหรือจุกออกจากบรรจุภัณฑ์ เพราะไมส่ ามารถนาไปรไี ซเคลิ รวมกับ

แกว้ ได้
2) หลังการบริโภค ควรล้างขวดแก้วด้วยน้าเล็กน้อย เพื่อไม่ให้เกิดการเน่า

ของอาหาร และเพือ่ ปอ้ งกนั แมลง สตั ว์ มากนิ อาหารในบรรจภุ ณั ฑ์
3) ไม่ควรท้งิ เศษวัสดหุ รือก้นบหุ ร่ีลงในขวด และตอ้ งทาความสะอาด

ก่อนนาขวดไปเกบ็ รวบรวม
4) เกบ็ รวบรวมขวดแกว้ รวมไวใ้ นกลอ่ งกระดาษ ปอ้ งกนั การแตกหกั เสยี หาย
5) ควรแยกสีของแก้ว จะช่วยให้ขายได้ราคาดี และเพื่อให้ง่ายต่อการส่งต่อ

นาไปรไี ซเคลิ
6) ขวดแกว้ ทเี่ ปน็ ใบ ควรแยกใส่กล่องเดมิ จะขายได้ราคาดี
7) ขวดแก้วบางชนิด อาจนาไปรีไซเคิลไม่ได้ หรือมีร้านรับซ้ือของเก่าบางร้าน

ท่ีอยใู่ นพืน้ ท่ี ไมร่ บั ซื้อ ดังน้นั ควรสอบถามร้านก่อนเกบ็ รวบรวมแกว้ เพอื่ นาไปขาย

ภาพที่ 4.3 นาฝาจกุ ขวดออก ล้างทาความสะอาด แยกสขี องแก้ว

55

1.4 การคัดแยกวัสดุประเภทอะลมู เิ นียม
1) แยกประเภทกระป๋องอะลูมเิ นยี ม โลหะ เพราะกระป๋องบางชนิด

มสี ว่ นผสมทงั้ อะลูมิเนยี มและโลหะ สว่ นฝาปดิ ส่วนใหญเ่ ปน็ อะลมู เิ นยี ม ให้ดึงแยกเกบ็ ต่างหาก
2) หลังจากที่บริโภคเครือ่ งดืม่ แล้ว ใหเ้ ทของเหลวออกให้หมด ลา้ งกระป๋อง

ดว้ ยน้าเลก็ น้อย เพ่อื ไม่ให้เกดิ กลน่ิ เพ่ือป้องกันแมลง สัตว์ มากินอาหารในบรรจุภัณฑ์
3) ไม่ควรทง้ิ เศษวัสดหุ รือกน้ บุหร่ลี งในขวด และต้องทาความสะอาด

กอ่ นนาขวดไปเก็บรวบรวม
4) ควรเหยียบกระป๋องให้แบน เพอ่ื ประหยดั พนื้ ที่ในการจัดเก็บ

ภาพท่ี 4.4 ดงึ แยกฝากระป๋องเครอ่ื งด่มื ออกแล้วทุบใหแ้ บน
กล่าวโดยสรุป ปัจจุบันปริมาณขยะในประเทศไทยมีจานวนมหาศาล และจะเพิ่ม
ทวีคูณข้ึนเร่ือย ๆ การจัดการวัสดุจึงจาเป็นต้องจัดให้มีระบบการคัดแยกวัสดุประเภทต่าง ๆ
ตามลักษณะและประเภทของวัสดุเพ่ือนากลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ ตลอดจนวางระบบการเก็บ
รวบรวมวสั ดุอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

56

เรอ่ื งที่ 2 การรไี ซเคลิ วสั ดุ

การรไี ซเคิล (Recycle) เป็นการจดั การวสั ดุเหลือใช้ท่ีกาลังจะเปน็ ขยะ โดยนาไป
ผ่านกระบวนการแปรสภาพ เพือ่ ให้เป็นวัสดใุ หม่แลว้ นากลบั มาใชไ้ ดอ้ กี ซ่ึงวัสดุที่ผา่ นการแปร
สภาพนัน้ อาจจะเปน็ ผลติ ภัณฑเ์ ดมิ หรือผลติ ภัณฑ์ใหม่ก็ไดก้ ารรไี ซเคิลจงึ เปน็ หัวใจสาคัญในการ
เปล่ยี นสภาพของขยะใหม้ ีมูลค่า จากส่ิงทีไ่ ม่เป็นประโยชน์ ใหส้ ามารถนาสิ่งของนากลับมาใช้
ใหม่ การรีไซเคิล จงึ เป็นหนึง่ ในวิธีการลดปริมาณขยะลดมลพษิ ให้กับสภาพแวดล้อม ลดการใช้
พลงั งานยดื อายุการใช้งานของระบบกาจดั ขยะ และลดการใชท้ รพั ยากรธรรมชาตขิ องโลกไม่ให้
ถูกนาไปใช้อยา่ งสิ้นเปลืองมากเกินไปการรไี ซเคิลวัสดุ มีหลากหลายประเภท ดังนี้

2.1 การรไี ซเคิลวสั ดุประเภทกระดาษ
ในปัจจุบนั คนไทยมอี ัตราการใช้กระดาษเพิ่มข้ึนเรอ่ื ย ๆท้งั ในรูปหนงั สือเรียน

หนังสอื พิมพ์ วารสาร นติ ยสาร กระดาษสานักงาน กระดาษพิมพ์เขยี น บรรจุภัณฑ์ กระดาษ
อน่ื ๆ เฉลยี่ อย่างนอ้ ยคนละไม่ตา่ กว่า 50 กโิ ลกรมั ต่อปี ซ่ึงนบั ว่าเป็นอตั ราท่ีสูงทีเดยี ว
น่ันหมายถึง คนไทยได้ตัดไม้จานวนมหาศาลที่จะต้องป้อนเข้าสู่กระบวนการผลิตของโรงงาน
อุตสาหกรรมในการผลิตกระดาษ กระดาษ 1 ตัน ต้องใช้ต้นไม้ท้ังหมด จานวน 17 ตัน ใช้น้า
อย่างน้อย 31,500 ลิตร น้ามัน 300 ลิตร กระแสไฟฟ้า 4,100 กิโลวัตต์ต่อช่ัวโมง นอกจากน้ัน
ยังปล่อยของเสียออกสู่สิ่งแวดล้อม นั่นแสดง ให้เห็นว่าคนไทยกาลังช่วยกันทาลาย
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยไม่รู้ตัว ดังนั้นเราทุกคนสามารถช่วยกันประหยัด
ใชท้ รัพยากรใหเ้ กดิ ประโยชน์และคุ้มค่าสูงสุดได้ เช่น ใช้กระดาษให้ครบทั้ง 2 หน้า คัดแยกขยะ
ก่อนท้ิง เพื่อนาไปรีไซเคิล เพราะกระบวนการรีไซเคิลกระดาษ ถ้าเป็นกระดาษคุณภาพสูง เช่น
กระดาษถา่ ยเอกสาร กระดาษพมิ พเ์ ขียน ไม่ต้องเติมสารฟอกขาวในกระบวนการผลิต ซ่ึงจะช่วย
ลดมลพิษทางน้า และสามารถประหยัดพลังงานประมาณ 1 ใน 3 ของพลังงานที่ผลิตกระดาษ
ใหม่

57

กระดาษทุกชนิดถ้ามกี ารคัดแยกและเกบ็ รวบรวมท่ีถูกวธิ ี ไม่เปรอะเป้ือน และเปียก
นา้ เชน่ กระดาษและกระดาษแข็ง สามารถนากลบั มารไี ซเคิลและรียสู ได้ แตก่ ม็ กี ระดาษบาง
ชนดิ เชน่ กระดาษทิชชู กระดาษชาระ หรือกระดาษเชด็ ปาก มีข้อยกเว้น ทง้ั น้ีจากความไม่
คมุ้ ค่าในการผลิตด้วย ดงั น้ันถา้ เราอยากจะรวู้ ่ากระดาษท่ีอยู่ในมอื ของเรา สามารถนากลบั มา
รีไซเคลิ ได้หรอื ไม่ เราลองสังเกตดูตามสัญลักษณ์ดังต่อไปน้ี

สามารถนากลับมารไี ซเคลิ เป็นกระดาษลกู ฟูกได้

กระดาษผสม ส่วนมากจะนามารีไซเคิลเป็นกระดาษสาหรับ
แมกกาซีน หนังสอื พมิ พ์ หรือซองจดหมาย เป็นต้น

สัญลกั ษณร์ ไี ซเคิลทบ่ี อกว่าคุณสามารถนาวัสดุกลับมารไี ซเคลิ
เปน็ กระดาษจดหมาย หรือกระดาษเอกสารต่างๆ ได้

ภาพท่ี 4.5 สญั ลักษณ์รไี ซเคลิ กระดาษ

ตารางท่ี 4.1 ตารางตวั อยา่ งกระดาษทน่ี ามารไี ซเคิลได้

ตัวอย่าง กระดาษที่นามารีไซเคิล

กระดาษแข็ง กระดาษยอ่ ยสลาย กระดาษหนงั สอื พมิ พ์
กลอ่ งนา้ ตาล

กระดาษสี กระดาษย่อยขยะ กระดาษหนงั สือเล่ม
กระดาษกล่องรองเท้า กระดาษสมดุ กระดาษถุงปนู

กระดาษขาวดา

58

2.2 การรไี ซเคิลวัสดปุ ระเภทพลาสตกิ

พลาสติก มีคุณสมบัติ คือ น้าหนักเบา ทนทาน มีความยึดหยุ่น ประหยัดค่าใช้จ่าย
ในการขนส่ง สามารถนามาผลิตเป็นบรรจุภัณฑ์ที่มีความแข็งแรง คงทน สามารถข้ึนรูปได้
หลากหลายรูปแบบ จึงทาให้พลาสติกมีการนาใช้มากขึ้น การใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกที่มากข้ึน
ทาใหข้ ยะมลู ฝอยประเภทนมี้ ีจานวนมากขึ้น ท้ังๆที่พลาสติกส่วนใหญ่สามารถนากลับมาแปรรูป
ใหม่ได้ พลาสตกิ สามารถแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท ดงั นี้

2.2.1. พลาสติกประเภทเทอร์โมพลาสติก (Thermoplastic) เป็นพลาสติก
ที่ใช้กันแพร่หลายท่ีสุด ได้รับความร้อนจะอ่อนตัว และเม่ือเย็นลงจะแข็งตัว สามารถเปลี่ยนรูป
ได้ พลาสติกประเภทน้ีโครงสร้างโมเลกุลเป็นโซ่ตรงยาว มีการเชื่อมโยงต่อระหว่างโซ่พอลิเมอร์
น้อยมาก จึงสามารถหลอมเหลว หรอื เม่ือผ่านการอัดแรงมากจะไม่ทาลายโครงสร้างเดิม เช่น
พอลิเอทิลีน พอลิโพรพิลีน พอลิสไตรีน มีสมบัติพิเศษคือ เมื่อหลอมแล้วสามารถนามาข้ึนรูป
กลับมาใช้ใหม่ได้ พลาสติกในตระกูลเทอร์โมพลาสติก ได้แก่ พลาสติกประเภทโพลิเอทิลีน
เทเรฟทาเลตพลาสติกประเภทโพลิเอทิลิน พลาสติกประเภทโพลิไวนิลคลอไรด์ พลาสติก
ประเภทโพลิเอทิลีนพลาสติกประเภทโพลิโพรพิลีนพลาสติกประเภทโพลิสไตรีนและพลาสติก
ชนิดอน่ื ๆ ที่อาจจะนาพลาสตกิ หลายชนิดมาผสมกัน แต่ไมใ่ ชพ่ ลาสตกิ 6 ชนิดทกี่ ลา่ วมา

สญั ลกั ษณร์ ีไซเคิลพลาสติกในตระกูลเทอร์โมพลาสติก สาหรบั พลาสติกที่รีไซเคิล
ได้จะมีสญั ลักษณ์และเครอื่ งหมายรีไซเคลิ ติดอย่ทู ี่ผลิตภัณฑ์ และมตี ัวเลขอย่ขู ้างใน ตัวเลขน้ีเป็น
ส่ิงทบี่ ง่ บอกประเภทของพลาสตกิ นั้น ๆ

พลาสติก เบอร์ 1 หมายถึง พลาสติกประเภทโพลิเอทิลนี เทเรฟทาเลต (Poly
ethylene terephthalate : PET) สามารถนามารีไซเคิลขวดน้าพลาสติกชนดิ อ่อน ประเภทใช้ได้
ครัง้ เดียว หรือขวดซอฟตด์ รง้ิ ค์ทัง้ หลาย

พลาสติกเบอร์ 2 หมายถงึ โพลเิ อทิลินชนดิ ความหนาแนน่ สงู (High density
polyethylene : HDPE) ส่วนมากจะนาไปรไี ซเคลิ เปน็ ถงุ พลาสติกทว่ั ไป และกระป๋องโยเกิรต์

พลาสติกเบอร์ 3 หมายถึง พลาสติกประเภทโพลิไวนิลคลอไรด์ (Polyvinyl
chioride : PVC) สามารถนากลับมารีไซเคิลเป็นบรรจุภัณฑ์สินค้าอาหาร ของเล่นพลาสติก
พลาสติกหอ่ หุ้มอาหาร และท่อพลาสติก

พลาสติกเบอร์ 4 หมายถึง พลาสติกประเภทโพลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นต่า
(Low density polyethylene : LDPE) นยิ มนากลบั มารีไซเคลิ เป็นถุงพลาสติกชนิดบาง ไม่ทน
ความร้อน หรือถุงดา กล่องบรรจุภัณฑ์ เช่น กล่องสบู่ ถงั ขยะ

พลาสตกิ เบอร์ 5 หมายถงึ พลาสติกประเภทโพลโิ พรพิลีน (Polypropylene :
PP) นากลับมารีไซเคลิ เปน็ ถงุ ร้อนใส่อาหาร หรอื กล่องบรรจอุ าหารสาหรบั อุ่นในไมโครเวฟ
และแกว้ พลาสติก

59

พลาสติกเบอร์ 6 หมายถึง พลาสติกประเภทโพลิสไตรีน (Polystyrene : PS)
สามารถนามาหลอมเปน็ โฟม กล่อง ถว้ ย และจาน นอกจากนย้ี ังรไี ซเคิลเป็นแผงไข่ไก่ และกล่อง
วซี ดี ไี ด้อกี ดว้ ย

พลาสติกเบอร์ 7 หมายถึง พลาสติกชนิดอื่น ๆ ที่อาจจะนาพลาสติกหลายชนิด
มาผสมกัน แต่ไม่ใช่พลาสติก 6 ชนิดก่อนหน้าน้ี อาจจะเป็นพลาสติกประเภทท่ีมีส่วนผสมของ
สาร BPA โพลีคาร์บอเนต หรือพลาสติกชีวฐาน (bio-based plastics) มักจะนากลับมารีไซเคิล
เปน็ ขวดน้า กล่องและถุงบรรจอุ าหาร กระสอบป๋ยุ และถงุ ขยะ เปน็ ต้น

60

ภาพที่ 4.6 แสดงตารางสัญลกั ษณ์พลาสตกิ และตัวอย่าง

ทมี่ า : http://www.2bgreen4ever.com

61

2.2.2 พลาสติกประเภทเทอร์โมเซตตงิ พลาสตกิ (Thermosetting plastic)
เป็นพลาสติกทีม่ ีสมบตั พิ เิ ศษ คือ ทนทานต่อการเปลีย่ นแปลงอณุ หภมู แิ ละทนปฎิกริ ิยาเคมไี ด้ดี
เกิดคราบและรอยเปอื้ นได้ยากคงรปู หลงั การผ่านความร้อนหรอื แรงดนั เพียงครง้ั เดยี ว เม่ือเย็น
ตัวลง จะแข็งมาก ทนความร้อนและความดนั ไมอ่ ่อนตัวและเปลี่ยนรปู ร่างไม่ได้ แต่ถ้าอณุ หภูมิ
สูงก็จะแตกและไหมเ้ ป็นขีเ้ ถ้าสดี า พลาสติกประเภทนโี้ มเลกลุ จะเชอ่ื มโยงกันเปน็ ร่างแห
จบั กันแน่น แรงยดึ เหนยี่ วระหวา่ งโมเลกลุ แขง็ แรงมาก จงึ ไม่สามารถนามาหลอมเหลวได้

ภาพท่ี 4.7 ภาชนะท่ีผลติ จากเทอรโ์ มเซตตงิ พลาสตกิ

ที่มา : http://must.co.th

2.3 การรไี ซเคลิ วสั ดุประเภทแกว้
ขวดแก้วเปน็ บรรจุภณั ฑ์ท่ีได้รบั ความนิยมสงู ด้วยคุณสมบตั ทิ ่ีใส สามารถมองเหน็

สิ่งท่ีอยู่ภายใน ไม่ทาปฏิกิริยากบั สงิ่ บรรจุ ทาใหค้ งสภาพอยูไ่ ด้นาน สามารถออกแบบให้มี
รปู ทรงไดต้ ามความตอ้ งการ ราคาไมส่ งู จนเกินไป มีคุณสมบัตสิ ามารถนามารีไซเคลิ ได้ และให้
ผลิตภณั ฑ์ใหม่ที่มีคุณภาพคงเดิมรอ้ ยเปอรเ์ ซ็นต์ ไมว่ ่าจะรไี ซเคิลกี่ครัง้ ก็ตาม ขวดแกว้ สามารถ
นามารไี ซเคิลดว้ ยการหลอม ซ่งึ ใชอ้ ุณหภมู ใิ นการหลอม 1,600 องศาเซลเซียล จนเปน็ นา้ แก้ว
และนาไปขน้ึ รปู เปน็ บรรจุภัณฑ์ต่างๆ การนาเศษแกว้ ประมาณร้อยละ 10 มาเปน็ ส่วนผสมใน
การหลอมแกว้ จะชว่ ยประหยดั พลังงาน และชว่ ยลดปริมาณน้าเสียลงรอ้ ยละ 50 ลดมลพิษทาง
อากาศลงรอ้ ยละ 20 แกว้ ไม่สามารถย่อยสลายไดใ้ นหลมุ ฝังกลบขยะมลู ฝอย แตส่ ามารถนามา
หลอมใชใ้ หม่ไดห้ ลายรอบและมคี ณุ สมบัติเหมอื นเดิม ดงั น้นั เรามารจู้ กั สัญลักษณก์ ารรไี ซเคิล
แกว้ เพื่อการเก็บรวมรวมแก้วนาไปขายให้ไดร้ าคาสูง ในการสง่ ต่อไปรไี ซเคิล

2.3.1 ประเภทของแก้ว
แกว้ สามารถแบง่ เปน็ 2 ประเภทใหญ่ ดงั น้ี
1) ขวดแกว้ ดี จะถกู นามาคดั แยกชนิด สี และประเภททบ่ี รรจุสินค้า ได้แก่
ขวดแม่โขง ขวดน้าปลา ขวดเบยี ร์ ขวดซอส ขวดโซดาวันเวย์ขวดเคร่ืองดื่มชกู าลงั ขวดยา

62

ขวดน้าอัดลม ฯลฯ การจัดการขวดเหล่านี้หากไม่แตกบ่ินเสียหาย จะถูกนากลับเข้าโรงงานเพื่อ
นาไปลา้ งใหส้ ะอาดและนากลับมาใชใ้ หม่ทเี่ รียกว่า “Reuse”

2) ขวดแก้วแตก ขวดที่แตกหักบนิ่ ชารุดเสยี หายจะถกู นามาคดั แยกสี ได้แก่
ขวดแก้วใส ขวดแก้วสีชา และขวดแก้วสีเขียว จากนั้นนาเศษแก้วมาผ่านกระบวนการ รีไซเคิล
โดยเบือ้ งตน้ จะเริ่มแยกเศษแกว้ ออกมาตามสีของ เอาฝาจกุ ทต่ี ิดมากับปากขวดออกแลว้ บด
ใหล้ ะเอยี ด ใส่น้ายากัดสีเพือ่ กดั สที ีต่ ิดมากับขวดแกว้ ลา้ งใหส้ ะอาด แล้วนาส่งโรงงานผลติ
ขวดแกว้ เพ่ือนาไปหลอมใหม่ เรียกว่า “Recycle”

แกว้ ดี แก้วแตก
ภาพท่ี 4.8 แกว้ ดีนาไปรียูส แก้วแตกเขา้ กระบวนการรไี ซเคลิ

ทีม่ า : http://www.2bgreen4ever.com

2.3.2 สัญลักษณ์รีไซเคิลแกว้
แก้วสามารถนากลับมารีไซเคิลได้หลายชนิด แต่ก็มีแก้วบางชนิดท่ีต้อง

ตรวจสอบอีกคร้ังว่าสามารถนากลบั มารไี ซเคิลไดห้ รือไม่ โดยการสงั เกตสญั ลกั ษณข์ องการ
รีไซเคิลแก้วได้ ดงั น้ี

แก้วผสม ท่ีเกิดจากวสั ดตุ ่าง ๆ

แก้วใส ไม่มสี ี

แกว้ สเี ขียว

ภาพท่ี 4.9 สญั ลักษณ์รีไซเคิลแก้ว

63

ตารางท่ี 4.2 ตารางแสดงตัวอยา่ งแกว้ ท่นี ามารีไซเคลิ ได้

ตัวอย่างแกว้ ท่ีนามารีไซเคิล

ขวดโซดา ขวดนา้ ปลา ขวดเคร่ืองด่ืมชกู าลัง

ขวดไวน์ ขวดนา้ มันพชื เก่า ขวดนา้ ส้มสายชู

ขวดแกว้ ขาว เศษแกว้ แดง ขวดน้าอัดลมเล็ก/ใหญ่ ขวดโซดาสิงห์

(สชี า)ใส/ขาวขุ่น ขวดแบรนดเ์ ลก็ /ใหญ่ เศษแก้วเขยี ว
ขวดยาปอนด์ ขวดยาฆ่าแมลงเลก็ /ใหญ่ เศษแกว้ แดง (สีชา)

2.4 การรีไซเคลิ วสั ดปุ ระเภทโลหะ
โลหะและอโลหะมหี ลากหลายชนดิ ท่ีสามารถนามารีไซเคลิ ใหมไ่ ด้ โลหะ ไดแ้ ก่
เหล็กใช้กันมากท่ีสุดในอุตสาหกรรมก่อสร้าง ผลิตอุปกรณ์ต่างๆ รวมท้ังเครื่องใช้ในบ้าน
อุตสาหกรรม การนาเหล็กมาใช้ใหม่เพื่อลดต้นทุนในการผลิตมีมานานแล้ว คาดว่าทั่วโลกมีการ
นาเศษเหล็กมารีไซเคิลใหม่ถึง ร้อยละ 50 แม้แต่ในรถยนต์ก็มีเหล็กรีไซเคิลปะปนอยู่ 1 ใน 4
ของรถแตล่ ะคัน

ตวั อยา่ งเหล็กที่สามารถนาไปรไี ซเคลิ ได้
1. เหลก็ เหนียว เช่น เฟืองรถ นอ๊ ต ตะปู เศษเหล็กข้อออ้ ยขาเกา้ อ้ี ลอ้ จักรยาน
หัวรถเกง๋ กระบะปิคอัพ เหลก็ เสน้ ตะแกรง ทอ่ ไอเสีย ถังสี
2. เหลก็ หล่อ เช่น ปลอกสูบ ปมั๊ นา้ ขอ้ ตอ่ วาล์วเฟืองขนาดเลก็
3. เหลก็ รูปพรรณ เชน่ แป๊ปประปา เพลาทา้ ยรถ เพลาโรงสี แป๊ปกลมดา
เหล็กฉาก เหล็กตวั ซี และเพลาเครอื่ งจักรต่าง ๆ
4. เศษเหลก็ อ่นื ๆ เชน่ เหลก็ สังกะสี กระป๋อง ปบ๊ิ เหล็กกลึง เหล็กแมงกานีส

เหล็กที่เมือ่ คัดแยกแล้วสามารถนาไปจาหน่ายได้ ซง่ึ เหล็กทมี่ รี าคาดหี รือตลาด
ของเก่ารับซ้อื ในราคาที่สูง ได้แก่ เหลก็ หลอ่ ชนิ้ เลก็ ราคาดีทีส่ ุด รองลงมาคือ เหลก็ เสน้
เหล็กหลอ่ ชิน้ ใหญ่ เคร่ืองเหลก็ เหลก็ ตะปู เหลก็ ยอ่ ย เหล็กบาง กระปอ๋ ง และเหล็กสังกะสี
ตามลาดบั

64

ล้อรถ เพลา นอ็ ต เศษเหล็ก

ภาพที่ 4.10 เหลก็ ทส่ี ามารถนาไปขายไดใ้ นราคารบั ซือ้ สงู

โลหะท่สี ามารถนามารีไซเคิลใหมไ่ ดม้ ี ดงั นี้
1. เหล็ก ใช้กันมากที่สุดในอุตสาหกรรมก่อสร้างผลิตอุปกรณ์ต่าง ๆ รวมท้ัง
เครอื่ งใช้ในบ้าน อตุ สาหกรรม
2. ทองเหลือง เป็นโลหะมีราคาดี นากลับมาหลอมใช้ใหม่ได้โดยการทาเป็น
พระ ระฆงั อุปกรณ์สขุ ภณั ฑต์ ่าง ๆ และใบพดั เรือเดินทะเลขนาดใหญ่
3. ทองแดง นากลบั มาหลอมทาสายไฟใหม่ไดอ้ ีก
4. สแตนเลส นากลบั มาหลอมทาชอ้ นสอ้ ม กระทะ หมอ้
5. ตะก่ัวนากลับมาหลอมใหมท่ าฟิวส์ไฟฟา้ และส่วนประกอบของอุปกรณ์ต่าง ๆ

ตารางที่ 4.3 ตารางตัวอยา่ งโลหะรไี ซเคิล

ตวั อยา่ งวัสดุรไี ซเคลิ

เหลก็ หนาพเิ ศษ เหล็กตะปู เหล็กเครื่อง
เหล็กหนา/บาง เหลก็ เสน้ 1 นิว้ เหลก็ ขี้กลึง

เหล็กย่อย เหลก็ หลอ่ ชน้ิ เล็ก/ใหญ่ ลวดสลงิ

เหล็กซอยส้นั ทองแดงเผา ตะกว่ั อ่อน/แขง็

ทองแดงเส้นเลก็ /ใหญ่ แบตเตอรีข่ าว/ดา เศษแกว้ แดง (สีชา)
ตะกัว่ สงั กะสี เหลก็ เสน้ 5-6 หนุ ขี้กลึงทองเหลอื ง
สแตนเลส ทองเหลอื งบาง/หนา กระป๋อง

65

สัญลักษณ์รไี ซเคิลกระป๋องโลหะ
เหลก็

ภาพที่ 4.11 ตวั อย่างสญั ลักษณร์ ไี ซเคลิ โลหะ

2.5 การรไี ซเคลิ วสั ดุประเภทอะลมู ิเนียม

บรรจุภัณฑก์ ระป๋องผลิตจากวสั ดตุ า่ งกัน เช่น กระป๋องอะลมู ิเนียม กระป๋องเหลก็
เคลอื บดีบกุ กระป๋องทมี่ สี ่วนผสมทง้ั โลหะและอะลมู เิ นยี ม แต่ไม่ว่าจะผลติ จากอะไรก็สามารถ
นามารีไซเคิลได้ แลว้ เราจะร้ไู ดอ้ ยา่ งไร วา่ กระป๋องช้ินไหนเป็นเหล็ก และช้นิ ไหนเปน็ อะลมู เิ นยี ม
ให้สงั เกตดตู ะเขบ็ ด้านข้างกระปอ๋ ง กระป๋องอะลูมิเนียมจะไม่มตี ะเข็บด้านขา้ ง เชน่ กระปอ๋ ง
น้าอัดลม ส่วนกระปอ๋ งเหลก็ ที่เคลอื บดบี ุกจะมีตะเขบ็ ดา้ นขา้ ง เชน่ กระปอ๋ งใส่อาหารสาเรจ็ รปู
กระปอ๋ งกาแฟ ปลากระป๋อง หากไม่แนใ่ จ ลองใช้แม่เหล็กมาทดสอบ หากแม่เหลก็ ดดู ตดิ
บรรจภุ ัณฑช์ นิดนั้น คือ เหลก็ โลหะ หากแม่เหล็กดูดไม่ตดิ บรรจุภณั ฑ์ชนิดนั้น คือ อะลูมิเนยี ม

อะลมู ิเนยี ม แบง่ ได้ 2 ประเภท คอื
1) อะลมู เิ นยี มหนา เชน่ อะไหล่เครอ่ื งยนต์ ลกู สบู
2) อะลมู ิเนยี มบาง เชน่ กะละมงั ซักผ้า ขันน้า กระป๋องนา้ อัดลม กระปอ๋ งเบยี ร์

(อะลมู ิเนียมหนา) (อะลูมิเนียมบาง)

ภาพท่ี 4.12 ตัวอย่างอะลูมิเนียมหนาและอะลูมิเนยี มบาง

ท่ีมา : http://www.kkworldrecycle.com

66

2.5.1 สญั ลกั ษณร์ ีไซเคิลกระปอ๋ งอะลูมิเนยี ม
กระป๋องส่วนใหญส่ ามารถนาไปรีไซเคลิ ได้ เชน่ กระป๋องนา้ อดั ลม กระป๋อง

เครือ่ งดื่มเพราะเปน็ โลหะชนิดหนงึ่ แต่กระป๋องบางชนิดจะมีส่วนผสมของวัสดุทงั้ อะลูมเิ นียม
แตโ่ ลหะชนดิ อ่นื ๆ กต็ ้องดตู ามสัญลักษณ์ ดังตอ่ ไปนี้

อะลมู ิเนยี ม อะลูมิเนียม

ภาพที่ 4.13 สัญลกั ษณ์อะลูมเิ นยี ม

กล่าวโดยสรุปการรีไซเคิล คือ การนาวัสดุท่ียังสามารถนากลับมาใช้ใหม่ นามาแปรรูป
ใช้ใหม่โดยกรรมวิธีต่าง ๆ ซ่ึงทุกคนสามารถทาได้ โดยการคัดแยกวัสดุแต่ละประเภททั้งท่ีบ้าน
โรงเรียน และสานักงาน เพ่ือนาเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิล โดยการนาวัสดุรีไซเคิลไปขาย หรือ
นาไปบริจาค การรีไซเคิลจึงเป็นหนึ่งในวิธีการลดปริมาณขยะ ลดมลพิษให้กับสภาพแวดล้อม
ลดการใช้พลังงานยดื อายุการใช้งานของระบบกาจัดขยะ และลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติของ
โลกไมใ่ ห้ถูกนาไปใชอ้ ย่างสนิ้ เปลืองมากเกนิ ไป

กิจกรรมทา้ ยหนว่ ยที่ 4

หลังจากที่ผู้เรียนศึกษาเอกสารชุดการเรียนหน่วยท่ี 4 จบแล้ว ให้ผู้เรียนค้นคว้า
เพิ่มเตมิ จากแหล่งเรยี นรู้ต่าง ๆ แลว้ ทากิจกรรมการเรียนรหู้ นว่ ยท่ี 4 ในสมดุ บนั ทกึ กิจกรรม
การเรยี นรู้ แลว้ จัดสง่ ตามทีผ่ ้สู อนกาหนด

67

หน่วยที่ 5
การจดั การวัสดอุ ันตราย

สาระสาคญั
การจัดการวัสดุอันตราย ถือเป็นเร่ืองสาคัญที่ต้องใส่ใจให้มีการคัดแยกและการจัดการ

ทีถ่ กู ตอ้ งเหมาะสม เพอ่ื ป้องกนั ความเสยี หายทีจ่ ะเกิดข้นึ ต่อสุขภาพและสงิ่ แวดล้อม โดยการลด
ปริมาณขยะอันตราย จากการเลือกซื้อ การใช้ การทิ้ง รวมถึงการรวบรวม เพื่อนาไปสู่การ
จัดการขยะอันตรายที่ถูกวิธี รวมไปถึงการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ท่ีเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าและ
อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ที่หมดอายุการใช้งานไม่สามารถนากลับมาใช้ได้โดยคานึงถึงความจาเป็น
ที่จะต้องใช้ส่ิงของเหล่าน้ีอย่างรู้คุณค่า และสามารถช่วยลดปริมาณขยะอันตรายให้เหลือน้อย
ท่ีสดุ ได้

ตัวชว้ี ดั
1. บอกความหมายของวัสดุอันตรายได้
2. จาแนกประเภทของวัสดุอันตรายได้
3. อธิบายลักษณะของวัสดุอนั ตรายได้
4. อธบิ ายวิธกี ารจดั การขยะอนั ตรายได้
4. อธบิ ายวิธีการลดปญั หาวัสดทุ ่เี ป็นพิษตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มได้

ขอบข่ายเนอ้ื หา
1. วัสดุอันตราย
2. การจดั การขยะอนั ตราย
3. การลดปญั หาวสั ดุที่เปน็ พษิ ตอ่ สิง่ แวดล้อม

68

หนว่ ยที่ 5
การจดั การวัสดุอันตราย

เรื่องที่ 1 วสั ดอุ นั ตราย
1.1 ความหมายวัสดุอันตราย วสั ดอุ ันตราย หรอื วัสดุทไี่ ม่ใช้แล้ว คอื ผลิตภัณฑ์ที่

เส่อื มสภาพ หรือปนเปอ้ื นวัตถสุ ารเคมีอนั ตรายชนดิ ตา่ ง ๆ ทม่ี ลี กั ษณะเปน็ สารพษิ ไวไฟ สารเคมี
ทีก่ ดั กรอ่ นได้ สารกัมมนั ตรังสีหรอื เช้อื โรคต่าง ๆ ท่ที าให้เกิดอันตราย แก่ บคุ คล สัตว์ พืช
สิง่ แวดลอ้ ม เชน่ ถ่านไฟฉาย หลอดฟลูออเรสเซนต์ แบตเตอรร์ โ่ี ทรศัพทเ์ คล่อื นที่ กระปอ๋ งบรรจุ
สี สารเคมี ภาชนะบรรจสุ ารกาจดั ศัตรูพืช

โดยทว่ั ไปวัสดุทีม่ ีพษิ ท่ีเกิดจากกระบวนการผลิตในโรงงานอตุ สาหกรรม จะถูกจัดเกบ็
ไปเพอ่ื ทาลาย ตามข้อกฎหมายที่เกย่ี วขอ้ งกับการจัดการ กากอุตสาหกรรมตามพระราชบัญญตั ิ
โรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ. 2535 ส่วนครัวเรอื นและสถานประกอบกิจการประเภทพาณชิ ยกรรม
ยังไม่มกี ฎหมายฉบับใดทก่ี าหนดมาเพอ่ื ควบคุมเป็นการเฉพาะ ดงั นั้นจะเหน็ ได้ว่าขยะอนั ตราย
ท่เี กิดจากสานกั งาน รา้ นค้าและในครวั เรอื น สว่ นใหญจ่ ะถูกท้ิงปะปนกับขยะทั่วไป และนาไป
กาจดั ดว้ ยวธิ ีการท่ีไม่ถกู วิธี ทาให้สารพิษ ปนเป้อื นสสู่ ิ่งแวดลอ้ ม เชน่ ดนิ น้า อากาศ และส่งผล
กระทบต่อสุขภาพของคนโดยตรง

ขยะอนั ตราย คือ วัสดุอันตราย จึงหมายถงึ วสั ดหุ รือเศษซากวัสดุท่ไี ม่สามารถนาไปใช้
ประโยชนไ์ ด้อกี แลว้ ต้องนาไปจดั การดว้ ยวิธีการท่ีถูกตอ้ งเหมาะสม เชน่ นาไปทงิ้ ในถังรองรับ
ขยะอันตราย เพื่อการส่งต่อ นาไปกาจัดด้วยการเผาอย่างถูกหลักสขุ าภิบาลท่อี ุณหภมู ไิ ม่นอ้ ย
กวา่ 1200 องศาเซลเซยี ส

1.2 ประเภทของขยะอันตราย ขยะอันตรายแบง่ ได้ เปน็ 3 ประเภท ดงั น้ี
1. ขยะติดเชอื้ หมายถงึ สงิ่ ของทไ่ี มต่ อ้ งการ หรือถูกทิ้งจากสถานพยาบาล อาทิ

เน้ือเยื่อ ชิ้นส่วน อวัยวะต่าง ๆ และสิ่งขับถ่าย หรือของเหลวจากร่างกายผู้ป่วย เช่น น้าเหลือง
น้าหนอง เสมหะ น้าลาย เหง่ือ ปัสสาวะ อุจจาระ ไขข้อ น้าในกระดูก น้าอสุจิ เลือด และ
ผลิตภัณฑ์เลือด เช่น เซรุ่ม น้าเลือด รวมท้ังเครื่องใช้ที่สัมผัสกับผู้ป่วย เช่น สาลี ผ้ากอซ
กระดาษชาระ เข็มฉีดยา มีดผ่าตัด เสื้อผ้า ตลอดจนซากสัตว์ หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับ
สัตวท์ ดลอง หรอื อ่ืน ๆ ตามท่ีสถานพยาบาลจะพิจารณาตามความเหมาะสม ตามที่ได้ทั้งหมดน้ี
ขยะเหลา่ น้ไี มจ่ าเป็นจะตอ้ งมาจากโรงพยาบาลเสมอไป อาจจะมาจากคลินิค สถานีอนามัย หรือ
โรงพยาบาล รักษาสัตว์กไ็ ด้

69

2. ขยะมีพิษ หมายถึง ขยะวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว ผลิตภัณฑ์เส่ือมสภาพหรือภาชนะ
บรรจุต่างๆ ที่มีองค์ประกอบหรือปนเปื้อนวัตถุ สารเคมีอันตรายชนิดต่าง ๆ ท่ีมีลักษณะเป็น
สารพษิ สารไวไฟ สารเคมที กี่ ดั กรอ่ นได้ สารกมั มนั ตรงั สแี ละเช้ือโรคตา่ ง ๆ ทีท่ าให้เกิดอันตราย
แก่บุคคล สัตวพ์ ืช ทรัพย์สินหรอื สงิ่ แวดล้อม เช่น ถ่านไฟฉาย หลอดฟลูออเรสเซนตแ์ บตเตอรี่
ภาชนะบรรจุสารกาจัดศตั รพู ืช กระปอ๋ งสเปรยบ์ รรจุสี หรอื สารเคมี เป็นตน้

3. ขยะอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและ
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เชน่ เครอ่ื งใช้ไฟฟ้า แบตเตอรี่ และอุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ที่ไม่เป็นท่ีต้องการแล้ว
หมดอายุ การใช้งานแลว้ ไมส่ ามารถนากลับมาใช้ซา้ ได้อีกตอ่ ไป ไม่สามารถยอ่ ยสลายไดเ้ อง
ตามธรรมชาติ เป็นอันตรายตอ่ สุขภาพและเปน็ พิษต่อส่ิงแวดล้อม

ขยะอันตรายดงั กลา่ ว นอกจากจะพบไดจ้ ากครวั เรอื น สถานพยาบาล และในชุมชนแลว้
ยังพบได้ในสานกั งาน เช่น วสั ดุอปุ กรณ์ เคร่อื งใช้ และสารเคมีที่ใช้ในสานกั งานหลายชนิด
เมือ่ เสอื่ มสภาพ หรือใช้หมดแล้ว หากทิ้งปะปนไปกบั ขยะทัว่ ไป ก็จะกอ่ ให้เกิดมลพิษตอ่
สิง่ แวดลอ้ มได้ ตวั อยา่ ง ขยะอันตรายจากสานักงาน ได้แก่

- ตลบั หมกึ พิมพ์ หมกึ เคร่ืองถ่ายเอกสาร
- ถ่านไฟฉาย
- หลอดไฟแบบต่าง ๆ สตารท์ เตอร์ บัลลาส
- กระป๋องสเปรย์ กระป๋องสี กระปอ๋ งสารเคมกี าจัดแมลง
- ขวดนา้ ยาทาความสะอาดตา่ ง ๆ
- ภาชนะบรรจนุ ้ามันเครื่อง

ภาพท่ี 5.1 ขยะอนั ตราย

70

ข้อบ่งชผ้ี ลติ ภัณฑ์หรอื ภาชนะเปน็ ขยะอันตราย
1. สังเกตฉลาก หรือ ภาพสัญลักษณ์ทต่ี ดิ บนภาชนะบรรจุ เชน่ สารไวไฟ

สารมพี ษิ สารกดั กรอ่ น เป็นตน้
2. สังเกตคาเตือนท่ีระบุอยู่ข้างภาชนะ เชน่ ห้ามรบั ประทาน ห้ามเผา อนั ตราย

เปน็ ตน้

ตารางท่ี 5.1 แสดงภาพสญั ลักษณท์ บี่ ่งชผ้ี ลติ ภณั ฑ์หรอื ภาชนะเป็นขยะอนั ตราย

สญั ลกั ษณ์ รายละเอียด

สารไวไฟ จะพบเห็นบนภาชนะทบี่ รรจกุ ๊าซหงุ ตม้
นา้ มันเช้ือเพลงิ ทินเนอร์ ผลกามะถนั

สารมพี ษิ จะพบเห็นบนภาชนะบรรจุภัณฑ์ประเภท
นา้ ยาล้างหอ้ งน้า สารฆ่าแมลง สารปรอท
ในหลอดฟลูออเรสเซนต์

สารกัดกร่อน จะพบเหน็ บนภาชนะบรรจนุ ้ากรด
ในแบตเตอรร่ี ถยนต์ หรือ น้ายาทาความ
สะอาด

71

เร่อื งที่ 2 การจัดการขยะอนั ตราย
ขยะอนั ตราย เมื่อไม่ได้รบั การจดั การอย่างเหมาะสมในการบาบัด การเกบ็ กัก

การขนส่ง หรือกาจัด อาจทาให้เกิดการแพร่ระบาดของเช้ือโรค หรือสารพิษต่าง ๆ ท่ีอาจจะมี
การปนเป้ือนในสิ่งแวดล้อมได้ ทั้งน้ีถ้าร่างกายได้รับปริมาณของสารพิษต่าง ๆ เหล่าน้ัน ใน
ปริมาณความเข้มข้น อาจเป็นสาเหตุหรือมีส่วนทาให้มีการเจ็บป่วยอย่างรุนแรงท่ีไม่สามารถ
รักษาได้ อาจก่อใหเ้ กดิ ภาวะทุพพลภาพ ถึงแก่ความตายได้ ดังนั้น ขยะอันตรายแต่ละประเภท
จึงมวี ิธีการจดั การอย่างเหมาะสม ดังนี้

2.1 การจัดการขยะตดิ เช้ือ การจดั การกบั ขยะติดเช้อื ต้องมวี ิธีการท่ีตอ้ งระมัดระวงั
มากกว่าขยะมลู ฝอยทวั่ ไป ตง้ั แต่การเกบ็ รวบรวม การขนส่งการบาบดั และจากดั ในการรวบรวม
ณ แหล่งกาเนดิ ขยะส่วนที่เปน็ เลอื ด น้าเหลือง นา้ หนอง จะตอ้ งใส่ลงถงั รองรบั ท่ีไม่มกี ารร่วั ไหล
ได้ มฝี าปิดมดิ ชดิ หรือวัสดพุ วกเข็มฉีดยา มดี ตอ้ งใส่ลงในภาชนะทแ่ี ข็งแรงป้องกนั การแทงทะลุ
ไดก้ ่อนทีจ่ ะทงิ้ ลงในถงุ พลาสติก จากนั้นจะตอ้ งมีการบาบดั เบื้องต้นหรอื การฆ่าเช้ือโรคกอ่ น เชน่
ใช้โซเดียมไฮโปคลอไรดเ์ ขม้ ข้น รอ้ ยละ 0.1 - 0.5 เทราดให้ท่ัว ขยะท่ฆี ่าเชอื้ ในเบอื้ งต้นแล้วจะ
ถกู นาไปรวบรวมไว้ เพอื่ รอการกาจัด โดยภาชนะที่ใช้เกบ็ ขยะติดเช้อื ทใี่ ช้กนั มากคือ ถุงพลาสติก
สีแดง เพอื่ ให้แตกตา่ งจากถงุ บรรจุขยะมลู ฝอยทั่วไป ถุงบรรจขุ ยะตดิ เชอ้ื มกั จะใชเ้ พียงครงั้ เดยี ว
แล้วทาลายไปพร้อมกับขยะตดิ เชอ้ื ในส่วนของทพ่ี กั ขยะก็ควรจะเป็นทเี่ ฉพาะไมใ่ ชร้ ว่ มกับขยะ
มูลฝอยทว่ั ไป มกี ารควบคุมอุณหภมู ใิ นท่ีเกบ็ จะอยู่ที่ประมาณ 15 องศาเซลเซยี ล และไม่ควร
เก็บไว้นานเกินกว่า 3 วัน ในกรณีทีโ่ รงพยาบาลไม่มที ี่กาจดั ขยะติดเชือ้ ของตนเอง การเก็บ
ขนและลาเลียงจะต้องทาอยา่ งระมดั ระวัง การใชร้ ถเขน็ และลฟิ ต์จะเปน็ วธิ ีทด่ี ี ขณะลาเลยี ง
เจา้ หน้าทจี่ ะต้องใส่ถุงมอื ยาว มผี ้าปิดปากและจมกู เพ่อื ปอ้ งกนั ปัญหาเร่อื งสุขภาพอนามัยของ
ผปู้ ฏบิ ัติหน้าท่ี และไมค่ วรโยนถงุ เพราะอาจจะทาให้ถุงขาดได้ มาถงึ วิธกี ารกาจัดซ่ึงต้องทาอยา่ ง
ถกู หลกั วิชาการและอยา่ งมปี ระสิทธิภาพทส่ี ุด เพื่อป้องกันการแพรก่ ระจายเชอื้ โรคจากผปู้ ่วย
โดยวิธีการท่ีดที ส่ี ดุ คือ การเผาในเตาเผาท่ีอณุ หภมู ิ 870 องศาเซลเซียส ข้นึ ไป และตอ้ งมี
การควบคุมสารพิษท่ีเกิดจากการเผาดว้ ย สว่ นเถา้ ถ่านที่เหลือจากการเผาจะต้องนาไปฝงั ดิน

2.2 การจัดการขยะมีพิษ คือ ขยะวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว ผลิตภัณฑ์เส่ือมสภาพหรือภาชนะ
บรรจุต่าง ๆ ท่ีมีองค์ประกอบหรือปนเป้ือนวัตถุ สารเคมีอันตรายชนิดต่าง ๆ ท่ีมีลักษณะเป็น
สารพิษสารไวไฟ สารเคมีท่ีกัดกร่อนได้สารกัมมันตรังสีและเชื้อโรคต่าง ๆ ท่ีทาให้เกิดอันตราย
แก่บุคคล สัตว์พืช ทรัพย์สินหรือส่ิงแวดล้อม เช่น ถ่านไฟฉาย หลอดฟลูออเรสเซนต์แบตเตอรี่
ภาชนะบรรจุสารกาจัดศัตรูพืช กระป๋องสเปรย์บรรจุสีหรือสารเคมีซ่ึงขยะมีพิษ จะใช้ถังรองรับ
ขยะ สแี ดงเทา่ น้ัน ไมท่ ิ้งขยะอันตรายปะปนไปกับขยะทั่วไป และไม่นาไปเผา ฝังดิน หรือ ท้ิงลง

72

ในท่อระบายน้า เพราะจะทาให้สารพิษ มีการปนเป้ือนในส่ิงแวดล้อมได้ ดังน้ัน จึงมีแนวทางใน
การจัดการขยะ มพี ษิ อยา่ งถูกวิธี ซง่ึ สามารถจาแนกตามรูปแบบของกจิ กรรมได้ ดังนี้

2.2.1 การจัดการขยะโดยทอ้ งถ่นิ เทศบาล
1. ท้องถน่ิ เทศบาลรณรงค์ให้ผู้ประกอบการและประชาชนคัดแยกของเสียอันตาย
ไม่ทิง้ รวมไปกบั ขยะมูลฝอยทว่ั ไป
2. จดั หาภาชนะรองรับของเสยี อนั ตรายที่มีฝาปดิ ไม่รว่ั ซึมและเหมาะสมกับประเภท
ของของเสยี อนั ตราย
3. จัดหารถเกบ็ ขนชนิดพเิ ศษเพ่ือเกบ็ ขนของเสียอันตราย
4. กาหนดวันรณรงค์ เพ่อื เก็บรวบรวมของเสยี อันตราย เช่น วันหยดุ นกั ขัตฤกษ์
วันส้ินปวี ันสิง่ แวดล้อมเปน็ ตน้
5. จัดทาระบบกากับการขนส่ง (Manifest system) โดยควบคุมต้งั แตแ่ หล่งกาเนิด
การเกบ็ รวบรวม การเคลอ่ื นยา้ ยจนถงึ สถานทกี่ าจัด
6. จัดสร้างสถานีขนถา่ ยของเสยี อันตรายประจาจังหวัด เพือ่ เป็นแหล่งรวบรวม และ
คดั แยกของเสยี อนั ตราย ส่วนที่ไมส่ ามารถนากลับมาใชป้ ระโยชนใ์ หมจ่ ะถูกนาไปกาจดั ยังศนู ย์
กาจดั ประจาภาคตอ่ ไป
7. จดั สร้างศูนย์กาจัดของเสยี อันตรายประจาภาคโดยเรมิ่ ตง้ั แตก่ ารคัดเลอื กสถานที่
การจดั ซื้อท่ดี ินการออกแบบระบบ การก่อสรา้ ง ควบคมุ การดาเนนิ งาน
8. ฝึกอบรมเจ้าหนา้ ที่ของหนว่ ยงานที่รบั ผดิ ชอบและส่งเสรมิ ให้ความรู้กบั ประชาชน
ประชาสัมพันธใ์ ห้ประชาชนมสี ่วนร่วมในการจัดการของเสยี อนั ตรายอย่างถูกวิธี

2.2.2 การจดั การขยะโดยผู้ประกอบการ
1. ไมท่ งิ้ ของเสยี อนั ตรายประเภทน้ามนั เครือ่ ง ทินเนอร์ น้ามนั สน น้ายา

ฟอกขาวนา้ ยาทาความสะอาด
2. ไมท่ ้ิงน้ายาล้างรปู หมึกพมิ พ์ ของเสยี ติดเชื้อ สารเคมีจากหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร

หลอดฟลอู อเรสเซนต์ ถ่านไฟฉาย ฯลฯ รวมไปกับขยะมลู ฝอยทว่ั ไป
3. ไมท่ ง้ิ ลงพ้ืน ไมฝ่ งั ดนิ ไม่ท้ิงลงท่อระบายน้าหรือแหลง่ น้า
4. แยกเกบ็ ของเสยี อันตรายไวใ้ นภาชนะเดมิ ท่ีร่ัวซมึ เพ่อื รอหน่วยงานทอ้ งถิ่น

มาเก็บไปกาจดั
5. นาไปทง้ิ ในภาชนะท่ที ้องถิ่นจัดทาให้หรอื นาไปทิ้งในสถานท่ี ทีก่ าหนด

นาซากของเสยี อันตรายไปคืนรา้ นตวั แทนจาหน่าย เช่น ซากแบตเตอร่ี ซากถา่ นไฟฉาย
ภาชนะบรรจยุ าฆ่าแมลง

73

2.3 ขยะอิเล็กทรอนิกส์ การจดั การขยะอิเลก็ ทรอนิกส์ ถ้าไม่มีวิธกี ารจัดการทเ่ี หมาะสม
อาจจะกอ่ ให้เกดิ ผลกระทบตอ่ สุขภาพอนามัยและส่ิงแวดลอ้ ม เชน่ การเผาสายไฟ เพ่ือนา
ทองแดงไปขาย ทาใหเ้ กดิ ไอระเหยของพลาสติกและโลหะบางส่วน ซึ่งเปน็ สาเหตุของการเปน็
โรคมะเรง็ การเผาแผงวงจรเพ่ือหลอมตะก่ัวและทองแดง ทาให้ตะกัว่ แพรก่ ระจายสู่ร่างกาย
ทางการหายใจ และอากาศ ซง่ึ จะสะสมในดนิ และนา้ กลบั เขา้ สูห่ ว่ งโซอ่ าหาร การใช้กรดสกัด
โลหะมคี า่ แผงวงจร โดยไม่มีกระบวนการบาบัดน้าเสีย ทาใหเ้ กิดการปนเปอ้ื นของนา้ เสยี สู่ดิน
และแหลง่ น้า การรือ้ แกะต้เู ยน็ และเครื่องปรับอากาศ โดยไม่มีอุปกรณ์ดูดเกบ็ สารทา
ความเยน็ ทาให้สารทาความเย็นหลุดออกสูบ่ รรยากาศ ทาลายช้นั โซน

วิธีการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ ดว้ ยหลัก 3 R คือ
1. การลดใช้ (Reduce) หมายถงึ ลดการบริโภคต้งั แตแ่ รก ไมซ่ อ้ื ของฟมุ่ เฟอื ย และหาก
จาเป็นตอ้ งซื้อใหเ้ ลือกซ้อื ผลิตภัณฑ์ท่ีปลอดภัย ไม่มีสารอันตรายหรือมใี นปริมาณต่า ประหยัด
พลังงานและสามารถรีไซเคิลได้ง่าย เมอ่ื ผลติ ภณั ฑก์ ลายเป็นซาก โดยอาจพจิ ารณาเลือกซ้อื
สินคา้ ทม่ี ฉี ลาก มอก. หรือฉลากเขียว หรอื ฉลากสินค้าทเ่ี ปน็ มิตรต่อสิ่งแวดล้อม
2. การใช้ซ้า (Reuse) หมายถึง การยืดอายุการใช้งานผลิตภัณฑ์ โดยอาจซ่อมแซม
(Repair) หรือปรบั ปรุงใหท้ นั สมัย (Upgrade) โดยระมดั ระวังไม่ให้สารอันตรายจากชิ้นส่วนเก่า
ปนเปอ้ื นส่สู ่งิ แวดลอ้ ม
3. การรไี ซเคิล (Recycle) การขายเพือ่ นาไปรีไซเคิลควรขายให้เฉพาะผู้ประกอบการ
ทขี่ น้ึ ทะเบียนและไดร้ บั อนุญาตจากหน่วยงานที่เก่ียวขอ้ ง และหากเป็นขยะอิเล็กทรอนกิ ส์ทีไ่ ม่
มกี ารรับซอื้ คืน ควรแยกทิ้งออกจากขยะทั่วไป เพ่อื ใหห้ น่วยงานทอ้ งถิ่นนาไปกาจดั หรอื รีไซเคิล
อยา่ งถูกตอ้ งต่อไป

74

ตารางท่ี 5.2 ผลกระทบตอ่ สุขภาพ เม่ือสารพษิ จากวัสดอุ ันตรายเข้าสรู่ ่างกาย

ผลิตภัณฑ์ สารพษิ ผลต่อสขุ ภาพเมอื่ สารพษิ เข้าสรู่ า่ งกาย

ถ่านไฟฉาย สารแมงกานสี - ปวดศรีษะ งว่ งนอน อ่อนเพลีย ซมึ เศรา้
กระปอ๋ งสี - อารมณ์แปรปรวน จติ ใจไมส่ งบ ประสาทหลอน
- เกิดตะคริวทแี่ ขน ขา
- สมองสับสน สมองอกั เสบ

หลอดฟลูออเรส สารปรอท - เกดิ การระคายเคอื งต่อผิวหนัง
เซนต์ - เหงอื กบวม อักเสบ เลือดออกง่าย
สารฆา่ แมลง - ปวดทอ้ ง ท้องรว่ งอย่างรุนแรง
- กลา้ มเน้ือกระตกุ หงุดหงิด โมโหง่าย

แบตเตอรีร่ ถยนต์ สารตะก่วั - ปวดศรษี ะ อ่อนเพลีย ตัวซีด
สารเคมกี าจัดแมลง - ปวดทอ้ ง ปวดกล้ามเนือ้
กระปอ๋ งสี - ความจาเสื่อม ชกั กระตุก หมดสติ

สเปรย์ นา้ ยายอ้ มผม สารพษิ อ่นื ๆ - เกดิ การระคายเคอื งตอ่ ผิวหนัง คัน หรือ บวม
- ปวดศรษี ะ หายใจขัด เป็นลม

เร่อื งที่ 3 การลดปัญหาวสั ดทุ ี่เปน็ พิษตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม

1. เลิกหรือหลกี เลี่ยงการใช้ผลิตภณั ฑ์ท่ีกอ่ ใหเ้ กิดวสั ดุหรอื ขยะทเี่ ปน็ พิษ
1.1 เลกิ หรอื หลีกเลี่ยงการใช้ผลิตภัณฑท์ ี่มีสารอนั ตราย เชน่ ถ่านนิเกลิ

แคลเมียม หรือถ่านราคาถูกทไ่ี ม่ไดม้ าตรฐาน โดยเลอื กใช้ถา่ นอัลคาไลนแ์ ทน
1.2 เลอื กใชส้ ารสกดั จากธรรมชาตหิ รอื สมุนไพรแทนสารเคมสี ังเคราะห์ เชน่

ยากนั ยุงที่ผลติ จากสารสกัดธรรมชาติ
1.3 เลอื กใชส้ ินค้าทม่ี มี าตรฐานในการรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ ม โดยการสังเกต

ฉลากเขยี ว หรอื ฉลากสงิ่ แวดลอ้ มอ่ืน ๆ
1.4 ใช้ผลิตภัณฑท์ มี่ อี ายกุ ารใชง้ านยาวนาน เชน่ ถ่านไฟฉายชนดิ อดั ประจไุ ด้

หลอดฟลอู อเรสเซนต์ ทม่ี ีจานวนช่วั โมงการใชง้ านสูง

75

2. คดิ ก่อนท้ิง และทิง้ อยา่ งระมัดระวัง
2.1 ก่อนทงิ้ ควรพิจารณาขยะในมือวา่ เป็นขยะทกี่ ่อให้เกิดอันตรายหรือมีพษิ

ตอ่ สิง่ แวดลอ้ มหรอื ไม่
2.2 จัดเก็บวัสดุอนั ตรายในภาชนะบรรจุเดมิ เพือ่ ปอ้ งกันการแตกหัก เชน่ เม่อื

เปล่ยี นหลอดฟลอู อเรสเซนตใ์ หม่ ให้เก็บหลอดเกา่ ในกล่องเหมือนเดมิ หรอื ห่อดว้ ยกระดาษ
หนังสือพิมพ์ เป็นต้น

2.3 วัสดุอันตรายที่เป็นของเหลวควรแยกประเภท ไมเ่ ทรวมกัน โดยเก็บไวใ้ น
ภาชนะทีไ่ ม่รัว่ ซึม อยใู่ นที่ร่มและให้พ้นมอื เด็ก แล้วนาไปทงิ้ ในภาชนะหรือสถานท่ที ี่กาหนด
เพอ่ื รอการเก็บรวบรวมและนาไปกาจดั อย่างปลอดภัย

3. แยกทง้ิ ให้ถูกที่
แยกท้ิงให้ถกู ที่ ท้ิงวัสดทุ ี่เหลอื ใช้ ท่ีเป็นพิษ เช่น หลอดฟลอู อเรสเซนต์

ถ่านไฟฉาย ภาชนะบรรจสุ ารเคมี เปน็ ตน้ ในถังรองรับขยะอันตราย ทม่ี สี แี ดง เทา่ นนั้ ไม่ท้ิง
ขยะอนั ตรายปะปนไปกับขยะท่วั ไป และไม่นาไปเผา ฝงั ดินหรือท้งิ ลงท่อระบายน้า เพราะ
จะทาใหส้ ารพษิ มกี ารปนเปอื้ นในสิง่ แวดลอ้ มได้

4. ติดต่อหนว่ ยงานทมี่ ีหน้าทกี่ าจัดขยะมลู ฝอย
ติดต่อหนว่ ยงานท่ีมีหนา้ ท่ีกาจดั ขยะมลู ฝอย กรุงเทพมหานคร หรือ

องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน เพื่อรับขยะอันตรายนาไปกาจัดอยา่ งถูกวิธี

กิจกรรมท้ายหน่วยท่ี 5

หลงั จากทผี่ เู้ รยี นศึกษาเอกสารชุดการเรียนหน่วยที่ 5 จบแล้ว ใหผ้ เู้ รียนคน้ คว้า
เพ่มิ เตมิ จากแหล่งเรยี นรูต้ ่าง ๆ แล้วทากิจกรรมการเรียนรหู้ น่วยที่ 5 ในสมดุ บันทึกกจิ กรรม
การเรียนรู้ แลว้ จัดสง่ ตามท่ีผูส้ อนกาหนด

76

บรรณานกุ รม

กรมควบคุมมลพษิ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม. (2547).
การจัดการขยะมลู ฝอยอยา่ งครบวงจร (พิมพค์ ร้ังท่ี 4). กรงุ เทพฯ : ครุ ุสภาลาดพร้าว.

กรมควบคมุ มลพษิ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม. (2550). คู่มอื ประชาชน
เพือ่ การลด คัดแยก และใช้ประโยชนข์ ยะมูลฝอยชมุ ชน (พมิ พค์ รงั้ ท่ี 2). กรุงเทพฯ :
กชกร พับลิชชิง สานักจดั การกากของเสียและสารอันตราย กรมควบคุมมลพษิ .

กรมสง่ เสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม. (2557).
คมู่ ือการสร้างวนิ ยั สู่การจัดการขยะทย่ี ่งั ยนื . กรุงเทพมหานคร.

กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม. (2558).
คู่มือการดาเนนิ งานลดคดั แยกขยะมูลฝอยภายในอาคารสานักงาน. พิมพค์ รั้งท่ี 4.
กรุงเทพฯ : บรษิ ัทฮซี ์ จากัด.

กรมควบคมุ มลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม. (2558). คู่มือประชาชน
การคดั แยกขยะมลู ฝอยอยา่ งถูกวิธีและเพ่มิ มลู ค่า (พิมพ์ครัง้ ที่ 7). กรุงเทพฯ :
บริษทั ฮีซ์ จากดั .

ดลเดช ตง้ั ตระการพงษ์. (ม.ป.ป.). โครงการศกึ ษาวิจัยการบริหารจดั การขยะมูลฝอย
ในภาพรวมของจังหวัดสุโขทัย. กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลัยนเรศวร.

นฤมล พ่วงประสงค์. (2553). คูม่ ือขยันกอ่ นสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3. กรุงเทพฯ : แมค็ จากดั .

พริ ยี ุตม์ วรรณพฤกษ.์ (2555). การปรบั ปรงุ นโยบายการจัดการขยะมลู ฝอยของประเทศไทย.
สงขลา : บัณฑิตยม์ หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยานพิ นธป์ ริญญา
ครุศาสตรดุษฎบี ัณทิต (สาขาการจัดการสิง่ แวดล้อม). ถา่ ยเอกสาร.

ไพฑูรย์ ประสมศรี. (2543). วัสดุศาสตร.์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
สถาบนั ราชภฎั เพชรบุร.ี (ม.ป.พ.)

ลัดลาวัลย์ กัณหสวุ รรณ. (2547). การรีไซเคิลเพื่อประหยดั พลงั งาน. กรุงเทพฯ : นานมบี ๊คุ ส์
พบั ลิเคชัน่ ส์.

วงศวิวรรธ ธนศู ิลป์ และคณะ. (ม.ป.ป.). คมู่ อื ดาเนินการตั้งศนู ย์เรยี นรกู้ ารจัดการ
ขยะชุมชนและศูนย์ขยะรีไซเคลิ . ขอนแกน่ : ม.ป.ท.

77

วรรณทิพา รอดแรงคา้ และคณะ. (2559). หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์
ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5. กรงุ เทพฯ : บริษัทพฒั นาคุณภาพวิชาการ (พว.) จากัด.

สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2559).
หนงั สอื เรียนรายวชิ าพื้นฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4.
(พิมพ์ครงั้ ที่ 2). กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.

สมพงษ์ จันทร์โพธ์ศิ ร.ี (2558). คมู่ อื เตรียมสอบ วทิ ยาศาสตร์ ป.4-5-6.
กรุงเทพฯ : ไฮเอด็ พบั ลชิ ชง่ิ .

สินธุธ์ ู ลยารมภ์. (2559). เจาะลกึ เนื้อหา วิทยาศาสตร์ ป.3 ฉบับเขม้ ข้น.
กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพบั ลชิ ชิง่ .

สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สานักงานปลดั กระทรวง
ศึกษาธิการ. (2554). หนังสอื เรยี นสาระความรู้พ้นื ฐาน รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์
(พว 31001). (ม.ป.พ.).

78

ทมี่ าภาพประกอบชดุ วชิ า

หน่วยที่ 1 วัสดศุ าสตรร์ อบตวั

ภาพท่ี ชือ่ ภาพ ทม่ี า
ภาพท่ี 1.3 แสดงการนาความรอ้ น https://www.slideshare.net/golfsit/

ภาพท่ี 1.4 แสดงการแผ่รังสี 3-51084454

http://thanapat53a25.wikispaces.com/
3.การแผร่ ังสี (Radiation)

หน่วยท่ี 2 การใช้ประโยชนแ์ ละผลกระทบจากการใช้วัสดุ

ภาพที่ ช่อื ภาพ ทม่ี า
http://contentcenter.prd.go.th/content
ภาพท่ี 2.5 ผลกระทบของ
ขยะมูลฝอยต่อแมน่ า viewfullpage.aspx?folder=942&
ลาคลอง su bfolder=&contents=49849
http://www.thailandindustry.com/
ภาพที่ 2.6 ตวั อย่างฉลากสาหรับ indust_newweb/articles_preview.
สนิ ค้าหรอื บรกิ าร php?cid=19202
ประเภทท่ี 1 http://www.thaitextile.org/index.php/
blog/2016/05/ebook_Envo_04
ภาพที่ 2.7 ตัวอยา่ งฉลากสาหรบั
สนิ คา้ หรือบริการประเภท http://www.thaitextile.org/index.php/
ท่ี 2 blog/2016/05/ebook_Envo_04

ภาพที่ 2.8 ตวั อยา่ งฉลากสาหรบั http://www.thaitextile.org/index.php/
สินค้าหรอื บริการประเภท blog/2016/05/ebook_Envo_04
ที่ 3

ภาพที่ 2.9 ตัวอย่างฉลากสาหรบั
สินคา้ หรือบรกิ ารประเภท
ท่ี 4

79

หน่วยท่ี 3 การจัดการเศษซากวัสดุ

ภาพท่ี ชอ่ื ภาพ ทม่ี า

ภาพที่ 3.1 แสดงการกาจดั http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/

ขยะมูลฝอยด้วยวิธี book.php?book=15&chap=8&page=

การฝงั กลบ t15-8-infodetail05.html

ภาพที่ 3.5 การนาส่ิงของมา http://www.naibann.com/14-creative-low-

ดดั แปลงใช้ประโยชน์ budget-garden-planter-ideas/

ภาพท่ี 3.6 การรีไซเคลิ หรือ http://www.bantub.go.th/news-

การแปรรูปขยะนา promote-page.php?id=83

กลับมาใช้ใหม่

ภาพที่ 3.7 ภาพแสดงถงั ขยะ http://psu10725.com/2558/?p=1870

สเี ขยี วและสญั ลกั ษณ์

ภาพที่ 3.8 ภาพแสดงถงั ขยะ http://psu10725.com/2558/?p=1870

สเี หลืองและสญั ลกั ษณ์

ภาพที่ 3.9 ภาพแสดงถงั ขยะสแี ดง http://psu10725.com/2558/?p=1870

และสญั ลักษณ์

ภาพท่ี 3.10 ภาพแสดงถังขยะสฟี า้ http://psu10725.com/2558/?p=1870

หรือสนี าเงินและ

สญั ลักษณ์

ภาพที่ 3.11 ภาพแสดงถงั ขยะ http://www.thaihealth.or.th/Content/

สขี าวติดสตกิ เกอร์ 31859-

สญั ลกั ษณ์และขอ้ ความ

ประเภทขยะ

ภาพที่ 3.12 ภาพเตาเผาวัสดุ https://th.wikipedia.org/wiki/การเผาขยะ

80

หน่วยที่ 3 การจัดการเศษซากวัสดุ (ต่อ)

ภาพท่ี ช่อื ภาพ ทมี่ า

ภาพที่ 3.13 การเผาเศษวัสดุเหลือทิง https://th.wikipedia.org/wiki/การเผาขยะ

เชิงตะกอน

รปู ที่ 3.14 ถงั เผาเศษวสั ดุเหลือทิง http://www.engineer.mju.ac.th/wtms_webpag

eDetail.aspx?wID=1260

ภาพท่ี 3.15 ห้องเผาของเตาแบบ https://th.wikipedia.org/wiki/การเผาขยะ

ตะกรับเคลื่อนท่ี ท่สี ามารถ

จดั การกับเศษวสั ดุ

15 ตันตอ่ ช่วั โมง

ภาพที่ 3.16 เตาเผาแบบหมนุ https://thai.alibaba.com/product-detail/
carbonizer-rotary-kiln-rotary- kiln-

sponge-iron-rotary-kiln-cement-

plant-1404895874.html

ภาพท่ี 3.17 ขยะที่ถกู บีบอดั http://www.prdnorth.in.th/ct/news/

เปน็ ก้อนเพ่ือลด viewnews.php?ID=150829113541

ปริมาณขยะ

81

หน่วยท่ี 4 การคดั แยกและรีไซเคลิ วัสดุ

ภาพท่ี ชือ่ ภาพ ที่มา

ภาพท่ี 4.6 แสดงตารางสญั ลักษณ์ http://www.2bgreen4ever.com/

พลาสตกิ และตัวอยา่ ง 14875230/การจัดการขยะ-รไี ซค์เคิล

ภาพท่ี 4.7 ภาชนะทผี่ ลติ จาก http://must.co.th/?page=news

เทอร์โมเซตติงพลาสติก

(Thermosetting plastic)

ภาพที่ 4.8 ด้ายซา้ ย แก้วดนี าไปรยี ูส http://www.2bgreen4ever.com/

ด้านขวา แก้วแตกเข้า 14875230/การจดั การขยะ-รไี ซค์เคิล

กระบวนการรีไซเคลิ

ภาพที่ 4.12 ซา้ ยอะลมู ิเนียมหนา http://www.kkworldrecycle.com/th/inde

และขวาอะลมู เิ นยี มบาง x_metal.html

82

คณะผู้จัดทำตน้ ฉบบั

ที่ปรึกษำ ผอู้ านวยการสถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
นายวิเชียรโชติ โสอุบล รองผอู้ านวยการสถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื
นายทรงเดช โคตรสนิ

ผเู้ ชย่ี วชำญเนือ้ หำ อาจารย์ประจาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์
นายฐติ ิพงษ์ อนุ่ ใจ มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุบลราชธานี

ผู้เช่ียวชำญด้ำนเทคโนโลยี ครู วิทยฐานะครชู านาญการพเิ ศษ
นายสิทธิพร ประสารแซ่ สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
ครู วิทยฐานะครชู านาญการพเิ ศษ
นายไพจิตร ผดุ เพชรแกว้ สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
ครู วทิ ยฐานะครชู านาญการพิเศษ
นายสุชาติ สวุ รรณประทีป สถาบนั กศน. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ
ครู วิทยฐานะครชู านาญการพเิ ศษ
นายสมชาย คาเพราะ สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ

ผเู้ ชี่ยวชำญดำ้ นวัดและประเมินผล ครู วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ
นางสาวนาลวี รรณ บุญประสงค์ สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื
ครู วิทยาฐานะครชู านาญการพิเศษ
นางสาวฉนั ทลักษณ์ ศรผี า สถาบัน กศน. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื
ครู วทิ ยฐานะครชู านาญการพิเศษ
นางแสงจนั ทร์ เขจรศาสตร์ สถาบนั กศน. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

83

คณะบรรณำธกิ ำร ตรวจสอบควำมถกู ต้องและพิสจู นอ์ ักษร

นายฐติ ิพงษ์ อ่นุ ใจ อาจารย์ประจาวชิ าฟสิ กิ ส์ คณะวทิ ยาศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

นางลดั ดา คัมภรี ะ ครู วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ

สถาบัน กศน. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ

นางสาววภิ านิตย์ สุขเกษม ครู วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ

สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

นางนิทรา วสุเพญ็ ครู วิทยฐานะครชู านาญการพิเศษ

สถาบัน กศน.ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื

นางสุวมิ ล ทรงประโคน ครู วทิ ยฐานะครูชานาญการพเิ ศษ

สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ

นางทวภี รณ์ บุญลา ครู วทิ ยฐานะครูชานาญการพเิ ศษ

สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

นางแสงจนั ทร์ เขจรศาสตร์ ครู วิทยฐานะครชู านาญการพิเศษ

สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

นางสาวธนาภรณ์ แสงใส ครู

กศน.อาเภอวาปปปทุม

นางศรัญญา โนนคู่เขตโขง ครู

สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

นางอรญั ญา บวั งาม ขา้ ราชการบานาญ

สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

ผู้เขียน/รวบรวม/เรยี บเรียง ครู กศน.อาเภอวาปปป ทมุ จังหวดั มหาสารคาม
นางสาวธนาภรณ์ แสงใส

ผอู้ อกแบบปก กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและ
นายศภุ โชค ศรรี ตั นศลิ ป์ การศึกษาตามอธั ยาศยั


Click to View FlipBook Version