The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือปฐมนิเทศคณะใหม่ ปี 67

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เดวิด เว็บบ์, 2024-06-27 02:57:43

คู่มือปฐมนิเทศคณะใหม่ ปี 67

คู่มือปฐมนิเทศคณะใหม่ ปี 67

ก | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 สารบัญ หนา โครงสรางองคกรของคณะศิลปศาสตรประยุกต 1 ผูบริหารคณะศิลปศาสตรประยุกต 2 ผูบริหารหลักสูตร 4 บุคลากรประสานงานหลักสูตร 6 ขั้นตอนการศึกษาระดับปริญญาเอก และปริญญาโท การศึกษาระดับปริญญาเอก 8 การศึกษาระดับปริญญาโท แผน ก 16 การศึกษาระดับปริญญาโท แผน ข 24 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ (DIOP) 31 หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ (MIOP) 37 หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจ 46 และอุตสาหกรรม (หลักสูตรภาษาอังกฤษ) (E-MBIC) หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตรประยุกตและนวัตกรรม (MAIE) 57 หลักเกณฑในการประเมินผลนักศึกษา 69 แผนภูมิการประเมินผลการเรียนการสอน ปริญญาโท แผน ก แบบ ก2 72 แผนภูมิการประเมินผลการเรียนการสอน ปริญญาโท แผน ข 73 แผนภูมิการประเมินผลการเรียนการสอน ปริญญาเอก แบบ 2.1 74 ขอปฏิบัติการดําเนินการจัดทําวิทยานิพนธและสารนิพนธของนักศึกษา 75 หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ ขั้นตอนดําเนินการเกี่ยวกับวิทยานิพนธ 77 ขั้นตอนดําเนินการเกี่ยวกับสารนิพนธ / การคนควาอิสระ 79 การสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) 81 ขอคําถามทั่วไป 82


1 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 โครงสรางองคกรของคณะศิลปศาสตรประยุกต คณบดีคณะศิลปศาสตรประยุกต ดํารงตําแหนงผูบริหารสูงสุดขององคกร โดยมี รองคณบดีผูชวยคณบดีชวยภารกิจของคณะ ไดแก รองคณบดีฝายวิชาการและวิเทศสัมพันธ รองคณบดีฝายบริหารและวางแผน ผูชวยคณบดีฝายประกันคุณภาพการศึกษาและการจัดการ ความรูและผูชวยคณบดีฝายบริการวิชาการและกิจการนักศึกษา นอกจากนี้ยังมีผูบริหารระดับ ตน ไดแก หัวหนาสํานักงานคณบดี หัวหนาภาควิชาภาษา หัวหนาภาควิชาสังคมศาสตร หัวหนา ภาควิชามนุษยศาสตรและรักษาการหัวหนาศูนยวิจัยและพัฒนาทางศิลปศาสตรประยุกต มี หนาที่รับผิดชอบในการบริหาร


2 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 ผูบริหารคณะศิลปศาสตรประยุกต ศาสตราจารย ดร.มานพ ชูนิล คณบดีคณะศิลปศาสตรประยุกต เบอรติดตอภายใน : 3530 Email: [email protected] ผูชวยศาสตราจารย ดร.เกวลิน มะลิ รองคณบดีฝายบริหารและวางแผน เบอรติดตอภายใน: 3541 Email: [email protected] อาจารย ดร.กานตชนก วรรธนะสิน รองคณบดีฝายวิชาการและวิเทศสัมพันธ เบอรติดตอภายใน: 3539 Email: [email protected] อาจารย ดร.ศุภกร บัวหยู ผูชวยคณบดีฝายบริการวิชาการและกิจการนักศึกษา เบอรติดตอภายใน: 3531 [email protected] อาจารย ดร.พิชลัณดาห สนธิวิฬุรห ผูชวยคณบดีฝายประกันคุณภาพการศึกษา และการจัดการความรู Email: [email protected]


3 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 อาจารย ดร.พิชัย ปนเพชร หัวหนาภาควิชาภาษา เบอรติดตอภายใน: 3549 Email: [email protected] คุณรักษขณาถาวร ฤกษชนะ หัวหนาสํานักงานคณบดี เบอรติดตอภายใน: 3542 Email: [email protected] ผูชวยศาสตราจารย ดร.วรวุธ ปลื้มจิตร หัวหนาภาควิชาสังคมศาสตร เบอรติดตอภายใน: 3515 Email: [email protected] อาจารย ดร.นนทิรัตน พัฒนภักดี หัวหนาภาควิชามนุษยศาสตร เบอรติดตอภายใน: 3548 Email: [email protected]


4 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 ผูบริหารหลักสูตร ศาสตราจารย ดร.มานพ ชูนิล ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ เบอรติดตอภายใน: 3530 Email: [email protected] ผูชวยศาสตราจารยดร.เยาวเรศ ธาราวุฒิ ประธานหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร เชิงธุรกิจและอุตสาหกรรม เบอรติดตอภายใน: 3521 Email: [email protected] อาจารย ดร.ชนัดดา เพ็ชรประยูร ประธานหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ เบอรติดตอภายใน: 3505 Email: [email protected] ผูชวยศาสตราจารย ดร. อรษา ตันติยะวงศษา ประธานหลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตรประยุกตและนวัตกรรม เบอรติดตอภายใน: 3516 Email: [email protected]


5 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 อาจารย ดร.รติ มณีงาม ผูอํานวยการหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ เบอรติดตอภายใน: 3511 Email: [email protected] ผูชวยศาสตราจารย ดร.เบญจวรรณ บุณยะประพันธ ประธานกรรมการบริหารโครงการ หลักสูตรบัณฑิตศึกษา ภาคพิเศษ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตาสาหกรรมและองคการ เบอรติดตอภายใน: 3556 Email: [email protected] ผูชวยศาสตราจารยดร.เยาวเรศ ธาราวุฒิ ผูอํานวยการหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร เชิงธุรกิจและอุตสาหกรรม เบอรติดตอภายใน: 3521 Email: [email protected] ผูชวยศาสตราจารย ดร. อรษา ตันติยะวงศษา ผูอํานวยการหลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตรประยุกตและนวัตกรรม เบอรติดตอภายใน: 3516 Email: [email protected]


6 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 บุคลากรประสานงานหลักสูตร นางสาวพรภิรมย แกวมีแสง นักวิชาการศึกษา หัวหนางานบริการการศึกษา นางสาวสริตา สุวรรณแสนศักดิ์ นักวิชาการศึกษา เจาหนาที่ประสานงานโครงการ S-DIOP นางสาวปทมา โตะหิรัญ ผูปฏิบัติงานบริหาร เจาหนาที่ประสานงานโครงการ S-MIOP นางวันศิริ เจาตระกูล นักวิชาการศึกษา เจาหนาที่ประสานงานโครงการ S-E-MBIC นายประสิทธิ์ มาลัย ผูปฏิบัติงานบริหาร งานอาคารสถานที่และยานพาหนะ นางไสว เขมา ผูปฏิบัติงานบริหาร งานอาคารสถานที่และยานพาหนะ นางสาวพรเพ็ญ รักชูชื่น นักวิชาการศึกษา เจาหนาที่ประสานงานโครงการ S-MAIE


7 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 ขั้นตอนการศึกษาระดับปริญญาเอก และปริญญาโท


8 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 1. การศึกษาระดับปริญญาเอก 1.1 การศึกษาของนักศึกษาระดับปริญญาเอก มีขั้นตอนอยางไรบาง ANS. ขั้นตอนการศึกษาของนักศึกษาระดับปริญญาเอกมีดังนี้ ขั้นตอนการศึกษาของนักศึกษาระดับปริญญาเอก หมายเหตุ * สอบภาษาอังกฤษใหผานเกณฑภายใน 2 ปการศึกษา ตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง เกณฑมาตรฐานภาษาอังกฤษ สําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ** การสอบวัดคุณสมบัติขึ้นอยูกับดุลพินิจของหัวหนาภาควิชา แบบ 1.1 สอบภายใน 4 ภาคการศึกษา แบบ 2.1 สอบภายใน 4 ภาคการศึกษา แบบ 1.2 สอบภายใน 4 ภาคการศึกษา แบบ 2.2 สอบภายใน 6 ภาคการศึกษา ** ยกเวน ปริญญาเอก แบบ 2 ตองศึกษารายวิชาตามแผนการเรียนมาแลวไมนอยกวา กึ่งหนึ่งของจํานวนหนวยกิตรายวิชาในหลักสูตรที่นับหนวยกิต และไดแตมระดับ คะแนนเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 3.00 สอบผานภาษาอังกฤษ */ สอบผานวัดคุณสมบัติ** แตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ และเสนอโครงการวิทยานิพนธ สอบหัวขอวิทยานิพนธ และไดรับอนุมัติหัวขอวิทยานิพนธ สอบความกาวหนาวิทยานิพนธ สอบปองกันวิทยานิพนธ ตีพิมพผลงานหรือสวนหนึ่ง ของผลงานวิทยานิพนธ ในวารสารทางวิชาการ สําเร็จการศึกษา


9 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 1.2 การเสนอโครงการวิทยานิพนธ จะเสนอโครงการไดเมื่อไร และมีขั้นตอนอยางไรบาง ANS. นักศึกษาจะเสนอโครงการวิทยานิพนธได ตองลงทะเบียนวิทยานิพนธไมนอยกวา 3 หนวยกิต ในภาคการศึกษานั้น และดําเนินการดังนี้ 1. นักศึกษาตองสอบวัดคุณสมบัติผานหรือเปนที่พอใจแลว และตองสอบผานภาษาตางประเทศตาม ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย 2. การพิจารณาโครงการวิทยานิพนธใหเปนไปตามขั้นตอนที่แตละภาควิชากําหนด 3. โครงการวิทยานิพนธที่จะเสนอขออนุมัติตองไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธและ หัวหนาภาควิชากอนแลว จึงเสนอตอบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อตรวจสอบ ทั้งนี้ ใหเสนอแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษา วิทยานิพนธมาในคราวเดียวกัน 4. การเปลี่ยนแปลงใด ๆ เกี่ยวกับโครงการวิทยานิพนธที่ไดรับอนุมัติแลว หากเปนการเปลี่ยนแปลงหัวขอ วิทยานิพนธ หรือสาระสําคัญของวิทยานิพนธ ใหการประเมินผลวิทยานิพนธที่ลงทะเบียนผานมาทั้งหมดเปน ระดับคะแนน U นักศึกษาตองลงทะเบียนและยื่นเสนอขออนุมัติโครงการวิทยานิพนธใหม โดยใหนับเวลา ตั้งแตวันที่ไดรับอนุมัติโครงการวิทยานิพนธครั้งหลังสุด เอกสารคํารอง - บ.001 คํารองขอเสนอโครงการวิทยานิพนธและแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ - บ.101 แบบฟอรมเสนอโครงการวิทยานิพนธ 1.3 การสอบหัวขอวิทยานิพนธ จะขอสอบไดเมื่อไร และมีขั้นตอนอยางไรบาง ANS. มีขั้นตอนดังนี้ 1. การสอบหัวขอวิทยานิพนธ ตองดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน 30 วัน นับตั้งแตวันที่บัณฑิตวิทยาลัย อนุมัติโครงการวิทยานิพนธที่เสนอ และแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ มิฉะนั้นจะตองเสนอโครงการ วิทยานิพนธและแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธใหม 2. ใหอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ รายงานผลการสอบหัวขอวิทยานิพนธผานหัวหนาภาควิชาไปยัง บัณฑิตวิทยาลัยภายใน 1 สัปดาหนับถัดจากวันสอบ ดังนี้ ผาน ใหบัณฑิตวิทยาลัยประกาศอนุมัติหัวขอวิทยานิพนธ ผานโดยมีการปรับปรุง แกไข ใหนักศึกษาแกไขโครงการวิทยานิพนธ [ยื่นคํารองขอสงโครงการวิทยานิพนธ ฉบับแกไข (บ.006) พรอมโครงการวิทยานิพนธ (บ.101)] โดยเสนอผาน อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธและหัวหนาภาควิชาไปยังบัณฑิตวิทยาลัย ภายใน 30 วัน นับตั้งแตวันสอบเพื่อประกาศอนุมัติหัวขอวิทยานิพนธ ไมผาน ใหนักศึกษาเสนอโครงการ แตงตั้งอาจารยที่ปรึกษา และสอบหัวขอวิทยานิพนธใหม เอกสารคํารอง - บ.003 คํารองขอสอบหัวขอ/ความกาวหนาวิทยานิพนธ - บ.102 โครงการยอ พรอมสําเนาจํานวน 1 ชุด - นักศึกษาตองยื่นคํารองไปยังบัณฑิตวิทยาลัยกอนกําหนดการสอบอยางนอย 1 วันทําการ


10 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 1.4 การสอบความกาวหนาวิทยานิพนธ จะขอสอบไดเมื่อไร และมีขั้นตอนอยางไรบาง ANS. มีขั้นตอนดังนี้ 1. การสอบความกาวหนาวิทยานิพนธ ตองมีคุณสมบัติดังนี้ 1.1 แบบ 1 ตองไดรับอนุมัติหัวขอวิทยานิพนธมาแลวไมนอยกวา 365 วัน 1.2 แบบ 2 ตองไดรับอนุมัติหัวขอวิทยานิพนธมาแลวไมนอยกวา 183 วัน 2. ใหอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ รายงานผลการสอบความกาวหนาวิทยานิพนธผานหัวหนาภาควิชาไป ยังบัณฑิตวิทยาลัยภายใน 1 สัปดาหนับถัดจากวันสอบ ดังนี้ ผาน นักศึกษาสามารถยื่นคํารองขอสอบปองกันวิทยานิพนธไดทันที ผานโดยมีการปรับปรุง แกไข ใหนักศึกษาแกไขตามขอเสนอแนะของอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ โดยให ยื่นคํารองขอสอบปองกันวิทยานิพนธไดตามระยะเวลาที่ไดรับอนุมัติหัวขอ วิทยานิพนธ ไมผาน ใหนักศึกษายื่นคํารองขอสอบความกาวหนาใหมไดอีก 1 ครั้ง ภายใน ระยะเวลาที่อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธกําหนด ผูที่สอบครั้งที่สองไมผาน ใหผลประเมินวิทยานิพนธที่ผานมาทั้งหมดเปน U และตองลงทะเบียน วิทยานิพนธและจัดทําวิทยานิพนธภายใตหัวขอใหม พรอมทั้งเริ่มขั้นตอนการ ทําวิทยานิพนธใหมทั้งหมด ทั้งนี้ ระยะเวลาการศึกษาตองเปนไปตามเงื่อนไข สถานภาพของนักศึกษา เอกสารคํารอง - บ.003 คํารองขอสอบหัวขอ/ความกาวหนาวิทยานิพนธ - บ.102 โครงการยอ พรอมสําเนาจํานวน 1 ชุด - นักศึกษาตองยื่นคํารองไปยังบัณฑิตวิทยาลัยกอนกําหนดการสอบอยางนอย 1 วันทําการ 1.5 การสอบปองกันวิทยานิพนธ จะขอสอบไดเมื่อไร และมีขั้นตอนอยางไรบาง ANS. มีขั้นตอนดังนี้ 1. นักศึกษามีสิทธิ์ขอสอบปองกันวิทยานิพนธได เมื่อผานการสอบความกาวหนาวิทยานิพนธไมนอยกวา 30 วัน และตองมีคุณสมบัติดังนี้ 1.1 แบบ 1 ตองไดรับอนุมัติหัวขอวิทยานิพนธมาแลวไมนอยกวา 2 ป 1.2 แบบ 2 ตองไดรับอนุมัติหัวขอวิทยานิพนธมาแลวไมนอยกวา 1 ป และตองเรียนรายวิชา ครบ ตามที่กําหนดในหลักสูตร และไดแตมระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 3.00 2. ไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธและหัวหนาภาควิชาใหสอบปองกันวิทยานิพนธ ได 3. ในการสอบปองกันวิทยานิพนธจะตองมีคณะกรรมการสอบครบทุกคน 4. ใหประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธรายงานผลการสอบผานหัวหนาภาควิชาไปยังบัณฑิตวิทยาลัย ภายใน 1 สัปดาหนับถัดจากวันสอบ ดังนี้ ผาน ใหนักศึกษาจัดพิมพรูปเลมและจัดสงเลมวิทยานิพนธที่มีลายมือชื่อคณะกรรมการสอบ วิทยานิพนธลงนามครบถวนทุกคนใหบัณฑิตวิทยาลัยไดทันที ทั้งนี้ ตองไมเกิน 15 วัน นับตั้งแตวันสอบปองกันวิทยานิพนธ


11 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 ผานโดยมีการปรับปรุง แกไข ใหนักศึกษาแกไขตามขอเสนอของคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ พรอมทั้ง จัดพิมพรูปเลมและจัดสงเลมวิทยานิพนธที่มีลายมือชื่อคณะกรรมการสอบ วิทยานิพนธลงนามครบถวนทุกคนใหบัณฑิตวิทยาลัย ทั้งนี้ ตองไมเกิน 60 วัน นับตั้งแตวันสอบปองกันวิทยานิพนธ ไมผาน ใหนักศึกษายื่นคํารองขอสอบใหมไดอีก 1 ครั้งภายในระยะเวลาที่ คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธกําหนด มิฉะนั้นผลการสอบจะถูกปรับเปน ระดับคะแนน U นักศึกษาตองลงทะเบียนและจัดทําวิทยานิพนธภายใตหัวขอ ใหม พรอมทั้งเริ่มขั้นตอนการทําวิทยานิพนธใหมทั้งหมด โดยการยื่นคํารอง ขอสอบปองกันวิทยานิพนธครั้งที่ 2 นักศึกษาตองชําระเงินคาธรรมเนียมตาม ระเบียบมหาวิทยาลัย ทั้งนี้ ระยะเวลาการศึกษาตองเปนไปตามเงื่อนไข สถานภาพของนักศึกษา หมายเหตุ : นักศึกษาตองสงเลมวิทยานิพนธฉบับสมบูรณตามเกณฑการตัดสินผลการสอบ วิทยานิพนธใหบัณฑิตวิทยาลัยภายในระยะเวลาที่กําหนด มิฉะนั้นบัณฑิต วิทยาลัยจะยกเลิกผลการสอบและใหการประเมินผลวิทยานิพนธที่ลงทะเบียน ผานมาทั้งหมดเปน U หากนักศึกษายังตองการรับปริญญานั้นอีกตอง ลงทะเบียนและเริ่มขั้นตอนการทําวิทยานิพนธใหมทั้งหมด ทั้งนี้ระยะเวลา การศึกษาตองเปนไปตามเงื่อนไขสถานภาพของนักศึกษา เอกสารคํารอง - บ.004 คํารองขอสอบปองกันวิทยานิพนธ/สารนิพนธ/การคนควาอิสระ - บ.102 โครงการยอ พรอมสําเนาจํานวน 1 ชุด - บ.013 คํารองเสนอผลการตรวจสอบการลอกหรือลอกเลียนผลงานทางวิชาการ - ใบรายงานผลการศึกษา (Transcript) ดําเนินการขอไดที่งานทะเบียน - เลมวิทยานิพนธฉบับสอบเทากับจํานวนคณะกรรมการสอบ - นักศึกษาตองยื่นคํารองไปยังบัณฑิตวิทยาลัยกอนกําหนดการสอบอยางนอย 15 วันทําการ 1.6 การสอบวัดคุณสมบัติ จะขอสอบไดเมื่อไร และมีขั้นตอนอยางไรบาง ANS. มีขั้นตอนดังนี้ 1. นักศึกษาจะมีสิทธิ์ขอสอบวัดคุณสมบัติ เมื่อไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาและหัวหนา ภาควิชา เวนแตนักศึกษาระดับปริญญาเอกแบบ 2 ตองศึกษารายวิชาตามแผนการเรียนมาแลวไมนอยกวา กึ่งหนึ่งของจํานวนหนวยกิตรายวิชาในหลักสูตรที่นับหนวยกิตในการสําเร็จการศึกษา และตองไดแตมระดับ คะแนนเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 3.00 2. นักศึกษาที่ประสงคจะขอสอบวัดคุณสมบัติตองยื่นคํารองผานอาจารยที่ปรึกษาและหัวหนาภาควิชาไป ยังบัณฑิตวิทยาลัย และชําระคาธรรมเนียมตามระเบียบมหาวิทยาลัย 3. นักศึกษาตองสอบวัดคุณสมบัติใหผานภายในระยะเวลาตามที่กําหนด นับตั้งแตภาคการศึกษาแรกที่เขา ศึกษา มิฉะนั้นจะพนสภาพการเปนนักศึกษา โดยมีรายละเอียดในแตละหลักสูตร ดังนี้ 3.1 หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต แบบ 1.1 ภายใน 4 ภาคการศึกษา 3.2 หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต แบบ 1.2 ภายใน 4 ภาคการศึกษา 3.3 หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต แบบ 2.1 ภายใน 4 ภาคการศึกษา


12 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 3.4 หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต แบบ 2.2 ภายใน 6 ภาคการศึกษา 4. ผูที่ไดผลการสอบวัดคุณสมบัติเปน U มีสิทธิ์ขอสอบแกตัวไดอีก 1 ครั้ง นับตั้งแตวันสอบขอเขียนไป แลว 60 วัน โดยตองไมเกินระยะตามที่กําหนดตามขอ 3.1 หรือ 3.2 หรือ 3.3 หรือ 3.4 หากการสอบครั้งที่ สองยังไดผลสอบเปน U ใหพนสภาพการเปนนักศึกษา เอกสารคํารอง - บ.005 คํารองขอสอบประมวลความรู/วัดคุณสมบัติ - ใบรายงานผลการศึกษา (Transcript) ดําเนินการขอไดที่งานทะเบียน - นักศึกษาชําระคาธรรมเนียมตามระเบียบมหาวิทยาลัย (ยกเวนหลักสูตรภาคพิเศษ) 1.7 การพิจารณาคะแนนภาษาอังกฤษในการรับเขาศึกษาของนักศึกษาระดับปริญญาเอก มีเกณฑการ พิจารณาอยางไร ANS. ผูสมัครระดับปริญญาเอกที่ไมมีผลภาษาอังกฤษมายื่นเพื่อประกอบการสมัครตามเกณฑมาตรฐาน หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 ที่ สกอ. กําหนด ทั้งนี้มหาวิทยาลัยมีเกณฑการพิจารณา ดังนี้ 1. นักศึกษาจะตองผานเกณฑมาตรฐานภาษาอังกฤษอยางใดอยางหนึ่ง ดังนี้ 1.1 เขารับการทดสอบทางภาษาอังกฤษ Proficiency Test ในการสอบคัดเลือกเขาศึกษาระดับ ปริญญาเอก โดยจะตองสอบไดคะแนนไมต่ํากวารอยละ 70 มิฉะนั้นจะตองปฏิบัติตามหลักเกณฑ ดังนี้ 1.1.1 กรณีสอบไดคะแนนต่ํากวารอยละ 70 แตไมต่ํากวารอยละ 60 จะตองลงทะเบียนเรียน ในรายวิชา Academic English II 1.1.2 กรณีสอบไดคะแนนต่ํากวารอยละ 60 ตองลงทะเบียนเรียนในรายวิชา Academic English I และ Academic English II ทั้งนี้ การลงทะเบียนเรียนในรายวิชา Academic English I และ Academic English II ตอง สอบผานในรายวิชานั้น ๆ โดยจะตองไดรับคะแนนไมต่ํากวารอยละ 70 ในแตละรายวิชา 1.2 แสดงผลการทดสอบจากศูนยทดสอบทางภาษาที่ผลการสอบมีอายุไมเกิน 2 ป นับตั้งแตวันสอบ จากสถาบันทดสอบที่มีการสอบจนถึงวันที่บัณฑิตวิทยาลัยรับคํารอง ดังนี้ TOEFL (Paper Based/ITP) ไมต่ํากวา 525 คะแนน TOEFL (Computer Based) ไมต่ํากวา 195 คะแนน TOEFL (Internet Based) ไมต่ํากวา 71 คะแนน IELTS (Academic Module) ไมต่ํากวา 5.5 คะแนน IDP-TEST ไมต่ํากวา 5.5 คะแนน TU-GET (1000 คะแนน) ไมต่ํากวา 550 คะแนน CU-TEP (120 คะแนน) ไมต่ํากวา 70 คะแนน K-STEP ไมต่ํากวารอยละ 70 เอกสารคํารอง - บ.014 คํารองขอเสนอผลการสอบภาษาอังกฤษ - ผลการทดสอบภาษาภาษาอังกฤษ จํานวน 1 ชุด


13 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 1.8 การแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ มีเกณฑการพิจารณาอยางไร ANS. เกณฑการพิจารณา มีดังนี้ 1. วิทยานิพนธระดับปริญญาเอก ใหมีอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก 1 คน และอาจเสนออาจารย ที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวมไดอีกไมเกิน 2 คน 2. อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลักตองเปนอาจารยประจําหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือขั้นต่ําปริญญาโทหรือเทียบเทาที่มีตําแหนงรองศาสตราจารย และมีผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหนึ่ง ของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่กําหนดในการ พิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย 3 รายการ ในรอบ 5 ปยอนหลังนับจากวันที่ สภามหาวิทยาลัยอนุมัติหลักสูตร โดยอยางนอย 1 รายการตองเปนผลงานวิจัย 3. อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม (ถามี) ตองมีคุณวุฒิและคุณสมบัติดังนี้ อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวมที่เปนอาจารยประจํา ตองมีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการเชนเดียวกับ อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก สําหรับอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวมที่เปนผูทรงคุณวุฒิภายนอก ตองมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือ เทียบเทา และมีผลงานทางวิชาการที่ไดรับการตีพิมพเผยแพรในวารสารที่มีชื่ออยูในฐานขอมูลที่เปนที่ยอมรับ ในระดับนานาชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธไมนอยกวา 5 เรื่อง กรณีผูทรงคุณวุฒิภายนอกที่ไมมีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการตามที่กําหนดขางตน จะตองเปนผูมีความรู ความเชี่ยวชาญและประสบการณสูงมากเปนที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธ โดยผานความ เห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย และแจงคณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบ 1.9 การแตงตั้งคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ มีเกณฑการพิจารณาอยางไร ANS. เกณฑการพิจารณา มีดังนี้ 1. คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ กําหนดใหมีจํานวน 5-6 คน ประกอบดวยอาจารยประจําหลักสูตร ผูทรงคุณวุฒิภายนอก และอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ทั้งนี้ ประธานกรรมการสอบตองเปนผูทรงคุณวุฒิ ภายนอก และตองไมเปนอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ โดยคณะกรรมการสอบตองมีคุณวุฒิ คุณสมบัติ และ ผลงานทางวิชาการ ดังนี้ - กรณีอาจารยประจําหลักสูตร ตองมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือขั้นต่ําปริญญาโทหรือ เทียบเทาที่มีตําแหนงรองศาสตราจารย และมีผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับ ปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งให บุคคลดํารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย 3 รายการ ในรอบ 5 ปยอนหลังนับจากวันที่สภามหาวิทยาลัย อนุมัติหลักสูตร โดยอยางนอย 1 รายการตองเปนผลงานวิจัย - กรณีผูทรงคุณวุฒิภายนอก ตองมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา และมีผลงานทางวิชาการที่ไดรับการ ตีพิมพเผยแพรในวารสารที่มีชื่ออยูในฐานขอมูลที่เปนที่ยอมรับในระดับนานาชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธกับ หัวขอวิทยานิพนธ ไมนอยกวา 5 เรื่อง - กรณีผูทรงคุณวุฒิภายนอกที่ไมมีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการตามที่กําหนดขางตน จะตองเปนผูมี ความรูความเชี่ยวชาญและประสบการณสูงมากเปนที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธ โดย ผานความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย และแจงคณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบ


14 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 1.10 นักศึกษาหลักสูตรปริญญาเอก จะสําเร็จการศึกษาไดตองมีคุณสมบัติ และเงื่อนไขอะไรบาง ANS. นักศึกษาหลักสูตรปริญญาเอก จะสําเร็จการศึกษาไดตองมีคุณสมบัติและปฏิบัติตามเงื่อนไข ครบถวน ดังนี้ แบบ 1 1. สอบวัดคุณสมบัติผานหรือเปนที่พอใจ 2. สอบวิทยานิพนธผานหรือเปนที่พอใจ 3. สงรูปเลมวิทยานิพนธฉบับสมบูรณที่จัดพิมพตามคูมือการทําวิทยานิพนธของบัณฑิตวิทยาลัย พรอม แผนบันทึกขอมูลวิทยานิพนธ 4. ผลงานวิทยานิพนธหรือสวนหนึ่งของวิทยานิพนธตองไดรับการตีพิมพ หรืออยางนอยไดรับการยอมรับให ตีพิมพในวารสารทางวิชาการระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการ อุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑการพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพรผลงานทางวิชาการ อยาง นอย 2 เรื่อง แบบ 2 1. สอบวัดคุณสมบัติผานหรือเปนที่พอใจ 2. มีแตมระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมของรายวิชาที่กําหนดไวในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาไมต่ํากวา 3.00 3. สอบวิทยานิพนธผานหรือเปนที่พอใจ 4. สงรูปเลมวิทยานิพนธฉบับสมบูรณที่จัดพิมพตามคูมือการทําวิทยานิพนธของบัณฑิตวิทยาลัย พรอม แผนบันทึกขอมูลวิทยานิพนธ 5. ผลงานวิทยานิพนธหรือสวนหนึ่งของวิทยานิพนธตองไดรับการตีพิมพ หรืออยางนอยไดรับการยอมรับให ตีพิมพในวารสารทางวิชาการระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการ อุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑการพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพรผลงานทางวิชาการ


15 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7


16 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 2. การศึกษาระดับปริญญาโท แผน ก 2.1 การศึกษาของนักศึกษาระดับปริญญาโท แผน ก มีขั้นตอนอยางไรบาง ANS. ขั้นตอนการศึกษาของนักศึกษาระดับปริญญาโท แผน ก มีดังนี้ ขั้นตอนการศึกษาของนักศึกษาระดับปริญญาโท แผน ก แตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ และเสนอโครงการวิทยานิพนธ สอบหัวขอวิทยานิพนธ และไดรับอนุมัติหัวขอวิทยานิพนธ สอบความกาวหนาวิทยานิพนธ สอบปองกันวิทยานิพนธ สําเร็จการศึกษา ตีพิมพผลงานหรือสวนหนึ่งของผลงาน วิทยานิพนธในวารสารทางวิชาการ หรือนําเสนอตอที่ประชุมวิชาการ / สอบผานภาษาอังกฤษ ** หมายเหตุ * การสอบวัดคุณสมบัติ นักศึกษา แผน ก แบบ ก 1 สอบภายใน 4 ภาคการศึกษา ** สอบผานภาษาอังกฤษตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง เกณฑมาตรฐานภาษาอังกฤษ สําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สอบผานวัดคุณสมบัติ*


17 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 2.2 การเสนอโครงการวิทยานิพนธ จะเสนอโครงการไดเมื่อไร และมีขั้นตอนอยางไรบาง ANS. นักศึกษาจะเสนอโครงการวิทยานิพนธได ตองลงทะเบียนวิทยานิพนธไมนอยกวา 3 หนวยกิต ในภาคการศึกษานั้น และดําเนินการดังนี้ 1. นักศึกษาหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก 1 ทําเฉพาะวิทยานิพนธ ตองสอบวัดคุณสมบัติผาน หรือเปนที่พอใจแลว 2. นักศึกษาหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก 2 ตองศึกษารายวิชาตามแผนการเรียนมาแลว ไมนอยกวา 9 หนวยกิต และตองไดแตมระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 3.00 3. การพิจารณาโครงการวิทยานิพนธ ใหเปนไปตามขั้นตอนที่แตละภาควิชากําหนด 4. โครงการวิทยานิพนธที่จะเสนอขออนุมัติตองไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธและ หัวหนาภาควิชากอนแลว จึงเสนอตอบัณฑิตวิทยาลัยเพื่อตรวจสอบ ทั้งนี้ ใหเสนอแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษา วิทยานิพนธมาในคราวเดียวกัน 5. การเปลี่ยนแปลงใด ๆ เกี่ยวกับโครงการวิทยานิพนธที่ไดรับอนุมัติแลว หากเปนการเปลี่ยนแปลงหัวขอ วิทยานิพนธ หรือสาระสําคัญของวิทยานิพนธ ใหการประเมินผลวิทยานิพนธที่ลงทะเบียนผานมาทั้งหมด เปนระดับคะแนน U นักศึกษาตองลงทะเบียนและยื่นเสนอขออนุมัติโครงการวิทยานิพนธใหม โดยใหนับ เวลาตั้งแตวันที่ไดรับอนุมัติโครงการวิทยานิพนธครั้งหลังสุด เอกสารคํารอง - บ.001 คํารองขอเสนอโครงการวิทยานิพนธและแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ - บ.101 แบบฟอรมเสนอโครงการวิทยานิพนธ 2.3 การสอบหัวขอวิทยานิพนธ จะขอสอบไดเมื่อไร และมีขั้นตอนอยางไรบาง ANS. มีขั้นตอนดังนี้ 1. การสอบหัวขอวิทยานิพนธ ตองดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน 30 วัน นับตั้งแตวันที่บัณฑิตวิทยาลัย อนุมัติโครงการวิทยานิพนธที่เสนอ และแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ มิฉะนั้นจะตองเสนอโครงการ วิทยานิพนธและแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธใหม 2. ใหอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ รายงานผลการสอบหัวขอวิทยานิพนธผานหัวหนาภาควิชาไปยัง บัณฑิตวิทยาลัยภายใน 1 สัปดาหนับถัดจากวันสอบ ดังนี้ ผาน ใหบัณฑิตวิทยาลัยประกาศอนุมัติหัวขอวิทยานิพนธ ผานโดยมีการปรับปรุง แกไข ใหนักศึกษาแกไขโครงการวิทยานิพนธ [ยื่นคํารองขอเสนอโครงการ วิทยานิพนธฉบับแกไข (บ.006) พรอมโครงการวิทยานิพนธ (บ.020)] โดยเสนอผานอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธและหัวหนาภาควิชาไปยังบัณฑิต วิทยาลัยภายใน 30 วัน นับตั้งแตวันสอบเพื่อประกาศอนุมัติหัวขอ วิทยานิพนธ ไมผาน ใหนักศึกษาเสนอโครงการ แตงตั้งอาจารยที่ปรึกษา และสอบหัวขอ วิทยานิพนธใหม เอกสารคํารอง - บ.003 คํารองขอสอบหัวขอ/ความกาวหนาวิทยานิพนธ - บ.102 โครงการยอ พรอมสําเนาจํานวน 1 ชุด - นักศึกษาตองยื่นคํารองไปยังบัณฑิตวิทยาลัยกอนกําหนดการสอบอยางนอย 1 วันทําการ


18 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 2.4 การสอบความกาวหนาวิทยานิพนธ จะขอสอบไดเมื่อไร และมีขั้นตอนอยางไรบาง ANS. มีขั้นตอนดังนี้ 1. การสอบความกาวหนาวิทยานิพนธ ตองมีคุณสมบัติดังนี้ 1.1 แผน ก แบบ ก 1 ตองไดรับอนุมัติหัวขอวิทยานิพนธมาแลวไมนอยกวา 120 วัน 1.2 แผน ก แบบ ก 2 ตองไดรับอนุมัติหัวขอวิทยานิพนธมาแลวไมนอยกวา 60 วัน 2. ใหอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ รายงานผลการสอบความกาวหนาวิทยานิพนธผานหัวหนาภาควิชา ไปยังบัณฑิตวิทยาลัยภายใน 1 สัปดาหนับถัดจากวันสอบ ดังนี้ ผาน นักศึกษาสามารถยื่นคํารองขอสอบปองกันวิทยานิพนธไดทันที ผานโดยมีการปรับปรุง แกไข ใหนักศึกษาแกไขตามขอเสนอแนะของอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ โดยให ยื่นคํารองขอสอบปองกันวิทยานิพนธไดตามระยะเวลาที่ไดรับอนุมัติหัวขอ วิทยานิพนธ ไมผาน ใหนักศึกษายื่นคํารองขอสอบความกาวหนาใหมไดอีก 1 ครั้ง ภายใน ระยะเวลาที่อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธกําหนด ผูที่สอบครั้งที่สองไมผาน ใหผลประเมินวิทยานิพนธที่ผานมาทั้งหมดเปน U และตองลงทะเบียน วิทยานิพนธและจัดทําวิทยานิพนธภายใตหัวขอใหม พรอมทั้งเริ่มขั้นตอนการ ทําวิทยานิพนธใหมทั้งหมด ทั้งนี้ ระยะเวลาการศึกษาตองเปนไปตามเงื่อนไข สถานภาพของนักศึกษา เอกสารคํารอง - บ.003 คํารองขอสอบหัวขอ/ความกาวหนาวิทยานิพนธ - บ.102 โครงการยอ พรอมสําเนาจํานวน 1 ชุด - นักศึกษาตองยื่นคํารองไปยังบัณฑิตวิทยาลัยกอนกําหนดการสอบอยางนอย 1 วันทําการ 2.5 การสอบปองกันวิทยานิพนธ จะขอสอบไดเมื่อไร และมีขั้นตอนอยางไรบาง ANS. มีขั้นตอนดังนี้ 1. นักศึกษามีสิทธิ์ขอสอบปองวิทยานิพนธได เมื่อผานการสอบความกาวหนาวิทยานิพนธไมนอยกวา 30 วัน และตองมีคุณสมบัติดังนี้ 1.1 แผน ก แบบ ก 1 ตองไดรับอนุมัติหัวขอวิทยานิพนธมาแลวไมนอยกวา 240 วัน 1.2 แผน ก แบบ ก 2 ตองไดรับอนุมัติหัวขอวิทยานิพนธมาแลวไมนอยกวา 120 วัน และตองเรียน รายวิชาครบตามที่กําหนดในหลักสูตร และไดแตมระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 3.00 2. ไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธและหัวหนาภาควิชาใหสอบปองกันวิทยานิพนธ ได 3. ในการสอบปองกันวิทยานิพนธจะตองมีคณะกรรมการสอบครบทุกคน 4. ใหประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธรายงานผลการสอบผานหัวหนาภาควิชาไปยังบัณฑิตวิทยาลัย ภายใน 1 สัปดาหนับถัดจากวันสอบ ดังนี้ ผาน ใหนักศึกษาจัดพิมพรูปเลมและจัดสงเลมวิทยานิพนธที่มีลายมือชื่อคณะกรรมการสอบ วิทยานิพนธลงนามครบถวนทุกคนใหบัณฑิตวิทยาลัยไดทันที ทั้งนี้ ตองไมเกิน 15วัน นับตั้งแตวันสอบปองกันวิทยานิพนธ ผานโดยมีการ ใหนักศึกษาแกไขตามขอเสนอของคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ พรอมทั้งจัดพิมพ


19 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 ปรับปรุงแกไข รูปเลมและจัดสงเลมวิทยานิพนธที่มีลายมือชื่อคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธลงนาม ครบถวนทุกคนใหบัณฑิตวิทยาลัย ทั้งนี้ ตองไมเกิน 60 วันนับตั้งแตวันสอบปองกัน วิทยานิพนธ ไมผาน ใหนักศึกษายื่นคํารองขอสอบใหมไดอีก 1 ครั้งภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการสอบ วิทยานิพนธกําหนด มิฉะนั้นผลการสอบจะถูกปรับเปนระดับคะแนน U นักศึกษาตอง ลงทะเบียนและจัดทําวิทยานิพนธภายใตหัวขอใหม พรอมทั้งเริ่มขั้นตอนการทํา วิทยานิพนธใหมทั้งหมด โดยการยื่นคํารองขอสอบปองกันวิทยานิพนธครั้งที่ 2 นักศึกษาตองชําระเงินคาธรรมเนียมตามระเบียบมหาวิทยาลัย ทั้งนี้ ระยะเวลา การศึกษาตองเปนไปตามเงื่อนไขสถานภาพของ นักศึกษา หมายเหตุ : นักศึกษาตองสงเลมวิทยานิพนธฉบับสมบูรณตามเกณฑการตัดสินผลการสอบ วิทยานิพนธใหบัณฑิตวิทยาลัยภายในระยะเวลาที่กําหนด มิฉะนั้นบัณฑิตวิทยาลัย จะยกเลิกผลการสอบและใหการประเมินผลวิทยานิพนธที่ลงทะเบียนผานมาทั้งหมด เปน U หากนักศึกษายังตองการรับปริญญานั้นอีกตองลงทะเบียนและเริ่มขั้นตอนการ ทําวิทยานิพนธใหมทั้งหมด ทั้งนี้ระยะเวลาการศึกษาตองเปนไปตามเงื่อนไขสถานภาพ ของนักศึกษา เอกสารคํารอง - บ.004 คํารองขอสอบปองกันวิทยานิพนธ/สารนิพนธ/การคนควาอิสระ - บ.102 โครงการยอ พรอมสําเนาจํานวน 1 ชุด - บ.013 คํารองเสนอผลการตรวจสอบการลอกหรือลอกเลียนผลงานทางวิชาการ - ใบรายงานผลการศึกษา (Transcript) ดําเนินการขอไดที่งานทะเบียน - เลมวิทยานิพนธฉบับสอบเทาจํานวนคณะกรรมการสอบ - นักศึกษาตองยื่นคํารองไปยังบัณฑิตวิทยาลัยกอนกําหนดการสอบอยางนอย 10 วันทําการ 2.6 การสอบวัดคุณสมบัติ (สําหรับแผน ก แบบ ก 1) จะขอสอบไดเมื่อไร และมีขั้นตอนอยางไรบาง ANS. มีขั้นตอนดังนี้ 1. นักศึกษาจะมีสิทธิ์ขอสอบวัดคุณสมบัติ เมื่อไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาและหัวหนา ภาควิชา 2. นักศึกษาที่ประสงคจะขอสอบวัดคุณสมบัติตองยื่นคํารองผานอาจารยที่ปรึกษาและหัวหนาภาควิชาไป ยังบัณฑิตวิทยาลัย และชําระคาธรรมเนียมตามระเบียบมหาวิทยาลัย 3. นักศึกษาตองสอบวัดคุณสมบัติใหผานภายในระยะเวลาตามที่กําหนดในหลักสูตรปริญญาโท แผน ก แบบ ก 1 ภายใน 4 ภาคการศึกษา นับตั้งแตภาคการศึกษาแรกที่เขาศึกษา มิฉะนั้นจะพนสภาพการเปนนักศึกษา 4. ผูที่ไดผลการสอบวัดคุณสมบัติเปน U มีสิทธิ์ขอสอบแกตัวไดอีก 1 ครั้ง นับตั้งแตวันสอบขอเขียนไป แลว 60 วัน โดยตองไมเกินระยะตามที่กําหนดนับตั้งแตภาคการศึกษาแรกที่เขาศึกษา หากการสอบครั้งที่สอง ยังไดผลสอบเปน U ใหพนสภาพการเปนนักศึกษา เอกสารคํารอง - บ.005 คํารองขอสอบประมวลความรู/วัดคุณสมบัติ - ใบรายงานผลการศึกษา (Transcript) ดําเนินการขอไดที่งานทะเบียน - นักศึกษาชําระคาธรรมเนียมตามระเบียบมหาวิทยาลัย (ยกเวนหลักสูตรภาคพิเศษ)


20 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 2.7 การสอบภาษาอังกฤษ มีเกณฑการพิจารณาอยางไร ANS. การสอบภาษาอังกฤษมีผลบังคับใชกับนักศึกษาที่เขาศึกษาตั้งแตปการศึกษา 2558 เปนตนไป ซึ่งมีเกณฑการพิจารณาสําหรับหลักสูตรปริญญาโท ดังนี้ 1. นักศึกษาจะตองผานเกณฑมาตรฐานภาษาอังกฤษอยางใดอยางหนึ่ง ดังนี้ 1.1 เขารับการทดสอบทางภาษาอังกฤษ Proficiency Test ในการสอบคัดเลือกเขาศึกษาระดับปริญญาโท โดยจะตองสอบไดคะแนนไมต่ํากวารอยละ 60 มิฉะนั้นจะตองปฏิบัติตามหลักเกณฑ ดังนี้ 1.1.1 กรณีสอบไดคะแนนต่ํากวารอยละ 60 แตไมต่ํากวารอยละ 50 จะตองลงทะเบียนเรียน ในรายวิชา Graduate English II 1.1.2 กรณีสอบไดคะแนนต่ํากวารอยละ 50 ตองลงทะเบียนเรียนในรายวิชา Graduate English I และ Graduate English II ทั้งนี้ การลงทะเบียนเรียนในรายวิชา Graduate English I และ Graduate English II ตองสอบผาน ในรายวิชานั้น ๆ โดยจะตองไดรับคะแนนไมต่ํากวารอยละ 60 ในแตละรายวิชา 1.2 แสดงผลการทดสอบจากศูนยทดสอบทางภาษา ที่ผลการสอบมีอายุไมเกิน 2 ป นับตั้งแตวันสอบ จากสถาบันทดสอบที่มีการสอบจนถึงวันที่บัณฑิตวิทยาลัยรับคํารอง ดังนี้ TOEFL (Paper Based/ITP) ไมต่ํากวา 477 คะแนน TOEFL (Computer Based) ไมต่ํากวา 153 คะแนน TOEFL (Internet Based) ไมต่ํากวา 53 คะแนน IELTS (Academic Module) ไมต่ํากวา 4.5 คะแนน IDP-TEST ไมต่ํากวา 4.5 คะแนน TU-GET (1000 คะแนน) ไมต่ํากวา 500 คะแนน CU-TEP (120 คะแนน) ไมต่ํากวา 62 คะแนน K-STEP ไมต่ํากวารอยละ 60 1.3 เรียนรายวิชาภาษาอังกฤษที่ไดรับการรับรองจากคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย เอกสารคํารอง - บ.014 คํารองขอเสนอผลการสอบภาษาอังกฤษ - ผลการทดสอบภาษาภาษาภาษาอังกฤษ จํานวน 1 ชุด 2.8 การแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ มีเกณฑการพิจารณาอยางไร ANS. เกณฑการพิจารณา มีดังนี้ 1. วิทยานิพนธระดับปริญญาโท ใหมีอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก 1 คน และอาจเสนออาจารย ที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวมไดอีก 1 คน 2. อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลักตองเปนอาจารยประจําหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือขั้นต่ําปริญญาโทหรือเทียบเทาที่มีตําแหนงรองศาสตราจารย และมีผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหนึ่ง ของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่กําหนดในการ พิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย 3 รายการ ในรอบ 5 ปยอนหลังนับจากวันที่ สภามหาวิทยาลัยอนุมัติหลักสูตร โดยอยางนอย 1 รายการตองเปนผลงานวิจัย


21 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 3. อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม (ถามี) ตองมีคุณวุฒิและคุณสมบัติดังนี้ อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวมที่เปนอาจารยประจํา ตองมีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการเชนเดียวกับ อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก สําหรับอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวมที่เปนผูทรงคุณวุฒิภายนอก ตองมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือ เทียบเทา และมีผลงานทางวิชาการที่ไดรับการตีพิมพเผยแพรในวารสารที่มีชื่ออยูในฐานขอมูลที่เปนที่ยอมรับ ในระดับชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธไมนอยกวา 10 เรื่อง กรณีผูทรงคุณวุฒิภายนอกที่ไมมีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการตามที่กําหนดขางตน จะตองเปนผูมีความรู ความเชี่ยวชาญและประสบการณสูงเปนที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธ โดยผานความ เห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย และแจงคณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบ 2.9 การแตงตั้งคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ มีเกณฑการพิจารณาอยางไร ANS. เกณฑการพิจารณา มีดังนี้ 1. คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ กําหนดใหมีจํานวน 3-4 คน ประกอบดวยอาจารยประจําหลักสูตร ผูทรงคุณวุฒิภายนอก อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ทั้งนี้ ประธานกรรมการสอบตองไมเปนอาจารยที่ปรึกษา วิทยานิพนธ โดยคณะกรรมการสอบตองมีคุณวุฒิ คุณสมบัติ และผลงานทางวิชาการ ดังนี้ - กรณีอาจารยประจําหลักสูตร ตองมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือขั้นต่ําปริญญาโทหรือ เทียบเทาที่มีตําแหนงรองศาสตราจารย และมีผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับ ปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งให บุคคลดํารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย 3 รายการ ในรอบ 5 ปยอนหลังนับจากวันที่สภามหาวิทยาลัย อนุมัติหลักสูตร โดยอยางนอย 1 รายการตองเปนผลงานวิจัย - กรณีผูทรงคุณวุฒิภายนอก ตองมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา และมีผลงานทางวิชาการที่ไดรับการ ตีพิมพเผยแพรในวารสารที่มีชื่ออยูในฐานขอมูลที่เปนที่ยอมรับในระดับชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธกับหัวขอ วิทยานิพนธไมนอยกวา 10 เรื่อง - กรณีผูทรงคุณวุฒิภายนอกที่ไมมีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการตามที่กําหนดขางตน จะตองเปนผูมี ความรูความเชี่ยวชาญและประสบการณสูงเปนที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธกับหัวขอวิทยานิพนธ โดยผาน ความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย และแจงคณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบ 2.10 นักศึกษาหลักสูตรปริญญาโท แผน ก จะสําเร็จการศึกษาไดตองมีคุณสมบัติ และเงื่อนไข อะไรบาง ANS. นักศึกษาหลักสูตรปริญญาโท แผน ก จะสําเร็จการศึกษาไดตองมีคุณสมบัติและปฏิบัติตามเงื่อนไข ครบถวน ดังนี้ แผน ก แบบ ก 1 1. สอบวัดคุณสมบัติผานหรือเปนที่พอใจ 2. สอบวิทยานิพนธผานหรือเปนที่พอใจ 3. สงรูปเลมวิทยานิพนธฉบับสมบูรณที่จัดพิมพตามคูมือการทําวิทยานิพนธของบัณฑิตวิทยาลัย พรอม แผนบันทึกขอมูลวิทยานิพนธ


22 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 4. ผลงานวิทยานิพนธหรือสวนหนึ่งของวิทยานิพนธตองไดรับการตีพิมพ หรืออยางนอยไดรับการยอมรับให ตีพิมพในวารสารทางวิชาการระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการ อุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑการพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพรผลงานทางวิชาการ 5. สอบผานภาษาอังกฤษตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง เกณฑมาตรฐานภาษาอังกฤษ สําหรับ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา แผน ก แบบ ก 2 1. มีแตมระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมของรายวิชาที่กําหนดในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ไมต่ํากวา 3.00 2. สอบวิทยานิพนธผานหรือเปนที่พอใจ 3. สงรูปเลมวิทยานิพนธฉบับสมบูรณที่จัดพิมพตามคูมือการทําวิทยานิพนธของบัณฑิตวิทยาลัย พรอม แผนบันทึกขอมูลวิทยานิพนธ 4. ผลงานวิทยานิพนธหรือสวนหนึ่งของวิทยานิพนธตองไดรับการตีพิมพ หรืออยางนอยไดรับการยอมรับให ตีพิมพในวารสารทางวิชาการระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการ อุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑการพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพรผลงานทางวิชาการ หรือ นําเสนอตอที่ประชุมวิชาการโดยบทความที่นําเสนอฉบับสมบูรณ (Full Paper) ไดรับการตีพิมพในรายงาน สืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) 5. สอบผานภาษาอังกฤษตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง เกณฑมาตรฐานภาษาอังกฤษ สําหรับ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา


23 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7


24 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 3. การศึกษาระดับปริญญาโท แผน ข 3.1 การศึกษาของนักศึกษาระดับปริญญาโท แผน ข มีขั้นตอนอยางไรบาง ANS. ขั้นตอนการศึกษาของนักศึกษาระดับปริญญาโท แผน ข มีดังนี้ ขั้นตอนการศึกษาของนักศึกษาระดับปริญญาโท แผน ข แตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระ และเสนอโครงการคนควาอิสระ (ดําเนินการที่ภาควิชา) สอบหัวขอการคนควาอิสระ และไดรับอนุมัติหัวขอการคนควาอิสระ (ดําเนินการที่ภาควิชา) สอบปองกันการคนควาอิสระ(ดําเนินการที่บัณฑิตวิทยาลัย) สอบผานภาษาอังกฤษ * / สอบผานประมวลความรู ** หมายเหตุ * สอบผานภาษาอังกฤษตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง เกณฑมาตรฐานภาษาอังกฤษ สําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ** การสอบประมวลความรู นักศึกษาตองสอบผานรายวิชาครบถวนตามที่กําหนดไวในหลักสูตร โดยไดแตมระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 3.00 สําเร็จการศึกษา


25 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 3.2 การเสนอโครงการการคนควาอิสระ จะเสนอไดเมื่อไร และมีขั้นตอนอยางไรบาง ANS. นักศึกษาดําเนินการไดที่ภาควิชา โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. นักศึกษามีสิทธิ์ขอเสนอโครงการการคนควาอิสระไดตองลงทะเบียนการคนควาอิสระไมนอยกวา 3 หนวยกิต ในภาคการศึกษานั้น และศึกษารายวิชามาแลวไมนอยกวา 18 หนวยกิต มีแตมระดับคะแนน เฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 3.00 2. การเสนอโครงการการคนควาอิสระใหเปนไปตามหลักเกณฑที่ภาควิชากําหนด 3. การเสนอขออนุมัติโครงการการคนควาอิสระใหเสนอพรอมชื่ออาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระ ตอหัวหนาภาควิชาเพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการและนําเสนอคณะเพื่อแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาการคนควา อิสระ 4. การเปลี่ยนแปลงใด ๆ เกี่ยวกับโครงการการคนควาอิสระที่ไดรับอนุมัติแลว หากเปนการเปลี่ยนแปลง หัวขอการคนควาอิสระ หรือสาระสําคัญของการคนควาอิสระ ใหการประเมินผลการคนควาอิสระที่ ลงทะเบียนผานมาทั้งหมดเปนระดับคะแนน U นักศึกษาตองลงทะเบียนและยื่นเสนอขออนุมัติโครงการการ คนควาอิสระใหมโดยใหนับเวลาตั้งแตวันที่ไดรับอนุมัติโครงการการคนควาอิสระครั้งหลังสุด เอกสารคํารอง - คํารองขอเสนอโครงการการคนควาอิสระและแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษา (ตามที่แตละภาควิชากําหนด) 3.3 การสอบหัวขอการคนควาอิสระ จะขอสอบไดเมื่อไร และมีขั้นตอนอยางไรบาง ANS. นักศึกษาดําเนินการไดที่ภาควิชา โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. การสอบหัวขอการคนควาอิสระ ตองดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน 30 วัน นับตั้งแตวันที่ภาควิชา อนุมัติโครงการการคนควาอิสระและเสนอตอคณะเพื่อแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระ เมื่อพน กําหนดแลวจะตองเสนอโครงการการคนควาอิสระและแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระใหม 2. ใหอาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระ รายงานผลการสอบหัวขอการคนควาอิสระผานหัวหนาภาควิชา ไปยังคณะภายใน 1 สัปดาหนับถัดจากวันสอบ ดังนี้ ผาน ใหคณะประกาศอนุมัติหัวขอการคนควาอิสระ และแจงบัณฑิตวิทยาลัยทันที ผานโดยมีการปรับปรุง แกไข ใหนักศึกษาแกไขโครงการการคนควาอิสระ โดยเสนอผานอาจารยที่ปรึกษา การคนควาอิสระและหัวหนาภาควิชาไปยังคณะภายใน 30 วัน นับตั้งแตวัน สอบเพื่อประกาศอนุมัติหัวขอการคนควาอิสระ และแจงบัณฑิตวิทยาลัยทันที ไมผาน ใหนักศึกษาเสนอโครงการ แตงตั้งอาจารยที่ปรึกษา และสอบหัวขอการ คนควาอิสระใหม เอกสารคํารอง - คํารองขอสอบหัวขอการคนควาอิสระ (ตามที่แตละภาควิชากําหนด) 3.4 การสอบปองกันการคนควาอิสระ จะเสนอไดเมื่อไร มีขั้นตอนอยางไรบาง ANS. โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. นักศึกษามีสิทธิ์ขอสอบปองการคนควาอิสระได ภายหลังจากการไดรับอนุมัติหัวขอการคนควาอิสระ มาแลวไมนอยกวา 30 วัน 2. ไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระและหัวหนาภาควิชา ใหขอสอบปองกันการ คนควาอิสระได


26 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 3. ในการสอบปองกันการคนควาอิสระจะตองมีคณะกรรมการสอบครบทุกคน 4. ใหประธานกรรมการสอบการคนควาอิสระรายงานผลการสอบผานหัวหนาภาควิชาไปยังบัณฑิต วิทยาลัยภายใน 1 สัปดาหนับถัดจากวันสอบ ดังนี้ ผาน ใหนักศึกษาจัดพิมพรูปเลมและจัดสงการคนควาอิสระที่มีลายมือชื่อ คณะกรรมการสอบการคนควาอิสระลงนามครบถวนทุกคนใหภาควิชาไดทันที ทั้งนี้ ตองไมเกิน 15 วันนับตั้งแตวันสอบปองกันการคนควาอิสระ ผานโดยมีการปรับปรุง แกไข ใหนักศึกษาแกไขตามขอเสนอของคณะกรรมการสอบการคนควาอิสระ พรอมทั้งจัดพิมพรูปเลมและจัดสงการคนควาอิสระที่มีลายมือชื่อ คณะกรรมการสอบการคนควาอิสระลงนามครบถวนทุกคนใหภาควิชา ทั้งนี้ ตองไมเกิน 60 วันนับตั้งแตวันสอบปองกันการคนควาอิสระ ไมผาน ใหนักศึกษายื่นคํารองขอสอบใหมไดอีก 1 ครั้งภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการ สอบการคนควาอิสระกําหนด มิฉะนั้นผลการสอบจะถูกปรับเปนระดับคะแนน U นักศึกษาตองลงทะเบียนและจัดทําการคนควาอิสระภายใตหัวขอใหม พรอมทั้ง เริ่มขั้นตอนการทําการคนควาอิสระใหมทั้งหมด โดยการยื่นคํารองขอสอบ ปองกันการคนควาอิสระครั้งที่ 2 นักศึกษาตองชําระเงินคาธรรมเนียม ตามระเบียบมหาวิทยาลัย ทั้งนี้ ระยะเวลาการศึกษาตองเปนไปตามเงื่อนไข สถานภาพของนักศึกษา หมายเหตุ : นักศึกษาตองสงเลมการคนควาอิสระฉบับสมบูรณตามเกณฑการตัดสินผล การสอบการคนควาอิสระใหภาควิชาตามระยะเวลาที่กําหนด มิฉะนั้นบัณฑิต วิทยาลัยจะยกเลิกผลการสอบและใหการประเมินผลการคนควาอิสระ ที่ลงทะเบียนผานมาทั้งหมดเปน U หากนักศึกษายังตองการรับปริญญานั้นอีก ตองลงทะเบียนและเริ่มขั้นตอนการทําการคนควาอิสระใหมทั้งหมด ทั้งนี้ ระยะเวลาการศึกษาตองเปนไปตามเงื่อนไขสถานภาพของนักศึกษา เอกสารคํารอง - บ.004 คํารองขอสอบปองกันวิทยานิพนธ/สารนิพนธ/การคนควาอิสระ - บ.102 โครงการยอ พรอมสําเนาจํานวน 1 ชุด - บ.013 คํารองเสนอผลการตรวจสอบการลอกหรือลอกเลียนผลงานทางวิชาการ - ใบรายงานผลการศึกษา (Transcript) ดําเนินการขอไดที่งานทะเบียน - นักศึกษาตองยื่นคํารองไปยังบัณฑิตวิทยาลัยกอนกําหนดการสอบอยางนอย 7 วันทําการ 3.5 การสอบประมวลความรู จะขอสอบไดเมื่อไรและมีขั้นตอนอยางไรบาง ANS. โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. นักศึกษาจะมีสิทธิ์ขอสอบประมวลความรูไดเมื่อสอบผานรายวิชาครบถวนตามที่กําหนดไวในหลักสูตร โดยมีแตมระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 3.00 2. นักศึกษาที่ประสงคจะขอสอบประมวลความรูตองยื่นคํารองผานอาจารยที่ปรึกษาและหัวหนาภาควิชา ไปยังบัณฑิตวิทยาลัย และชําระคาธรรมเนียมตามระเบียบมหาวิทยาลัย


27 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 3. ผูที่ไดผลการสอบประมวลความรูเปน U มีสิทธิ์ขอสอบแกตัวไดอีก 1 ครั้ง นับตั้งแตวันสอบขอเขียน ไปแลว 60 วัน แตไมเกิน 1 ป มิฉะนั้นจะพนสภาพการเปนนักศึกษา หากการสอบครั้งที่สองยังไดผลสอบเปน U ใหพนสภาพการเปนนักศึกษา เอกสารคํารอง - บ.005 คํารองขอสอบประมวลความรู/วัดคุณสมบัติ - ใบรายงานผลการศึกษา (Transcript) ดําเนินการขอไดที่งานทะเบียน - นักศึกษาชําระคาธรรมเนียมตามระเบียบมหาวิทยาลัย (ยกเวนหลักสูตรภาคพิเศษ) 3.6 การสอบภาษาอังกฤษ มีเกณฑการพิจารณาอยางไร ANS. การสอบภาษาอังกฤษมีผลบังคับใชกับนักศึกษาที่เขาศึกษาตั้งแตปการศึกษา 2558 เปนตนไป ซึ่งมี เกณฑการพิจารณาสําหรับหลักสูตรปริญญาโท ดังนี้ 1. นักศึกษาจะตองผานเกณฑมาตรฐานภาษาอังกฤษอยางใดอยางหนึ่ง ดังนี้ 1.1 เขารับการทดสอบทางภาษาอังกฤษ Proficiency Test ในการสอบคัดเลือกเขาศึกษาระดับ ปริญญาโท โดยจะตองสอบไดคะแนนไมต่ํากวารอยละ 60 มิฉะนั้นจะตองปฏิบัติตามหลักเกณฑ ดังนี้ 1.1.1 กรณีสอบไดคะแนนต่ํากวารอยละ 60 แตไมต่ํากวารอยละ 50 จะตองลงทะเบียนเรียน ในรายวิชา Graduate English II 1.1.2 กรณีสอบไดคะแนนต่ํากวารอยละ 50 ตองลงทะเบียนเรียนในรายวิชา Graduate English I และ Graduate English II ทั้งนี้ การลงทะเบียนเรียนในรายวิชา Graduate English I และ Graduate English II ตองสอบ ผานในรายวิชานั้น ๆ โดยจะตองไดรับคะแนนไมต่ํากวารอยละ 60 ในแตละรายวิชา 1.2 แสดงผลการทดสอบจากศูนยทดสอบทางภาษา ที่ผลการสอบมีอายุไมเกิน 2 ป นับตั้งแตวันสอบ จากสถาบันทดสอบที่มีการสอบจนถึงวันที่บัณฑิตวิทยาลัยรับคํารอง ดังนี้ TOEFL (Paper Based/ITP) ไมต่ํากวา 477 คะแนน TOEFL (Computer Based) ไมต่ํากวา 153 คะแนน TOEFL (Internet Based) ไมต่ํากวา 53 คะแนน IELTS (Academic Module) ไมต่ํากวา 4.5 คะแนน IDP-TEST ไมต่ํากวา 4.5 คะแนน TU-GET (1000 คะแนน) ไมต่ํากวา 500 คะแนน CU-TEP (120 คะแนน) ไมต่ํากวา 62 คะแนน K-STEP ไมต่ํากวารอยละ 60 1.3 เรียนรายวิชาภาษาอังกฤษที่ไดรับการรับรองจากคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัย เอกสารคํารอง - บ.014 คํารองขอเสนอผลการสอบภาษาภาษาอังกฤษ - ผลการทดสอบภาษาภาษาอังกฤษ จํานวน 1 ชุด


28 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 3.7 การแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระ มีเกณฑการพิจารณาอยางไร ANS. เกณฑการพิจารณา มีดังนี้ 1. ใหมีอาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระ 1 คน 2. อาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระ ตองเปนอาจารยประจําหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือ เทียบเทา หรือขั้นต่ําปริญญาโทหรือเทียบเทาที่มีตําแหนงรองศาสตราจารย และมีผลงานทางวิชาการที่ไมใช สวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่ กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งใหบุคคลดํารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย 3 รายการ ในรอบ 5 ปยอนหลัง นับจากวันที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติหลักสูตร โดยอยางนอย 1 รายการตองเปนผลงานวิจัย 3.8 การแตงตั้งคณะกรรมการสอบการคนควาอิสระ มีเกณฑการพิจารณาอยางไร ANS. เกณฑการพิจารณา มีดังนี้ 1. คณะกรรมการสอบการคนควาอิสระ กําหนดใหมีจํานวน 3 คน ประกอบดวยอาจารยประจําหลักสูตร ผูทรงคุณวุฒิภายนอก อาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระ ทั้งนี้ ประธานกรรมการสอบตองไมเปนอาจารย ที่ปรึกษาการคนควาอิสระ โดยคณะกรรมการสอบตองมีคุณวุฒิ คุณสมบัติ และผลงานทางวิชาการ ดังนี้ - กรณีอาจารยประจําหลักสูตร ตองมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา หรือขั้นต่ําปริญญาโทหรือ เทียบเทาที่มีตําแหนงรองศาสตราจารย และมีผลงานทางวิชาการที่ไมใชสวนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับ ปริญญา และเปนผลงานทางวิชาการที่ไดรับการเผยแพรตามหลักเกณฑที่กําหนดในการพิจารณาแตงตั้งให บุคคลดํารงตําแหนงทางวิชาการอยางนอย 3 รายการ ในรอบ 5 ปยอนหลังนับจากวันที่สภามหาวิทยาลัย อนุมัติหลักสูตร โดยอยางนอย 1 รายการตองเปนผลงานวิจัย - กรณีผูทรงคุณวุฒิภายนอก ตองมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเทา และมีผลงานทางวิชาการที่ไดรับ การตีพิมพเผยแพรในวารสารที่มีชื่ออยูในฐานขอมูลที่เปนที่ยอมรับในระดับชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธกับหัวขอ การคนควาอิสระไมนอยกวา 10 เรื่อง - กรณีผูทรงคุณวุฒิภายนอกที่ไมมีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการตามที่กําหนดขางตน จะตองเปน ผูมีความรูความเชี่ยวชาญและประสบการณสูงเปนที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธกับหัวขอการคนควาอิสระ โดยผานความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย และแจงคณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบ 3.9 นักศึกษาหลักสูตรปริญญาโท แผน ข จะสําเร็จการศึกษาไดตองมีคุณสมบัติ และเงื่อนไขอะไรบาง ANS. นักศึกษาหลักสูตรปริญญาโท แผน ข จะสําเร็จการศึกษาไดตองมีคุณสมบัติและปฏิบัติตามเงื่อนไข ครบถวน ดังนี้ 1. มีแตมระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมของรายวิชาที่กําหนดในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ไมต่ํากวา 3.00 2. สอบประมวลความรูผานหรือเปนที่พอใจ 3. สอบการคนควาอิสระผานหรือเปนที่พอใจ 4. การคนควาอิสระหรือสวนหนึ่งของการคนควาอิสระตองไดรับการเผยแพรในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ที่สืบคนได 5. สอบผานภาษาอังกฤษตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง เกณฑมาตรฐานภาษาอังกฤษ สําหรับ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา


29 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7


30 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 หลักสูตรในคณะศิลปศาสตรประยุกต คณะศิลปศาสตรประยุกตมีหลักสูตรในระดับบัณฑิตศึกษา จํานวน 4 หลักสูตร โดยแบงเปน หลักสูตรดุษฎีบัณฑิต 1 หลักสูตร และหลักสูตรมหาบัณฑิต 3 หลักสูตร ดังนี้ หลักสูตรดุษฎีบัณฑิต 1 หลักสูตร หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ (Doctor of Philosophy Program in Industrial and Organizational Psychology: DIOP) หลักสูตรมหาบัณฑิต 3 หลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ (Master of Arts Program in Industrial and Organizational Psychology: MIOP) หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจและ อุตสาหกรรม (หลักสูตรภาษาอังกฤษ) (Master Degree of Arts Program in English for Business and Industry Communication (English Program): E-MBIC) หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตรประยุกตและนวัตกรรม (Master of Economics Program in Applied and Innovative Economics: MAIE)


31 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ (DIOP)


32 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ (Doctor of Philosophy Program in Industrial and Organizational Psychology) ปรัชญา : พัฒนาคนเพื่อเปนนักวิจัย สรางองคความรูใหมทางจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ รูปแบบของหลักสูตร รูปแบบ หลักสูตรปริญญาเอก 3 ป แบบ 1.1 และ แบบ 2.1 ภาษาที่ใชหลักสูตรจัดการศึกษาเปนภาษาไทย การใหปริญญาแกผูสําเร็จการศึกษา ใหปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว วัตถุประสงค เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ ใหเปนผูมีสมรรถนะในการทํางาน วิจัยขั้นสูงในดานที่เกี่ยวของกับจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ หาองคความรูใหมในศาสตรสาขาวิชา จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ และตองมีคุณธรรม จริยธรรมดานวิชาชีพทางจิตวิทยาอุตสาหกรรมและ องคการ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง (Expected Learning Outcomes) ELO1. สามารถเปนที่ปรึกษาทางจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการได ELO2. สามารถพัฒนางานวิจัยขั้นสูงในขอบเขตทางจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ เพื่อสราง องคความรูใหมได ELO3. สามารถพัฒนาหลักสูตรฝกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรในองคการใหมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลในการทํางาน ELO4. มีทักษะในการสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน เพื่อใหผูอื่นเกิดความเขาใจได ELO5. สามารถปฏิบัติตนตามหลักจรรยาบรรณวิชาชีพทางจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการได หลักสูตร จํานวนหนวยกิต รวมตลอดหลักสูตร แบบ 1.1 จํานวน 48 หนวยกิต แบบ 2.1 จํานวน 54 หนวยกิต โครงสรางหลักสูตร แบบ 1.1 หมวดวิชาบังคับ วิทยานิพนธ 48 หนวยกิต รวมตลอดหลักสูตร 48 หนวยกิต


33 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 แบบ 2.1 หมวดวิชาบังคับ 48 หนวยกิต วิทยานิพนธ 36 หนวยกิต วิชาบังคับ 12 หนวยกิต หมวดวิชาเลือก 6 หนวยกิต รวมตลอดหลักสูตร 54 หนวยกิต แผนภูมิแสดงความตอเนื่องของการศึกษาในหลักสูตร แผนภูมิแสดงความตอเนื่องของการศึกษาในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา อุตสาหกรรมและองคการ แบบ 1.1 (Program of study for Doctor of Philosophy Program in Industrial and Organizational Psychology Plan 1.1) รวม 8 รวม 8 รวม 8 รวม 8 รวม 8 รวม 8 ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 080327101 8 Dissertation ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 080327101 8 Dissertation ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 080327101 8 Dissertation ปที่2 ภาคการศึกษาที่ 2 080327101 8 Dissertation ปที่3 ภาคการศึกษาที่ 1 080327101 8 Dissertation ปที่3 ภาคการศึกษาที่ 2 080327101 8 Dissertation


34 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 7 แผนภูมิแสดงความตอเนื่องของการศึกษาในหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา อุตสาหกรรมและองคการ แบบ 2.1 (Program of study for Doctor of Philosophy Program in Industrial and Organizational Psychology Plan 2.1) ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 080327103 3(3-0-6) Advanced Statistics. 080327104 3(3-0-6) Quantitative Research 080327105 3(3-0-6) Qualitative Research. xxxxxxxxx 3(x-x-x) Elective 080327106 3(3-0-6) Advanced I/O Psycho xxxxxxxxx 3(x-x-x) Elective รวม 9 รวม 9 ปที่2 ภาคการศึกษาที่1 ปที่2 ภาคการศึกษาที่2 080327102 9 Dissertation 080327102 9 Dissertation รวม 9 รวม 9 ปที่3 ภาคการศึกษาที่1 ปที่3 ภาคการศึกษาที่2 080327102 9 Dissertation 080327102 9 Dissertation รวม 9 รวม 9 .


35 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 6 คําอธิบายรายวิชา 080327101 วิทยานิพนธ 48 (Dissertation) วิชาบังคับกอน : ไมมี Prerequisite : None การวิจัยในหัวขอที่นาสนใจทางสาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการดวยวิธี การศึกษาที่หลากหลาย Research on a topic related to Industrial and Organizational Psychology with mixed methods. 080327102 วิทยานิพนธ 36 (Dissertation) วิชาบังคับกอน : ไมมี Prerequisite : None การวิจัยในหัวขอที่นาสนใจทางสาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ Research on a topic related to Industrial and Organizational Psychology 080327103 สถิติขั้นสูงสําหรับจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ 3(3-0-6) (Advanced Statistics for Industrial and Organizational Psychology) วิชาบังคับกอน : ไมมี Prerequisite : None การประยุกตใชเทคนิคทางสถิติสําหรับการวิจัยทางดานจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ การวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ การวิเคราะหเสนทาง การวิเคราะหจัดกลุม การวิเคราะหแบบบัญญัติ การวิเคราะหปจจัย การวิเคราะหจําแนกประเภท การวิเคราะหจําแนกพหุคูณ การประเมินความ สอดคลองที่สุดของตัวจําลองสมการโครงสราง การอภิวิเคราะห การแปลความหมายและการรายงานผล Application of statistical techniques to industrial and organizational research, multiple regression analysis, path analysis, cluster analysis, canonical analysis, factor analysis, discriminant analysis, multiple classification analysis, assessing goodness-of-fit of structural equation model, meta-analysis, data interpretation and research report. 080327104 ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณทางจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ 3(3-0-6) (Quantitative Research Methodology in Industrial and Organizational Psychology) วิชาบังคับกอน : 080327103 สถิติขั้นสูงสําหรับจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ Prerequisite : 080327103 Advanced Statistics for Industrial and Organizational Psychology ความหมายและจุดมุงหมายของการวิจัยแบบทดลอง หนวยทดลอง ทรีทเมนตความคลาดเคลื่อน ของการทดลอง การควบคุมขั้นตอนการวิจัยเชิงทดลอง ประเภทของการวิจัยเชิงทดลอง การออกแบบและ แบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง การออกแบบสุมสมบูรณ การออกแบบบล็อกแบบสุม การออกแบบจัตุรัสลาติน การออกแบบแฟคทอเรียล การออกแบบสปลิท-พลอท การออกแบบสลับ การออกแบบแลตทิซ การออกแบบ บล็อคไมสมบรูณแบบสมดุล และการออกแบบจัตุรัสยูเด็น การวิเคราะหสถิติพหุคูณ


คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 6 | 36 Meaning and objective of experimental research; experimental unit; treatment,; experimental error; manipulating experimental research procedure; types of experimental research; experimental research design and plan; completely randomized design; randomized block design; Latin square design; factorial design; split-plot design; change-over design; lattice design; balanced incomplete block design and Youden square design; statistical multivaliate analysis for Industial and organizational psychological experiment. 080327105 ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพทางจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ 3(3-0-6) (Qualitative Research Methodology inc Industrial and Organizational Psychology) วิชาบังคับกอน : ไมมี Prerequisite : None ความหมายของการวิจัยเชิงคุณภาพ การออกแบบการวิจัย วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล การรายงานผลการวิจัยเชิงคุณภาพ และฝกปฏิบัติจัดทํารายงานการวิจัยเชิงคุณภาพ เกี่ยวกับจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ การประยุกตใช Meaning of qualitative research application; research design; data collection; data analysis; qualitative research report and practice to write qualitative research report about industrial and organizational psychology; application. 080327106 จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการขั้นสูง 3(3-0-6) (Advanced Industrial and Organizational Psychology) วิชาบังคับกอน : ไมมี Prerequisite : None ขอบเขตของจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของกับ การพัฒนาอาชีพ การปรึกษาเพื่อแกปญหาทางธุรกิจ ทฤษฎีเกณฑและการพัฒนา การประเมินคา งานและคาตอบแทน การแยกประเภทงานและการออกแบบงาน การวัดและการเปลี่ยนแปลง ทัศนคติ การเจรจาตอรอง การศึกษาเวลาและการเคลื่อนไหว อาชีวอนามัยและการบําบัด พฤติกรรมผูบริโภค และจิตวิทยาการโฆษณาและการสงเสริมการขาย Scope of ;Industrial and organizational psychology; concepts and theory of career development, consulting to solve business problems, criterion theory and development; job evaluation and compensation, job classification and job design, attitude measurement and change; negotiation; time and motion study; occupational health and therapy, consumer behavior, and psychology of advantisement and sales promotions. .


37 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 6 หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ (MIOP)


คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 6 | 38 หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ Master of Arts Program in Industrial and Organizational Psychology ปรัชญา : พัฒนาคน พัฒนาองคความรูทางจิตวิทยา เพื่อพัฒนาการทํางาน รูปแบบของหลักสูตร รูปแบบ หลักสูตรระดับปริญญาโท หลักสูตร 2 ป แผน ก แบบ ก 2 และ แผน ข ภาษาที่ใชหลักสูตรจัดการศึกษาเปนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ การใหปริญญาแกผูสําเร็จการศึกษา ใหปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว วัตถุประสงคของหลักสูตร หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ เปดรับนักศึกษาเขา ศึกษาตั้งแตป 2546 โดยหลักสูตรมีวัตถุประสงคเพื่อผลิตมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและ องคการใหมีคุณธรรม จริยธรรม ความรู ทักษะทางปญญา ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล ความ รับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ใหเปนผูมี สมรรถนะในการปฏิบัติหนาที่ดังตอไปนี้ 1. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตทางดานจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ สามารถนําความรูไปประยุกตใชใน การปฏิบัติงาน ปองกัน และแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการทํางานในองคการ 2. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรูความสามารถในการวิจัยดานจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ และนําความรูที่ไดรับไปใชในการวิจัย เพื่อปองกัน และแกไขปญหาที่เกิดขึ้นในองคการ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง (Expected Learning Outcomes) ELO 1 นักศึกษาสามารถประยุกตองคความรูทางจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการมาใชในการ ปองกัน แกไขปญหา และพัฒนาบุคลากรในองคการได ELO 2 นักศึกษามีทักษะในการคัดเลือกบุคลากร สรางแบบวัดทางจิตวิทยาอุตสาหกรรมและ องคการ ออกแบบโปรแกรมในการพัฒนาบุคลากร รวมทั้งออกแบบสภาพแวดลอมใหเหมาะสมกับการ ทํางานได ELO 3 นักศึกษาสามารถดําเนินการวิจัยทางจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการตามระเบียบวิธี วิจัยไดอยางถูกตองเพื่อใหขอเสนอแนะที่เปนประโยชนตอองคการได ELO 4 นักศึกษามีทักษะในการคิดวิเคราะห สื่อสาร และประสานงานระหวางบุคคลและ องคการได ELO 5 นักศึกษาเขาใจถึงความแตกตางระหวางบุคคล เขาใจตนเองและเขาใจผูอื่น สามารถ สรางความสัมพันธอันดีและบรรยากาศที่ดีในการทํางานรวมกันในองคการได


39 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 6 หลักสูตร จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร 36 หนวยกิต โครงสรางหลักสูตร แผน ก แบบ ก 2 หมวดวิชาบังคับ 33 หนวยกิต วิชาบังคับเฉพาะสาขา 21 หนวยกิต วิทยานิพนธ 12 หนวยกิต หมวดวิชาเลือก 3 หนวยกิต รวมตลอดหลักสูตร 36 หนวยกิต แผน ข หมวดวิชาบังคับ 27 หนวยกิต วิชาบังคับเฉพาะสาขา 21 หนวยกิต สารนิพนธ 6 หนวยกิต หมวดวิชาเลือก 9 หนวยกิต รวมตลอดหลักสูตร 36 หนวยกิต หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ มีการเรียนการสอน 2 แผน การศึกษา คือ แผน ก แบบ ก 2 แบบเนนการทําวิทยานิพนธ 12 หนวยกิต และ แผน ข แบบเนน การศึกษารายวิชาโดยทําสารนิพนธ 6 หนวยกิต ซึ่งตองผานการสอบประมวลความรูประกอบดวย 1. การสอบขอเขียน โดยแบงเปน 2 กลุม 1.1 กลุมวิชาบังคับ 1.2 กลุมวิชาเลือก 2. การสอบปากเปลา นักศึกษาสามารถสะสมการสอบผานขอเขียนแตละกลุมในการสอบแตละครั้งได ภายใน การสอบ 2 ครั้ง


คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 6 | 40 แผนภูมิแสดงความตอเนื่องของการศึกษาในหลักสูตร แผนภูมิแสดงความตอเนื่องของการศึกษาในหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา อุตสาหกรรมและองคการ แผน ก แบบ ก 2 ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 080315101 080315102 080315107 080315108 จิตวิทยาอุตสาหกรรม และองคการ 3(3-0-6) จิตวิทยาบุคลากร 3(3-0-6) สัมมนาทางจิตวิทยา อุตสาหกรรมและ องคการ 3(2-2-5) วิทยานิพนธ 9 080315104 080315103 080315xxx จิตวิทยาอุตสาหกรรม สัมพันธ 3(3-0-6) การยศาสตรและความ ปลอดภัยในสถานที่ ทํางาน 3(3-0-6) วิชาเลือก 3(x-x-x) 080315105 080315106 080315108 สถิติสําหรับการวิจัยทาง จิตวิทยาอุตสาหกรรม และองคการ 3(3-0-6) ระเบียบวิธีวิจัยทาง จิตวิทยาอุตสาหกรรม และองคการ 3(2-2-5) วิทยานิพนธ 3


41 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 6 แผนภูมิแสดงความตอเนื่องของการศึกษาในหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ แผน ข ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 080315101 080315102 080315107 080315108 จิตวิทยาอุตสาหกรรม และองคการ 3(3-0-6) จิตวิทยาบุคลากร 3(3-0-6) สัมมนาทางจิตวิทยา อุตสาหกรรมและ องคการ 3(2-2-5) สารนิพนธ 3 080315104 080315103 080315xxx จิตวิทยาอุตสาหกรรม สัมพันธ 3(3-0-6) การยศาสตรและความ ปลอดภัยในสถานที่ ทํางาน 3(3-0-6) วิชาเลือก 3(x-x-x) 080315105 080315106 080315108 สถิติสําหรับการวิจัยทาง จิตวิทยาอุตสาหกรรม และองคการ 3(3-0-6) ระเบียบวิธีวิจัยทาง จิตวิทยาอุตสาหกรรม และองคการ 3(2-2-5) สารนิพนธ 3 080315xxx 080315xxx วิชาเลือก 3(x-x-x) วิชาเลือก 3(x-x-x)


คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 6 | 42 คําอธิบายรายวิชา 080315101 จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ 3(3-0-6) (Industrial and Organizational Psychology) วิชาบังคับกอน : ไมมี Prerequisite : None แนวคิด ประวัติและวิธีวิจัยทางจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ การวิเคราะหงาน การคัดเลือกพนักงาน การฝกอบรมและพัฒนาพนักงาน การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงาน การจูงใจ ความพึงพอใจในงาน ความเครียดของพนักงาน การสื่อสารในที่ทํางาน กระบวนการกลุมในองคการ ภาวะผูนํา อิทธิพล อํานาจและการเมืองในองคการ โครงสราง วัฒนธรรมและการพัฒนาองคการ ปจจัย มนุษยในการออกแบบงาน สภาพการทํางานและความปลอดภัยในการทํางาน Concepts, history and research methods on industrial and organizational psychology; job analysis; employee selection; training and development; performance appraisal; motivation; job satisfaction; worker stress, communication at work; group processes in organizations; leadership; influence, power and politics in organization; organizational structure, culture and development; human factor in work design; work condition and safety. 080315102 จิตวิทยาบุคลากร 3(3-0-6) (Personnel Psychology) วิชาบังคับกอน : ไมมี Prerequisite : None การวางแผนกําลังคน การวิเคราะหงานและออกแบบงาน การบรรจุเขาตําแหนงงาน การ บริหารคาตอบแทนและผลประโยชน การวางแผนและพัฒนาอาชีพ การปรับพฤติกรรม การประเมินผล การปฏิบัติงาน การทํางานเปนทีม ความขัดแยงในการทํางาน จรรยาบรรณที่เกี่ยวของกับนักจิตวิทยา อุตสาหกรรมและองคการ Manpower planning; job analysis and job design; position placement; compensation and benefit management; career planning and career development; behavior modification; performance appraisal; teamwork; conflict at work; professional ethics for an industrial and organizational psychologist. 080315103 การยศาสตรและความปลอดภัยในสถานที่ทํางาน 3(3-0-6) (Ergonomics and Safety at Work) วิชาบังคับกอน : ไมมี Prerequisite : None แนวคิดและขอบเขตของการยศาสตร กายวิภาคศาสตรของมนุษยการวิเคราะหการเคลื่อนไหว ของมนุษย การวัดสัดสวนรางกายมนุษยกับการออกแบบเครื่องมืออุปกรณ การออกแบบที่นั่งทํางานและ สถานที่ปฏิบัติงาน สภาพแวดลอมทางกายภาพ เครื่องมือในการปฏิบัติงาน แนวคิดเกี่ยวกับการขนยาย วัสดุขณะปฏิบัติงาน ปฏิสัมพันธระหวางคนกับเครื่องจักรและความปลอดภัยในสถานที่ทํางาน Concept and scope of ergonomics; human anatomy; analysis of human movement; anthropometric and equipment design; seating and workplace design; physical


43 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 6 environment; equipment; concept of material handling at work; man and machine interaction and safety at work. 080315104 จิตวิทยาอุตสาหกรรมสัมพันธ 3(3-0-6) (Psychology of Industrial Relations) วิชาบังคับกอน : ไมมี Prerequisite : None ประวัติอุตสาหกรรมสัมพันธในทางสากลและในประเทศไทย การบริหารคาจางคาตอบแทน สวัสดิการ สิทธิประโยชนที่ลูกจางพึงไดรับ กระบวนการรองทุกข ทักษะการเจรจาตอรอง ความสัมพันธ ในทางแรงงานระหวางลูกจาง สหภาพแรงงาน นายจางและรัฐ กฎหมายแรงงาน พฤติกรรมการแจงขอ เรียกรอง ขอพิพาทแรงงานและการระงับขอพิพาทแรงงาน ปญหาอุตสาหกรรมสัมพันธและแนวทางการ แกปญหา History of industrial relations in international and Thailand; wage management; comprehensive employee welfare and benefit; grievance procedure; skill of negotiation; inter-relationship among employee, labor union, employer and the government; labor laws; demand behavior submission; labor dispute and the settlement of labor dispute; industrial relation problem and solution. 080315105 สถิติสําหรับการวิจัยทางจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ 3(3-0-6) (Statistics for Industrial and Organizational Psychology Research) วิชาบังคับกอน : ไมมี Prerequisite : None สถิติสําหรับการวิจัย การแจกแจงความถี่ การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง การวัดการกระจาย การกระจายแบบปกติ การทดสอบสมมติฐาน คาเฉลี่ยและสัดสวน การทดสอบไค-สแควร การทดสอบคาที การวิเคราะหความแปรปรวน การวิเคราะหความแปรปรวนรวม การวิเคราะหความแปรปรวนหลายตัวแปร สหสัมพันธ สหสัมพันธพหุคุณและสถิตินอนพาราเมตริก Research statistics; frequency distribution; central tendency measurement; distribution measurement; normal distribution; hypothesis testing; mean and proportion; chi-square test; t-test; analysis of variance; analysis of covariance; multivariate analysis of variance; correlation; multiple correlation and nonparametric statistics. 080315106 ระเบียบวิธีวิจัยทางจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ 3(2-2-5) (Research Methodology in Industrial and Organizational Psychology) วิชาบังคับกอน : 080315105 สถิติสําหรับการวิจัยทางจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ Prerequisite : 080315105 Statistics for Industrial and Organizational Psychology Research ระเบียบวิธีการวิจัย การออกแบบการวิจัย การเขียนโครงรางการวิจัย การทบทวน วรรณกรรม การสุมตัวอยาง การสรางเครื่องมือสําหรับการวิจัย การประเมินคุณภาพของเครื่องมือ การเก็บรวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูลและแนวทางการเขียนสารนิพนธหรือวิทยานิพนธ Research methodology; research design; research proposal writing; literature review; sampling; research tool construction; assessment of instrument quality; data collection; data analysis and guideline for master project or thesis writing.


คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 6 | 44 080315107 สัมมนาทางจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ 3(2-2-5) (Seminar in Industrial and Organizational Psychology) วิชาบังคับกอน : ไมมี Prerequisite : None ศึกษาหัวขอที่นาสนใจดานจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ การนําเสนอและการ อภิปรายในหองเรียน การนําขอมูลเผยแพรสูสาธารณะ Study of interesting topics in industrial and organizational psychology; presented and discussed in classroom; information dissemination to public. 080315108 วิทยานิพนธ 12 (Thesis) วิชาบังคับกอน : 080315105 สถิติสําหรับการวิจัยทางจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ : 080315106 ระเบียบวิธีวิจัยทางจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ Prerequisite : 080315105 Statistics for Industrial and Organizational Psychology Research : 080315106 Research Methodology in Industrial and Organizational Psychology การศึกษาอยางลึกซึ้งในหัวขอที่สนใจดานจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ การนําเสนอ และการสอบปองกันวิทยานิพนธภายใตการใหคําปรึกษาของอาจารยที่ปรึกษา Intensive study of interesting topics in industrial and organizational psychology; presentation and defense of a thesis under advisors' supervision. 080315109 สารนิพนธ 6 (Master Project) วิชาบังคับกอน : 080315105 สถิติสําหรับการวิจัยทางจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ : 080315106 ระเบียบวิธีวิจัยทางจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ Prerequisite : 080315105 Statistics for Industrial and Organizational Psychology Research : 080315106 Research Methods in Industrial and Organizational Psychology การศึกษาหัวขอทางจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ การเขียนรายงานและการนําเสนอ ภายใตการใหคําปรึกษาของอาจารยที่ปรึกษา Study of topics related to industrial and organizational psychology; report writing and presentation under advisors’ supervision. 080315201 จิตวิทยาการฝกอบรมบุคลากร 3(3-0-6) (Psychology of Personnel Training) วิชาบังคับกอน : ไมมี Prerequisite : None แนวคิดเกี่ยวกับจิตวิทยาการฝกอบรม การวิเคราะหความจําเปนในการฝกอบรม ความรู เกี่ยวกับทฤษฎีการเรียนรูและเทคนิคทาง การฝกอบรม การวางแผนและการออกแบบหลักสูตรการ


45 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 6 ฝกอบรม การปฏิบัติการเขียนโปรแกรมในการออกแบบหลักสูตรการฝกอบรมตามแนวคิดทฤษฎีและ เทคนิคทางจิตวิทยา การบริหารโครงการฝกอบรม โดยเนนการฝกปฏิบัติ Concept of training psychology; training needs analysis; knowledge of learning theory and training technique; planning and training course design; programming practice in training course design to psychology theory and technique; training program management focusing on practice. 080315202 การประเมินทางจิตวิทยา 3(3-0-6) (Psychological Assessment) วิชาบังคับกอน : 080315105 สถิติสําหรับการวิจัยทางจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองคการ Prerequisite : 080315105 Statistics for Industrial and Organizational Psychology Research หลักการในการประเมินตัวแปรทางจิตวิทยา คําจํากัดความของตัวแปรทางจิตวิทยา การสรางมาตรวัดทางจิตวิทยาที่เปนมาตรฐานสําหรับพนักงานในองคการ แบบทดสอบที่เปนมาตรฐานทาง จิตวิทยา การทดสอบเชาวนปญญา บุคลิกภาพและความถนัด การบริหารการทดสอบ การรายงานผลการ ทดสอบ จริยธรรมของผูดําเนินการทดสอบ Principle of psychological variable assessment; definitions of psychological variable; creating standardized psychological scale for employees in organization; standardized psychological test; intelligence, personality and aptitude test; testing administration; test report; testing administrator's ethic. 080315310 จิตวิทยาการพัฒนาองคการ 3(3-0-6) (Psychology of Organization Development) วิชาบังคับกอน : ไมมี Prerequisite : None แนวคิดและองคประกอบของการพัฒนาองคการ กระบวนการพัฒนาองคการ การวินิจฉัย ปญหาองคการ เทคนิคและสวนเสริมในการพัฒนาองคการ การประเมินผล แบบจําลองของการพัฒนา องคการ บทบาทของที่ปรึกษาพัฒนาองคการ เงื่อนไขสูความสําเร็จและความลมเหลวของการพัฒนา องคการ Concept and element of organization development; process of organization development; diagnosis of organizational problem; technique and intervention in organization development; evaluation; organization development model; role of organization development consultant; success and failure condition of organization development.


คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 6 | 46 หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจ และอุตสาหกรรม (หลักสูตรภาษาอังกฤษ) (E-MBIC)


47 | คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 6 หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจและอุตสาหกรรม (Master of Arts Program in English for Business and Industry Communication) ปรัชญา : ภาษาอังกฤษสูธุรกิจและอุตสาหกรรมโลก รูปแบบของหลักสูตร รูปแบบ หลักสูตรระดับปริญญาโท หลักสูตร 2 ป แผน ก แบบ ก 2 และ แผน ข ภาษาที่ใชหลักสูตรจัดการศึกษาเปนภาษาอังกฤษ การใหปริญญาแกผูสําเร็จการศึกษา ใหปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว วัตถุประสงค 1. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรูดานทฤษฎีและสามารถปฏิบัติทักษะภาษาอังกฤษเพื่อ การสื่อสารในแวดวงธุรกิจและอุตสาหกรรม อีกทั้งมีศักยภาพในการแลกเปลี่ยนและถายทอดความรูทาง วิชาการทั้งภายในและระหวางองคกรโดยใชภาษาอังกฤษเปนสื่อกลาง 2. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรูดานวิชาการและสามารถวิจัยดานการสื่อสารเชิงธุรกิจและ อุตสาหกรรม 3. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง (Expected Learning Outcomes) ELO 1 นักศึกษามีความรูเกี่ยวกับการสื่อสารภาษาอังกฤษ เพื่อไปใชในบริบททางวัฒนธรรมเชิงธุรกิจ และอุตสาหกรรมที่มีความแตกตางกันได ELO 2 นักศึกษาสามารถประยุกตใชความรู ความเขาใจในแนวคิด หลักการ ทฤษฎี และกระบวนการ ทางความคิดเกี่ยวกับภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจและอุตสาหกรรม ในการคิดวิเคราะหและการ แกปญหาอยางมีวิจารณญาณเมื่อตองเผชิญกับสถานการณใหมๆที่ไมไดคาดคิดมากอน ELO 3 นักศึกษาสามารถสรางองคความรูใหมโดยใชกระบวนการวิจัยในบริบทภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสารเชิงธุรกิจและอุตสาหกรรม ELO 4 นักศึกษาสามารถฟง พูด อาน เขียน และประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร ภาษาอังกฤษในวิชาชีพของตนเองได ELO 5 นักศึกษาสามารถแสดงออกซึ่งภาวะความเปนผูนาและบทบาทผูตาม เขาใจถึงความแตกตาง ระหวางบุคคล เขาใจตนเองและเขาใจผูอื่น สามารถทางานเปนทีม และสามารถปรับตัวใหเขากับ สภาพแวดลอมการทางาน และสามารถปฏิบัติตนตามหลักจรรยาบรรณวิชาชีพได


คู มื อ นั ก ศึ ก ษ า ป ก า ร ศึ ก ษ า 256 6 | 48 หลักสูตร จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร 36 หนวยกิต โครงสรางหลักสูตร แผน ก แบบ ก 2 หมวดวิชาบังคับ 33 หนวยกิต วิชาบังคับ 21 หนวยกิต วิชาบังคับไมนับหนวยกิต* 6 หนวยกิต วิทยานิพนธ 12 หนวยกิต หมวดวิชาเลือก 3 หนวยกิต รวมตลอดหลักสูตร 36 หนวยกิต แผน ข หมวดวิชาบังคับ 27 หนวยกิต วิชาบังคับ 21 หนวยกิต วิชาบังคับไมนับหนวยกิต* 6 หนวยกิต สารนิพนธ 6 หนวยกิต หมวดวิชาเลือก 9 หนวยกิต รวมตลอดหลักสูตร 36 หนวยกิต หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจและอุตสาหกรรม (หลักสูตรภาษาอังกฤษ) จัดการเรียนการสอน 2 แผนการศึกษา คือ แผน ก แบบ ก 2 เนนการทํา วิทยานิพนธ 12 หนวยกิต และแผน ข เนนการศึกษารายวิชาโดยไมตองทําวิทยานิพนธ แตมีการทํา สารนิพนธ 6 หนวยกิต และตองผานการสอบประมวลความรูซึ่งประกอบดวยการสอบขอเขียนและการ สอบปากเปลา


Click to View FlipBook Version