รายงาน
การเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการซ่อมบารงุ และการอนรุ กั ษพ์ ลังงานในอตุ สาหกรรม
เสนอ
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กณุ ฑล ทองศรี
นายอาณาจกั ร ยอดบุญ จดั ทาโดย IET18/1 รหสั นักศึกษา 630407302686
นายวิสัยทศั น์ ออกชอ่ หวั หนา้ กลมุ่ รหัสนกั ศกึ ษา 630407302714
นายวิชติ แดงบญุ เรือง สมาชิกกล่มุ รหสั นักศกึ ษา 630407302733
นายสาธติ พระสดี า สมาชิกกลมุ่ รหสั นักศึกษา 630407302735
สมาชิกกลมุ่
นายบุญทัน ธรรมศิลา สมาชกิ กลุ่ม รหัสนักศกึ ษา 630407302774
นายสุเทพ เหมน่ ครบุรี สมาชกิ กลุ่ม รหัสนักศึกษา 630407304022
นายนฤเศรษฐ์ อินทรพ์ ันงาม สมาชิกกลุ่ม รหัสนักศึกษา 630407304023
นายวาสิต สิทธจิ ู สมาชกิ กลมุ่ รหสั นักศกึ ษา 630407304124
นายเสฎฐศักด์ิ สงวนทรพั ย์ สมาชกิ กลุ่ม รหัสนักศกึ ษา 630407304134
นายคณาวธุ โคตรชาดา สมาชิกกลุม่ รหสั นกั ศึกษา 630407302734
รายงานนี้เป็นสว่ นหน่ึงของวชิ า IET.350 เทคโนโลยีการซอ่ มบารงุ และอนุรักษ์พลังงานในอุตสาหกรรม
สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการ
คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษมบัณฑิต
ปกี ารศึกษา พ.ศ.2564
ไฟล์ Word ไฟล์ PDF E-REPORT
คานา
รายงานฉบับนี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นส่วนหน่ึงของวิชา IET.350 เทคโนโลยีการซ่อมบารุงและอนุรักษ์
พลังงานในอุตสาหกรรมเพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ใน เร่ืองการเพิ่มประสิทธิภาพการอนุรักษ์พลังงานใน
อุตสาหกรรมและการจดั การพลังงานระบบแสงสว่าง สาหรับโรงงานควบคุมหรืออาคาร ควบคุมและได้ศึกษา
อย่างเข้าใจเพ่อื เปน็ ประโยชน์กับการเรียนผู้จัดทาหวังว่ารายงานเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์กับผู้อ่านหรือนักศึกท่ี
กาลังหาข้อมูลเรื่องนี้อยู่หากมีข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ
ท่ีน้ดี ้วย
คณะผู้จัดทา ITE18/1
สารบัญ
เนื้อหา หน้า
ตอนที่ 1 การเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการซ่อมบารงุ ในอุตสาหกรรม
บทท่ี 1 ความเป็นมา ความหมาย วัตถุประสงค์ ของการซ่อมบารงุ เครื่องจกั รและอุปกรณ์ 1-4
บทที่ 2 ทฤษฎที ่ีเกี่ยวขอ้ ง ประเภท ชนิด ของการซ่อมบารุงเครอื่ งจกั รและอุปกรณ์ 5-20
บทที่ 3 วธิ ีการดาเนนิ งาน ทาเลที่ตั้ง ทาการศกึ ษา และวิเคราะหแ์ ต่ละขัน้ ตอน 21-25
บทที่ 4 ผลการเพ่ิมประสทิ ธภิ าพ 26-38
บทท่ี 5 สรปุ และข้อเสนอแนะ 39
ตอนที่ 2 การเพ่มิ ประสิทธิภาพการอนรุ ักษ์พลงั งานในอุตสาหกรรม
บทที่ 1 ความเปน็ มา ความหมายการอนรุ ักษพ์ ลงั งาน วัตถปุ ระสงค์ ประเภท ระบบแสงสวา่ ง 40-51
บทท่ี 2 ทฤษฎีทเี่ ก่ียวขอ้ ง ประเภท ชนดิ งานวจิ ยั 52-98
บทท่ี 3 วธิ ีการดาเนินงาน ทาเลทตี่ ง้ั แผนผังจานวนหลอด 99-105
ขอ้ มูลกอ่ นการเพมิ่ ประสทิ ธิภาพการอนุรักษ์พลงั งาน
บทที่ 4 ผลของการปรบั ปรุงของระบบแสงสว่าง 106-120
บทท่ี 5 สรปุ และข้อเสนอแนะ 121
ตอนที่ 3 การจัดการพลงั งาน สาหรบั โรงงานควบคมุ หรืออาคารควบคุม
ข้อมูลเบ้ือต้น ขอ้ มูลด้านการจดั การพลงั งาน 122-125
ข้นั ตอนท่ี 1 คณะทางานดา้ นการจัดการพลงั งาน 126-129
ขั้นตอนที่ 2 การประเมนิ สถานภาพการจดั การพลงั งานเบือ้ งหลงั 129
ขน้ั ตอนท่ี 3 นโยบายอนรุ ักษ์พลงั งาน 130-132
ขน้ั ตอนที่ 4 การประเมินศักยภาพการอนุรกั ษ์พลงั งาน 133-147
ขั้นตอนที่ 5 การกาหนดเป้าหมายและแผนอนุรกั ษ์พลงั งานและแผนการฝกึ อบรม 148-155
และกิจกรรมเพ่อื สง่ เสริมการอนรุ ักษพ์ ลังงาน
ข้นั ตอนท่ี 6 การดาเนนิ การตามแผนอนรุ ักษ์พลังงาน การตรวจสอบและวเิ คราะห์ 156-159
การปฏิบตั ิตามเปา้ หมายและแผนอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน
ขั้นตอนที่ 7 การตรวจติดตาม และประเมินการจัดการพลงั งาน 159-162
ขนั้ ตอนท่ี 8 การทบทวน วเิ คราะห์ และแก้ไขข้อบกพร่องของการจดั การพลังงาน 162-164
1
ตอนที่ 1 การเพม่ิ ประสิทธิภาพการซอ่ มบารงุ ในอตุ สาหกรรม
บทที่ 1 บทนา
ความเปน็ มา ความหมาย จดุ ม่งหมาย และวัตถปุ ระสงค์ ของการซอ่ มบารงุ เครื่องจกั รและอปุ กรณ์
1. ความเปน็ มา
1.1 ยคุ แรก กอ่ นปี พ.ศ. 2493 นยิ มทาการซ่อมแซมหลังจากเครื่องมอื เครื่องใช้เกิดเหตุขัดข้องแล้ว ไม่มี
การปอ้ งกนั การชารุดเสยี หายของเคร่อื งไว้กอ่ น
1.2 ยคุ ท่ี 2 ระหวา่ งปพี .ศ. 2493 ถึง ปีพ.ศ. 2503 เร่ิมนาแนวคดิ เกี่ยวกับระบบการบารุงเชิงป้องกันมา
ใช้ เพอ่ื ป้องกันมิใหเ้ ครอ่ื งมอื เครือ่ งใชเ้ กิดการชารดุ หรอื มเี หตขุ ดั ข้อง
1.3 ยุคท่ี 3 ระหว่างปีพ.ศ. 2503 ถึง ปีพ.ศ. 2513 นาเอาแนวคิดเกี่ยวกับการบารุงรักษาทวีผล
(Productive Maintenance) คานึงถึงความยากงา่ ยของการบารงุ รักษา และเอาหลกั การด้านเศรษฐศาสตร์มา
ใช้ร่วมดว้ ย
1.4 ยุคที่ 4 หลังปี พ.ศ. 2513 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบันน้ี ได้รวมเอาแนวคิดทุกยุคทุกสมัยเข้ามา
ประกอบกัน โดยพยายามให้ทุกฝ่ายได้มีส่วนร่วมในงานการบารุงรักษา (Total Productive Maintenance)
เป็นลักษณะของการบารุงรักษาเชิงป้องกัน จะไม่เน้นเฉพาะฝ่ายบารุงรักษาเท่าน้ัน แต่จะเน้นให้ทุกคนมีส่วน
ร่วม เพื่อเพม่ิ ประสิทธภิ าพของเครือ่ งมอื เครอื่ งใช้ใหม้ ากขน้ึ
2
2. ความหมายของการบารุงรักษา
การบารุงรักษาหมายถึง กิจกรรมหรืองานทั้งหมดท่ีกระทาต่อเคร่ืองจักร และอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อ
รกั ษาสภาพ หรือปอ้ งกันไม่ใหเ้ กดิ การชารดุ เสียหาย โดยให้อยู่ในสภาพท่ีพร้อมจะใช้งานได้ตลอดเวลา รวมท้ัง
ชว่ ยยืดอายกุ ารใชง้ านใหย้ าวนานข้ึน และเสยี คา่ ใชจ้ า่ ยน้อยที่สดุ หากเครื่องจักรเกิดขัดข้องกระทันหัน หรือไม่
สามารถใช้งานไดจ้ ะทาใหม้ ผี ลกระทบโดยตรงตอ่ ประสทิ ธภิ าพการผลิต และการบริการน้ันๆ การที่จะได้มาซึ่ง
เคร่อื งจักรทม่ี คี ณุ ภาพ ต้องประกอบดว้ ย
2.1 มกี ารออกแบบที่ดีและตรงตามความประสงค์ต่อการใช้งาน มีความเที่ยงตรงแม่นยา รวมทั้งสามารถ
ทางานไดเ้ ต็มกาลงั ความสามารถที่ออกแบบไว้
2.2 มกี ารผลติ (หรอื สร้าง) ทีใ่ ห้ความแขง็ แรงทนทาน สามารถทางานได้นานทสี่ ดุ และตลอดเวลา
2.3 มกี ารตดิ ตงั้ ในสถานทท่ี ่ีเหมาะสมและสะดวกตอ่ การใช้งาน
2.4 มีการใช้เป็นไปตามคณุ สมบัตแิ ละสมรรถนะของเครอ่ื ง
2.5 มรี ะบบการบารุงรักษาท่ดี เี นือ่ งจากเครอ่ื งมือเคร่ืองใชเ้ มอ่ื ถกู ใช้งานไปนานๆจะมีการเส่ือมสภาพชารุด
สึกหรอ เสียหายขัดข้อง ดังนั้นเพื่อให้อายุการใช้งานเคร่ืองมือเครื่องใช้ยืนยาว สามารถใช้งานได้ตามความ
ต้องการของผู้ใช้ ไม่ชารุดหรือเสียบ่อยๆต้องมี “การบารุงรักษา เครื่องจักรเคร่ืองมือเครื่องใช้”ในระบบการ
ดาเนินงานด้วย จึงจะสามารถควบคุมการทางานของเคร่ืองมือได้อย่างมีประสิทธิภาพนอกจากนี้ การ
บารุงรักษา อาจหมายถึง การทา การดาเนินการ การจัดการ กับ เครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ใช้ในงานผลิตหรือ
งานบริการให้สามารถมีสภาพที่พร้อมจะใช้งานอยู่ตลอดเวลาและทางานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ โดย
ความหมายของคาว่า “เต็มประสิทธิภาพ” หมายถึง ให้เครื่องจักรมีอายุการใช้งานยาวนานเครื่องจักรมี
สมรรถนะสงู ตลอดอายุการใช้งานเคร่อื งจกั ร พร้อมที่จะใช้งานได้ทุกเวลา มีความคงทน ความปลอดภัยในการ
ใชง้ านสงู ค่าใช้จา่ ยในการบารุงรกั ษาเครื่องจักรต่า เหตุขัดข้องของเครื่องจักรเป็น “ศูนย์” Down Time เป็น
“ศนู ย์”
3
3. จดุ มงุ่ หมายของการบารุงรักษา
3.1 เพอื่ ให้เคร่อื งมือเครอ่ื งใช้ทางานได้อย่างมีประสิทธิผล (Effectiveness) คือ สามารใช้เคร่ืองมือได้เต็ม
ความสามารถและตรงกบั วตั ถปุ ระสงคม์ ากทส่ี ดุ
3.2 เพ่ือให้เครื่องมือเครื่องใช้มีความเท่ียงตรงน่าเช่ือถือ (Reliability) คือ การทาให้เครื่องมือเครื่องใช้มี
มาตรฐานไมม่ คี วามคลาดเคลือ่ นเกิดข้ึน
3.3 เพ่ือให้เครื่องมือเครื่องใช้มีสมรรถนะการทางานสูง (Performance) และช่วยให้เคร่ืองมือเครื่องใช้มี
อายุการใช้งานยาวนาน เพราะเมื่อเคร่ืองมือใช้งานไประยะเวลาหน่ึงจะเกิดการสึกหรอ ถ้าหากไม่มีการ
ปรบั แต่ง หรือซอ่ มแซมแลว้ เครอ่ื งมืออาจเกดิ การขดั ขอ้ ง ชารดุ เสยี หาย หรอื ทางานผิดพลาด
3.4 เพ่อื ความปลอดภยั (Safety) ซ่งึ เปน็ จุดมุง่ หมายที่สาคัญเคร่ืองมือเครื่องใช้จะต้องมีความปลอดภัยต่อ
ผู้ใช้งาน ถ้าเคร่ืองมือเครื่องใช้ทางานผิดพลาด ชารุดเสียหาย ไม่สามารถทางานได้ตามปกติอาจจะก่อให้เกิด
อุบัติเหตุ และการบาดเจบ็ ต่อผู้ใช้งานได้ การบารงุ รักษาทีด่ ีจะช่วยควบคุมการผดิ พลาด
3.5 เพ่ือลดมลภาวะของสิง่ แวดล้อม เพราะเครื่องมือเครื่องใช้ที่ชารุดเสียหาย ขาดการบารุงรักษาจะทาให้
เกดิ ปัญหาดา้ นสิง่ แวดล้อม เช่น มีฝนุ่ ละอองหรือไอของสารเคมอี อกมา มเี สยี งดัง เป็นต้น ซ่ึงจะเปน็ อนั ตรายต่อ
ผปู้ ฏิบตั ิงานและผทู้ เี่ กย่ี วขอ้ ง
3.6 เพ่ือประหยัดพลังงาน เพราะเครื่องมือเครื่องใช้ส่วนมากจะทางานได้ต้องอาศัยพลังงาน เช่นไฟฟ้า
นา้ มนั เชอ้ื เพลงิ ถา้ หากเครือ่ งมือเคร่ืองใช้ได้รับการดูแลให้อยู่ในสภาพดี ไม่มีการรั่วไหลของน้ามันการเผาไหม้
สมบูรณ์ กจ็ ะส้ินเปลอื งพลังงานนอ้ ยลงทาใหป้ ระหยัดคา่ ใช้จ่ายลงได้
4
4. วัตถปุ ระสงค์ของระบบบารงุ รักษาในงานอุตสาหกรรม
4.1 เพิ่มคุณภาพของผลิตภัณฑ์ หรือเป็นการป้องกันไม่ให้คุณภาพต่าลง ซ่ึงมีผลต่อความเช่ือม่ันของ
ผลิตภัณฑท์ ผ่ี ลติ ออกไปจากโรงงาน โดยการบารุงรักษาจะชว่ ยใหเ้ ครอ่ื งจกั รมีความเที่ยงตรง และแม่นยา
4.2 ควบคุมตน้ ทนุ ของผลิตภัณฑ์ ไม่ให้เพิ่มข้นึ หรือหาหนทางในการลดตน้ ทนุ ซง่ึ การเดินเครื่องจักรก็ย่อม
มกี ารลงทนุ คา่ ดาเนินการ และคา่ ซ่อมแซมตา่ งๆ
4.3 ควบคมุ กาหนดการสง่ มอบสนิ ค้าหรอื ผลติ ภัณฑ์ เพอ่ื ใหถ้ ึงลูกคา้ ได้ตรงตามเวลาทเ่ี ร็วท่ีสุด เพ่ือให้ลูกค้า
มีความเช่ือม่ันการทางานของโรงงาน ถ้ามีการส่งมอบช้า ก็จะหมายถึงต้นทุนต้องเพ่ิมข้ึน และอาจจะเสีย
ค่าชดเชย หรอื ค่าปรับ
4.4 ป้องกันความสญู เสีย อนั เนือ่ งมาจากสาเหตุต่างๆ เช่น การขัดข้องทาให้เครื่องจักดาเนินการได้ไม่เต็ม
กาลัง หรอื เคร่อื งจกั รชารดุ เสยี หาย เป็นต้น
4.5 ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุและการบาดเจ็บ อันเนื่องมาจากเครื่องจักรชารุดเสียหาย หรือดาเนินการ
ผดิ พลาดซง่ึ หากเกดิ อบุ ตั เิ หตุเกดิ ข้ึน และทาให้ผปู้ ฏิบตั ิงานบาดเจบ็ กจ็ ะต้องเสียค่าใช้จ่ายต่างๆ เช่น เงินชดเชย
ค่าประกัน เปน็ ต้น
4.6 ประหยัดพลังงาน เคร่ืองจักรจะทางานได้ต้องอาศัยพลังงาน เช่น ไฟฟ้า น้าในเช้ือเพลิง ถ้าหาก
เคร่ืองจักรได้รับการดูแลให้อยู่ในสภาพที่ดี ก็จะสิ้นเปลืองพลังงาน หรือกาลังน้อยลง ส่งผลให้ประหยัด
ค่าใช้จา่ ย
5
บทที่ 2 ทฤษฎที ี่เก่ียวข้อง
ประเภท ชนิด งานวจิ ยั ของการซอ่ มบารุงเคร่ืองจักรและอปุ กรณ์
2.1 ทฤษฎกี ารบารงุ รักษาเคร่ืองจกั ร
2.1.1 การทาความสะอาดเครื่องจักรเป็นแม่บทของการซ่อมบารุง ซึ่งนอกเหนือจะเป็นกระจก
สะทอ้ นใหเ้ หน็ ภาพของการจดั การในโรงงานแล้วยังให้ผลสะท้อนถงึ ความรู้สึกของพนักงาน อีกท้ังการทาความ
สะอาดยังนบั เปน็ ก้าวแรกของการบารุงรักษาเชงิ ปอ้ งกันอีกดว้ ย
2.1.2 การหลอ่ ลน่ื เปน็ สงิ่ ท่ีจาเปน็ สาหรบั เครื่องจกั ร จากการสกึ หรอและความร้อนแล้ว การล่อล่ืน
ยังชว่ ยใหป้ ระสทิ ธภิ าพในการทางานของเคร่อื งจกั รสูงข้ึน
6
2.1.3 การตรวจสภาพหรือการบารงุ รักษาเชิงป้องกัน มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาข้อบกพร่องขั้นต้น
หรือส่ิงแปลกปลอมอ่ืนๆ ซึ่งอาจนาไปสู่ความขัดข้อง และสภาพแวดล้อมที่จะต้องได้รับการตรวจสอบแก้ไข
เพอ่ื ให้เขา้ สสู่ ภาวะการทางานปกติของเครื่องจกั ร
2.1.4 การปรบั แตง่ และการปรับเปล่ียนชิน้ ส่วน การซ่อมบารุงเครอื่ งจักรแม้ว่าจะมีการรักษาความ
สะอาดและหล่อล่ืนเพยี งใดความสึกหรอของช้ินส่วนมักเป็นส่ิงที่หลีกเล่ียงไม่ได้ดังน้ันการปรับเปลี่ยนและการ
ปรับแต่งช้ินส่วนจึงจาเป็นที่จะให้เครื่องจักรกลับสู่สภาพปกติพร้อมใช้งานภายในขอบเขตท่ีกาหนดของ
เคร่ืองจักรแตล่ ะเครอื่ ง
7
2.2 ประสทิ ธิผลเคร่ืองจกั รโดยรวม (Overall Equipment Effectiveness)
การวัดประสิทธิผลโดยรวมของ เคร่ืองจักร (OEE – Overall Equipment Effectiveness) เป็น
วิธีการทด่ี วี ิธีหนึง่ ทน่ี อกจากทาใหร้ ้ปู ระสิทธผิ ลของเคร่อื งจักรแลว้ ยังรถู้ ึง สาเหตุของความสญู เสียที่เกิดขึ้นท้ังใน
ภาพใหญ่ คอื สามารถแยกประเภทการสูญเสียและรายละเอียดของสาเหตุนั้น ทาให้สามารถที่จะปรับปรุง ลด
ความสูญเสียที่เกิดขน้ึ ได้อย่างถูกต้องและเปน็ ระบบ
การวดั จากเคร่อื งจักรแต่ละเครอื่ งโดยตรง ของผลิตภัณฑ์แต่ละชนดิ วธิ ีวัดคา่ OEE จะข้นึ กบั ปัจจัยดงั น้ี
A คอื สมรรถนะความพรอ้ มใชง้ าน (Availability Performance) ของเคร่ืองจกั ร
= (เวลาเดนิ เครื่อง/เวลาการรบั ภาระงาน) x 100
P คือสมรรถนะอตั ราเรว็ การผลิต (Production Speed Performance) ของเครื่องจกั ร
= (เวลาเดินเคร่อื งสุทธิ/เวลาเดนิ เคร่อื ง) x 100
Q คอื สมรรถนะคณุ ภาพ (Quality Performance) ของผลผลติ
= (จานวนชนิ้ งานท่ีดี/จานวนช้ินงานทั้งหมด) x 100 ประสทิ ธิผลเคร่ืองจักรโดยรวมสามารถคานวณ
ได้ดังน้ี Overall Equipment Effectiveness, OEE = A x P x Q
คา่ เปา้ หมายของ OEE ระดบั ที่มาตรฐานสากล = 85%
8
2.3 Why-Why Analysis
Why-Why Analysis เปน็ การวิเคราะหป์ ัจจยั ทเ่ี ป็นต้นเหตุให้เกิดปรากฏการณ์อย่างเป็นระบบ โดย
การตั้งคาถามว่าทาไม และตอบคาถามจนถงึ สาเหตทุ ่ีแท้จริง ซง่ึ การดาเนนิ การ “ทาไม ทาไม” ท่ีนิยมมอี ยู่
2 แบบ คือแบบผังก้างปลา และผังต้นไม้ แต่ไม่ว่าจะใช้แบบไหน ทั้งสองผังก็เป็นการตอบคาถาม เพ่ื อ
วัตถุประสงค์ที่ต้องการเดียวกันคือ เพ่ือไม่ให้สิ่งน้ีเกิดอีก จะต้องทาอะไร อย่างไร เหมือนกัน ซ่ึงเทคนิคการ
วิเคราะห์หาปัจจัยท่ีเปน็ ตน้ เหตุ ท่ีเป็นระบบ มีลาดับขั้นตอนการวิเคราะห์ ทาให้ไม่ตกหล่น ไม่ม่ัว เป็นไปตาม
ขน้ั ตอน ไม่ตกหลน่ ไม่ใชเ่ ดาหรอื นัง่ เทยี นวิเคราะห์
วิธีคิดของ Why Why Analysis เมื่อมีปรากฏการณ์อย่างใดอย่างหน่ึงเกิดขึ้นให้ทาการพิจารณา
ประกอบกับสังเกต ณ สถานท่ีเกิดปรากฏการณ์นั้นหัวข้อสารวจใดเป็น NG (No Good = ของเสีย) และ OK
หลังพิจารณาต่อเฉพาะปัจจัยที่เป็น NG โดยการตั้งคาถามว่า “ทาไม” ไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะพบสาเหตุท่ีแท้จริง
ของการท่ที าให้หัวข้อทส่ี ารวจเกิดการ NG และกาหนดมาตรการการแก้ไข
9
2.4 ประเภทของการบารุงรกั ษา
2.4.1 การบารงุ รักษาตามแผน (Planned Maintenance) จะเป็นการซ่อมบารุงตามกาหนดการ
แผนงาน หรอื ระบบทเ่ี ตรียมการไว้ล่วงหน้าซึ่งไดม้ ีการกาหนดวันเวลา สถานที่และจานวนผู้ปฏิบัติงานที่จะเข้า
ไปดาเนินการไว้แล้วอย่างชัดเจน โดยแนวทางการบารุงรักษานั้น อาจเลือกใช้ชนิดใดชนิดหนึ่งได้ เช่น การ
บารงุ รักษาเชิงป้องกนั การบารงุ รักษาเชงิ แกไ้ ขปรบั ปรงุ
ส่วนระยะเวลาทีจ่ ะเข้าไปดาเนินการอาจจะกาหนดหรือวางแผนเขา้ ซอ่ มบารงุ ขณะเครื่องจักรทางาน
อยู่ หรือขณะเครื่องจักรชารุด หรือขณะท่ีหน่วยงานหยุดทาการซ่อมบารุง อาจกล่าวได้ว่า การซ่อมบารุง
ประเภทน้จี ะมปี ญั หาน้อย เพราะมีเวลาเตรียมการไว้แลว้ ล่วงหน้าทุกขนั้ ตอน โดยมีขน้ั ตอนดงั ต่อไปน้ี
10
ข้นั ตอนการบารงุ รกั ษาตามแผนในภาพรวม กรณีปฏบิ ตั กิ ับเคร่อื งจกั ร
ขั้นตอนที่ 1 : การวิเคราะห์ความแตกตางของสภาพพ้ืนฐาน (Basic Condition) กับสภาพปัจจุบันของ
เคร่ืองจักร (Working Condition)
1. วัตถุประสงค์
การถอดและทาความสะอาดทุกชน้ิ ส่วนท้งั ภายนอก และภายในเครื่องจักร จะถูกปฏิบัติในขั้นตอนนี้
เพ่อื ทาให้ ฝา่ ยซ่อมบารุงทุกคนรู่จักและเข้าใจการทางานของเคร่ืองจักรและช้ินส่วนต่าง ๆ นอกจากนี้ ยังต้อง
เขา้ ใจถึงลกั ษณะการทางานทผ่ี ดิ พลาด และปจั จัยทีท่ าใหเ้ กิดความผดิ พลาดเหลา่ นั้น
2. การดาเนนิ การ
• ศกึ ษาหน้าที่ โครงสรา้ ง และหลกั การทางานของเคร่อื งจักร
• แยกแยะความเสียหายท่ีเกิดข้ึนกับเครื่องจักรว่าอะไรบ้างที่แก้ไขได้ทันที และอะไรบ้างที่ยังแก้ไข
ไม่ได้ โดยอะไรแกไ้ ขได้ใหล้ งมอื แกไ้ ขทันที
• วิเคราะหท์ ม่ี าของความเสยี หาย โดยการแยกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ไดแ้ ก่
• ความเสยี หายจากสภาพพน้ื ฐานไม่ดีพอ
• ความเสียหายสุม (Random Failures)
• ความเสียหายจากสภาพการใชง้ านไมด่ ีพอ
• ความเสียหายตอเนอ่ื งจากสาเหตทุ ่ยี งั ไมแ่ ก้ไข
• ความเสยี หายจากความผดิ ปกติเกิดข้ึน
• จดั ทาการบารงุ รักษาเชงิ ปอ้ งกันให้สามารถปอ้ งกันความเสียหายจากสาเหตุตา่ ง ๆ ได้
3. การวดั และตดิ ตามผล
• จานวนจดุ ผิดปกติ และจดุ ต่าง ๆ ทย่ี ังไมเ่ คยรู้ถงึ การทางาน แลว้ มาพบในขนั้ ตอนน้ี
• การบารุงรกั ษาเชิงป้องกนั ท่มี ีการเปล่ยี นแปลง เพือ่ ใหป้ ้องกันไดด้ ขี น้ึ
• แผนดาเนินงานต่างๆ สาหรบั ข้ันที่สอง
11
ความสมั พันธร์ ะหวา่ งท่ีมาของความเสียหายกับการแกไ้ ขโดย 6 ขนั้ ตอน
12
ตัวอย่างการวิเคราะหท์ ม่ี าของความเสียหาย แสดงให้เหน็ วาสภาพพนื้ ฐานไมด่ พี อเป็นสาเหตุอนั ดบั สองซ่งึ
ประกอบไปด้วยสาเหตุย่อยจากการขนั แน่น การทาความสะอาด และการหลอลืน่ ตามลาดับ
13
ข้ันตอนที่ 2 : การปรับสภาพปจั จุบันของเครอ่ื งจักรใหเ้ ขา้ สสู่ ภาพพ้นื ฐาน
1. วัตถปุ ระสงค์
จากความเสยี หายทพี่ บในขน้ั ท่หี นงึ่ วิธีการแก้ไขทด่ี ขี ้นึ และการปรับปรุงควรจะได้รับการปฏิบัติใน
ขนั้ ตอนน้ี เพ่ือป้องกนั ความเสียหายแบบเดมิ ที่จะเกดิ ขึน้ อกี ดว้ ยการเฝา้ ดเู ครื่องจกั รอุปกรณอ์ ยา่ งใกล้ชิด
2. การดาเนินการ
• การแกไขปัญหาตา่ งๆ ทยี่ ังเหลือจากขัน้ ที่ 1 พรอ้ มทง้ั การหาสาเหตทุ ม่ี าจากเคร่ืองจกั ร
• กาหนดเวลาทตี่ อ้ งหยุดเคร่ืองในการทาความสะอาด และหลอ่ ล่ืน เพื่อใหเ้ ครอ่ื งเดนิ ได้ดี
• ประสานงานกับพนักงานผู้ใช้เครื่องเพื่อให้การทาความสะอาดเป็นส่วนหน่ึงในมาตรฐานการ
ปฏิบัตงิ าน
• ปรบั ปรงุ สภาพการใชง้ าน
3. การวดั และติดตามผล
• การเปล่ียนแปลงมาตรฐานการปฏิบัติของพนักงานผ้ใู ช้เคร่อื งให้ครอบคลุมถึงการดูแลเครอ่ื ง
• จานวนหวั ขอของการปรบั ปรงุ
• จานวนข้อเสนอแนะในการปอ้ งกนั ความเสียหายของเคร่ือง
• จานวนครัง้ ทเี่ ครือ่ งจักรเสยี หายทเี่ กดิ ขึน้ จากสภาพพ้ืนฐาน หรือสภาพการใช้งาน
ขนั้ ตอนท่ี 3 : กาหนดมาตรฐานใช้งาน และสภาพพน้ื ฐาน
1. วตั ถุประสงค์
ในขน้ั ตอนน้ีจะเปน็ การออกแบบมาตรฐานการปฏิบัติงานเพ่ือรักษาการปรับปรุงที่เกิดขึ้นแล้วในขั้นที่
สองให้ ดารงอยตู่ อ่ ไป
2. การดาเนนิ การ
• เพื่อที่จะเตรียมมาตรฐานการตรวจสอบเชิงปองกันท่ีมีประสิทธิภาพ ซ่ึงเป็นมาตรฐานท่ีใช้งาน
ตามปกติของ เครื่อง แนบกับมาตรฐานเพื่อป้องกันความเสียหายท่ีเคยเกิดขึ้นแล้ว ท่ีพบตั้งแต่ขั้นท่ีหน่ึง ซึ่ง
ปรากฏอยูใ่ น การบารงุ รักษาเชงิ ป้องกันทจ่ี ดั ทาในขั้นทห่ี น่ึง
• การควบคุมดว้ ยการมองเหน็ (Visual Control) ท่มี าจากมมุ มองของพนักงานผ้ใู ช้เคร่ือง
• การแบ่งความรับผิดชอบในการปรับปรุงระหว่างฝายซ่อมบารุงท่ีทาการบารุงรักษาตามแผนกับ
พนกั งาน ผู้ใชเ้ ครื่องทที่ าการบารุงรักษาดว้ ยตนเอง (Autonomous Maintenance)
• บันทึกผลของมาตรฐานหลังจากนาไปปฏิบัติ เช่น เวลาที่ใช้ในการตรวจสอบแต่ละคร้ัง การ
ปฏบิ ตั งิ านที่ ยากลาบากและสาเหตทุ ่ีทาให้ยากลาบาก เปน็ ต้น
14
3. การวัดและตดิ ตามผล
• จานวนมาตรฐานท่ไี ดจ้ ัดทา หรือได้ปรับปรุง
• ความเสียหายท่ีลดลงโดยร้สู าเหตวุ า่ ทาไมจึงลดลง มาถึงขนั้ น้ีจะตองเหน็ การขัดข้อง ความเสียหาย
ของเครือ่ งจกั รลดลงอยา่ งชดั เจน มฉิ ะน้ันแล้วให้กลบั ไปยงั ขน้ั ท่ีหนึ่งใหม่
ขัน้ ตอนที่ 4 : การยดื อายุการใชง้ าน
1. วตั ถุประสงค์
ขั้นตอนท่ี 1 ถงึ ขน้ั ตอนที่ 3 เป็นความพยายามที่จะลดความเสียหายของเครื่องจักร โดยมีศูนย์กลาง
ท่ีสภาพ พื้นฐานและการปรับปรุงเฉพาะงานบารุงรักษา ในขั้นตอนน้ีจะเป็นการซ่อมบารุงเชิงแก้ไขปรับปรุง
(Corrective Maintenance) โดยมีเปา่ หมายหลกั ในการยดื อายกุ ารใช้งาน โดยไม่ได้เป็นเพียงแต่การปรับปรุง
เคร่ืองจักร แตจ่ ะ รวมถงึ การปรับปรุงวธิ กี ารบารงุ รกั ษาดว้ ย
2. การดาเนนิ การ
• ศึกษาระบบต่าง ๆ ของเครื่องจักรรวมกับข้ันตอนในการตรวจสอบโดยรวม (Overall
Inspection) ของการ บารุงรักษาด้วยตนเอง โดยทั่วไปจะเป็นระบบกลไกในการขับเคล่ือน ระบบไฮดรอลิกส์
ระบบเซ็นเซอร์ ระบบนวิ เมติกส์ เป็นตน้
• การวิเคราะหป์ ระวตั ิความเสยี หาย การซ่อมบารุง และ MTBF (รายละเอียดในตอนท่ี 1)
• การวิเคราะห์ความเสียหายท่ียังหาสาเหตุไม่ได้ โดยการใช้ เทคนิคในการวิเคราะห์เฉพาะระบบ
กลไกของ เครือ่ ง หรอื ท่ีเรยี กวา่ PM Analysis (Phenomena – Mechanism Analysis)
• การปรับปรุงการเสียหายสุ่ม (Random Failure) โดยการพิจารณาทักษะในการซ่อมบารุงและ
การฝึก
อบรม
• จดั ทากาหนดการซอ่ มบารุง
3. การวัดและตดิ ตามผล
• จานวนครั้งทีท่ าการแกไ้ ขและปรบั ปรุง ในกลไกทุกระบบ
• MTBF และ MTTR
• ความสมั พนั ธร์ ะหว่างชวั่ โมงการบารงุ รักษาเชิงปอ้ งกัน และ MTTR หมายความว่า ในข้ันตอนนจี้ ะ
เน้นไปที่ การลด MTTR มากกว่าท่ีจะลดชั่วโมงการบารุงรักษาเชิงป้องกัน แต่ค่า MTTR ท่ีแสดงผลของการ
ปรับปรงุ ท่ีแท้จรงิ ต้องเปน็ ค่า MTTR ทลี่ ดลงโดยไม่เพ่ิมชว่ั โมงการบารุงรกั ษาเชงิ ปอ้ งกนั
• การปรับปรุงมาตรฐานการบารุงรักษา
• การมอบหมายงานซอ่ มบารุงไปสู่ข้นั ตอนการปฏิบัติ การบารุงรกั ษาดว้ ยตนเอง
• จานวนของข้อมูลท่ีนาไปเป็นประโยชนต์ ่อการปอ้ งกนั การบารุงรักษา
15
ขัน้ ตอนที่ 5 : ปรบั ปรุงวธิ ีการตรวจเช็ค และประสทิ ธิภาพการบารุงรกั ษา
ขน้ั ตอนท่ี 6 : การตรวจเชค็ ในภาพรวมทง้ั หมด (Overall Diagnosis)
1. วัตถุประสงค์
กิจกรรมท้ังหมดจนถึงขั้นที่ 5 มีวัตถุประสงค์ที่จะจัดการความเสียหายท่ีทาให้เครื่องหยุด แต่ยังมี
ความเสียหายที่ไมไ่ ดค้ านงึ ถึง คือ ความเสียหายท่ที าใหเ้ ครือ่ งดอ้ ยคุณภาพในการใช้งาน แต่ไม่ถึงกับเคร่ืองหยุด
รวมถึงความเสียหายที่ยังไม่รู้ว่าส่งผลกระทบต่ออะไร ในขั้นตอนน้ีจะพยายามลดความเสียหายทั้ง หมดทุก
ประเภท หรอื สามารถเรยี กไดว้ า่ เปน็ การบารุงรักษาเชิงคุณภาพ (Quality Maintenance) โดยเจ้าหน้าท่ีฝ่าย
ซ่อมบารงุ
2. การดาเนนิ การ
• การปฏบิ ัตขิ ั้นตอนที่ 1 ถึง 5 โดยคานงึ การใช้งานอยา่ งมีคณุ ภาพของเครอ่ื งจกั ร
• วิเคราะห์ลักษณะทางคุณภาพการใช้งานว่าลักษณะคุณภาพใดท่ีจะได้รับผลกระทบจากการ
บารุงรกั ษา
• พิจารณาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งเงื่อนไขในการใช้งานของเครอ่ื งกบั คุณภาพการใช้งาน
• วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างอุปกรณ์กับคุณภาพของพลังงานที่ใช้ ในบางกรณีเช่น
แรงเคลอ่ื นไฟฟ้าท่ีลดลง ความดันลมหรือน้ามันท่ีลดลง อาจจะสิ่งผลกระทบตอ่ คณุ ภาพการใช้งาน
• สารวจผลกระทบจากสง่ิ แวดลอ้ มท่อี ยรู่ อบ ๆ ท่ีอาจจะส่งผลต่อคุณภาพการใช้งาน เช่น ฝุ่นผงที่มี
อยภู่ ายใน อากาศ หรือ ความส่ันสะเทอื นทีเ่ กิดขึน้ ในบริเวณรอบ ๆ
• หาวิธีการในการป้องกันการเกิดปัญหาคุณภาพการใช้งาน และปรับปรุงวิธีการใช้งาน และการ
บารุงรักษา เพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อคณุ ภาพของชนิ้ งานด้วย
• จดั ทาและปรับปรงุ มาตรฐานการบารงุ รักษาเพื่อรักษาสภาพการใช้งานท่ีปราศจากของเสยี
16
3. การวัดและตดิ ตามผล
• การบารุงรักษาเชิงคุณภาพที่เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในการบารุงรักษาด้วยตนเองของพนักงาน
ผ้ใู ชเ้ ครือ่ ง
• อตั ราส่วนของเสยี ของชิน้ งาน
• จานวนการปรับปรุงมาตรฐานการซ่อมบารงุ
• จานวนช่ัวโมงการบารงุ รักษาเชิงป้องกนั ทีท่ าเพอ่ื คณุ ภาพในการใชง้ าน
ขน้ั ตอนที่ 7 : การใช้เครือ่ งให้เตม็ ความสามารถของเครื่อง
1. วัตถปุ ระสงค์
ขน้ั ตอนนีจ้ ะทาการบารุงรักษาเชงิ พยากรณ์ (Predictive Maintenance) เพื่อให้อุปกรณ์ต่าง ๆ ได้
ใชง้ านได้ ยาวนานที่สุด
2. การดาเนนิ การ
• การพยากรณ์เวลาการหมดอายขุ องช้ินสว่ น โดยการเรยี งตามลาดับความสาคัญ
• ศึกษาวจิ ัยและหาเทคโนโลยกี ารซอ่ มบารงุ ตา่ ง ๆ เพ่อื ให้การพยากรณ์อายกุ ารใชง้ านของช้นิ ส่วน
ตา่ งๆ แม่นยา
• หาวิธกี ารทีจ่ ะทาให้ชิ้นส่วนต่าง ๆ แสดงให้ฝ่ายซ่อมบารุงหรือพนักงานผู้ใช้เคร่ืองเห็นว่าช้ินส่วน
กาลงั จะ หมดอายุด้วยตวั ของมนั เอง
2.4.2 การบารุงรักษานอกแผน (Unplanned Maintenance) เป็นการบารุงรักษานอก
ระบบงานท่ีวางไว้ อันมีเหตุมาจากเครื่องจักรเกิดการขัดข้อง ชารุดเสียหายอย่างกะทันหัน จึงต้องรีบทาการ
ซ่อมแซมให้แล้วเสร็จ เรียบร้อยทันการใช้งานคร้ังต่อไป ซ่ึงการซ่อมบารุงประเภทน้ีจะเกิดปัญหามากกว่า
เพราะเราจะไม่ทราบล่วงหน้าจึงทาให้ยุ่งยากในการที่จะจัดเตรียมผู้ดาเนินการ อุปกรณ์ หรืออะไหล่ได้อย่าง
ทนั ท่วงที
2.5 ชนิดของการบารงุ รกั ษา
2.5.1 การบารุงรักษาหลังเกิดเหตุขัดข้อง (Breakdown Maintenance) เป็นการบารุงรักษา
เม่ือเครื่องจักรเกิดการชารุดและหยุดการทางานโดยฉุกเฉิน กล่าวได้ว่าเป็นวิธีดั้งเดิมในการบารุงรักษาแต่ก็
หลีกเลยี่ งไม่ไดท้ จี่ ะใชว้ ธิ ีน้ี เพราะสามารถเกิดเหตุขัดข้องกับเคร่ืองจักรได้ตลอดเวลาแม้ว่าจะมีการบารุงรักษา
เชงิ ปอ้ งกนั ทีด่ เี ยยี่ มสกั เพียงใดกต็ าม
เป็นแนวความคิดท่ีเก่าท่ีสุด ซ่ึงไม่มีการวางแผนในการทางานล่วงหน้า โดยพบว่าบุคลากรในฝ่าย
ซ่อมบารุงรักษาไม่ปฏิบัติงานจกว่าจะมีเคร่ืองในหน่วยงานชารุดซ่ึงไม่สามารถใช้งานต่อได้ อย่างไรก็ตามการ
ซ่อมในลกั ษณะแบบน้ี ก็ยงั คงมีการใชง้ านอยู่กบั บางสถานการณ์ เช่น ใช้ในเครื่องจักรที่มีการทางานไม่ซับซ้อน
และมีชิ้นส่วนอะไหล่พร้อมอยู่เสมอ หรือสามารถสั่งซ้ืออะไหล่ได้ทันที โดยค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในการซ่อม
บารุงรกั ษาแบบนค้ี วรมีค่าใช้จ่ายน้อยกวา่ วิธอี ืน่ ๆ เช่น หลอดไฟตา่ งๆ จะถกู ปล่อยไว้จนกว่าหลอดจะขาด หรือ
ผ้าเบรกรถยนต์ก็จะปลอ่ ยไว้จนกว่าผ้าเบรกจะหมดหรอื ไมส่ ามารถใช้งานได้ เปน็ ตน้
17
2.5.2 การบารุงรักษาเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance: PM) เป็นการบารุงรักษาเพ่ือ
ป้องกันเส่ือมสภาพการเกิดเหตุขัดข้อง หรือ การหยุดทางานของเครื่องจักรโดยฉุกเฉิน โดยอาศัยการตรวจ
สภาพเครอ่ื งจักร การทาความสะอาด ขันน็อตสกรูให้แน่น และหล่อล่ืนอย่างถูกวิธี มีการปรับแต่งเคร่ืองจักร
รวมถึงการบารุง และเปล่ียนชิ้นส่วนอะไหล่ตามระยะเวลาที่กาหนดไว้ เป็นการบารุงรักษาตามวาระ หรือ
ระยะเวลาการใช้งานท่ีกาหนด เพ่ือรักษาสภาพการทางานของเคร่ืองจักรให้เหมาะสม ก่อนที่จะมีการ
หยุดชะงัก โดยอาจใชป้ ระสบการณข์ องฝ่ายบารุงรกั ษาหรือคมู่ ือการใช้งานของเครื่องจักรน้ัน ๆ อย่างไรก็ตาม
การชารุดของเคร่อื งจักรโดยไม่คาดคดิ ก็สามารถเกิดขน้ึ ได้ ท้ังนรี้ ูปแบบการชารดุ ของเครอื่ งจักรลักษณะน้ีมีการ
กระจายอยู่ในลักษณะไมส่ ม่าเสมอ ดังนัน้ จงึ ยากที่จะเลอื กช่วงการบารุงรักษาตามแผนท่ีเหมาะสม หรือ แม้แต่
ในบางกรณีถึงแม้ว่าได้ปฏิบัติงานตามแผนแล้วก็ตาม ก็อาจมีโอกาสที่จะเกิดการชารุดของเคร่ืองจักรโดยไม่
คาดคิดได้
การซอ่ มบารุงเชิงปอ้ งกันไดพ้ ฒั นาข้นึ จากการปรับปรงุ ข้อด้อยของการซ่อมบารุงรักษาเมื่อเกิดเหตุ
โดยไม่ต้องรอให้เครื่องจักรเกิดการเสียหายแล้วค่อยมาซ่อมแซมมีการวางแผนในการแก้ไขไว้ ล่วงหน้าหรือ
กาหนดช่วงระยะเวลาในการตรวจสอบและการบารุงรักษาเคร่อื งจักร เพอ่ื ปอ้ งกนั ความเสียหายในระยะเริ่มต้น
เชน่ การทาความสะอาดเครอ่ื งจักร การหล่อลื่นเพื่อป้องกันการสึกหรอ การถอดเปลี่ยนชิ้นส่วน และการเก็บ
ขอ้ มลู การขดั ข้อง
แผนภมู ขิ ัน้ ตอนการซ่อมบารุงเชิงป้องกัน
18
การบารุงรกั ษาชนดิ นี้ แบง่ ไดเ้ ป็น 2 แบบ คือ
1. การบารุงรกั ษาตามระยะเวลา (Periodic Maintenance) หรือ Time Based Maintenance :
TBM) คือ การดาเนินการอยู่เป็นระยะๆ ผ่านการตรวจสอบ ทาความสะอาดอุปกรณ์ และเปล่ียนช้ินส่วน
อะไหล่เพ่อื ป้องกันความเสยี หายอย่างฉบั พลัน หรอื เกิดปญั หาต่อกระบวนการผลิต
2. การบารุงรักษาแบบคาดการณ์ (Predictive Maintenance) คือ การให้ความสาคัญและใส่ใจ
กับช้ินส่วนทีส่ าคัญของเครอ่ื งจกั ร เป็นการคาดการณ์ผ่านการตรวจสอบ หรือวินิจฉัย เพ่ือที่จะให้ช้ินส่วนนั้นๆ
สามารถใช้งานได้ครบอายุการใช้งานจริงๆ กล่าวได้ว่าเป็นการบริหารจัดการแนวโน้มของคุณค่า (Trend
Values) โดยอาศยั การตรวจวดั และการสเิ คราะห์ ขอ้ มูลเกีย่ วกับการเส่อื มสภาพ
2.5.3 การบารุงรกั ษาเชิงแกไ้ ขปรับปรงุ (Corrective Maintenance) คอื การดาเนินการเพื่อ
การดดั แปลง ปรบั ปรงุ แกไ้ ขเครอ่ื งจกั รหรือสว่ นของเครอ่ื งจกั รเพือ่ ขจัดเหตุขัดขอ้ งเร้ือรังของเคร่ืองจักรให้หมด
ไปโดยสิ้นเชิง และปรับปรุงสมรรถภาพของเคร่ืองจักรให้สามารถ "ผลิต" ได้ด้วยคุณภาพ และหรือปริมาณที่
สงู ข้ึน การบารุงรักษาเชิงแก้ไขปรับปรุงไม่ได้หมายถึง การแก้ไขปรับปรุงวธิ ีบารงุ รักษาแต่จะหมายถึงการแก้ไข
ปรับปรุงตัวเคร่ืองจักรเพื่อที่จะลดความเสียหายจากการเสื่อมสภาพและค่าใช้จ่ายของการบารุงรักษาลง
กล่าวคือเป็นการปรบั ปรุง คุณสมบัติของเครื่องจกั รให้ดีขึ้นน่นั เอง แต่ในกรณที ี่ค่าใช้จ่ายของการแก้ไขปรับปรุง
เคร่ืองจักรมากกว่าผลรวมของค่าใช้จ่ายในการบารุงรักษาและความเสียหายจากการเส่ือมสภาพก็จะทาให้
วิธีการบารุงรักษาเชิงแก้ไขปรับปรุงน้ีไม่มีความหมายดังนั้น จึงจาเป็นจะต้องมีการควบคุมเช่นเดียวกับการ
บารุงรักษาเชิงป้องกัน Corrective Maintenance มักจะมีเป้าหมายในการลดการสูญเสีย ลดต้นทุนในการ
ซ่อมบารุง ลดเวลาในการซ่อม ยืดอายุการใช้งานของเครื่องจักร ดังน้ันอาจจะพูดได้ว่าการทา Corrective
Caintenance เป็นกิจกรรมทีส่ าคัญมากเทียบกบั กจิ กรรมซ่อมบารงุ ในลักษณะอนื่ ๆ
2.5.4 การป้องกันเพ่ือการบารุงรักษา (Maintenance Prevention) คือ คือการดาเนินการ
ใดๆ กต็ ามทจ่ี ะใหไ้ ดม้ าซึ่งเคร่ืองจักรทไ่ี ม่ต้องการการบารุงรกั ษา หรือต้องการแตน่ ้อยท่ีสุด สามารถดาเนินการ
ไดโ้ ดย
- การออกแบบเคร่ืองจักรให้แขง็ แรงทนทาน บารุงรกั ษาง่าย
- ใชเ้ ทคนคิ และวสั ดซุ ่งึ จะทาใหเ้ ครือ่ งจักรมีความเชื่อถือไดส้ งู
- ร้จู ักเลอื กและซอื้ เครือ่ งจกั รท่ดี ี ทนทาน ซอ่ มง่าย และมรี าคาที่เหมาะสม
การป้องกนั การบารงุ รักษาจะไดผ้ ลกต็ ่อเมื่อมีข้อมลู และประวัตขิ องเคร่อื งรุ่นแรกๆ โดยละเอยี ด
ซ่งึ การศึกษาและวเิ คราะหข์ อ้ มูลท่ีมอี ยู่จะช่วยใหก้ ารออกแบบหรือการเลอื กซ้ือเครื่องจักรบรรลถุ ึงวัตถุประสงค์
ของการปอ้ งกันการบารุงรกั ษาได้
19
2.5.5 การบารุงรกั ษาทวผี ล (Productive Maintenance) เปน็ วิธีทีค่ รอบคลมุ ขอบเขตที่กว้าง
ขนึ้ โดยนาเอาวิธีบารงุ รักษาเชิงป้องกันเข้ามาอยู่ด้วย ในขณะเดียวกันก็คานึงถึงผลทางเศรษฐศาสตร์ของการ
ผลิต คือการนาเอาคา่ ความเสียหายของการเสื่อมสภาพ และค่าใช้จ่ายของการบารุงรักษามาพิจารณาหาจุดที่
เหมาะสมและสร้างข้ึนเปน็ ระบบบารงุ รักษานน่ั เอง
2.5.6 การบารุงรักษาทวผี ลรวม (Total Productive Maintenance: TPM) คือ ปรัชญาการ
มีส่วนรว่ มในการบารุงรกั ษาอุปกรณ์ทั้งหมดของภาคการผลิตเพ่ือเข้าสู่ระดับใหม่ เป้าหมายคือการป้องกันการ
สูญเสยี ใด ๆ ทเี่ กย่ี วข้องกับการบารุงรักษาเครื่องจักร (The 6 Big losses) ดังน้ันจึงไม่ควรมีการหยุดงานโดย
ไม่กาหนดล่วงหน้า (Unplanned Maintenance) ไม่มีการหยุดเล็กน้อยหรือการทางานช้า เรียกว่าไม่มี
ข้อบกพร่องจากการทางานของเครื่องจักรเกิดข้ึน และเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องจักร (Increase OEE)
รวมถึงสร้างสภาพแวดล้อมการทางานท่ีปลอดภัยสาหรับพนักงานทุกคน การบารุงรักษาทวีผลท่ีทุกคนมีส่วน
ร่วม คือแนวคดิ ดา้ นการบารงุ รักษาเคร่ืองจักรและอปุ กรณใ์ หม้ ปี ระสิทธิภาพมากทสี่ ดุ โดยลดความสญู เสีย
ลดการเสยี เวลา ลดความขดั ข้องของเคร่อื งจกั ร ลดอบุ ัติเหตุ ผา่ นการปรบั ปรงุ ระบบคนและเครอ่ื งจักร
20
2.6 งานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง ศักดา (2550) ได้นาหลักการ การบารุง รักษาเชิงป้องกัน และวางแผนการ
บารุงรักษา เครื่องทอผ้า เพิ่มประสิทธิภาพการทางานเคร่ือง ทอผ้าโดยและเพื่อเพิ่มผลผลิตผ้าทอ เน่ืองจาก
ผลผลติ ของเครือ่ งทอไม่เป็นไปตามเปา้ หมาย ท่ีกาหนด โดยงานวิจัยนไ้ี ด้วิเคราะหส์ าเหตุหลกั ทีท่ าให้เครื่องเกิด
เหตุขัดข้อง กาหนดแผนการ บารุงรักษาเชิงป้องและดาเนินการตามแผน ท่ีกาหนด เพ่ือลดความสูญเสียจาก
เหตขุ ดั ข้อง
ผลจากการดาเนินการปรับปรงุ ตามแผนบารุง รักษาเชิงป้องกัน พบว่าประสิทธิภาพการทางาน ของเคร่ืองทอ
เพ่ิมข้นึ คดิ เปน็ 8.63 เปอร์เซ็นต์ ค่าความพร้อมใช้งานของเครื่องทอเพิ่มขึ้นคิด เป็น 0.56 เปอร์เซ็นต์ และค่า
ประสิทธิผล โดยรวมของเครือ่ งทอเพม่ิ ขนึ้ คิดเปน็ 2.56 เปอรเ์ ซ็นต์ ท้ังนี้สง่ ผลให้ผลผลิตผ้าทอเพิ่มขน้ึ
772.33 หลา/เดือน หรือคิดเป็น 1.5 เปอร์เซ็นต์ เกียรติบัลลังก์ และระพี (2556) ได้กาจัดความสูญเสียใน
กระบวนการผลิตเฟรม เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต โดยใช้ OEE เป็นเคร่ืองมือที่ต้องพิจารณา 3 ส่วน คือ
อัตรา การเดินเครื่อง ประสิทธิภาพการเดินเคร่ือง และ อัตราคุณภาพ ใช้วัดค่าประสิทธิผลโดยรวมของ
เครอื่ งจักรพบวา่ อยู่ที่ 77.88% และนาเทคนิค การวิเคราะห์ Why-Why มาใช้เพื่อค้นหาสาเหตุ รากเหง้าของ
ปัญหาการขัดขอ้ งของเครื่องจกั ร นอกจากน้ใี นการปรับปรุงแก้ไขยังไดน้ าเทคนิค การบารุงรักษาแบบทวผี ล
มาดาเนินการแกไ้ ข ปรบั ปรงุ หลงั การปรบั ปรุงพบว่าคา่ OEE มคี า่ เพ่ิมขน้ึ 82.25% จากผลลพั ธ์ดังกลา่ ว
21
บทที่ 3 วิธีการดาเนนิ งาน
สถานท่ีต้ังบริษัท
บริษัท แฮปป้ีเชฟ (ประเทศไทย) จากัด ที่ตั้ง 114 หมู่ 1 นิคมอุตสาหกรรมไฮเทค ตาบลบ้านโพ
อาเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13160 ได้จดทะเบียนก่อตั้งข้ึนในปี พ.ศ. 2556 โดยประกอบ
ธุรกิจหลกั ในดา้ นการผลิตและจาหน่ายผลิตภัณฑอ์ าหารสาเร็จรปู พรอ้ มรับประทาน
3.1 ทาการศกึ ษา และวิเคราะหแ์ ตล่ ะข้นั ตอน การผลิตของเคร่อื งทอดอาหาร
3.1.1 ผสมเน้อื ลักษณะการทางานคือนาเน้ือที่ เตรียมไว้มาผสมโดยการเทเข้าเครอื่ งเพือ่ การผสม
3.1.2 อดั เนื้อข้นึ รูป ลกั ษณะการทางานโดยเครือ่ ง ผสมเนอื้ ทาหนา้ ที่อดั เน้ือข้ึนรูปอีกด้านหน่ึง
22
3.1.3 แยกเน้อื ลักษณะการทางานคอื จะมี พนกั งานคัดแยกเนือ้ ทวี่ ง่ิ ผา่ นสายพานถ้าชน้ิ ไหน ไม่
สมบรู ณ์พนักงานจะคัดออกและนาไปเขา้ เครอ่ื ง ผสมเน้อื อดั ขน้ึ รูปใหม่
3.1.4 ผสมน้าแป้งราดบนเนอ้ื ไก่ ลักษณะการทางานคอื การนาเนือ้ ออกจากสายพานเพ่อื เข้าเครื่อง
ผสมน้าแปง้ (milk wash)
23
3.1.5 ทอดเน้ือไก่ ลักษณะการทางานคือการนาเน้ือไก่เข้าเคร่ืองทอดลงผ่านสายพานลาเลียงตาม
เวลาทก่ี าหนดแตล่ ะผลติ ภณั ฑ์
3.1.6 ทอดเน้อื ไก่ (2) ลักษณะการทางานคือการจัดเรียงเน้ือไก่หลังการทอดเน้ือไก่ครั้งแรกเพ่ือเข้า
ทอดครงั้ ที่ 2โดย ต่างกันท่ี ไม่มสี ายพานเทปลอ่ น
24
3.1.7 ตรวจสอบ และจัดเรียงเน้ือไก่ ก่อนเข้าเตาอบ Oven ลักษณะการทางานคือการตรวจสอบ
น้าหนักเน้ือไก่โดยสุ่มเป็นช้ิน ใช้กิโลช่ังและชิ้นเนื้อไก่หากพบช้ินที่ไม่ดีจะคัดแยกออกและไม่ให้นาเข้าเตา
(Oven)
จากการศึกษากระบวนการผลิตอาหาร สาเร็จรูปยังไม่ได้ตามเป้าหมายที่ต้ังไว้ โดยสามารถผลิตได้
120,000 กโิ ลกรมั ต่อเดอื น บริษทั กรณศี ึกษายังผลิตได้เฉลี่ย 85,427 กิโลกรัม ต่อเดือนเท่านั้นคิดเป็น 71.2%
เทา่ น้ัน
25
การทางานวจิ ยั น้ีพบวา่ กระบวนการทอดเนื้อไก่เป็นกระบวนการท่ีมีกาลังผลิตต่ากว่าเป้าหมายของที่
ฝ่ายวางแผนการผลิตต้องการ ซ่ึงกาลังเป้าหมายที่กระบวนการนี้อยู่ท่ี 600 กิโลกรัม/ชม. ซ่ึงสามารถผลิตได้
เพียง 439 กิโลกรัม/ชม. เท่านั้น โดยคิดเป็น 73.1% ดังรูปภาพที่ 10 ดังนั้นงานวิจัยน้ีจะมุ่งเน้นให้เกิดการ
แก้ปัญหาทีก่ ระบวนการทอดเน้อื ไก่เพื่อให้ได้เป้าหมายตามความตอ้ งการ
26
บทที่ 4 ผลการเพ่มิ ประสิทธภิ าพ
(ผลหลังการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการซ่อมบารงุ รกั ษา)
4.1 ทาการวิเคราะห์วัดค่าสมรรถนะความพร้อมใช้งานเคร่ืองจักร (Availability Performance) และ
การวดั คา่ ประสทิ ธิผลโดยรวมของเคร่ืองจักร (Overall Equipment Effectiveness)
จากการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลก่อนการปรับปรุงช่วงเดือนกันยายน ถึง พฤศจิกายน 2560 พบว่า
ประวัตกิ ารหยุดการทางานและเวลาในการทางานเครื่องทอดแสดงดังตารางท่ี 1 และ 2
ตารางท่ี 1 ประวตั กิ ารหยุดทางานของเครอ่ื งทอด
27
ตารางท่ี 2 เวลาในการทางานของเคร่ืองทอด
จากขอ้ มูลเบือ้ งต้นจากการวเิ คราะหค์ ่าประสิทธภิ าพโดยรวมเฉล่ยี 3 เดอื นของเครื่องทอดอาหารก่อน
การประยกุ ต์ใชร้ ะบบการบารงุ รักษาเชงิ ปอ้ งกัน การคานวณค่าความพรอ้ มใชง้ านเครอ่ื งทอดอาหารในการผลิต
อาหารกง่ึ สาเรจ็ รปู ในบริษัทกรณีศึกษา
จานวนคร้ังท่เี ครื่องจักรหยุดโดยเฉล่ยี [(26+25+24) /3] = 25 คร้งั /เดอื น
เวลาในการทางานเดอื นกนั ยายน (8 x26) = 208 ชว่ั โมง
เวลาในการทางานเดอื นตลุ าคม (8 x27) = 216 ชวั่ โมง
เวลาในการทางานเดอื นพฤศจกิ ายน (8 x25) = 200 ชั่วโมง
ความพร้อมใช้งานเครอื่ งจักร = [(เวลาทางานทง้ั หมด - เวลาทเี่ ครอ่ื งจกั รขัดข้อง) /เวลาทางานทง้ั หมด] x 100
= [(208 – 5.47) / 208] x 100
= 97.37 %
เวลาสูญเสียจากเคร่อื งหยุด = (ระยะเวลาการหยุดเครือ่ ง/เวลาในการใชง้ านเครือ่ งจกั ร) x 100
= 5.47 / 208 x 100
= 2.62 %
เวลาเฉล่ียระหวา่ งเกดิ เหตุขดั ข้อง = เวลาที่เครอื่ งจักรปฏบิ ัติงานจริง(ชม.) / จานวนคร้ังทห่ี ยุด
(Mean Time Between Failures: MTBF) = 208 / 25
= 8.32 ชัว่ โมง/คร้ัง
เวลาเฉลี่ยในการซ่อมแซม = เวลาทเ่ี ครอ่ื งหยุดทง้ั หมด(ชม.) / จานวนครงั้ ทีห่ ยุด
(Mean Time to Repair: MTTR) = 5.47 / 25
= 0.22 ชัว่ โมง/เดอื น
เวลาเฉลยี่ ในการหยุดเครอื่ งจักรตอ่ เดอื น = เวลาท่ีเคร่อื งจักรหยดุ งานทั้งหมด(ชม.) / จานวนเดือนทางาน
= 5.47 / 1
= 5.47 ชว่ั โมง/เดอื น
28
ประสทิ ธิภาพเชิงสมรรถนะ = [(จานวนชิน้ งานทที่ าได้) / (เวลาทางาน x รอบเวลาทฤษฎี)] x 100
= [(85,427) / (208 x 650)] x 100
= 63.27 %
สมรรถนะคุณภาพ = (จานวนช้ินงานที่ทาได้ - จานวนชิน้ งานท่ีเสยี )
จานวนชน้ิ งานทท่ี าได้ = (85,427 – 1,248) / 85,427
= 98.5 %
ประสิทธภิ าพโดยรวม = 0.974 x 0.633 x 0.985
= 0.547 x 100
= 60.73 %
ตารางท่ี 3 สรุปค่าประสทิ ธภิ าพโดยรวมของเครื่องทอดของบริษทั กรณีศึกษา
4.2 ทาการวิเคราะหส์ าเหตุหลักของปัญหาการหยดุ ทางานของเคร่ืองทอด
จากการรวบรวมสาเหตุที่เกิดขึ้นของปัญหาการหยุดทางานของเครื่องทอด มีหลายสาเหตุ จึงนา
หลกั การของพาเรโต นามาคัดเลือกที่เปน็ สาเหตหุ ลักท่แี ท้จริง จากภาพที่ 11 พบวา่ มีจานวนของสาเหตุขัดข้อง
ทั้งหมด 4 เหตุขัดขอ้ งดังนี้
แผนภูมพิ าเรโตแสดงประวตั ริ ะยะเวลารวมการขัดขอ้ งของเครื่องจักร
29
4.2.1 ตะแกรงกรองกากชารุด
ลักษณะการชารดุ คือตะแกรงสแตนเลส แตกตามข้อโซ่ขับสายพาน ซ่ึงส่งผลให้น้ามันท่ีจะต้อง
นากลบั ไปใชซ้ ้าใชไ้ ม่ได้
4.2.2 แมคคานิคอลซลี (Mechanical Seal) ชารุด
ลักษณะแมคซีลชารุดคือจะมีน้ามันรั่วออกจากแมคซีล ส่งผลให้น้ามันเคร่ืองทอดลดลงจาก
ระดบั ที่กาหนดและการรว่ั ของน้ามันก็จะส่งผลใหบ้ รเิ วณนั้นของเครอ่ื งจักรสกปรก
30
4.2.3 ลูกกล้ิงหมนุ กลับ (return Roller) ชารดุ
ลักษณะการชารุดลูกกล้ิงหมุนกลับเป็นวัสดุพลาสติก เมื่อใช้งานไปสักระยะก็จะเกิดการสึก
กร่อนจากการเสียดสีของสายพานสแตนเสล และเม่ือลูกกลิ้งหมุนกลับชารุด ไม่มีวัสดุรองรับ สายพานสแตน
เลส จะส่งผลใหส้ ายพานสแตนเลสเสียดสกี บั สแตนเลสของแกนลูกกล้ิง ซ่ึงจะทาให้เกิดเศษผงสแตนเลสติดกับ
ชิ้นเน้อื ทีท่ าการทอด
4.2.4 โซ่สายพานเทปล่อน (Teflon) ชารดุ
ลักษณะโซ่สายพานเทปล่อนชารดุ คือใบของสายพานเกิดการคดงอเสียรูป ส่งให้สายพานเทปล่อนไป
เกาะหรือขัดกบั สายพานชดุ อื่น
โซส่ ายพานเทปล่อน (Teflon) ชารดุ
31
4.3 การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาหลกั ของการขดั ข้องของเครอ่ื งทอด
จากข้ันตอนการดาเนินงานที่ได้วางแผนโดยนาข้อมูลจากข้างต้น มาทาการวิเคราะห์หาสาเหตุของ
ปัญหาเพ่ือดาเนินหามาตรการป้องกัน และปรับปรุง ในบทน้ีผู้วิจัยจะดาเนินการวิเคราะห์ปัญหาโดยการใช้
หลักการ ทาไมทาไม (Why-Why Diagrams) และนามาหามาตรการป้องกันและปรับปรุงโดยการใช้หลักการ
บารงุ รกั ษาเชงิ ปอ้ งกัน
4.3.1 ปญั หาตะแกรงกรองกากชารุด
การวเิ คราะห์ Why-Why Analysis ของปญั หาตะแกรงกรองกากชารดุ
ตาราง 4 สรุปการวเิ คราะห์ Why-Why Analysis ของปจั จัยด้านบุคคล
32
4.3.2 ปญั หาของแมคคานคิ อล ซลี (Mechanical Seal) ชารุด
การวิเคราะห์ Why-Why Analysis ของปัจจยั แมคคานคิ อล ซลี (Mechanical Seal) ชารดุ
ตารางท่ี 5 สรุปการวเิ คราะห์ Why-Why Analysis ของปญั หาแมคคานคิ อล ซลี (Mechanical Seal) ชารดุ
4.3.3 ปัญหาของลูกกล้งิ หมุนกลับ (Return Roller) ชารดุ
การวเิ คราะห์ Why-Why Analysis ของปัญหาลูกกล้ิงหมุนกลับ (Return Roller) ชารดุ
ตารางท่ี 6 สรปุ การวิเคราะห์ Why-Why Analysis ของปญั หารเี ทรินโรลเลอร์ (Return Roller) ชารดุ
4.3.4 ปัญหาของโซส่ ายพานเทปลอ่ น (Teflon) ชารดุ
การวเิ คราะห์ Why-Why Analysis ของปัญหาของโซ่สายพานเทปลอ่ น (Teflon) ชารดุ
33
ตารางท่ี 7 สรุปการวเิ คราะห์ Why-Why Analysis ของปัญหาของโซ่สายพานเทปลอ่ น (Teflon) ชารดุ
4.4 ผลการดาเนินงาน
จากการวิเคราะห์โดยใชก้ ารวิเคราะห์ Why-Why Analysis สามารถสรปุ แนวทางการป้องกนั ไดด้ งั นี้
4.4.1 กาหนดมาตรฐานรอบของการทิง้ กากเศษเน้อื มกี ารกาหนดให้พนกั งานทาการดึงกากเศษเนื้อ
ออกทุกวนั กอ่ นเลกิ งานโดยให้พนักงานประจาเครอื่ งทอดเป็นผ้รู บั ผดิ ชอบ
4.4.2 ออกแบบการจับยึดใหม่ของน็อตชุดขับสายพานกับตะแกรง เพ่ิมเติมในส่วนของแหวน
รองนอ็ ตเพอื่ เพิม่ พื้นท่สี มั ผสั กับแผน่ ตะแกรง จงึ ส่งผลใหต้ ะแกรงมีความแข็งแรงขนึ้
4.4.3 เปลยี่ นน็อตทป่ี อ้ งกันการคลายตัวดงั แสดงตาม
น็อตธรรมดา นอ็ ตกันคลาย
4.4.4 กาหนดการ PM เพ่อื ป้องกนั การขดั ข้องของเครอ่ื งทอด ในขัน้ ตอนแรกได้แก่การเตรียมความ
พรอ้ มเพื่อที่จะนาระบบงานการบารุงรักษาเชิงป้องกันมาใช้ในบริษัทกรณีศึกษาโดยมีข้ันตอนการดาเนินงาน
ดังนี้
4.4.4.1 การจดั เตรยี มเอกสารเพื่อรองรับระบบการบารุงรักษาเชิงปอ้ งกนั
- ระเบียบการปฏบิ ตั งิ านเรื่องการบารุงรักษาและซ่อมแซม
- รายงานการตรวจสอบตารางแผนงานการตรวจสอบบารุงรกั ษา
- Check sheet การตรวจสอบเครอ่ื งจักร
4.4.4.2 การฝึกอบรมพนักงานในการใช้เอกสารรวมถึงการบันทึกข้อมูลในเอกสาร และให้
ความรู้ความเข้าใจและประโยชน์ท่ีได้รับจากการใช้ระบบการบารุงรักษาเชิงป้องกัน การเริ่มทาระบบการ
บารุงรกั ษาเชิงป้องกัน ในโรงงานกรณีศึกษาจาเป็นต้องอบรมความรู้ในเร่ืองระบบการบารุงรักษาเชิงป้องกัน
ให้กับพนักงานท่ีเกี่ยวข้องท้ังหมดเพื่อการทางานจะได้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน พร้อมท้ังปรับทัศนคติของ
พนักงาน ที่เกย่ี วขอ้ งใหเ้ หน็ ถึงความสาคัญของเวลาที่สญู เสยี ไป
34
การอบรมการบารงุ รักษาเชิงปอ้ งกันโดยวทิ ยากรผเู้ ช่ยี วชาญ
35
บรรยากาศการเขา้ อบรมการบารงุ รักษาเชิงปอ้ งกนั ของพนกั งานและผทู้ เ่ี กี่ยวข้อง
4.4.4.3 การทาความสะอาดเบื้องตน้ คอื การทาความสะอาดเคร่อื งทอดทั้งหมดอย่างละเอยี ด
เพอ่ื เปน็ การตรวจสอบเครือ่ งทอดหรือเครอื่ งจักรทไ่ี ดใ้ ช้งานอยวู่ า่ มสี ภาพเปน็ อย่างไร
4.5 ทาการวิเคราะห์ เปรยี บเทียบขอ้ มลู ผลการดาเนินงานกอ่ น-หลังการปรบั ปรุง
หลังจากการประยุกต์ใช้หลักการบารุงรักษาเชิงป้องกันปรับปรุงระบบการทางานของเคร่ืองทอด
ระหว่างเดอื นธนั วาคม 2560 - กุมภาพันธ์ 2561 ผลการดาเนินงาน
36
ตารางท่ี 8 แสดงประวตั กิ ารหยดุ ทางานของเครอ่ื งทอด
37
ตารางท่ี 9 ตารางแสดงความพรอ้ มใชง้ านเคร่อื งทอดอาหารก่อนและหลงั การปรับปรงุ ของบริษทั กรณีศกึ ษา
กราฟแสดงจานวนงานท่ีผลิตได้ประสทิ ธภิ าพโดยรวมก่อนและหลังการปรบั ปรงุ
38
กราฟเปรียบเทยี บกาลังการผลติ เฉลยี่ ตอ่ ชวั่ โมงกอ่ นและหลังปรบั ปรงุ
39
บทท่ี 5 สรุปและขอ้ เสนอแนะ
ผลการปรับปรุงโดยการนาระบบการซอ่ มบารงุ เชิงปอ้ งกนั มาประยกุ ต์ใช้ เพ่อื เพิม่ ค่าประสิทธิภาพ
เคร่ืองจักรโดยรวม (OEE) ก่อนการปรับปรุงจานวนการผลิตเฉลยี่ 3 เดือน เท่ากบั 85,426 กิโลกรัมต่อเดอื น
หลังการปรับปรุงจานวนการผลิตเฉลยี่ 3 เดอื นเท่ากับ 124,464 กโิ ลกรมั ต่อเดอื น หรือเพมิ่ ขน้ึ 31.36% และ
คา่ ประสิทธิภาพเคร่อื งจกั รโดยรวมกอ่ นการปรบั ปรงุ จานวนการผลิตเฉลีย่ 3 เดอื นเทา่ กบั 60.72% หลงั การ
ปรบั ปรุงจานวนการผลติ เฉลยี่ 3 เดอื น เทา่ กบั 92.72%
40
ตอนท่ี 2 : การเพิม่ ประสิทธภิ าพการอนรุ ักษ์พลังงานในอุตสาหกรรม
บทท่ี 1 : บทนา
1.1 ความเปน็ มาของการอนรุ กั ษพ์ ลังงาน
การอนุรกั ษพ์ ลังงาน
การอนุรักษ์พลังงาน คือ การผลิตและการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัดการอนุรักษ์
พลังงานนอกจากจะช่วยลดปริมานการใช้พลัง ซึ่งเป็นการประหยัด ค่าใช้จ่ายในกิจการแล้ว ยังจะช่วยลด
ปัญหาส่ิงแวดลอ้ มที่เกิดจากแหล่งทใ่ี ชแ้ ละผลิตพลังงานด้วย การสรา้ งนโยบายด้านพลังงาน ของรัฐบาลเป็นอีก
แนวทางหนง่ึ ในการใชพ้ ลงั งานอย่างคุม้ คา่
พลงั งาน เปน็ สิง่ จาเปน็ ของมนุษย์ในโลกปจั จุบนั และ ทวี ความสาคัญข้ึนเม่ือโลกย่ิงพัฒนามากย่ิงขึ้น
การผลิตพลังงานค่อยๆ เปลี่ยนไปเป็นการผลิตพลังงานที่ต้องอาศัยเทคโนโลยีในการผลิตมากยิ่งขึ้น แหล่ง
พลังงานมีหลากหลายท้ังพลังงานที่ได้จากการผลิตโดยมนุษย์ และพลังท่ีได้จากธรรมชาติ สามารถแบ่งแหล่ง
พลังงานที่ มนุษย์นามาใช้ประโยชน์ได้ เป็น พลังงานจากซากฟอสซิลมวลชีวภาพ พลังงานน้า พลังงานลม
พลังงานความร้อนใต้พิภพ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานไฟฟ้าและพลังงาน นิวเคลียร์ พลังงาน หมายถึง
ความสามารถซึ่งมีอยู่ในตัวของสิ่งที่อาจให้แรงงานได้ ภาษาอังกฤษเรียกว่า Energy เป็นกาลังงานท่ีใช้ใน
ชว่ งเวลาหน่งึ มีค่าเปน็ จลู (Joule) ตวั อย่างพลังงานได้แก่ พลังงานไฟฟ้า ในแบตเตอรี่ พลังงานเคมีในอาหาร
พลังงานความร้อนของเคร่อื งทาน้าร้อน หรือพลังงานศักย์ของน้าที่อยู่พลังงานสามารถเปล่ียนรูปจากรูปแบบ
หนึ่งไปสูร่ ปู แบบอืน่ ได้ โดยกฎการอนรุ กั ษ์ พลงั งานระบุวา่ ในระบบปิดนั้น พลังงานท้ังหมดที่ประกอบข้ึนจาก
พลังงานของส่วนย่อยๆ จะมีค่าคงที่เสมอ พลังงานท่ีว่าน้ีไม่สามารถจะทาให้สูญสลายไปได้ เว้นแต่ว่า จะ
แปรเปลย่ี นใหอ้ ยูใ่ นรปู ของพลงั งานในรูปแบบอน่ื ยกตวั อย่าง
-เปลย่ี นพลงั งานแสงจากดวงอาทิตยใ์ ห้เปน็ พลังงานไฟฟ้าที่ใชต้ ามบ้านเรอื น (โดยใชโ้ ซลารเ์ ซลล์)
- เปล่ียนพลังงานสะสมท่ีมีอยู่ในน้าที่เก็บในเข่ือน (พลังงานศักย์) มาเป็นพลังงานที่ใช้ขับเคลื่อน
ไดนาโม (พลังงานจลน์) ของโรงไฟฟ้าและยังมีพลังงานอีกหลายรูปแบบที่เราสามารถนามาใช้ได้แต่ยังไม่ได้
นามาใช้หรือยังไม่ได้คดิ ค้น ข้นึ มา เช่น พลงั งานจากโรงไฟฟา้ นวิ เคลียร์ เป็นตน้
ประเภทหรอื ชนิดของพลังงาน
1. พลังงานกล ในทางฟิสิกส์ จะหมายถึง พลังงานที่เกี่ยวข้องงกับการเคล่ือนท่ีโดยตรงของวัตถุ โดย
ประกอบไปดว้ ยพลังงานศักย์และพลังงานจลน์ จากสารานุกรมไทย สาหรับ เยาวชนฯ เล่มที่ กล่าวว่า เครื่อง
ผ่อนแรงไม่ว่าจะเป็นชนิดใดก็ตาม ต้องการแรงที่จะขับดันให้มันทางานดูจาก แรงนี้ได้จากพลังงานกล แรงที่
มนุษย์ มีอยู่แล้วได้จากกล้ามเนื้อแขน ขา ซ่ึงนับว่าเป็นพลังงานกลอย่างหน่ึง ที่ต้องทางานมากๆ ก็ต้องเพิ่ม
จานวน คนทางาน ผมู้ ีอานาจมเี งินก็ใช้กาลงั เกณฑบ์ งั คับหรอื ซ้ือคนมาใชท้ างานเรียกว่า ทาส ทาสเป็นพลังงาน
กลที่ สาคัญในสมัยโบราณ เรอื เดินทะเลในสมัยนั้นบางทีใ่ ช้กาลังขบั แล่นดว้ ยฝีพายของทาส ซึ่งถูกล่ามโซ่ติดกับ
กราบ เรอื ทั้งสองกราบ นายทาสตีกลองใหจ้ ังหวะ ฝีพายเปน็ การควบคุมความเรว็ ของเรือ มนุษย์อาศัยข่ีหลังม้า
เป็น พาหนะมานานแล้ว จนสามารถควบคมุ และบังคับมันได้ดีเม่ือมีเครื่องผ่อนแรงจึงใช้แรงงานของสัตว์เล้ียง
เช่น ใช้ให้ลากรถ หมนุ โม่ แปง้ และวิดน้า ฯลฯ ม้าลา วัว ควาย อูฐ ช้าง เป็นสัตว์เล้ียงสาคัญท่ีให้ พลังงานกล
ในแถบข่ัวโลกเหนือ ชาวเอสกิโม(Eskimo) และพวกแลปป์( Lapp) ใชส้ นุ ัขและกวาง เรนเดียร์ในการลากเลื่อน
ไปใน ทุ่งน้าแข็งแรงที่ได้จากพลังงานกลธรรมชาติมีอยู่หลายอย่าง ท่ีมนุษย์รู้จักนามาใช้ ก่อนอย่างอื่น คงจะ
เป็นการขบั แล่นเรือใบด้วยกระแสลม ในยุโรปมีการใช้แรงกระแสน้าในลาธารให้หมุนล้อจักร ไม้เพ่ือโม่แป้งใน
บางแถบของโลกมภี เู ขาไฟ นา้ ทไี่ หลซึมลงไปในบริเวณน้นั เมอ่ื กระทบกบั ความรอ้ นใตด้ นิ กลายเป็นไอพุ่งข้ึนมา
ตามรอยแตกรา้ วของหินเกิด เปน็ นา้ พรุ อ้ น ซึ่งมีแรงดันพอทีจ่ ะใชป้ ระโยชนไ์ ดใ้ น อติ าลี และนวิ ซีแลนด์ได้มีการ
41
ควบคุมความดันของไอน้าจากน้าพุร้อน เพ่ือนามาใช้หมุนกังหันสาหรับ เคร่ืองกาเนิด ไฟฟ้า เคร่ืองจักรก ล
สมัยใหม่ใช้แรงงานจากพลังงานกลอ่ืนๆ ท่ีไม่ใช้แรงงานกล้ามเนื้อ เพราะว่าอาจ นามาใช้งานตรากตราและ
บงั คับควบคุมไดต้ ามแต่ต้องการ พลังงานกล ดังกล่าวอาจจะไดม้ าโดยการแปรรูปจาก พลังงานความร้อน เช่น
แรงระเบิดในลูกสูบ จากพลังงาน ไฟฟ้า เช่น การหมุนของมอเตอร์ไฟฟ้า เป็นต้น พลังงานกล ซ่ึงอาจจะ
ปลดปลอ่ ยแรงงานท่ีคานวณได้แบง่ ออกเป็นสองหมวดใหญ่ คือ พลังงานจลน์ และพลังงานศักย์
42
2. พลังงานเคมี คอื พลงั งานท่ีสะสมอย่ใู นสาร ได้แก่ ในน้ามันเช้ือเพลิง ไม้ ถ่านหิน และอาหารเมื่อ
สารเหล่านเ้ี กดิ ปฏิกริ ยิ าเคมกี ็จะให้พลังงานออกมา เช่น การเผาไหม้ของไม้ หรอื ถ่านหิน พลังงานออกมาในรูป
ความร้อนและแสงสว่าง การหายใจและการเผาผลาญอาหารในร่างกายก็จะให้ พลังงานใน การเจริญเติบโต
และทากิจกรรมต่างๆ ทั้งยังให้พลังงานความร้อนทาให้ร่างกายอบอุ่นเสมอ ด้วยเหตุน้ีเราจึงเรียกพลังงานท่ี
สะสมในสารเหลา่ นวี้ า่ พลังงานเคมี
3. พลังงานคลืน่ เปน็ การเก็บเก่ียวเอา พลังงานท่ีลม ถ่ายทอดให้กับผิวน้าในมหาสมุทรเกิดคลื่น ว่ิง
เขา้ สชู่ ายฝ่งั และเกาะแกง่ ต่างๆ เครื่องผลิต ไฟฟ้าพลังงานคลื่นจะถูกออกแบบให้ลอยตัวอยู่บนผิวน้า บริเวณ
หน้าอ่าวดา้ นหน้าที่หันเข้าหา คลื่น การใช้คลื่นเพื่อผลิตไฟฟ้านั้นถ้าจะให้ได้ผลจะต้องอยู่ ในโซนที่มียอดคล่ืน
เฉล่ยี อย่ทู ี่ 8 เมตรซ่งึ บรเิ วณนน้ั ตอ้ งมีแรงลมด้วย แต่จากการวัดความสูงของยอด คลื่นสูงสุดในประเทศไทยท่ี
จังหวดั ระนองพบวา่ ยอดคล่นื สูงสุดเฉล่ียอยู่ที่4เมตรเท่านัน้ ซ่งึ กแ็ น่นอนวา่ ดว้ ยเทคโนโลยี การผลิตไฟฟ้า ด้วย
พลงั งานคล่นื ในปัจจุบนั นั้นยงั คงไมส่ ามารถใช้ในบ้านเราให้ ผลจรงิ จังได้
43
4. พลังงานความรอ้ น หรือ พลังงานอุณหภาพ เปน็ รูปแบบหน่ึงของพลังงาน มนุษย์เราได้ พลังงาน
ความร้อนมาจากหลายแห่งด้วยกัน เช่น จากดวงอาทิตย์ พลังงานในของเหลวร้อนใต้พ้ืน พิภพ การเผาไหม้
ของเชอ้ื เพลงิ พลงั งานไฟฟ้า พลังงานนิวเคลียร์ พลังงานน้าในหม้อต้มน้า พลังงานเปลวไฟ ผลของความร้อน
ทาให้สารเกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น อุณหภูมิสูงขึ้น หรือมีการเปลี่ยนสถานะไป และนอกจากน้ีแล้ว พลังงาน
ความรอ้ นยังสามารถทาให้เกดิ การเปลย่ี นแปลงทาง เคมีได้อีกด้วยหน่วยที่ใช้วัดปริมาณความร้อน คือ แคลอรี
โดยใชเ้ ครือ่ งมือทีเ่ รยี กวา่ แคลอร่เิ ตอร์
5. พลังงานทดแทน โดยท่ัวไปหมายถึงพลังงานที่ใช้ทดแทนพลังงานจากฟอสซิล เช่น ถ่านหิน
ปิโตรเลยี ม และ แกส๊ ธรรมชาตซิ ึ่งปล่อยคารบ์ อนไดออกไซดม์ หาศาลอันเป็นสาเหตุโลกร้อน ตัวอย่าง พลังงาน
ทดแทนที่สาคัญ เช่น พลงั งานลม พลงั งานนา้ พลังงานแสงอาทติ ย์ พลังงานน้าข้ึนน้าลงพลังงานคลื่น พลังงาน
ความร้อนใต้พิภพ เชื้อเพลิงชีวภาพ เป็นต้น ในปี 2555 ประเทศไทยใช้พลังงานทดแทนเพียง18.29% ของ
พลังงานท้ังหมด เพ่ิมขึ้นจากปีก่อนหน้า 1.8% โดยที่เพียง พลังงานแสงอาทิตย์ และเช้ือเพลิงชีวภาพ 23%
เพ่ิมข้นึ แต่พลังงานจาก พน้ื ถา่ น แกลบ และวสั ดุ เหลอื ใชท้ างเกษตร โดยนามาใช้เป็นเช้ือเพลิงด้ังเดิม 10% มี
อัตราลดลง (อาจเป็นเพราะมว ลชีวภาพ ดังกล่าวถูกแปรรูปไ ปเป็นเชื้อเพลิง ชีวภาพไปแล้ว )
44
6. พลังงานลม เป็นพลังงานตามธรรมชาติท่ี เกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิ ความกดดันขอ
บรรยากาศและแรงจากการหมนุ ของโลกสิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเร็วลมและกาลัง เป็นท่ี ยอมรับ
โดยทั่วไปว่าลมเป็นพลังงานรูปหน่ึงท่ีมีอยู่ในตัวเอง ซึ่งในบางครั้งแรงท่ีทาให้บ้านเรือนท่ี อยู่อาศัยพังทลาย
ต้นไม้ หักโค่นลง สง่ิ ของวตั ถตุ ่าง ๆ ล้มหรือปลวิ ลอยไปตามลม ฯลฯ ในปัจุบันมนุษย์จึงได้ให้ ความสาคัญและ
นาพลังงานจากลมมาใช้ประโยชน์มากขึ้น เน่ืองจากพลังงานลมมีอยู่โดยทั่วไปไม่ต้องซื้อหา เป็นพลังงานที่
สะอาดไม่ก่อให้เกดิ อนั ตรายต่อสภาพแวดล้อม และสามารถนามาใช้ประโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งไม่รู้จัก หมดสิ้น พลังงาน
ลมก็เหมอื นกบั พลังงานแสงอาตย์ คอื ไม่ตอ้ งซ้ือ ซ่ึงปัจจุบันได้มีการนาเอาพลังงานลมมาใช้ ประโยชน์มากข้ึน
พนื้ ทยี่ ังมปี ญั หาในการวจิ ัย พฒั นานาเอาพลังงานลมมาใช้งานเน่ืองจากปริมาณของลมไม่สม่าเสมอตลอดปี แต่
ยังไงก็คงมีพ้ืนท่ีบางพื้นท่ีสามารถนาเอาพลังงานลมมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้บริเวณชายฝั่งทะเลเป็ต้น ซึ่ง
อุปกรณท์ ช่ี ว่ ยในการเปลยี่ นจากพลังงานลมออกมาเป็นพลังงานในรูปอ่ืน ๆ เช่น ใช่ กังหันลม (windturbine)
เพื่อเปล่ยี นให้เป็น พลังงานไฟฟ้า กังหันโรงสี (หรือwindmill) เพื่อเปล่ียนให้ เป็น พลังงานกล คือเม่ือต่อเข้า
กับระหัดวิดน้าเพ่ือระบายน้าหรือต่อเข้ากับจักรกลก็สามารถใช้สีข้าว หรือ นวด แป้งได้ กังหันสูบน้า (หรือ
windpump, sails หรอื ใบเรอื เพื่อขับเคลื่อนเรอื เปน็ ต้น
7. พลังงานแสงอาทติ ย์ เป็นพลังงานของแสงและพลังงานของความร้อนท่ีแผ่รังสีมาจากดวง อาทิตย์
พลังงานแสงอาทติ ย์แบ่งออกเป็น 2 สว่ นใหญ่ๆคือ พลังงานทีเ่ กิดจากแสงและพลงั งานท่ีเกดิ จากความร้อน
45
8. พลังงานไฟ เป็นพลังงานที่เปลี่ยนมาจากพลังงานรูปอ่ืน ซึ่งเกิดจากการเคล่ือนที่ อิเล็กตรอนผ่าน
ตวั นาไฟฟ้า โดยอิเล็กตรอนเคล่ือนจากขว้ั ท่ีจ่ายอิเลก็ ตรอนได้ดีไปสู่ขั้วรับอิเล็กตรอนได้ดี(ขั้ว ลบไปหาขั้วบวก)
แตไ่ ฟฟา้ เปน็ กระแสสมมุตเิ คล่อื นสวนทางกับอเิ ล็กตรอนจา ขัว้ บวกไปขวั้ ลบ
9. พลังงานแม่เหล็ก (Magnetic Energy) เป็นพลังงานที่เกิดขึ้นในสนามแม่เหล็ก หรือ เกิดจาก
สนามแมเ่ หลก็ เชน่ พลังงานท่เี กดิ ขึน้ บนเหล็กท่ีอยใู่ นสนามแม่เหล็ก ถูกแรงแมเ่ หล็กดูดและผลักให้วางตัวอยู่ใน
สนามแม่เหล็กนั้น ตามสมการของแมกซ์เวลล์ พลังงานศักย์ของแม่เหล็ก (E) ของโมเมนท์ แม่เหล็ก (m) ใน
สนามแม่เหล็ก B เท่ากบั งานของแรงแมเ่ หลก็ แรงบดิ ของแมเ่ หล็ก ในการเรียงตัวใน ทิศทางสนามแม่เหล็กน้ัน
(พลงั งานงานเท่ากบั มวลคูณระยะทาง)
10. พลงั งานจากการแผร่ งั สี (องั กฤษ:Radiant Energy) เป็นพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คานวณ
ได้จากผลรวมของฟลักซ์ (flux หรือ กาลัง) ท่ีแผ่ออกมาเม่ือเทียบกับเวลา มีหย่วยเป็น จูล พลังงานจะถูก
ส่งออกมาจากแหลง่ ใดแหลง่ หนง่ึ สูส่ ่งิ แวดลอ้ มโดยรอบ อาจมองเหน็ หรืออาจมองไมเ่ ห็นไดด้ ว้ ยตาเปล่า
11. พลังงานเสียงเป็นพลังงานรูปหน่ึงท่ีเกิดจากการส่ันสะเทือนเราสามารถได้ยินได้คือเป็น พลังงาน
รูปหน่ึงทีส่ าคญั โดยมนษุ ย์ เพราะเราใชเ้ สยี งในการส่ือสาร หรอื แม้แต่สัตว์ หรอื พชื บางชนดิ ใช้เสียง ในการส่ง
สญั ญาณเชน่ พลงั งานเสียงทไี่ ดจ้ ากการพดู คยุ กัน พลังงานเสียงทีไ่ ดจ้ ากเครื่องดนตรี
นโยบายพลงั งาน
พฒั นาพลงั งานใหป้ ระเทศไทยสามารถพง่ึ ตนเองไดม้ ากขึน้ โดยจัดหาพลงั งานให้เพียงพอ มีเสถียรภาพ
ด้วยการเร่งสารวจและพัฒนาแหล่งพลังงานประเภทต่างๆ ท้ังภายในประเทศและต่างประเทศ และ เร่งให้มี
การเจรจากับประเทศเพื่อนบ้านในระดับรัฐบาลเพื่อร่วมพัฒนาแหล่งพลังงานวางแผนพัฒนา ไฟฟ้าให้มีการ
กระจายชนดิ ของเชอื้ เพลิงท่ีใช้เพ่อื ลดความเสย่ี งดา้ นการจัดหา ความผันผวนทางด้านราคา และลดต้นทุนการ
ผลิต ส่งเสรมิ การผลติ ไฟฟา้ จากพลังงานหมนุ เวยี นท่ีมีศักยภาพ โดยเฉพาะ โครงการผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก และ
โครงการผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมาก รวมท้ังศึกษาความเหมาะสมใน การพัฒนาพลังงานทางเลือกอ่ืนๆ มาใช้
ประโยชนใ์ นการผลิตไฟฟ้า ดาเนินการให้นโยบายด้านพลังงานทดแทนเป็นวาระแห่งชาติ โดย สนับสนุนการ
ผลติ และการใชพ้ ลงั งานทดแทน โดยเฉพาะการพัฒนาเช้ือเพลิงชีวภาพและชีวมวล เช่น แก๊ส โซฮอล์ (อี10 อี
20 และอี85) ไบโอดีเซล ขยะ และมูลสัตว์ เป็นต้น เพ่ือเสริมสร้างความมั่นคง ด้านพลังงาน ลดภาวะมลพิษ
และเพอ่ื ประโยชนข์ องเกษตรกร โดยสนบั สนุนให้มีการผลติ และใช้ พลังงานหมุนเวียนในระดับ ชุมชน หมู่บ้าน
46
ภายใตม้ าตรการสร้างแรงจงู ใจท่เี หมาะสม รวมทัง้ สนบั สนนุ การใช้ก๊าซธรรมชาติในภาคขนส่ง ให้มากขึ้น โดย
ขยายระบบขนส่งก๊าซธรรมชาติให้ ครอบคลุมพ้ืนท่ีทั่วประเทศ ตลอดจนส่งเสริมและวิจัยพัฒนา พลังงาน
ทดแทนทุกรูปแบบอย่าง และต่อเน่ือง กากับดูแลราคาพลังงานให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม มีเสถียรภาพ และ
เป็นธรรมต่อ ประชาชน โดยกาหนด โครงสร้างราคาเช้ือเพลิงท่ีเหมาะสม และเอ้ือต่อการพัฒนาพืชพลังงาน
รวมทงั้ สะทอ้ นตน้ ทุนทีแ่ ทจ้ รงิ มากที่สดุ และบรหิ ารจัดการผา่ นกลไกลตลาดและกองทุนน้ามัน เพ่ือให้มีการใช้
พลงั งานอย่างประหยัด และส่งเสริมการ แข่งขัน และการลงทุนในธุรกิจพลังงาน รวมทั้งพัฒนา คุณภาพการ
ให้บริการและความปลอดภัยส่งเสริมการอนุรักษ์และประหยัดพลังงาน ท้ังในภาค ครัวเรือน อุตสาหกรรม
บริการ และขนส่ง โดยรณรงค์ให้ เกิดวินัยและสร้างจิตสานึกในการประหยัดพลังงาน และสนับสนุนการใช้
พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ มี มาตรการจูงใจให้มีการลงทุนจาก ภาคเอกชนในการปรับเปลี่ยนอุปกรณ์
ประหยัดพลังงานและมาตรการ สนบั สนุนให้ครัวเรอื นลดการใชไ้ ฟฟา้ ในช่วงการใช้ไฟฟ้าสูงสุด รวมทั้งการวิจัย
พัฒนาและกาหนดมาตรฐาน อุปกรณ์ไฟฟ้าและ มาตรฐานอาคารประหยัดพลังงาน ตลอดจนสนับสนุนการ
พฒั นาระบบขนส่งมวลชน และ การขนส่ง ระบบราง เพ่ือให้มีการใช้พลงั งานอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถ
ชะลอการลงทนุ ด้านการจัดหา พลังงานของประเทศ ส่งเสริมการจัดหาและการใช้พลังงานที่ให้ความสาคัญต่อ
สิ่งแวดล้อม ภายใต้ กระบวนการ มสี ่วนรว่ มของประชาชน โดยกาหนดมาตรฐานด้านต่างๆ รวมท้ังส่งเสริมให้
เกดิ โครงการ กลไกการพัฒนา พลังงานท่ีสะอาด เพ่ือลดผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมและชุมชน และลดปริมาณ
ก๊าซ เรือนกระจก จะเห็นได้วา่ ภาครัฐใหค้ วามสนใจกบั การใชพ้ ลังงานในประเทศเป็นอย่างย่ิง การที่ประชาชน
รวมถงึ หน่วยงานทัง้ ภาครัฐและเอกชน ช่วยกันใช้พลังงานอย่างประหยัดและคุ้มค่าจะช่วยให้ภาครัฐสามารถ
ประหยดั งบประมาณไดอ้ ย่างมหาศาล
การใช้เทคโนโลยีให้ประหยัดพลังงานต้องคานึงถึงการประโยชน์ที่ได้รับ และผู้ใช้ต้องเห็นความสาคัญของ
พลงั งานซง่ึ ในปจั จบุ ันเรากาลังเผชิญกับปญั หาราคาพลงั งานทเ่ี พิม่ สงู ขึ้น
แนวทางในการอนุรกั ษพ์ ลังงานหรอื การใช้พลงั งานเชงิ อนรุ ักษท์ ส่ี าคญั ไดแ้ ก่
1. การใช้พลงั งานอยา่ งประหยดั และคมุ้ คา่ โดยการสรา้ งค่านิยมและจิตใตส้ านกึ การใชพ้ ลังงาน
2. การใช้พลังงานอย่างรู้คณุ คา่ จะตอ้ งมีการวางแผนและควบคมุ การใช้อย่างเตม็ ประสิทธิภาพและเกิด
ประโยชน์สูงสุดมีการลดการสูญเสียพลังงานทุกขั้นตอนมีการตรวจสอบและดูแลการใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้า
ตลอดเวลา เพอื่ ลดการรวั่ ไหลของพลงั งาน เปน็ ต้น
3. การใชพ้ ลงั งานทดแทนโดยเฉพาะพลงั งานทไี่ ด้จากธรรมชาติ เชน่ พลงั งานแสงอาทิตย์ พลังงานลม
พลงั งานนา้ และอื่น ๆ
4. การเลือกใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ท่ีมีประสิทธิภาพสูง เช่น เคร่ืองใช้ไฟฟ้าเบอร์5 หลอดผอม
ประหยดั ไฟเป็นต้น
5. การเพ่มิ ประสิทธภิ าพเชื้อเพลิง เชน่ การเปลีย่ นแปลงโครงสรา้ งทาใหช้ ้อื เพลงิ ใหพ้ ลงั งาน
6. การหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ โดยการนาวัสดุที่ชารุดมาซ่อมใช้ใหม่ การลดการท้ิงขยะที่ไม่จาเป็น
หรอื การหมุนเวยี นกลับมาผลิตใหม่(Recycle)
1.2 ความหมายของการอนรุ กั ษพ์ ลังงาน
การอนุรักษ์พลังงานหมายถึง การผลิตและการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด เพื่อให้
เกิดประโยชน์สูงสดุ
พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน2535 ประกาศใช้เม่ือวันที่ 2 เมษายน พ.ศ.2535
กาหนดให้กลุ่มเป้าหมายคือโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมมีหน้าท่ีต้องดูแลการใช้พลังงานอย่างมี
ประสิทธิภาพและดาเนินการอนุรักษ์พลังงานอย่างเป็นระบบดังนั้นเจ้าของโรงงานและผู้บริหารอาคารธุรกิจ
47
จาเป็นต้องตระหนักถึงสิทธิหน้าท่ีความรับผิดชอบข้ันตอนการปฏิบัติต่างๆและบริกา รท่ีรัฐจัดเตรียมไว้ให้
เพ่อื ท่จี ะปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายไดอ้ ย่างถูกต้อง
การใช้พลังงานในเคร่ืองจักรหรืออุปกรณ์ และคุณภาพวัสดุหรืออุปกรณ์เพื่อการ พลังงานแทน
พนักงาน เจ้าหน้าท่ีเพ่ือให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม จึงได้ ตรา“พระราชบัญญัติการ
ส่งเสริมการอนรุ ักษพ์ ลงั งาน (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2550” ขึ้นใช้บังคับ โดย ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันท่ี
4 ธนั วาคม 2550 และใหม้ ผี ลบังคบั ใชต้ ง้ั แตว่ ันท่ี 1 มิถนุ ายน พ.ศ. 2551 เปน็ ต้นไป
โรงงานควบคมุ หรืออาคารควบคมุ หมายถงึ โรงงานหรืออาคารที่มีหน้าที่ต้องดาเนิน อนุรักษ์พลังงาน
ตาม“พระราชบัญญตั กิ ารส่งเสรมิ การอนรุ ักษ์พลงั งาน พ.ศ. 2535 (ฉบับแกไ้ ขเพ่ิมเติม)” ซึ่งโรงงานหรืออาคาร
ทเ่ี ข้าขา่ ยเป็นโรงงานควบคุมหรอื อาคารควบคุมน้นั จะต้องมีลกั ษณ์ การใชพ้ ลงั งานอยา่ งใดอย่างหนึง่ ดงั ตอ่ ไปนี้
1. เป็นโรงงานหรืออาคารที่ไดร้ บั อนุมตั จิ ากผู้จาหน่ายพลงั งานใหใ้ ชเ้ ครือ่ งวัดไฟ ติดตัง้ หม้อแปลงไฟฟ้า
ชดุ เดยี วหรอื หลายชุดรวมกันมขี นาดตงั้ แต่ 1,000 กโิ ลวัตต์ หรอื 1,175 กิโล โวลต์แอมแปร์ข้นึ ไป
2. เป็นโรงงานหรืออาคารที่ใช้ไฟฟ้าจากระบบของผู้จาหน่ายพลังงานความร้อนจากไอน้าจากผู้
จาหนา่ ยพลงั งานหรือพลังงานสน้ิ เปลืองอ่นื จากผู้จาหนา่ ยพลังงานหรือของตนเองอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ หรือรวมกนั
มปี รมิ าณพลังงานทั้งหมดเทียบเทา่ พลงั งานไฟฟา้ ตั้งแต่ 20 ล้านเมกะจูล ขึ้นไป
การอนรุ กั ษพ์ ลงั งานในโรงงาน
การอนุรกั ษพ์ ลงั งานในโรงงาน ได้แก่
1. การปรับปรงุ ประสิทธภิ าพของการเผาไหมเ้ ชื้อเพลงิ
2. การป้องกันการสูญเสยี พลังงาน
3. การนาพลังงานท่เี หลือจากการใช้แลว้ กลบั มาใชใ้ หม่
4. การเปลีย่ นไปใชพ้ ลังงานอีกประเภทหนึ่ง
5. การปรับปรุงการใช้ไฟฟ้าด้วยวิธีปรับปรุงตัวประกอบกาลังไฟฟ้า การลดความต้องการ พลังงาน
ไฟฟ้าสูงสุดในช่วงความต้องการใชไ้ ฟฟ้าสูงสุดของระบบ การใชอ้ ุปกรณไ์ ฟฟ้าให้เหมาะสมกับภาระและวิธกี ารอืน่
6. การใช้เครื่องจักรหรอื อุปกรณท์ ่มี ปี ระสิทธิภาพสูง ตลอดจนระบบควบคุมการทางาน วัสดุท่ีช่วยใน
การอนรุ ักษ์พลังงาน
7. การอนรุ ักษ์พลังงานโดยวธิ อี ่นื ตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง
การอนรุ ักษพ์ ลงั งานในอาคาร