สมดุ บันทึกกจิ กรรมการเรยี นรู้
ชุดวชิ า การเงินเพือ่ ชวี ติ 3
รายวชิ าเลอื กบงั คับ
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
รหสั สค32029
หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551
สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
กระทรวงศกึ ษาธิการ
สมดุ บนั ทึกกจิ กรรมการเรียนรู้ ชุดวชิ าการเงินเพ่ือชวี ติ 3 | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
คานา
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ชุดวิชาการเงินเพ่ือชีวิต ท้ัง 3 ระดับ นี้ เป็นสมุด
บันทึกสาหรบั ทากิจกรรมท่กี าหนดไว้ในชดุ วิชา เพื่อให้ผูเ้ รยี นได้ทดสอบ ความรู้ความเข้าใจ และ
ฝกึ ทกั ษะประสบการณ์ทจี่ าเปน็ ในวชิ าการเงินท้งั 3 ระดบั
กิจกรรมที่กาหนดจะช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียน มีประสิทธิภาพในการเรียนรู้เพ่ิมข้ึน
ในแตล่ ะเรอ่ื ง โดยกิจกรรมจะประกอบด้วย
1. กิจกรรมประเมินผลการเรียนรู้ จากบทเรียนที่ผู้เรียนได้ศึกษามา ซึ่งกิจกรรมน้ี
จะมีแนวทางเฉลยคาตอบใหผ้ ู้เรียนไดต้ รวจสอบไดด้ ว้ ยตนเองทา้ ยเล่ม
2. กจิ กรรม การนาความรไู้ ปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจาวัน
3. กิจกรรม ปฏิบัติ และเก็บข้อมลู สถติ ิดว้ ยตนเอง
4. กจิ กรรม การคน้ คว้า และแสดงความคิดเหน็
5. กิจกรรม ทดลอง ปฏิบัติ จากวัสดอุ ุปกรณท์ ่ีหาไดจ้ ากท้องถนิ่
สานกั งาน กศน. หวงั ว่า เมื่อผู้เรยี นไดศ้ ึกษาจากชดุ วิชา พรอ้ มไดท้ ดสอบ ปฏิบตั ิ
และทากิจกรรม ตามคาแนะนาอย่างสมบูรณ์ครบถ้วนแล้ว ผู้เรียนจะประสบความสาเร็จ
ในการศกึ ษาได้
สานักงาน กศน.
กรกฎาคม 2559
สมดุ บันทึกกิจกรรมการเรยี นรู้ ชุดวิชาการเงินเพ่ือชวี ติ 3 | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
คาชีแ้ จงการใช้สมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้
สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้นี้ ใช้ควบคู่กับชุดวิชา การเงินเพ่ือชีวิ ต 3
สค32029 ให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนของชุดวิชาตามที่กาหนด เพื่อให้ผู้เรียนทราบ
ความร้พู ื้นฐาน และตรวจคาตอบจากเฉลยแบบทดสอบท้ายเล่มของชุดวิชา หลักจากนั้นผู้เรียน
ศึกษาเน้ือหาในชุดวิชาในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ และให้ทากิจกรรมท้ายเร่ืองของแต่ละ
หน่วยการเรยี นรลู้ งในสมุดบันทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้ ผูเ้ รียนสามารถตรวจคาตอบจากเฉลยท้าย
เล่มของชุดวิชา หากผู้เรียนทากิจกรรมไม่ถูกต้องให้กลับไปทบทวนเน้ือหาสาระในเรื่องน้ัน
ให้เข้าใจ แล้วทากิจกรรมเรียนรู้ซ้าอีกครั้งจนถูกต้อง และเมื่อทากิจกรรมการเรียนรู้ครบทุก
หน่วยการเรียนรู้แล้ว ให้ทาแบบทดสอบหลังเรียนและตรวจคาตอบจากเฉลยท้ายเล่มของชดุ วิชา
ในการทากิจกรรมการเรียนรู้นี้ ผู้เรียนต้องทากิจกรรมด้วยตนเองให้ครบถ้วน
ทุกกิจกรรม เพื่อให้การเรียนรู้ของผู้เรียนมีประสิทธิภาพประสิทธิผลบรรลุผลการเรียนรู้
ที่คาดหวังของชดุ วิชาน้ี
สมดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรู้ ชุดวชิ าการเงินเพอ่ื ชีวติ 3 | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
สารบัญ หน้า
คานา 1
คาชแ้ี จงการใชส้ มดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้ 9
สารบญั 9
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 11
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 วา่ ดว้ ยเร่ืองของเงิน 14
19
กจิ กรรมท้ายเรอ่ื งที่ 1 ความหมายและประโยชน์ 22
กิจกรรมทา้ ยเรื่องท่ี 2 ประเภทของเงนิ
กิจกรรมท้ายเร่อื งที่ 3 เงินฝาก การประกันภัย และการลงทนุ 24
กิจกรรมท้ายเร่ืองที่ 4 การชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ 24
กจิ กรรมทา้ ยเรื่องที่ 5 ผู้ให้บรกิ ารทางการเงินในประเทศไทย 26
31
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การวางแผนการเงิน 36
กจิ กรรมทา้ ยเรื่องท่ี 1 การร้จู ักฐานะการเงนิ ของตนเอง 40
กจิ กรรมทา้ ยเรื่องท่ี 2 การประเมนิ ฐานะการเงินของตนเอง
กจิ กรรมทา้ ยเร่อื งที่ 3 การบนั ทึกรายรบั -รายจา่ ย 43
กจิ กรรมทา้ ยเรื่องท่ี 4 การตงั้ เป้าหมายและจดั ทาแผนการเงนิ 43
กิจกรรมทา้ ยเรอ่ื งท่ี 5 การออม
46
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 3 สนิ เชอ่ื 47
กิจกรรมท้ายเรื่องท่ี 2 ลกั ษณะของสินเชอ่ื รายย่อย 48
และการคานวณดอกเบีย้ 49
กจิ กรรมทา้ ยเรื่องท่ี 3 เครดติ บูโร
กิจกรรมทา้ ยเรื่องท่ี 4 วิธีการป้องกันปัญหาหน้ี
กิจกรรมทา้ ยเรื่องที่ 5 วิธีการแก้ไขปญั หาหน้ี
กิจกรรมทา้ ยเรอ่ื งท่ี 6 หน่วยงานทใี่ ห้คาปรึกษา
วิธีการแก้ไขปัญหาหน้ี
สมดุ บนั ทึกกจิ กรรมการเรยี นรู้ ชุดวิชาการเงนิ เพ่อื ชีวิต 3 | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
สารบัญ (ต่อ) หน้า
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4 สทิ ธิและหน้าท่ขี องผู้ใช้บรกิ ารทางการเงิน 50
กิจกรรมทา้ ยเรื่องท่ี 1 สิทธิของผู้ใชบ้ รกิ ารทางการเงนิ 50
กิจกรรมท้ายเรอ่ื งที่ 2 หน้าที่ของผใู้ ช้บริการทางการเงนิ 53
กิจกรรมทา้ ยเรอ่ื งท่ี 3 บทบาทศนู ยค์ มุ้ ครอง 57
ผใู้ ช้บรกิ ารทางการเงิน (ศดง.)
และหน่วยงานที่รับเร่อื งร้องเรยี นอืน่ ๆ 58
กิจกรรมท้ายเรอ่ื งท่ี 4 ขั้นตอนการร้องเรียนและ
หลักการเขียนหนงั สือร้องเรยี น 59
59
หน่ายการเรียนรู้ท่ี 5 ภัยการเงิน 62
กจิ กรรมทา้ ยเรื่องที่ 1 หนี้นอกระบบ 65
กิจกรรมท้ายเรอื่ งท่ี 2 แชร์ลูกโซ่ 67
กิจกรรมท้ายเร่ืองท่ี 3 ภัยใกล้ตัว 69
กิจกรรมท้ายเรื่องท่ี 4 แก๊งคอลเซนเตอร์ 71
กิจกรรมท้ายเรื่องที่ 5 ภัยออนไลน์ 73
กิจกรรมทา้ ยเรอื่ งท่ี 6 ภัยธนาคารออนไลน์
กจิ กรรมทา้ ยเรื่องท่ี 7 ภัยบตั รอิเล็กทรอนิกส์ 75
83
แบบทดสอบหลังเรยี น
คณะผ้จู ัดทา
สมุดบันทึกกจิ กรรมการเรียนรู้ ชุดวชิ าการเงินเพ่อื ชวี ิต 3 | ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
1
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
คาชี้แจง ใหผ้ ูเ้ รยี นเลือกคาตอบโดยกากบาท ( X ) ข้อท่ถี ูกท่สี ดุ เพียงขอ้ เดียว
1. การใหย้ ืมเงนิ หมายถงึ ข้อใด
ก) การให้เงนิ โดยคาดหวังให้มกี ารจา่ ยคนื
ข) การให้เงินโดยไม่ไดห้ วงั ผลตอบแทน
ค) การให้เงินโดยไมต่ ้องจ่ายคืน
ง) ผดิ ทกุ ข้อ
2. ขอ้ ใดตอ่ ไปนี้คอื วธิ ีตรวจสอบธนบตั ร
ก) สัมผสั เนอื้ กระดาษ และลวดลายเสน้ นูน
ข) ยกสอ่ งดลู ายนา้
ค) พลิกเอียงสังเกตแถบฟอยล์สามมิติ
ง) ถูกทกุ ข้อ
3. ข้อใดตอ่ ไปน้กี ล่าวถกู ต้อง
ก) บัญชเี งนิ ฝากท่คี วรเปิดเพื่อไวร้ ับเงินเดอื นหรือคา่ จา้ ง คอื บัญชีเงนิ ฝากประจา
ข) บัญชีเงนิ ฝากในสหกรณ์จะไดร้ ับความคุ้มครองจากสถาบนั คมุ้ ครองเงนิ ฝากหาก
สหกรณป์ ดิ กจิ การลง
ค) บัญชีเงินฝากประจาได้รับการยกเวน้ ภาษี ณ ทีจ่ ่าย 15%
ง) การทาประกนั ค้มุ ครองความเสยี หายของบา้ นจัดเป็นประกนั วนิ าศภัย
4. ขอ้ ใดต่อไปน้กี ล่าวถูกตอ้ ง
ก) ใชบ้ ัตรเอทีเอม็ ซ้ือสนิ ค้าได้ที่ร้านค้า
ข) ใชบ้ ตั รเดบติ เบกิ เงินก้ไู ดท้ เ่ี ครือ่ งเอทีเอ็ม
ค) ชาระเงินค่าสนิ ค้าผา่ น Internet banking ยอดเงินฝากในบญั ชีจะถูกตัดทันที
ง) เมอื่ ซอ้ื ของดว้ ยบตั รเครดิต ยอดเงนิ ฝากในบญั ชีจะถูกตัดทนั ที
แบบทดสอบก่อนเรยี น ชุดวิชาการเงนิ เพอ่ื ชวี ติ 3 l ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
2
5. ธนาคารพาณิชย์อยู่ภายใตก้ ารกากบั ดแู ลของหน่วยงานใด
ก) คณะกรรมการกากับหลกั ทรัพย์และตลาดหลกั ทรพั ย์
ข) กระทรวงการคลงั
ค) ธนาคารแห่งประเทศไทย
ง) กระทรวงพาณิชย์
6. หากตอ้ งการแลกเงนิ บาทเป็นเงนิ ตราต่างประเทศ จะต้องไปแลกเปล่ยี นท่ใี ด
ก) ร้านคา้ สะดวกซ้ือ
ข) ธนาคารพาณิชย์ทใ่ี ห้บริการแลกเปลีย่ น
ค) โรงแรมหรอื บริษทั ทีไ่ ดร้ ับอนุญาตใหป้ ระกอบธุรกิจแลกเปล่ยี นเงินตราต่างประเทศ
ง) ถูกทง้ั ขอ้ ข) และ ค)
7. ขอ้ ใดกล่าวถกู ต้องเกยี่ วกบั การประเมนิ ฐานะการเงิน
ก) มูลคา่ ของบา้ นท่ีใชใ้ นการคานวณมลู ค่าสินทรพั ย์ ให้ใชร้ าคาตลาด
ข) ความม่งั ค่ังสุทธคิ านวณมาจากทรพั ย์สิน + หนี้สนิ
ค) รายได้ต่อเดอื นและทรพั ย์สนิ ทม่ี ี ใช้บอกความมงั่ ค่งั ของบุคคลได้
ง) ประกนั ชีวติ แบบสะสมทรัพย์และกองทุนรวม เป็นสินทรพั ย์สภาพคลอ่ ง
8. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ลักษณะการมีสุขภาพการเงนิ ที่ดี
ก) มีภาระหนไี้ มเ่ กนิ 33% ของรายไดต้ อ่ เดือน
ข) มเี งินออมเผอ่ื ฉกุ เฉินไมเ่ กิน 3 เทา่ ของรายจ่ายจาเป็นตอ่ เดือน
ค) ออมเงนิ อยา่ งน้อย 25% ของรายได้ต่อเดอื น
ง) ถูกทุกข้อ
แบบทดสอบก่อนเรยี น ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวติ 3 l ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
3
9. ขอ้ ใดกล่าวถกู ตอ้ งเกีย่ วกับรายจ่ายไม่จาเป็น
ก) เป็นรายจา่ ยทจ่ี ะต้องจา่ ย ไมส่ ามารถตดั ออกได้
ข) เปน็ รายจ่ายทไ่ี ม่สาคัญตอ่ ชวี ิต แตเ่ กดิ ข้ึนเพราะความรสู้ ึกอยากได้ เช่น ค่าแตง่ รถ
ค) เป็นรายจา่ ยสาคัญสาหรบั ชวี ติ เชน่ ค่าอาหาร ค่าเช่าบา้ น
ง) เป็นรายจา่ ยท่ที ุกคนมีในจานวนเท่ากัน
10. ขอ้ ใดกลา่ วถูกต้องเกี่ยวกับเป้าหมายทางการเงนิ ท่ดี ี
ก) เป้าหมายการเงนิ ตอ้ งสอดคลอ้ งกบั ความสามารถทางการเงิน
ข) “ฉันจะเกบ็ เงนิ เพื่อเรยี นต่อให้ได้ภายในปนี ้ี” เป็นเป้าหมายการเงินท่ีวัดผลไดจ้ รงิ
ค) เมอ่ื เรมิ่ ตน้ ทางานควรต้ังเป้าหมายการออมเงนิ ไว้ใช้ในยามสงู วยั เปน็ เป้าหมายระยะ
กลาง (บรรลไุ ด้ในระยะเวลา 1 - 3 ปี)
ง) เป้าหมายทางการเงนิ ควรครอบคลุมถงึ เป้าหมายท้งั หมดในชีวติ
11. ขอ้ ใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกบั หลักการออมเงินของกองทุนการออมแหง่ ชาติ (กอช.)
ก) เปน็ กองทุนสาหรบั ประชาชนทมี่ ีอายุตง้ั แต่ 1 ปขี ึน้ ไป และออมไดจ้ นถึงอายุ 99 ปี
ข) สมาชกิ จาเปน็ ตอ้ งสง่ เงินสะสมทุกเดอื น
ค) สมาชิกจะส่งเงินสะสมครั้งละก่ีบาทก็ได้ ไม่จากดั จานวนเงิน
ง) หากสมาชกิ ไม่ส่งเงนิ เขา้ กองทนุ รัฐกจ็ ะไมจ่ ่ายเงินสมทบ
12. ขอ้ ใดไม่ใช่ลักษณะของสนิ เชื่อส่วนบุคคลภายใต้การกากบั
ก) ใชส้ าหรบั ผอ่ นรถยนต์
ข) สามารถทยอยผอ่ นคนื เปน็ รายเดอื นได้
ค) ใชไ้ ดเ้ ฉพาะรา้ นค้าทรี่ ่วมรายการ
ง) มีการกาหนดวงเงินที่ได้รับอนุมัติ
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ชุดวิชาการเงนิ เพอ่ื ชวี ติ 3 l ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
4
13. วิธคี ดิ ดอกเบ้ียแบบเงนิ ตน้ คงทม่ี ักใชก้ ับบริการประเภทใด
ก) สินเชือ่ เพ่อื ทอ่ี ยอู่ าศัย
ข) บตั รเครดติ
ค) เชา่ ซือ้ รถ
ง) ถกู ทกุ ขอ้
14. ข้อใดกลา่ วถูกตอ้ งเก่ียวกบั การคดิ ดอกเบีย้ แบบลดต้นลดดอก
ก) เงินตน้ ลด ดอกเบี้ยกจ็ ะลด
ข) เงนิ ต้นลด ดอกเบ้ียกจ็ ะเพ่ิม
ค) เงินตน้ และดอกเบ้ยี ไมเ่ ปลย่ี นแปลง
ง) ถกู ทุกขอ้
15.ขอ้ ใดไม่ถกู ต้องเก่ียวกับการจดั เกบ็ และเปดิ เผยข้อมลู ประวัตกิ ารชาระหนขี้ องเครดิตบโู ร
(บริษทั ขอ้ มูลเครดิตแห่งชาติ จากัด: NCB)
ก) เจา้ ของข้อมูล (ผู้ขอสนิ เชอ่ื ) สามารถขอตรวจสอบขอ้ มูลเครดติ ของตนเองได้
ข) ธนาคาร (ผู้ให้สนิ เชอื่ ) สามารถขอดูข้อมลู ได้กต็ อ่ เมอื่ เจ้าของขอ้ มลู (ผูข้ อสินเชื่อ)
ให้ความยินยอม
ค) NCB จะขน้ึ บัญชีดาหากลูกหนี้มีประวัตคิ า้ งชาระหน้ี
ง) NCB จะเกบ็ ขอ้ มูลไว้ไมเ่ กิน 3 ปีนับแต่วันท่ไี ดร้ ับข้อมูลจากสมาชกิ เช่น ธนาคาร
(ผู้ให้สนิ เชอื่ )
16. ข้อใดไมใ่ ช่การแกไ้ ขปัญหาน้ีด้วยตนเอง
ก) เปลีย่ นความเชื่อเกย่ี วกบั หน้ี
ข) ลดรายจา่ ยเพ่ิมรายได้
ค) ขายสนิ ทรพั ย์ที่ไม่จาเปน็
ง) ขอปรับปรุงโครงสร้างหนก้ี ับเจา้ หน้ี
แบบทดสอบก่อนเรยี น ชุดวชิ าการเงนิ เพ่ือชวี ิต 3 l ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
5
17. ผู้ทตี่ อ้ งการขอปรับปรุงโครงสร้างหนค้ี วรตดิ ต่อใคร
ก) ลกู หนี้
ข) เจา้ หน้ี
ค) ศาล
ง) ศูนยค์ ุ้มครองผ้ใู ช้บรกิ ารทางการเงิน
18. ข้อใดไมใ่ ช่สิทธิของผใู้ ช้บริการทางการเงิน
ก) สิทธิทจ่ี ะได้รับขอ้ มลู ทถี่ ูกต้อง
ข) สิทธทิ ีจ่ ะเลือกใชผ้ ลิตภณั ฑแ์ ละบรกิ ารไดอ้ ยา่ งอสิ ระ
ค) สทิ ธทิ ีจ่ ะรอ้ งเรยี นเพ่ือความเป็นธรรม
ง) สิทธิทจ่ี ะได้รบั คา่ ชดเชยหากผู้ใช้บรกิ ารเปน็ ผูท้ าผดิ พลาด
19. นายกอบนาเงินเดือนทั้งหมดท่ไี ด้รบั ไปซื้อมือถอื ใหม่ โดยไม่คานงึ ถึงคา่ ใชจ้ า่ ยท่ีจะ
เกิดข้นึ ทาให้มีเงนิ ไม่พอท่ีจะกนิ ขา้ ว และตอ้ งเบี้ยวหนเ้ี พราะเงนิ หมด นายกอบ
ไม่ปฏิบัติหน้าทขี่ องผูใ้ ช้บริการทางการเงนิ ในข้อใด
ก) หนา้ ทวี่ างแผนทางการเงินและชาระหน้เี มอื่ เป็นหนี้
ข) หนา้ ที่ติดตามขา่ วสารทางการเงินอย่างสม่าเสมอ
ค) หนา้ ทศ่ี กึ ษารายละเอียดและเปรียบเทียบขอ้ มลู ก่อนเลือกใช้
ง) หนา้ ทตี่ รวจทานความถูกต้องของธรุ กรรมทางการเงินทกุ ครงั้
20. ในระหวา่ งการทาสัญญาเงินกู้ พนกั งานธนาคารไดอ้ ธิบายรายละเอยี ดต่าง ๆ เช่น
กาหนดเวลาการชาระหนี้ อตั ราดอกเบย้ี ต่อปี ค่าใช้จ่ายที่เกีย่ วขอ้ ง แต่คุณไม่เข้าใจ
คุณจะทาอย่างไร
ก) เซน็ ชอ่ื ในสัญญาเงนิ กู้เลย เพราะพนักงานธนาคารมีความรู้และเชอื่ ถอื ได้
ข) เซน็ ชอ่ื ในสญั ญาเงนิ กูต้ ามทพี่ นักงานบอก แลว้ ค่อยสอบถามเพ่มิ เติมทีหลัง
ค) เซ็นช่ือในสญั ญาเงนิ กไู้ ปก่อน แล้วคอ่ ยขอเอกสารของพนักงานมาอ่านทหี ลงั
ง) สอบถามพนักงานเพิ่มเตมิ จนเขา้ ใจเสยี ก่อน แลว้ คอ่ ยเซ็นช่อื ในเอกสารสัญญาเงินกู้
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ชุดวชิ าการเงนิ เพอ่ื ชีวิต 3 l ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
6
21. หากร้องเรยี นไปยังธนาคาร ในกรณีท่พี นักงานอ้างว่าไมส่ ามารถเปดิ บญั ชีเงนิ ฝากได้
ถ้าไม่ทาบตั รเดบติ และไมไ่ ดร้ ับการตดิ ต่อภายในระยะเวลาการให้บริการมาตรฐาน
ควรร้องเรียนหรือขอรับคาปรกึ ษาไดจ้ ากหนว่ ยงานใด
ก) สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองผบู้ รโิ ภค (สคบ.) โทร. 1166
ข) ศนู ย์คุ้มครองผใู้ ชบ้ ริการทางการเงิน (ศคง.) โทร. 1213
ค) สานกั งานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) โทร. 1359
ง) สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพยแ์ ละตลาดหลักทรพั ย์ โทร. 1207
22. ขอ้ ใดไมใ่ ช่สิ่งที่ควรปฏบิ ัตใิ นการเขียนหนงั สือร้องเรยี น
ก) ใหข้ อ้ มูลทีส่ าคัญอย่างครบถ้วน
ข) แจง้ ขอ้ มลู ส่วนตวั เชน่ ชอ่ื ทอี่ ยู่ เบอร์โทรศพั ท์ และแจง้ สง่ิ ท่ีต้องการใหส้ ถาบัน
การเงินดาเนนิ การ
ค) เลา่ เหตุการณ์ทงั้ ที่เกยี่ วขอ้ งและไม่เกย่ี วข้อง โดยไมจ่ าเป็นต้องเรียงลาดับ
ง) แนบเอกสารทเ่ี กีย่ วข้องให้ครบถ้วน
23. หากไดร้ บั การปฏิบตั ิท่ีไม่ถกู ตอ้ งหรอื ถกู เอาเปรยี บจากพนักงานของสถาบันการเงิน
ควรปฏิบตั ิอยา่ งไร
ก) ร้องเรียนไปยงั ธนาคารที่เกี่ยวข้องและศูนย์คมุ้ ครองผ้ใู ชบ้ รกิ ารทางการเงินพร้อม ๆ
กัน
ข) รอ้ งเรยี นไปยงั ธนาคารที่เกี่ยวขอ้ งก่อน และหากไม่ไดร้ บั การติดต่อกลบั ภายใน
ระยะเวลาการใหบ้ ริการมาตรฐาน ใหข้ อคาปรึกษา/รอ้ งเรยี นทีศ่ นู ย์คมุ้ ครองผ้ใู ช้บริการ
ทางการเงิน (ศคง.)
ค) ร้องเรยี นไปยงั ทกุ หน่วยงานที่ดเู หมอื นจะเก่ียวข้อง
ง) ไม่ร้องเรียนไปที่ใดเลย เพราะทาใหเ้ สยี เวลา
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ชุดวชิ าการเงินเพื่อชวี ติ 3 l ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
7
24. มิจฉาชพี มกั ใช้จดุ ออ่ นใดในการหลอกเหยื่อ
ก) ความโลภ
ข) ความกลัว
ค) ความไมร่ ู้
ง) ถูกทุกข้อ
25. ข้อใดควรปฏิบัตเิ พอื่ หลีกเลีย่ งธุรกจิ ขายตรงแอบแฝงแชรล์ กู โซ่
ก) ปฏิเสธการรว่ มสัมมนาทนี่ ่าสงสยั
ข) เขยี นประกาศหางาน Part Time ผา่ นเว็บบอรด์ ในอินเทอร์เนต็
ค) เปิดเผยข้อมูลสว่ นตวั เช่น เบอรโ์ ทรศัพท์ ชือ่ บญั ชอี ีเมล ในสงั คมออนไลน์ (social
media)
ง) ไปร่วมงานสัมมนาทเ่ี พื่อนชักชวนทุกงานเพ่อื เพม่ิ ความรู้
26. หากได้รบั การติดตอ่ จากหน่วยงานทางการให้โอนเงินค่าธรรมเนียม คุณควรทาอย่างไร
ก) ต่อวา่ กลบั อยา่ งรุนแรงโดยไมฟ่ งั ข้อความใด ๆ
ข) โอนเงินทันทีเพือ่ แสดงความบรสิ ทุ ธ์ิใจ
ค) ติดต่อสอบถามหน่วยงานท่ถี ูกอา้ งถงึ ก่อนโอนเงนิ
ง) ขอตอ่ รองราคาเมอ่ื เงนิ ไม่พอค่าธรรมเนียม
27. หากได้รบั การตดิ ตอ่ ขอใชบ้ ญั ชเี งนิ ฝากของคณุ เปน็ ที่รบั เงิน โดยให้หักค่าจา้ งจากเงนิ
ท่ีจะโอนเข้ามาในบญั ชีเลย คุณควรทาอย่างไร
ก) ตอบตกลงทันที เพราะทาง่าย ไมต่ ้องลงทนุ
ข) ตอบตกลงและไปชักชวนเพือ่ นให้มาทาด้วย
ค) ต่อรองใหไ้ ดค้ ่าจ้างทพี่ อใจ แลว้ คอ่ ยตัดสนิ ใจ
ง) ปฏิเสธทันที เพราะเงินท่ีโอนเข้ามาอาจผดิ กฎหมาย
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ชุดวชิ าการเงินเพอ่ื ชีวติ 3 l ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
8
28. ขอ้ ใดควรกระทาเมือ่ ใช้สอื่ สังคมออนไลน์ (social media)
ก) โชว์ภาพถ่ายตนเองถอื เงินสดจานวนมาก พร้อมเครอื่ งประดบั มคี ่า
ข) ไม่เปิดเผยข้อมูลสว่ นตัวทุกอย่างบน social media
ค) เปิดคลิปวดิ โี อทกุ ลงิ ก์ท่มี คี นแชร์และบอกว่าเป็นคลิปเด็ด
ง) Check in ทุกสถานทไ่ี ปแม้กระทงั่ บา้ นตนเอง
29. ขอ้ ใดไม่ใช่วธิ ีการป้องกนั ภัยธนาคารออนไลน์
ก) ใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตสาธารณะ (ฟรี Wi-Fi) ในการทาธุรกรรมทางการเงิน
ข) ไมต่ ดิ ตงั้ โปรแกรมแปลก ๆ ทีไ่ มร่ ู้จักในคอมพิวเตอร์หรอื สมาร์ตโฟน
ค) จากดั วงเงนิ ในการทาธรุ กรรมผ่านธนาคารออนไลน์
ง) สังเกตเวบ็ ไซตก์ ่อนลงชอื่ เขา้ ใช้งานธนาคารออนไลน์
30. ข้อใดกล่าวถกู ตอ้ งเกย่ี วกบั การป้องกันภัยบตั รอิเลก็ ทรอนิกส์
ก) ไมต่ ้องสงั เกตวา่ มแี ปน้ กดปลอม/กลอ้ งจว๋ิ แอบดรู หัสหรือไม่ หากเปน็ เครอื่ งเอทีเอม็
หนา้ สาขาธนาคารหรือแหลง่ ชมุ ชน เพราะวา่ เปน็ จดุ ทปี่ ลอดภัย
ข) เฝา้ สังเกตบัตรเมือ่ ใชช้ าระค่าสนิ คา้ เพือ่ ระวงั การถกู ขโมยข้อมลู ด้วยเครื่องสกมิ เมอร์
แบบพกพา
ค) ทง้ิ สลิปเอทีเอม็ ทไี่ หนก็ได้ เพราะในสลิปไม่มีข้อมลู ส่วนตัวของเจา้ ของบัญชี
ง) ฝากเพื่อนไปกดเอทีเอม็ เฉพาะวนั ทีง่ านยุง่ จริง ๆ
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ชุดวชิ าการเงินเพอ่ื ชีวติ 3 l ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
9
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
วา่ ด้วยเรื่องของเงิน
กิจกรรมท้ายเรอื่ งที่ 1 ความหมายและประโยชน์ของเงิน
ใหเ้ ลอื กคาตอบทถ่ี กู ต้องทส่ี ดุ เพยี งคาตอบเดยี ว
1. ข้อใดตอ่ ไปนไ้ี ม่ถกู ตอ้ ง
ก) เงิน คอื วัตถทุ ี่กาหนดใหใ้ ช้เปน็ ส่ือกลางในการแลกเปลีย่ นหรอื ชาระหน้ี
ข) เงนิ มี 2 รปู แบบเทา่ นน้ั คอื ธนบตั รและเหรยี ญกษาปณ์
ค) เงนิ มปี ระโยชนห์ ลายอย่าง เชน่ ใชซ้ ้ือหาอาหาร สิง่ ของจาเป็น การศกึ ษา
2. ขอ้ ใดต่อไปน้เี ปน็ การใหเ้ งิน
ก) วารใี ห้เงินกานดาไปจ่ายค่ารกั ษาพยาบาล โดยบอกว่าสิ้นเดือนค่อยมาจ่ายคืน
ข) ธนาคารมุ่งมั่นให้สายใจกู้ยืมเงินปลูกบ้าน โดยให้ผ่อนชาระเงินต้นพร้อมดอกเบี้ยคืน
ทุก ๆ เดอื น เป็นระยะเวลา 20 ปี
ค) วารีให้เงนิ นอ้ งชายไปดาวน์รถ
3. ข้อใดคอื สงิ่ ทไ่ี ม่ควรทา
ก) วางแผนการเงิน
ข) ใช้จา่ ยในส่งิ ทจ่ี าเป็นกอ่ นส่ิงทอ่ี ยากได้
ค) ใช้จา่ ยก่อน เหลอื แล้วคอ่ ยออม
กจิ กรรมการเรียนรู้ ชุดวชิ าการเงนิ เพอ่ื ชวี ติ 3 l หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 ว่าด้วยเรอื่ งของเงนิ
10
4. ภาวะเงินฝืด หมายถึงข้อใดต่อไปน้ี
ก) ภาวะทร่ี ะดบั ราคาสนิ คา้ โดยท่วั ไปลดตา่ ลงเร่อื ย ๆ
ข) ภาวะทีร่ ะดบั ราคาสนิ คา้ โดยทวั่ ไปเพม่ิ ขนึ้ อย่างตอ่ เนอ่ื ง
ค) ภาวะทผ่ี ู้บรโิ ภคตอ้ งจ่ายเงินเพอื่ ซอื้ สินค้ามากข้ึน
5. สมใจเคยซ้ือข้าวราดแกงกับไก่ทอด 1 ช้ิน จานละ 20 บาท แต่ 10 ปีต่อมา เงิน 20 บาท ได้
เพียงขา้ วราดแกงอย่างเดียว เหตกุ ารณ์น้แี สดงให้เหน็ วา่ เกดิ จากสาเหตุใด
ก) ภาวะเงนิ ฝืด
ข) ภาวะเงนิ เฟ้อ
ค) ภาวะฝืดเคือง
กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชุดวชิ าการเงนิ เพ่ือชวี ิต 3 l หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 ว่าด้วยเรอื่ งของเงนิ
11
กจิ กรรมท้ายเร่อื งท่ี 2 ประเภทของเงนิ
กิจกรรมท่ี 2.1 ให้ใส่เคร่ืองหมาย หน้าข้อความที่กล่าวถูกต้อง และใส่เคร่ืองหมาย X
หนา้ ข้อหากเหน็ ว่าไมถ่ ูกต้อง
.......... 1. ยกสอ่ ง มองเห็น “ลายน้า” พระบรมฉายาสาทิสลกั ษณ์พระบาทสมเด็จ
พระเจา้ อย่หู ัว
.......... 2. แถบฟอยล์ท่ีผนกึ อย่บู นดา้ นหน้าธนบัตรจะมองเห็นลวดลายเป็นหลายมิติ
เมอ่ื พลกิ ธนบัตรไปมา
.......... 3. กระดาษธนบตั รมคี วามเหนียวแกร่งตา่ งจากกระดาษทั่วไป เพราะผลติ จาก
ใยฝา้ ย
.......... 4. แถบสเี่ หล่ยี มเคลื่อนไหวสลบั สี คือ จุดสงั เกตธนบตั รแบบสบิ หก ชนิดราคา
500 บาท และ 1000 บาท
.......... 5. ตัวเลขแฝง จะมองเห็นเมอื่ พลิกเอียงธนบัตรโดยจะเห็นเปน็ เลขไทย
.......... 6. หนว่ ยงานท่ีทาหนา้ ที่ผลติ และนาธนบตั รออกใช้หมุนเวียน คือ ธนาคารแห่ง
ประเทศไทย
.......... 7. ลายน้าโปร่งแสงในธนบตั รแบบปจั จุบัน (แบบสิบหก) จะเห็นเปน็ ตวั เลขอารบิก
.......... 8. สนิ ทรัพย์ทใี่ ชห้ นุนหลังธนบัตร เพ่ือใหม้ ีมูลค่าตามราคาที่ตราไวห้ น้าธนบัตร คือ
ทุนสารองเงินตรา
.......... 9. ธนบัตรแบบปัจจุบนั ทกุ ชนิดราคา (แบบสิบหก) มีความกวา้ งไม่เทา่ กัน
.......... 10. วิธีสังเกตธนบัตรแบบง่ายโดยไมต่ ้องใช้อปุ กรณ์ คอื สัมผสั ยกส่อง พลิกเอยี ง
กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชุดวชิ าการเงนิ เพื่อชวี ติ 3 l หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 ว่าด้วยเรอื่ งของเงิน
12
กจิ กรรมท่ี 2.2 ใหค้ านวณอตั ราแลกเปลย่ี นเงินตราต่างประเทศตามโจทย์ทใี่ หม้ าดงั ต่อไปน้ี
1. ซ้ือรองเท้าผ้าใบจากประเทศสหรัฐอเมริกา 1 คู่ ราคา 120 ดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็น
เงนิ บาทไทยจานวนเงนิ เทา่ ไร (อัตราแลกเปล่ยี น 1 ดอลลาร์สหรฐั เท่ากับ 35 บาท)
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
2. ดวงแก้วจะเดินทางไปฮ่องกง ต้องการนาเงินบาทจานวน 10,000 บาท ไปแลกเป็นเงิน
ด อ ล ล า ร์ ฮ่ อ ง ก ง ด ว ง แ ก้ ว จ ะ ไ ด้ เ งิ น ด อ ล ล า ร์ ฮ่ อ ง ก ง เ ป็ น จ า น ว น เ งิ น เ ท่ า ไ ร
(อัตราแลกเปลย่ี น 1 ดอลลาร์ฮ่องกง เทา่ กับ 4.50 บาท)
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
3. พิพัฒน์กลับจากท่องเท่ียวเมืองจีน มีเงินหยวนติดตัวกลับมาด้วย 3,000 หยวน ต้องการ
นามาแลกเปลี่ยนเป็นเงินไทย พิพัฒน์จะได้เงินบาทเป็นจานวนเงินเท่าไร (อัตราแลกเปลี่ยน
1 หยวน เทา่ กบั 5 บาท)
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
กิจกรรมการเรยี นรู้ ชุดวิชาการเงนิ เพือ่ ชีวิต 3 l หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 ว่าด้วยเร่ืองของเงนิ
13
กิจกรรมท่ี 2.3 ใหท้ าเคร่อื งหมาย หนา้ ข้อความท่เี ปน็ ชอ่ งทางการแลกเปลีย่ น
เงินตราต่างประเทศ และ X หน้าขอ้ ความท่ไี ม่ถกู ตอ้ ง
.......... ธนาคารพาณิชย์ท่ีไดร้ บั อนุญาต .......... ธนาคารแห่งประเทศไทย
.......... สหกรณอ์ อมทรพั ย์ .......... รา้ นค้าสะดวกซอื้
.......... โรงแรมทไ่ี ด้รับอนญุ าตให้ .......... บริษทั รับแลกเปลีย่ นเงินตรา
ประกอบธุรกจิ แลกเปลีย่ น ตา่ งประเทศ ท่ีไดร้ ับอนญุ าต
เงนิ ตราต่างประเทศ
กิจกรรมที่ 2.4 ให้ทาเครื่องหมาย หน้าข้อ หากเห็นว่าถูกต้อง และทาเคร่ืองหมาย X
หน้าขอ้ หากเห็นวา่ ไมถ่ ูกต้อง
............... 1. เงินเสมือนในประเทศไทย มีรัฐบาลควบคุมดูแลเหมือนอย่าง
เงนิ ตราท่ีใชใ้ นปจั จบุ นั
............... 2. เงินเสมือนมีความเส่ียงที่ผู้ถือครองอาจสูญเสียหน่วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ได้
จากการถูกโจรกรรมขอ้ มลู
............... 3. เงนิ เสมือนเป็นหนว่ ยขอ้ มลู ทางอิเลก็ ทรอนิกส์ เช่น coin, point
............... 4. เงนิ เสมอื นไมส่ ามารถชาระหนไี้ ดต้ ามกฎหมายไทย
............... 5. มูลคา่ ของเงนิ เสมือนมคี วามผนั ผวนไมส่ ัมพนั ธ์กบั สภาพเศรษฐกิจ
............... 6. สามารถนาเงินเสมอื นฝากเขา้ บญั ชธี นาคารได้
............... 7. หากโอนเงินเสมอื นไปใหผ้ ิดคน อาจยากท่ีจะตามเงนิ คืนกลับมาได้
............... 8. เงินเสมือนเปน็ เงินตราตา่ งประเทศชนดิ หน่ึง
กิจกรรมการเรียนรู้ ชุดวชิ าการเงนิ เพอื่ ชีวิต 3 l หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 ว่าด้วยเรอื่ งของเงนิ
14
กิจกรรมท้ายเรือ่ งที่ 3 การฝากเงิน การประกันภัย และการลงทนุ
กจิ กรรมที่ 3.1ให้พิจารณาลักษณะของบัญชีเงินฝากด้านล่างว่าเป็นลักษณะของบัญชี
เงินฝากประเภทใด จากน้ันให้นาหมายเลขมาใส่ในตารางให้ถูกต้อง (แต่ละ
บญั ชสี ามารถมีหมายเลขซา้ กันได้)
บญั ชีเงนิ ฝาก บัญชเี งินฝากประจา บญั ชเี งินฝากประจา บญั ชีเงนิ ฝากประจา
ออมทรัพย์ ทว่ั ไป ปลอดภาษี แบบข้นั บนั ได
ลกั ษณะของบญั ชีเงินฝาก
1. ตอ้ งฝากตอ่ เนือ่ งในจานวนทเ่ี ท่ากันทกุ ๆ 2. มรี ะยะเวลาการฝากหลายแบบ เชน่
เดอื น เดอื นละ 1 ครัง้ เป็นเวลาไม่นอ้ ย 3 เดือน 6 เดอื น 12 เดือน
กวา่ 24 เดอื น
3. เปน็ บัญชีเงินฝากประจาที่ไดร้ บั ยกเวน้ 4. เสียภาษีหัก ณ ทจี่ ่าย 15%
ภาษี แต่เปิดได้เพียงบญั ชเี ดียว
5. สามารถฝากหรือถอนเงินเมอื่ ไหร่ก็ได้ 6. ในแตล่ ะช่วงเวลาการฝาก ดอกเบ้ียจะ
ค่อย ๆ เพิม่ สูงขึ้น สว่ นใหญ่เดือนสดุ ทา้ ย
อตั ราดอกเบี้ยจะสูงท่ีสดุ
7. เหมาะกับการใช้เป็นบัญชีเพือ่ รับ 8. ถา้ ดอกเบ้ยี รับไมเ่ กนิ 20,000 บาท
เงินเดือน/ค่าจา้ ง ไม่ตอ้ งเสยี ภาษี ณ ทจี่ า่ ย 15% ของ
ดอกเบี้ยที่ได้รบั (รวมรับจากทุกสถาบัน
การเงินใน 1 ป)ี
9. เปน็ บัญชเี ก็บออมเพือ่ เพิม่ รายไดจ้ าก 10.ขาดฝากไดไ้ มเ่ กิน 2 ครั้ง
ดอกเบี้ย และไม่มีความจาเป็นท่จี ะใช้เงิน
ในชว่ งระยะเวลาหน่งึ
กจิ กรรมการเรียนรู้ ชุดวิชาการเงนิ เพ่อื ชวี ติ 3 l หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 วา่ ด้วยเร่ืองของเงิน
15
กจิ กรรมที่ 3.2 ใหค้ านวณดอกเบ้ยี เงนิ ฝากแบบทบต้นอยา่ งง่ายตามโจทย์ที่ให้มา ดงั นี้
ชานาญเปิดบัญชีเงินฝากท่ีธนาคารมุ่งมั่น เม่ือวันที่ 1 ม.ค. 58 จานวน 6,000 บาท ได้รับ
ดอกเบ้ียเงินฝากในอัตรา 5% ต่อปี ซึ่งธนาคารจ่ายดอกเบ้ียปีละ 1 คร้ัง หากสาราญฝากเงินไว้
3 ปี โดยไม่ถอนเงินต้นหรือดอกเบ้ียออกมาใช้ในระหว่างปี และไม่ได้ฝากเงินเพ่ิม สาราญจะมี
เงนิ รวมเมอื่ ครบ 3 ปีเปน็ เงนิ เทา่ ไร แสดงวธิ กี ารคานวณ
……………………………………………………………………………………………………………………………….…….
……………………………………………………………………………………………………………………………….…….
……………………………………………………………………………………………………………………………….…….
……………………………………………………………………………………………………………………………….…….
……………………………………………………………………………………………………………………………….…….
……………………………………………………………………………………………………………………………….…….
……………………………………………………………………………………………………………………………….…….
……………………………………………………………………………………………………………………………….…….
……………………………………………………………………………………………………………………………….…….
……………………………………………………………………………………………………………………………….…….
……………………………………………………………………………………………………………………………….…….
……………………………………………………………………………………………………………………………….…….
……………………………………………………………………………………………………………………………….…….
กิจกรรมการเรยี นรู้ ชุดวิชาการเงินเพ่ือชวี ติ 3 l หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 ว่าด้วยเรื่องของเงนิ
16
กจิ กรรมที่ 3.3 ผลิตภัณฑใ์ ดดงั ตอ่ ไปนเี้ ป็นผลิตภณั ฑ์ที่ไดร้ บั การคมุ้ ครองจากสถาบนั
คมุ้ ครองเงนิ ฝาก โดยทาเครื่องหมาย หนา้ ขอ้ ความที่ถกู ตอ้ ง และทา
เคร่อื งหมาย X หน้าขอ้ ความทไี่ ม่ถกู ต้อง
............ 1. เงินฝากออมทรัพย์
............ 2. บตั รเงินฝาก
............ 3. เงนิ ฝากทีเ่ ปน็ เงนิ ตราตา่ งประเทศ
............ 4. เงนิ ฝากระหว่างสถาบันการเงิน
............ 5. เงินฝากประจา
............ 6. เงินฝากกระแสรายวัน
............ 7. เงนิ ฝากในสหกรณ์
............ 8. กองทุนรวม
............ 9. เงินฝากใน “บญั ชีร่วม” หรือ“บญั ชีเพอ่ื ”
............ 10. ใบรบั ฝากเงนิ
............ 11. สลากออมทรพั ย์
............ 12. พนั ธบัตรรัฐบาล
............ 13. หนุ้ กู้
............ 14. ต๋วั แลกเงิน
กิจกรรมการเรียนรู้ ชุดวิชาการเงนิ เพอ่ื ชวี ติ 3 l หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 วา่ ดว้ ยเรอ่ื งของเงนิ
17
กจิ กรรมที่ 3.4 ใหเ้ ลือกคาตอบทีถ่ ูกตอ้ งทสี่ ุดเพียงคาตอบเดียว
1. ข้อใดตอ่ ไปนี้กลา่ วถูกต้อง
ก) การทาประกนั ภัยเป็นการโอนความเสยี่ งในอนาคตไปให้ผู้รบั ประกันภัย
ข) การทาประกนั ภยั เปน็ การออมเงนิ ไว้ใชใ้ นอนาคต
ค) ถกู ทุกขอ้
2. ข้อใดตอ่ ไปนเี้ ป็นการประกนั วินาศภัย
ก) ประกนั ภัยรถยนต์ ข) ประกนั ชีวติ แบบตลอดชพี ค) ประกนั สขุ ภาพ
3. ลักษมีตอ้ งการทาประกันภยั เพอ่ื ทวี่ า่ หากรถยนต์เกดิ อบุ ตั ิเหตจุ ะได้ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการ
ซ่อมแซมรถ หรือรถสูญหาย หรือไฟไหม้ตัวรถยนต์ และคุ้มครองชีวิตร่างกายและทรัพย์สิน
ของบุคคลภายนอกด้วย ลกั ษมีควรทาประกนั ภัยแบบใด
ก) ประกันภยั รถยนต์ภาคบงั คับ
ข) ประกันชีวิต
ค) ประกันภัยรถยนต์ภาคสมัครใจประเภท 1
4. ประกนั ภัยประเภทใดทีเ่ หมาะกับผมู้ ีรายได้น้อย ข) ประกันชวี ิตแบบสะสมทรัพย์
ก) ประกันภยั 200 สาหรับรายยอ่ ย
ค) ประกนั ชีวติ แบบบานาญ
5. ขอ้ ใดต่อไปน้ีเปน็ ลักษณะของประกนั คมุ้ ครองสนิ เช่อื
ก) หากผู้เอาประกันภัยเสียชีวิตจะได้รับสินไหมทดแทนใหแ้ ก่ผูร้ บั ประโยชน์
ข) ผ้รู บั ประกันภัยจะชาระหนีแ้ ก่เจา้ หนี้แทนผู้เอาประกันภัย หากผ้เู อาประกนั ภัยเสียชีวิต
ค) หากผู้เอาประกนั ภัยเสียชีวติ ผ้รู บั ประโยชนจ์ ะนาสินทรัพย์ไปขายเพือ่ ชาระหนี้
กิจกรรมการเรยี นรู้ ชุดวิชาการเงนิ เพอื่ ชีวิต 3 l หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 วา่ ด้วยเรือ่ งของเงนิ
18
6. พนั ธบตั รรัฐบาล คือ
ก) ธนบตั รทร่ี ัฐบาลออกใชโ้ ดยกระทรวงการคลังเป็นผผู้ ลติ หมุนเวยี นใช้ในประเทศ
ข) ตราสารหน้ีทรี่ ัฐบาลโดยกระทรวงการคลังหรือหน่วยงานภาครัฐออกจาหน่ายเพ่อื ระดม
ทนุ จากประชาชนและสถาบนั การเงินในประเทศ
ค) ตราสารหนี้ที่รัฐบาลโดยกระทรวงการคลงั หรือหน่วยงานภาครัฐออกจาหน่ายเพือ่ ระดม
ทนุ จากประชาชนและสถาบนั การเงินในประเทศและตา่ งประเทศ
7. ข้อใดต่อไปนท้ี ผ่ี ู้จะลงทนุ ในห้นุ ควรใชใ้ นการศกึ ษาข้อมลู
ก) งบการเงนิ ของบริษทั นั้น ๆ
ข) หนงั สือชชี้ วนเสนอขายหนุ้
ค) ถกู ทุกข้อ
8. ขอ้ ใดต่อไปนกี้ ลา่ วถูกตอ้ ง
ก) LTF หกั ภาษีได้ RMF หกั ภาษีไม่ได้
ข) LTF ตอ้ งถือหน่วยลงทุนไม่น้อยกวา่ 7 ปี
ค) RMF ตอ้ งถอื หนว่ ยลงทุนไม่น้อยกวา่ 5 ปี
9. กฎหมายให้ลกู จา้ งส่งเงินสะสมเข้ากองทุนสารองเลย้ี งชีพในอัตราใด
ก) อัตราใดก็ได้ แล้วแตค่ วามตอ้ งการของลกู จา้ งและนายจ้าง
ข) ไมต่ า่ กวา่ เงินสะสมของนายจ้าง แตไ่ ม่เกิน 15% ของคา่ จา้ ง
ค) ไมต่ า่ กวา่ 2% และไม่เกิน 15% ของคา่ จ้าง
10. ข้อใดตอ่ ไปนก้ี ล่าวถูกต้อง
ก) การฝากเงินจะถอนเมอื่ ไหรก่ ็ไดเ้ ช่นเดยี วกบั การประกนั ภัยจะยกเลกิ เมอื่ ไหร่ก็ได้ โดย
ได้เงนิ ต้นคืนเต็มจานวน
ข) ผลตอบแทนของเงินลงทุนขึน้ อยู่กบั สถานการณ์ ณ ขณะนั้น ซึ่งอาจได้กาไร ขาดทุน หรือ
เท่าทนุ
ค) ถูกทกุ ข้อ
กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชุดวิชาการเงินเพอื่ ชวี ติ 3 l หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 วา่ ดว้ ยเร่อื งของเงนิ
19
กจิ กรรมท้ายเร่ืองท่ี 4 การชาระเงนิ ทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์
กจิ กรรมที่ 4.1
1. ให้ทาเคร่ืองหมาย หน้าข้อท่ีเป็นระบบการชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ และทา
เคร่อื งหมาย X หน้าขอ้ ทเ่ี หน็ ว่าไมใ่ ชร่ ะบบการชาระเงินทางอเิ ล็กทรอนิกส์
............ 1. สมชายให้เงนิ สมหญงิ เพื่อนาไปให้พอ่ ท่อี ยูต่ า่ งจงั หวัด
............ 2. เสน่หจ์ ่ายค่างวดรถมอเตอรไ์ ซค์ผา่ น internet banking
............ 3. ครูสมปองชาระคา่ ไฟผ่านเครื่องเอทเี อ็มของธนาคารมุง่ ม่นั
............ 4. กรกนกจ่ายเงินสดซือ้ ของที่ร้านสะดวกซ้ือ
............ 5. รตั นานาบตั รเครดิตไปซื้อสนิ คา้ ที่ห้างสรรพสนิ คา้
............ 6. พงศน์ าเงนิ ไปชาระหน้ญี าติด้วยตนเอง
............ 7. เสาวนีย์ชาระค่าสินคา้ ให้แกร่ า้ นค้าออนไลน์ผ่านโทรศพั ทม์ ือถอื
............ 8. อมรนาบตั รเดบิตไปซื้อสินคา้ ออนไลน์
............ 9. ทอมนาเงินสดมาจองซื้อบ้าน
............ 10. วารใี ชบ้ ตั รรถไฟฟ้าจ่ายคา่ โดยสารแทนการจ่ายเงนิ สด
2. ใหร้ ะบุประโยชนข์ องการชาระเงินทางอิเล็กทรอนกิ สท์ ม่ี ตี อ่ ประชาชน
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชุดวชิ าการเงินเพ่อื ชีวติ 3 l หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ว่าด้วยเร่อื งของเงิน
20
กจิ กรรมท่ี 4.2 ใหน้ าตัวเลอื กดา้ นล่างมาเติมในช่องประเภทสื่ออเิ ลก็ ทรอนิกสใ์ หม้ ี
ความสัมพนั ธก์ ับลักษณะของระบบการชาระเงนิ
ประเภทสือ่ อเิ ล็กทรอนิกส/์ ลักษณะของระบบการชาระเงนิ ทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์
ชอ่ งทางการชาระเงนิ
1. ทาธรุ กรรมทางการเงนิ เชน่ ฝาก/ถอน/โอน/ชาระเงิน/
................................. สอบถามยอดเงนิ ในบัญชีผ่านเครอ่ื งเอทีเอม็
................................. 2. ทาธุรกรรมทางการเงิน เช่น ฝาก/ถอน/โอน/ชาระเงิน
ท่ีเคร่ืองเอทีเอ็ม ใชซ้ ้อื สินคา้ และบรกิ าร ณ สถานท่ีขายสนิ ค้า/
บรกิ าร และซื้อออนไลน์โดยตัดเงินจากบัญชเี งนิ ฝากทนั ที
................................. 3. มวี งเงินในบตั ร สามารถเบกิ ถอนเงนิ สดจากเครอ่ื งเอทเี อ็ม
ใชช้ าระค่าสนิ ค้าและบริการแทนเงนิ สด และผู้ออกบัตรจะเรยี ก
เก็บเงนิ จากเจา้ ของบัตรตามระยะเวลาทีก่ าหนด
................................. 4. โอนเงิน/ชาระเงินในการซือ้ สนิ ค้าและบรกิ าร ตรวจสอบ
ยอดเงนิ ในบัญชี ผ่านเครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ ของธนาคารที่เปิด
บญั ชีไว้
5. ชาระค่าสินคา้ และบรกิ ารผ่านอุปกรณ์โทรศัพทม์ ือถือหรือ
................................. แทบ็ เลต็ โดยผใู้ ชม้ บี ัญชเี งินฝากอยู่กับธนาคาร
บตั รเครดิต internet บตั รเดบิต mobile บัตรเอทเี อ็ม
payment payment
กิจกรรมการเรยี นรู้ ชุดวิชาการเงนิ เพ่ือชวี ิต 3 l หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 วา่ ดว้ ยเร่อื งของเงนิ
21
กิจกรรมที่ 4.3 ใหน้ าประเภทสถาบันการเงินด้านล่างมาใส่ในตารางด้านบนใหส้ มั พันธก์ นั
กฎหมายที่เกย่ี วขอ้ งกับบริการ e-Payment ประเภทสถาบนั การเงนิ
ทีถ่ ูกควบคมุ ดูแล
พระราชกฤษฎีกา (พ.ร.ฎ.) ว่าด้วยการควบคมุ ดูแลธรุ กิจ ...........................................
บริการการชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกสข์ องสถาบนั การเงิน ...........................................
เฉพาะกิจ พ.ศ. 2559 ...........................................
พ.ร.ฎ. วา่ ด้วยการควบคมุ ดแู ลธุรกจิ บริการการชาระเงนิ ทาง ...........................................
อเิ ล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2551 ...........................................
...........................................
พ.ร.บ. ธรุ กิจสถาบนั การเงิน พ.ศ. 2551 ...........................................
...........................................
...........................................
ประกาศกระทรวงการคลงั ซง่ึ ออกตามประกาศคณะปฏิวตั ิ ...........................................
ฉบับท่ี 58 (บตั รเงนิ อิเลก็ ทรอนกิ ส)์ ...........................................
...........................................
ประเภทสถาบนั ทถ่ี กู ควบคมุ ดูแล
ธนาคารพาณิชย์ สถาบนั การเงิน บรษิ ทั เงินทนุ /
เฉพาะกิจ บริษทั เครดิตฟองซิเอร์
ผู้ประกอบธรุ กจิ บรกิ ารการชาระเงนิ ทาง ผปู้ ระกอบธรุ กิจบัตรเงินอเิ ลก็ ทรอนิกส์
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ที่มใิ ช่สถาบันการเงิน ที่มใิ ชส่ ถาบันการเงิน (non-bank)
(non-bank)
กจิ กรรมการเรียนรู้ ชุดวชิ าการเงนิ เพอื่ ชวี ิต 3 l หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 วา่ ด้วยเร่ืองของเงนิ
22
กิจกรรมท่ี 5 ผ้ใู หบ้ ริการทางการเงินในประเทศไทย
กิจกรรมท่ี 5.1 ใหเ้ ขยี นชือ่ หน่วยงานที่กากบั ดูแลในชอ่ งขวามอื โดยใหม้ ีความสมั พันธก์ ัน
ผู้ให้บริการทางการเงิน หนว่ ยงานทีก่ ากบั /ดแู ล
1. บริษทั หลักทรัพยจ์ ดั การกองทุน
2. ผปู้ ระกอบธุรกจิ บตั รเครดิต
3. สถานธนานุเคราะห์
4. ธนาคารพาณิชย์
5. สหกรณ์
6. บรษิ ัทประกนั ชวี ติ
7. สถาบันการเงนิ เฉพาะกจิ
8. ผ้ใู หบ้ ริการการชาระเงินทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์
9. บริษัทหลักทรพั ย์
10. บรษิ ทั ประกนั วนิ าศภัย
กจิ กรรมการเรียนรู้ ชุดวชิ าการเงินเพ่อื ชวี ิต 3 l หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 ว่าดว้ ยเร่อื งของเงิน
23
กิจกรรมท่ี 5.2 ใหเ้ ลือกคาตอบท่ีถกู ต้องทส่ี ุดเพยี งคาตอบเดยี ว
1. ข้อใดคือบทบาทหนา้ ท่ีของธนาคารพาณชิ ย์
ก) ให้กู้ยืม ข) รบั ฝากเงิน ค) ถกู ทกุ ขอ้
2. ขอ้ ใดต่อไปนี้คือหนา้ ที่ของธนาคารแหง่ ประเทศไทย
ก) ให้ก้ยู มื แกป่ ระชาชน ข) กากบั ดแู ลสถาบันการเงนิ ค) ถูกทกุ ขอ้
3. ธปท. ไม่ไดก้ ากบั ดูแลผใู้ หบ้ รกิ ารใดต่อไปน้ี
ก) ธนาคารออมสิน ข) ผใู้ ห้บริการแลกเปลยี่ นเงนิ ค) บริษัทประกนั ชวี ติ
4. คปภ. คอื หนว่ ยงานใด
ก) หนว่ ยงานทีก่ ากบั ดูแลบริษัทประกันชีวติ และบริษทั ประกนั วินาศภยั
ข) หน่วยงานท่ีค้มุ ครองสทิ ธิประโยชน์ของประชาชนดา้ นการประกันภยั
ค) ถกู ทุกขอ้
5. ข้อใดกลา่ วถกู ต้องเกยี่ วกบั หน้าท่ีของสหกรณ์
ก) ใหบ้ ริการกู้ยมื แกส่ มาชิกเม่อื เกิดความจาเป็น
ข) สหกรณ์ออมทรัพย์จะมบี ริการรับฝากเงินและจา่ ยดอกเบย้ี แก่ประชาชนทว่ั ไป
ค) ถกู ทุกขอ้
6. ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ีคือสถาบันการเงนิ เฉพาะกิจ
ก) ธนาคารออมสิน
ข) ธนาคารพาณิชย์
ค) ผู้ประกอบธรุ กิจสนิ เชอื่ ส่วนบคุ คลภายใตก้ ารกากับ
กิจกรรมการเรยี นรู้ ชุดวชิ าการเงนิ เพอ่ื ชีวติ 3 l หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 ว่าดว้ ยเร่ืองของเงิน
24
7. ข้อใดต่อไปนเ้ี ปน็ หน้าทขี่ อง ก.ล.ต.
ก) กากับดแู ลให้บรษิ ัทผู้ออกหลักทรัพย์เปดิ เผยข้อมูลให้ครบถว้ น ถกู ต้อง
ข) อนญุ าตใหผ้ ู้ออกหลกั ทรัพยเ์ สนอขายหลกั ทรพั ย์แกป่ ระชาชน
ค) ถูกทกุ ขอ้
8. หากบริษัทว่องไว ดาเนินธุรกิจให้กู้ยืมโดยไม่มีหลักประกัน ซึ่งได้รับอนุญาตจาก
กระทรวงการคลังแล้ว บรษิ ทั ว่องไวจดั เป็นผใู้ ห้บรกิ ารทางการเงนิ ประเภทใด
ก) ผู้ประกอบธุรกจิ บตั รเครดติ
ข) ผปู้ ระกอบธุรกิจสนิ เชอ่ื สว่ นบคุ คลภายใต้การกากับ
ค) ถูกทกุ ข้อ
9. บริษัทหลักทรัพยจ์ ัดการกองทุน ทาธรุ กิจประเภทใด
ก) ขายประกนั ชวี ิต
ข) รบั ฝากเงนิ และให้กยู้ ืมแกป่ ระชาชน
ค) บริหารเงนิ ให้แกล่ ูกค้าในการจัดการกองทุนรวม
10. บรษิ ัทประกันวนิ าศภยั ดาเนนิ กิจการประเภทใดตอ่ ไปน้ี
ก) ประกนั ชวี ติ
ข) ประกันสุขภาพ
ค) ประกันรถยนต์
กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชุดวิชาการเงินเพ่ือชวี ติ 3 l หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 วา่ ด้วยเรื่องของเงนิ
24
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2
การวางแผนการเงิน
กิจกรรมท้ายเรอ่ื งที่ 1 การวางแผนการเงิน
กจิ กรรมที่ 1 ตอบคาถามต่อไปน้ี
1. บุคคลในวัยไหนที่ตอ้ งวางแผนการเงิน และต้องวางแผนอย่างไร
กิจกรรมการเรยี นรู้ ชุดวิชาการเงนิ เพอ่ื ชวี ิต 3 l หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การวางแผนการเงนิ
25
2. ศึกษากรณีศึกษา แลว้ ตอบคาถาม
นางมาลีต้องการซ้อื โทรศัพท์มือถือเคร่อื งใหม่ แตม่ เี งนิ ไมพ่ อ จงึ ไปปรกึ ษา
นางมาลาวา่ ควรทาอยา่ งไร นางมาลาเขยี นข้นั ตอนการวางแผนการเงนิ เพอ่ื ซื้อมือถือให้แก่
นางมาลีทัง้ หมด 5 ขั้นตอนในเศษกระดาษจานวน 5 แผ่น
แต่ระหว่างทางกลบั บ้าน นางมาลีทาเศษกระดาษหล่นทาให้ขั้นตอนวางแผน
การเงนิ เพือ่ ซื้อมอื ถือสลับข้อกนั โดยเศษกระดาษท้งั หมดมีข้อความ ดงั น้ี
จ. ดูเงินเก็บและหนี้ท่ีมตี อนน้ี เพอ่ื ประเมนิ ฐานะการเงิน
ค. ตั้งเป้าหมายว่าจะซ้อื มือถอื ราคากบ่ี าทและจะซอ้ื เมอ่ื ไหร่
ข. วางแผนการเงินว่าจะออมเงินวนั ละหรือเดอื นละเทา่ ไร
เพือ่ ให้ไดเ้ งนิ ตามจานวนที่ต้งั เป้าหมายไว้
ก. ปฏบิ ัตติ ามแผนการออมอยา่ งเครง่ ครดั ไม่เผลอนาเงินไปซื้ออย่างอ่ืน
ง. หากทาตามแผนไม่ได้ กใ็ ห้ปรบั แผนให้สอดคลอ้ งกับสถานการณ์
จากกรณีศึกษา ใหเ้ รยี งลาดับข้ันตอนวางแผนการเงินเพอื่ ซอ้ื มอื ถอื ของนางมาลีลงในช่องว่าง
ขั้นตอนท่ี 1:
ขน้ั ตอนท่ี 2:
ขัน้ ตอนท่ี 3:
ข้ันตอนท่ี 4:
ขั้นตอนท่ี 5:
กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชุดวชิ าการเงนิ เพ่ือชวี ิต 3 l หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 การวางแผนการเงิน
26
กจิ กรรมทา้ ยเรือ่ งท่ี 2 การประเมินฐานะการเงนิ ของตนเอง
กิจกรรมท่ี 2.1 ตอบคาถามตอ่ ไปน้ี
1. เราสามารถประเมินฐานะการเงนิ ของตนเองในดา้ นใดได้บา้ ง ให้อธิบาย
กิจกรรมการเรยี นรู้ ชุดวิชาการเงนิ เพ่อื ชวี ติ 3 l หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การวางแผนการเงนิ
27
กิจกรรมที่ 2.2 ใหค้ านวณความมั่งค่ังสุทธิของตนเองโดยใช้ตารางตอ่ ไปนี้
1. คานวณมูลค่าสนิ ทรัพย์ท้งั หมดของตนเอง โดยแยกประเภทของสนิ ทรพั ยต์ ามตาราง
สนิ ทรพั ย์
1. สนิ ทรัพยส์ ภาพคลอ่ ง
........................................................ ........................................
........................................................ ........................................
........................................................ ........................................
........................................................ ........................................
รวม ........................................
2. สินทรัพยเ์ พ่ือการลงทุน
........................................................ ........................................
........................................................ ........................................
........................................................ ........................................
........................................................ ........................................
รวม ........................................
3. สินทรพั ยส์ ่วนตวั
........................................................ ........................................
........................................................ ........................................
........................................................ ........................................
........................................................ ........................................
รวม ........................................
รวมมลู คา่ ทรพั ยส์ นิ ทง้ั หมด ........................................
กิจกรรมการเรยี นรู้ ชุดวิชาการเงนิ เพ่ือชวี ิต 3 l หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การวางแผนการเงิน
28
2. คานวณมูลคา่ หน้สี นิ ท้งั หมดของตนเอง โดยแยกประเภทของหนตี้ ามตาราง
หน้ี
1. หน้ีระยะสั้น
........................................................ ........................................
........................................................ ........................................
........................................................ ........................................
รวม ........................................
2. หนรี้ ะยะยาว
........................................................ ........................................
........................................................ ........................................
........................................................ ........................................
รวม ........................................
รวมมูลค่าหนท้ี ง้ั หมด ........................................
3. คานวณความม่งั ค่ังสุทธขิ องตนเอง
…………………………… - ……………………. = ………………………..
กิจกรรมการเรยี นรู้ ชุดวชิ าการเงนิ เพื่อชวี ติ 3 l หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 การวางแผนการเงนิ
29
กจิ กรรมท่ี 2.3 ใหป้ ระเมนิ ฐานะการเงนิ ของตนเองในแต่ละด้านดงั นี้
1. ประเมนิ ดา้ นหนี้ พร้อมอธิบายความหมายอัตราส่วนภาระหนต้ี อ่ รายได้ของตนเอง
………………………….. = ……………………….. ÷ ………………………....
ความหมาย
2. ประเมนิ ด้านการออม พร้อมอธบิ ายความหมายอตั ราสว่ นเงนิ ออมตอ่ รายไดข้ องตนเอง
………………………….. = ……………………….. ÷ ………………………....
ความหมาย
กิจกรรมการเรียนรู้ ชุดวิชาการเงินเพ่ือชวี ิต 3 l หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การวางแผนการเงนิ
30
กิจกรรมท่ี 2.4 ใหต้ อบคาถามต่อไปนี้
1. ลักษณะของการมีสขุ ภาพการเงนิ ท่ดี มี ีอะไรบา้ ง
2. ให้ประเมินสุขภาพการเงินของตนเอง โดยเปรียบเทียบตัวเลขการประเมินฐานะการเงิน
ของตนเองกับลกั ษณะของการมีสุขภาพการเงนิ ทดี่ ี แลว้ ให้เขยี นคาอธบิ ายและคาแนะนา
โดยใชต้ ารางตอ่ ไปนี้
ลกั ษณะของการมี ตวั เลขการประเมนิ ฐานะ คาอธิบายและคาแนะนา
สุขภาพการเงินท่ดี ี การเงนิ ที่ดีของตนเอง
1. ......................... ........................................ ……………………………………………………
......................... ........................................ ……………………………………………………
......................... ........................................ ……………………………………………………
2. ......................... ........................................ ……………………………………………………
......................... ........................................ ……………………………………………………
......................... ........................................ ……………………………………………………
3. ......................... ........................................ ……………………………………………………
......................... ........................................ ……………………………………………………
......................... ........................................ ……………………………………………………
กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชุดวิชาการเงนิ เพ่ือชีวิต 3 l หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 2 การวางแผนการเงนิ
31
กจิ กรรมท้ายเร่ืองท่ี 3 การบนั ทึกรายรับ-รายจ่าย
กิจกรรมที่ 3.1 ตอบคาถามตอ่ ไปนี้
1. ให้ทาเคร่ืองหมาย หน้าความหมายของรายจ่ายที่เป็น “รายจ่ายจาเป็น” และให้ทา
เครอ่ื งหมาย หนา้ ความหมายของรายจา่ ยท่ีเป็น “รายจา่ ยไม่จาเป็น”
1) รายจา่ ยทีจ่ ะตอ้ งจา่ ย ไมส่ ามารถตัดออกได้
2) รายจา่ ยที่จะจา่ ยหรือไมจ่ า่ ยกย็ ังสามารถมชี วี ิตอยไู่ ด้
3) ค่ารักษาพยาบาล
4) คา่ เหล้า
5) รายจา่ ยท่สี าคญั สาหรับชีวิต เช่น อาหาร คา่ ท่อี ยู่อาศัย
6) รายจ่ายทไ่ี มม่ ีบทบาทสาคัญต่อชีวิต
7) ค่าหวย
2. ให้ศกึ ษากรณศี ึกษาตอ่ ไปน้ี แลว้ ตอบคาถาม
นางเย็นเป็นคนหนึ่งที่เงินไม่ค่อยพอใช้ไปจนถึงส้ินเดือน เธอได้ยินมาว่า การ
จดบันทึกรายรับ-รายจ่ายจะทาให้เธอรู้ว่า เงินของเธอหายไปไหนจึงใช้ได้ไม่ถึง
สิน้ เดอื น เธอจึงไปปรกึ ษานางสาล่ีทจี่ ดบันทกึ รายจ่ายเปน็ ประจาอยแู่ ลว้
แต่นางสาล่ีพูดวนไปวนมาจนทาให้นางเย็นจับต้นชนปลายไม่ถูก ไม่รู้ว่าควร
เรม่ิ ทาส่ิงไหนก่อนหลัง เธอจงึ จดข้อมลู ที่ได้มาลงในกระดาษดังน้ี
ก. หากระดาษหรอื สมดุ ท่พี กง่าย ๆ มาเปน็ บันทกึ รายรับ-รายจา่ ย
ข. สรปุ การใช้จา่ ยเมอื่ ถึงสน้ิ เดอื น
ค. ให้กาหนดระยะเวลาทจี่ ดรายรับ-รายจา่ ยว่า จะจดกวี่ ัน
ง. จดทุกครงั้ ทใี่ ช้เงิน ไมว่ า่ จะรบั หรอื จ่าย
กจิ กรรมการเรียนรู้ ชุดวชิ าการเงินเพอ่ื ชีวิต 3 l หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การวางแผนการเงิน
32
จากกรณศี ึกษา ใหเ้ รยี งลาดับขนั้ ตอนการบนั ทกึ รายรับ-รายจ่ายใหแ้ ก่นางเยน็
ข้นั ตอนท่ี 1:
ข้ันตอนท่ี 2:
ข้ันตอนท่ี 3:
ขั้นตอนท่ี 4:
3. ส่วนประกอบท่ีสาคญั ของบันทกึ รายรับ-รายจ่ายมีอะไรบา้ ง ใหอ้ ธิบาย
กิจกรรมการเรยี นรู้ ชุดวชิ าการเงนิ เพื่อชวี ิต 3 l หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2 การวางแผนการเงนิ
33
4. การจดั ทาบนั ทกึ รายรับ-รายจ่ายมีประโยชน์อย่างไร ให้อธบิ าย
5. ให้ศกึ ษากรณีตัวอยา่ ง แลว้ ตอบคาถาม
นายประชากาลังกังวลอย่างหนักกับค่าใช้จ่ายท่ีต้องจ่ายในช่วงนี้ แต่เงิน
ท่มี ีจากัดทาให้เขาไม่สามารถจา่ ยทกุ อย่างที่เขาต้องการในช่วงนีไ้ ด้
เขามีค่ารักษาพยาบาลของพ่อท่ีต้องจ่าย ซ่ึงเขามีเงินออมเพียงพอท่ีจะจ่าย
คา่ ใช้จา่ ยส่วนน้แี ตเ่ ขายงั ตอ้ งเรียนภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมสมัครงานใหม่ในปีหน้า และยังมี
คา่ แต่งรถทีเ่ ขาต้ังใจจะแตง่ ไวน้ านแล้ว นายประชาจงึ ไมร่ จู้ ะจา่ ยคา่ ใชจ้ ่ายไหนก่อนหลัง
จากกรณีศึกษาและตามหลักการจัดลาดับความสาคัญของรายจ่าย นายประชาควรทา
อย่างไรกบั ค่าใชจ้ ่ายของเขาต่อไปนี้
1) คา่ รกั ษาพยาบาลของพ่อ
2) ค่าเรียนภาษาอังกฤษ
3) คา่ แต่งรถ
กิจกรรมการเรยี นรู้ ชุดวชิ าการเงินเพ่อื ชวี ติ 3 l หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การวางแผนการเงิน
34
กิจกรรมที่ 3.2 ใหจ้ ดั ทาบนั ทกึ รายรับ-รายจ่ายตามขัน้ ตอนการจัดทาบันทึกรายรับ-จ่าย
เป็นระยะเวลา 1 เดือน แล้ววิเคราะหด์ ังน้ี
1. สรปุ รายรบั -รายจา่ ย
สรปุ รายรบั -รายจา่ ยเดอื น................................
ยอดรวมรายรบั บาท
หกั ยอดรวมเงินออม บาท
หกั ยอดรวมรายจ่ายจาเป็น บาท
หกั ยอดรวมรายจ่ายไม่จาเป็น บาท
คงเหลือ ใชเ้ กิน บาท
คงเหลือ......................................บาท ใชเ้ กนิ จานวน.............................บาท
................................................................. .................................................................
................................................................. .................................................................
................................................................. .................................................................
................................................................. .................................................................
................................................................. .................................................................
................................................................. .................................................................
................................................................. .................................................................
................................................................. .................................................................
................................................................. .................................................................
................................................................. .................................................................
................................................................. .................................................................
................................................................. .................................................................
กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชุดวิชาการเงินเพือ่ ชวี ติ 3 l หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 การวางแผนการเงนิ
35
2. วิเคราะหร์ ายรบั -รายจา่ ย
วิเคราะห์รายรบั -รายจ่าย
รายรบั และเงนิ ออม
รายรบั เงินออม
................................................................. .................................................................
................................................................. .................................................................
................................................................. .................................................................
................................................................. .................................................................
................................................................. .................................................................
................................................................. .................................................................
................................................................. .................................................................
................................................................. .................................................................
รวมรายจา่ ย
รายจ่ายไม่จาเป็น (..........................บาท) รายจา่ ยจาเปน็ (..............................บาท)
................................................................. .................................................................
................................................................. .................................................................
................................................................. .................................................................
................................................................. .................................................................
................................................................. .................................................................
................................................................. .................................................................
................................................................. .................................................................
................................................................. .................................................................
................................................................. .................................................................
กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชุดวิชาการเงนิ เพื่อชวี ิต 3 l หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การวางแผนการเงนิ
36
กจิ กรรมทา้ ยเรื่องท่ี 4 การตั้งเปา้ หมายและจดั ทาแผนการเงิน
กจิ กรรมท่ี 4.1 ตอบคาถามต่อไปน้ี
1. ประโยชน์ของการมีเปา้ หมายการเงินมีอะไรบา้ ง ใหอ้ ธบิ าย
กจิ กรรมการเรียนรู้ ชุดวชิ าการเงนิ เพ่อื ชวี ิต 3 l หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 2 การวางแผนการเงนิ
37
2. ให้ยกตัวอย่างเป้าหมายการเงินท่ีควรมีในชีวิตอย่างน้อย 2 เป้าหมายในแต่ละด้าน
ตอ่ ไปนี้
ด้านรายรบั
ด้านการออม
ดา้ นรายจ่าย
ดา้ นหน้ี
กจิ กรรมการเรียนรู้ ชุดวชิ าการเงินเพอ่ื ชีวติ 3 l หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 การวางแผนการเงนิ
38
3. ใหต้ ั้งเป้าหมายการเงินของตนเองท้งั 3 ประเภทลงในตารางดา้ นลา่ ง
เป้าหมายระยะสั้น ....................................................................................................
....................................................................................................
....................................................................................................
....................................................................................................
เป้าหมายระยะกลาง ....................................................................................................
....................................................................................................
เปา้ หมายระยะยาว ....................................................................................................
....................................................................................................
....................................................................................................
กิจกรรมการเรยี นรู้ ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 3 l หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การวางแผนการเงนิ
39
กจิ กรรมที่ 4.2 ใหว้ างแผนการเงนิ ของตนเองลงในช่องว่าง (สามารถใช้เปา้ หมายการเงิน
ท่ตี ้งั ไว้ในข้อท่ี 3 ได)้
แผนการเงินของ................................
จัดทา ณ วันท่ี.................................
เป้าหมายการเงนิ : บาท
จานวนเงินท่ตี ้องการ: เดือนข้างหน้า
ระยะเวลา:
คานวณจานวนเงนิ ท่ตี ้องออมต่อเดือน:
……………………………………………………………………………………………………………………………….…
……………………………………………………………………………………………………………………………….…
……………………………………………………………………………………………………………………………….…
……………………………………………………………………………………………………………………………….…
……………………………………………………………………………………………………………………………….…
แผนการออม:
ไดเ้ งินออมรวมตอ่ เดือนเทา่ กับ บาท
กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชุดวชิ าการเงนิ เพื่อชีวิต 3 l หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 การวางแผนการเงิน
40
กจิ กรรมทา้ ยเร่ืองที่ 5 การออม
กิจกรรมที่ 5.1 ตอบคาถามตอ่ ไปนี้
1. ใหบ้ อกความหมายของการออม
2. ประโยชน์ของการออมมอี ะไรบา้ ง ใหอ้ ธบิ าย
กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชุดวิชาการเงนิ เพื่อชวี ติ 3 l หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2 การวางแผนการเงนิ
3. ใหต้ ้งั เปา้ หมายการออมทด่ี ีของตนเองลงในตาราง 41
เปา้ หมายการเงนิ :
จานวนเงนิ ท่ตี อ้ งการ: บาท
ระยะเวลา: เดือนขา้ งหน้า
4. หลักการออมใหส้ าเรจ็ มอี ะไรบา้ ง ให้อธบิ าย
5. กองทุนการออมแหง่ ชาติ (กอช.) คืออะไร และมหี ลักการอย่างไร
กิจกรรมการเรยี นรู้ ชุดวชิ าการเงนิ เพอ่ื ชวี ิต 3 l หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การวางแผนการเงนิ
42
6. กองทุนสารองเลย้ี งชีพคอื อะไร และมหี ลกั การอยา่ งไร
กจิ กรรมการเรียนรู้ ชุดวิชาการเงนิ เพื่อชวี ติ 3 l หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 2 การวางแผนการเงนิ
43
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
สนิ เช่อื
กิจกรรมทา้ ยเร่ืองที่ 2 ลกั ษณะของสินเชือ่ รายยอ่ ยและการคานวณดอกเบ้ีย
กิจกรรมที่ 2.1 ให้นาหมายเลขข้อด้านล่างมาใส่ในช่อง “ลักษณะ” โดยให้มีความสัมพันธ์
กับผลติ ภัณฑ์ทางดา้ นซา้ ยมอื
1. ผอ่ นชาระไดน้ านถึง 25 - 30 ปี
2. ควรมีเงินดาวน์อยา่ งน้อย 20%
3. คิดดอกเบย้ี แบบเงนิ ต้นคงท่ี (flat rate)
4. คดิ อตั ราดอกเบ้ยี คา่ ปรบั คา่ บรกิ าร และคา่ ธรรมเนยี ม รวมกันไมเ่ กนิ 28% ต่อปี
5. ผู้ใชบ้ ริการตอ้ งมีเงนิ เดอื นข้นั ตา่ 15,000 บาท
6. ได้รับระยะเวลาปลอดดอกเบ้ยี 45 - 55 วัน
7. คิดอัตราดอกเบีย้ คา่ ปรบั คา่ บริการ และคา่ ธรรมเนยี ม รวมกันไม่เกิน 20% ตอ่ ปี
8. ใหว้ งเงนิ ไม่เกิน 5 เท่าของรายได้ต่อเดือน
9. ใช้บัตรซื้อสินค้าและบริการแทนการใช้เงินสด และไม่เสียดอกเบี้ยถ้าจ่ายตรงเวลาและ
เตม็ จานวน
10. กรรมสทิ ธิจ์ ะตกเปน็ ของผู้เชา่ ซ้ือเมอ่ื ชาระเงนิ ครบตามจานวน
11. มักใชอ้ ตั ราดอกเบ้ยี ลอยตัว (float rate)
12. ขอกเู้ พอื่ นาเงินสดไปใช้ โดยทยอยผ่อนชาระคืนเป็นรายเดอื น
กิจกรรมการเรียนรู้ ชุดวิชาการเงินเพ่ือชีวิต 3 l หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 สนิ เช่อื