1
2 คู่มือมือใหม่หัดเขียนโปรเจกต์ ส�ำหรับ โครงการ DigitorThailand เท่านั้น หน่วยจัดการ เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการสื่อสารสุขภาวะ ศูนย์สื่อสารเด็กไทยฯ (องค์กรสาธารณประโยชน์ เลขที่4314) Email : [email protected] 2020
3 รู้จัก DigitorThailand .................................................................. 04 กระบวนการพิจารณาโครงการ ................................................ 10 แนวแนะการเขียนโครงการ ตั้งชื่อให้ WOW ............................................................................ 16 ที่มาที่ไปแล้วงัย .............................................................................. 18 ขอฟังเหตุผล ................................................................................. 20 ปัญหามีไว้แก้ ................................................................................. 22 อะไรคือวัตถุประสงค์ .................................................................... 30 ตัวอย่างของผลลัพธ์ .................................................................. 34 กลุ่มเป้าหมายส�ำคัญอย่างไร ..................................................... 36 พื้นที่ด�ำเนินงาน ที่ไหน ................................................................. 39 พื้นที่ช่องทางออนไลน์ อะไรที่เหมาะสม ................................... 40 ระยะเวลาด�ำเนินงาน .................................................................... 45 กระบวนการในการด�ำเนินกิจกรรม ......................................... 46 หลักการใช้จ่ายงบประมาณ ....................................................... 50 กระบวนการนวัตกรทางสังคม ................................................. 56 ลงมือเขียนกิจกรรม ................................................................... 71 แนวทางในการติดตามผลฯ ....................................................... 78 ประเภทและเกณฑ์การพิจารณาโครงการ................................ 80
4 รู้จัก DigitorThailand นักสื่อสารดิจิทัลสร้างสรรค์ D i g i t o r เ ป ็ น ค� ำ ที่ ม า จ า ก ค� ำ ว ่า D i g i t a l แ ล ะ C r e a t o r ซึ่ ง ห ม า ย ถึ ง . . ผู ้ ส ร ้า ง ส ร ร ค ์ ใ น โ ล ก ดิ จิ ทั ล . . ผ ่า น ก า ร เ ป ็ น “ พ ล เ มื อ ง ดิ จิ ทั ล ส ร ้า ง ส ร ร ค ์ สื่ อ สุ ข ภ า ว ะ ” ห รื อ “ Digital Citizen Creative for Health ” “ เทคโนโลยี ” เปลี่ยน “ วิถีชีวิต ” ในยุคที่เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการด�ำเนินชีวิต ของผู้คนในสังคมปัจจุบันอย่างมาก การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น จาก Disruptive Technology หรือ แนวคิด ที่เทคโนโลยีเปลี่ยนวิถีชีวิต เทคโนโลยีดิจิทัลได้ถูกน�ำมาอ�ำนวยความสะดวกใน การด�ำเนินชีวิตประจ�ำวัน การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ จึงมีความจ�ำเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การใช้ Social Media ของคนรุ่นใหม่ที่สามารถสร้างสรรค์และออกแบบในการสื่อสารที่สามารถ พัฒนาศักยภาพการใช้สื่อเทคโนโลยีดิจิทัลที่ทันสมัย รู้เท่าทัน พลังพลเมือง ดิจิทัลจึงมีความจ�ำเป็นต่อการสร้าง “นักสื่อสารดิจิทัลสร้างสรรค์” สู่การเปลี่ยนแปลงผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อให้คนไทยเกิดความตระหนัก รู้และมีทันคติเชิงบวกทางสุขภาวะมากขึ้น
5 New Normal แม้ว่าที่ผ่านมาจะมี Digital Disruption เกิดขึ้น ครั้งแล้วครั้งเล่า แต่ก็ยังไม่ได้แทรกซึมเข้าไปถึงคนทุกกลุ่ม ทุกอาชีพ จนมีการแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่จะท�ำให้วิถี ชีวิตของทุกคนบนโลกใบนี้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่ง ใหญ่ซึ่งจดจ�ำไปตลอดกาล การมาของโควิด-19 ท�ำให้พฤติกรรม หลายอย่างได้เปลี่ยนแปลงไป แม้ว่าสถานการณ์จะ กลับเข้าสู่สภาวะปกติ แต่ย่อมเกิดพฤติกรรมรูปแบบ ใหม่ของผู้บริโภค ซึ่งเรามักเริ่มได้ยินบ่อยๆ แล้วว่า “New Normal” หรือความปกติแบบใหม่ในสังคมไทย Next Normal ของอนาคต หลังพ้นวิกฤต COVID-19 จะเป็นอย่างไร? เทรนด์ที่สังคมไทยควร จะตั้งรับ ทั้งในแง่มุมพฤติกรรมการใช้ชีวิต การอยู่ อาศัย เทคโนโลยี การเดินทาง และการดูแลสุขภาพ DigitorThailand จะเป็นหนึ่งในการสร้าง สังคมให้เกิดสุขภาวะ จากการพัฒนาใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ในการผลิตสื่อสร้างสรรค์และสนับสนุนการสื่อสารสุข ภาวะในสังคมออนไลน์ โดยสร้างแกนน�ำนักสื่อสารดิจิทัล สร้างสรรค์ และส่งเสริมให้คนไทยมีความรอบรู้ทาง สุขภาพและมีทัศนคติเชิงบวกทางสุขภาวะมากยิ่งขึ้น รวม ถึงขยายพื้นที่การกระจายโอกาสในพื้นที่ภาคใต้ เพื่อให้ทัน ต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนไทยทุกช่วงวัยในยุค ที่เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจ�ำวันมากขึ้นในทุก ขณะ และรับมือกับสถานการณ์ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ให้ดียิ่งขึ้น
6 สสส. ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เป็นหน่วยงานของ รัฐที่มิใช่ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ พ.ศ. 2544 และอยู่ภายใต้การก�ำกับดูแล โดยคณะกรรมการที่มีนายกรัฐมนตรีเป็นประธาน เริ่มด�ำเนินงานเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2544 ด้วยเจตนาที่จะให้มีกองทุนเพื่อท�ำหน้าที่ในการโน้มน�ำและ สนับสนุนให้ประชาชนเกิดพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สิ่งแวดล้อม และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับอันตรายจากการบริโภคสุราและยาสูบ หรือสารอื่นที่ท�ำลายสุขภาพ หรือจากพฤติกรรมการด�ำรงชีวิตที่ไม่ถูกต้อง
7
8 วิสัยทัศน์ “ ทุกคนบนแผ่นดินไทยมีขีดความสามารถ สังคม สิ่งแวดล้อม ที่เอื้อต่อสุขภาวะ ” หมายถึง ทุกคนบนผืนแผ่นดินไทย ไม่แบ่งแยก เชื้อชาติ สัญชาติ สถานะทางเศรษฐกิจ และสังคม ควรมีความรู้ ความสามารถที่จะดูแลตนเองและครอบครัวให้มีสุขภาวะที่ดี รวมถึง สังคมไทยและสภาพแวดล้อม ที่รวมถึงการมีกฎหมาย มาตรการ ค่านิยม วัฒนธรรม และระบบสุขภาพที่สนับสนุนและเอื้ออ�ำนวยให้ทุกคนสามารถด�ำรงชีวิตได้ อย่างมีสุขภาวะ พันธกิจ “ จุดประกาย กระตุ้น สาน และเสริมพลังบุคคล และองค์กรทุกภาคส่วน ให้มีขีด ความสามารถและสร้างสรรค์ระบบสังคม ที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะ ” สสส. เป็นองค์ประกอบหนึ่งของระบบสุขภาพไทยมีบทบาทหน้าที่ในการจุด ประกายกระตุ้น และสนับสนุนพัฒนาการของระบบสุขภาพให้เป็นไปในทิศทางที่พึงประสงค์ ตามวิสัยทัศน์ข้างต้น สสส. ไม่มีบทบาทหน้าที่ในการเป็นผู้รับผิดชอบปฏิบัติการประจ�ำหรือปฏิบัติ การซ�้ำซ้อน แต่สสส. จะด�ำเนินงานด้วยการส่งเสริมสนับสนุนหน่วยงานต่างๆ ที่รวม เรียกว่า “ภาคี” โดยสสส. เน้นบทบาทการพัฒนาความเข้มแข็งของระบบสุขภาพในส่วน ที่เป็นภาคสังคมท้องถิ่น และภาคนโยบายสาธารณะ สสส. ไม่มีภารกิจให้บริการสุขภาพ แต่อาจสนับสนุนให้การบริหารจัดการระบบบริการสุขภาพสอดรับกับพัฒนาการของ ภาคสังคมท้องถิ่น และนโยบายสาธารณะ
9 สสส. มิได้เน้นบทบาทท�ำหน้าที่เป็นแหล่งทุน แต่มุ่งเป็นหน่วยกระตุ้นและสนับสนุนให้เกิด การสร้างเสริมสุขภาพ สสส. จึงสร้างระบบ การท�ำงานเพื่อให้เกิดการพัฒนาโครงการ และ กิจกรรมที่ก่อให้เกิดผลกระทบ และ น�ำไปสู่ความเปลี่ยนแปลงอย่างแท้จริง โครงการเป็นการสนับสนุนการพัฒนาใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลในการผลิตสื่อสร้างสรรค์ และสนับสนุนการสื่อสารสุขภาวะในสังคม ออนไลน์สร้างเสริมสุขภาพ มุ่งสนับสนุน ปฏิบัติการเพื่อสร้างตัวอย่างรูปธรรม และ นวัตกรรมการท�ำงานสร้างเสริมสุขภาพ ให้ทันต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในยุคที่เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามามีบทบาท ในชีวิตประจ�ำวันมากขึ้นในทุกขณะ
10 กระบวนการท�ำงานของ NODE สสส. 1 2 3 4 พัฒนาข้อเสนอโครงการให้มีคุณภาพ พัฒนาศักยภาพคณะท�ำงานโครงการ ติดตามและเสริมพลัง ก�ำกับควบคุมและการประเมินผลการเผยแพร่สื่อ 5 6 ขยายผลจากกิจกรรมที่ด�ำเนินการ ถอดบทเรียนการด�ำเนินงาน โดย สสส. เชิญผู้ที่มีความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ภายนอก ร่วมเป็นคณะผู้พิจารณาและให้ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาโครงการ ปฐมนิเทศเพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารโครงการ และ จัดอบรมพัฒนาศักยภาพให้แก่คณะท�ำงานของโครงการย่อย ติดตามความก้าวหน้า สนับสนุน และเสริมพลังการท�ำงาน สร้างพื้นที่ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้สื่อสุขภาวะที่โครงการย่อยผลิตขึ้น ก�ำกับดูแลสื่อที่โครงการย่อยผลิตขึ้น ผ่านรูปแบบ Media Lab โดยพิจารณาความเหมาะสม รวมถึงเสริมหนุนการเผบแพร่สื่อ เพื่อเผยแพร่ต้นแบบสื่อที่ดีสู่สาธารณะผ่านช่องทางการสื่อสารต่างๆ และผลักดันสื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพในประเด็นส�ำคัญ การถอดบทเรียนโครงการ โอกาสในการพัฒนาต่อยอดขยายผล หรือ ผลงานที่ประสบความส�ำเร็จเพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ สสส. ศูนย์สื่อสารเด็กไทยฯ (องค์กรสาธารณประโยชน์ ทะเบียนเลขที่4314) ซึ่งท�ำหน้าที่เป็น Node หรือ หน่วยจัดการด้านเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการสื่อสารสุขภาวะ มีบทบาทหน้าที่ ฐานะกลไกส�ำคัญในการด�ำเนินงาน ติดตามและให้ค�ำปรึกษา พี่เลี้ยง ตลอดจนกลุ่ม แกนน�ำที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ ในการร่วมกับขับเคลื่อนผ่านการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการ สื่อสารสุขภาวะ ผ่านสังคมออนไลน์
11 1.บุคคลหรือองค์กรที่เสนอโครงการ ที่ได้รับการสนับสนุนจากผู้ผลิตสุราหรือยาสูบ หรือสินค้าท�ำลายสุขภาพ 2.บุคคลหรือองค์กรที่ก�ำลังได้รับการสนับสนุนจาก สสส. และมีประวัติด่างพร้อยใน การปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามข้อตกลงหรือได้สร้างความเสี่อมเสียแก่ สสส. หรือแก่ บุคคลอื่นๆในสังคม 3.โครงการที่มีจุดมุ่งหมายหรือเกี่ยวพันผลประโยชน์ทางการเมืองอย่างชัดเจน 4.โครงการที่มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการหาทุน หาก�ำไร ลงทุนเพื่อการแสวงหาก�ำไร หรือจัดตั้งกองทุนต่างๆ มุ่งเน้นการตั้งงบประมาณเป็นค่าตอบแทน ให้รางวัล/สิ่งของ หรือจัดซื้อรางวัล 5.โครงการด้านการปฏิบัติการเน้นในพื้นที่ออนกราน์เป็นหลัก เช่น การจัดค่าย การจัด อบรม การแข่งขัน การจัดประกวด การจัดนิทรรศการแสดงผลงาน เป็นต้น 6.โครงการที่มีมุ่งจัดหา ครุภัณฑ์หรืออุปกรณ์ขนาดใหญ่ เช่น อุปกรณ์กล้องถ่ายรูป กล้องวิดีโอ คอมพิวเตอร์ เครื่องอัดสียง ฉาก ชุดไฟสตูดิโอ เป็นต้น 7.โครงการจัดตั้งส�ำนักงาน หรือโครงการที่มีเจตนาหารายได้เข้าส�ำนักงานเป็นหลัก 8.โครงการที่มุ่งเน้นค่าใช้จ่ายเป็นเงินเดือน ค่าตอบแทนของผู้เสนอโครงการและคณะ ท�ำงานหรือค่าใช้จ่ายส�ำนักงาน 9.โครงการที่การด�ำเนินงานมีเพียงกิจกรรมเดียว หรือเป็นกิจกรรมระยะสั้น ที่ไม่ส่งผล ต่อการเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย 10.โครงการที่เป็นงานประจ�ำของหน่วยงานรัฐ หรือองค์กร หรือชุมชน นั้นอยู่แล้ว 11.โครงการที่ไม่มีการแจกแจงรายละเอียดงบประมาณแบบราคา/หน่วยในแต่ละ กิจกรรมอย่างชัดเจน 12.โครงการที่คาดว่าไม่สามารถด�ำเนินงานตามระยะเวลาที่ก�ำหนด และไม่สามารถเข้า ร่วมกิจกรรมที่ทางหน่วยจัดการได้ออกแบบไว้ เงื่อนไขส�ำคัญที่เกี่ยวข้องส�ำหรับโครงการ ที่จะไม่ได้รับการพิจารณากลั่นกรอง
12 กระบวนการ พิจารณาโครงการ วิเคราะห์ โครงการ พัฒนาข้อเสนอ โครงการ พิจารณา โครงการ แจ้งผู้เสนอ โครงการ ท�ำสัญญา แจ้งผู้เสนอ โครงการ ไม่เข้าเกณฑ์ เข้าเกณฑ์ ขอข้อมูลเพิ่ม ครบถ้วน ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก พิจารณาให้ความเห็น สรุปความเห็น ไม่อนุมัติ อนุมัติ - ความสอดคล้องกับ หลักการ และแนวทาง การสนับสนุน - ความครบถ้วนของ เอกสาร - ประโยชน์ที่จะได้รับ - ความเป็นเหตุเป็นผล - ความสมเหตุสมผล ของวัตถุประสงค์และ กิจกรรมสื่อที่ผลิต - ความเป็นไปได้ - พิจารณาอนุมัติ/ ไม่อนุมัติ ขั้นสุดท้าย
13 แนวแนะ เขียน โครงการ
14 ปัญหาที่พบจากการ เขียนโครงการ 1. เขียนวัตถุประสงค์ หรือ เป้าหมาย ของโครงการไม่ชัดเจน 2. ขาดความชัดเจนในกิจกรรม ที่จะดําเนินการ 3. เขียนวิธีการวัดและประเมินผลไม่ชัดเจน 4. เขียนตัวชี้วัดไม่สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์
15 เรา จะมา ท�ำความ เข้าใจ กัน
16 ตั้งชื่อ ให้..WOW การเขียนชื่อโครงการ ตั้งชื่ออย่างไร? ให้ WOW ให้ตรงถามเป้าหมายที่อยากท�ำ.. การตั้งชื่อโครงการต้องมีความชัดเจน เหมาะสม และเฉพาะเจาะจง เป็นที่เข้าใจได้โดยง่าย ส�ำหรับ ชื่อโครงการจะบอกให้ทราบว่าจะท�ำสิ่งใดบ้าง โครงการ ที่จัดท�ำขึ้นนั้นท�ำเพื่อ อะไร ชื่อโครงการโดยทั่วไปควรจะต้องแสดงลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติ ลักษณะเฉพาะของ โครงการ และจุดมุ่งหมายของโครงการ เช่น โครงการ Motion infographic สร้างสังคม ปลอดบุหรี่ โครงการสื่อเสียง Podcast กระซิบรักเลิกบุหรี่ เป็นต้น
17 ไม่ควรยาวมากเกินไป ชื่อควรกระชับ สามารถสื่อถึงวัตถุประสงค์ เข้าใจง่าย ค�ำที่ทุกคนคุ้นเคย สอดคล้องกับประเด็น สร้างสังคมปลอดบุหรี่ หรือ โควิด-19
18 ที่มา.. ที่ไป..แล้วงัย ที่มา ที่ไปของโครงการ หรือกลุ่ม เป็นการเขียนเชิงบอกถึง “ ที่มา ” ของการรวมกลุ่ม ว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร? หรือ อาจจะบอกถึงแรงบันดาลใจ ในการด�ำเนินโครงการครั้งนี้ โดยอาจจะเล่าให้ฟังว่า แต่ละคนหรือ สมาชิกในกลุ่มมีความชื่นชอบ หรือถนัด การผลิตสื่อ การบริหารจัดการ การ ประสานงาน เป็นต้น
19 การเขียน หรือ เล่าที่มา เขียนเพียงย่อ ......หน้าเดียว... บอกถึงความ “ตั้งใจ” ประสบการณ์ และ แรงบันดาลใจ ที่กลุ่มอยากท�ำโครงการครั้งนี้ เพื่อให้เราได้รู้จักการมากขึ้น..
20 ขอฟัง.. เหตุผล??
21 มาถึงเหตุผล.. คือ เหตุผลง่ายๆ ที่คิดว่า “ท�ำไม” ต้องท�ำโครงการนี้ และสื่อชิ้นนี้ สามารถช่วยแก้ไขปัญหา...ได้อย่างไร? อ่าน.. แล้ว งง. ไหม ค�ำว่า “เหตุผล” แสดงว่า โครงการที่จะท�ำ ต้องมีปัญหาอะไรสักอย่าง.. เพื่อที่เราจะแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น แสดงว่า.. “เหตุผล” คือ ของการท�ำโครงการ.. นี้ คือ.. การแก้ไขปัญหาเรื่องอะไร ??? ด้วยวิธีการ กิจกรรมอะไร นั่นเอง
22 ปัญหา มีไว้ให้แก้.. #@!!& ??
23 สิ่งที่จะเป็น “ปัญหา” คือ “ตัวปัญหา” ของโครงการ จะเป็นส่วนที่ส�ำคัญ ที่แสดงถึงปัญหาความจ�ำเป็น หรือ ความต้องการที่ต้อง มีการจัดท�ำโครงการขึ้น เพื่อแก้ไขปัญหา ฉนั้น การเขียนหลักการและเหตุผล จ�ำเป็นต้องเขียนให้เห็นถึงปัญหา หรือ ความต้องการที่อยากแก้ไขปัญหา โดยควรดึงจากเรื่องรอบๆตัว มาเขียนถึงปัญหา เพื่อให้เราเอง เข้าใจ ปัญหาเพื่อน�ำสู่การแก้ไขปัญหา นั่นเอง
24 1.ระบุที่มาของกลุ่ม 2.ความส�ำคัญของปัญหา 3.แนวทางการแก้ไขปัญหาผ่านสื่อ 4.ความน่าสนใจของสื่อที่จะผลิต
25 “เชื่อ” ว่า ท�ำได้..
26 ตัวอย่าง / Key Messages: ในการใช้สื่อเพื่อสื่อสารผ่านสังคมออนไลน์ • ผลิตภัณฑ์ยาสูบคร่าชีวิตคนปีละมากกว่า 8 ล้านคนต่อปี อุตสาหกรรมบุหรี่และบุหรี่ ไฟฟ้าต้องหาลูกค้าใหม่ๆ มาทดแทนลูกค้าเดิมที่เสียชีวิตไปจากการสูบบุหรี่ เพื่อรักษา ให้ยอดขายยังคงเดิม • บริษัทบุหรี่ลงทุนกว่า 8 พันล้านในการท�ำการตลาด และโฆษณา ในขณะที่คนกว่า 8 ล้านคนต้องเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ และการได้รับควันบุหรี่มือสอง • กลยุทธทางการตลาดของอุตสาหกรรมบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้าที่มุ่งเป้าที่เด็กและเยาวชน มีดังนี้ o ผลิตภัณฑ์ที่มีมากกว่า 15,000 รสชาติ ซึ่งดึงดูดความสนใจเด็กและเยาวชน o การใช้ผู้ที่มีชื่อเสียงในสื่อสังคมออนไลน์และการท�ำการตลาด o การให้การสนับสนุนกิจกรรมและงานเลี้ยง o การให้ทุนการศึกษาแก่นักเรียน o การออกแบบผลิตภัณฑ์ให้สวยงามน่าใช้ o การโฆษณาสินค้าแบบแฝงในสื่อบันเทิง o การแจกตัวอย่างสินค้าฟรี o การแบ่งขายบุหรี่ท�ำให้คนที่มีเงินน้อยสามารถเข้าถึงได้ o การวางผลิตภัณฑ์ไว้ในระดับสายตาของเด็ก o การโฆษณาสินค้าแบบแฝงใกล้บริเวรณโรงเรียน • เราต้องการสร้างคนรุ่นใหม่ที่ปลอดจากบุหรี่และควันบุหรี่มือสอง รวมถึงลดการ เจ็บป่วยและเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ • หลุดพ้นจากการล่อลวงของอุตสาหกรรมบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า โดยการรู้เท่าทัน กลยุทธ์ และพิษภัยที่เกิดจากบุหรี่และผลิตภัณฑ์เหล่านี้ • ร้อยละ 25 ของการเสียชีวิตจากมะเร็งทั่วโลก มีสาเหตุมาจากการสูบบุหรี่ การใช้ ผลิตภัณฑ์ที่มีนิโคตินและยาสูบนั้นเพิ่มความเสี่ยงต่อโรคมะเร็ง โรคหัวใจและหลอด เลือด และโรคปอด • ประชากรมากกว่าหนึ่งล้านคนเสียชีวิตจากการได้รับควันบุหรี่มือสองในแต่ละปี • เด็กและวัยรุ่นที่สูบบุหรี่ไฟฟ้า มีโอกาสที่จะสูบบุหรี่ธรรมดาเพิ่มขึ้นถึงสองเท่าในช่วง วัยผู้ใหญ่
27 • การสูบบุหรี่ไฟฟ้าเพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหัวใจ และความผิดปกติของปอด • สารนิโคตินในบุหรี่ไฟฟ้านั้นเสพติดได้ง่ายมาก และเป็นอันตรายต่อการพัฒนาสมอง ของเด็กได้ • การสูบบารากู่นั้นเป็นอันตรายเทียบเท่ากับการสูบบุหรี่แบบอื่นๆ • การสูบบุหรี่แบบไร้ควันก็ไม่ได้หมายความว่าจะไม่อันตราย • การสูบบุหรี่นั้นท�ำให้เสียเงิน และเสียสุขภาพและบุคลิกภาพ เป็นสาเหตุให้เกิดกลิ่นปาก ฟันเหลือง ผิวเหี่ยวย่น ปอดและระบบภูมิคุ้มกันผิดปกติ • ควันของบารากู่นั้นเป็นพิษ ประกอบด้วยสารเคมีที่เป็นสารก่อมะเร็ง • ยาสูบแบบเคี้ยวสามารถก่อให้เกิดมะเร็งช่องปาก ฟันผุ ฟันเปลี่ยนสีน�้ำตาล ร้อนใน และเหงือกอักเสบ • เราขอให้ทุกคนรู้เท่าทัน และส่งต่อความรู้ ความตระหนัก เพื่อให้คนรุ่นใหม่เป็น เยาวชนที่ปลอดบุหรี่ • อุตสาหกรรมบุหรี่ทุ่มทุนโฆษณาผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งเด็กและเยาวชนได้รับชม ข้อความนั้นถึงมากกว่า สอง25,000 ล้านครั้ง ถือเป็นการเข้าถึงสื่อที่มหาศาลมาก ที่มา : เอกสารวันงดสูบบุหรี่โลก 2563, องค์การอนามัยโลกประเทศไทย
28 ประเด็น ที่มาปัญหา อยากลอง พฤติกรรมเลียนแบบ เครียด ค่านิยม การตลาดบริษัทบุหรี่ อารมณ์ ฯลฯ สังคมปลอดบุหรี่ โควิด19
29 ผลกระทบ ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สุขภาพ เศรษฐกิจ การงาน การเรียน วิถีชีวิต สิ่งแวดล้อม คนรอบข้าง ฯลฯ มิติสุขภาวะ
30 What What อะไร.. คือ..วัตถุประสงค์ What What What
31 โครงการทุกโครงการจ�ำเป็นต้องมีวัตถุประสงค์ และเป้าหมายเป็นเครื่องชี้แนวทางในการด�ำเนิน งานของโครงการ โดยวัตถุประสงค์จะเป็นข้อความที่แสดงถึงความ ต้องการที่จะกระท�ำสิ่งต่างๆ ภายในโครงการให้ ปรากฏผลเป็นรูปธรรม ซึ่งข้อความที่ใช้เขียนวัตถุประสงค์จะต้องชัดเจน ไม่คลุมเครือ สามารถวัดและประเมินผลได้ โครงการควรมีวัตถุประสงค์ ไม่เกิน 3 ข้อ สามารถตอบได้ว่า... 1. สื่อหรือกิจกรรมที่ท�ำ คืออะไร ? 2. ท�ำสื่อเพื่อใคร ? 3. ผู้รับสื่อสามารถเกิดอะไร หลังจากชมสื่อ ?
32 S = Sensible (เป็นไปได้) หมายถึง วัตถุประสงค์จะต้องมีความเป็นไปได้ ในการด�ำเนินงานโครงการ M = Measurable (วัดได้) หมายถึง วัตถุประสงค์ที่ดีจะต้องสามารถวัด และ ประเมินผลได้ A = Attainable (ระบุสิ่งที่ต้องการ) หมายถึง วัตถุประสงค์ที่ดีต้องระบุสิ่งที่ต้องการ ด�ำเนินงาน อย่างชัดเจนและเฉพาะเจาะจงมากที่สุด R = Reasonable (เป็นเหตุเป็นผล) หมายถึง วัตถุประสงค์ที่ดีต้องมีความเป็นเหตุ เป็นผลในการปฏิบัติ T = Time (เวลา) หมายถึง วัตถุประสงค์ที่ดีจะต้องมีขอบเขตของ เวลาที่แน่นอนในการปฏิบัติงาน SMART
33 Tควรหลีกเลี่ยง ในการใช้เขียนวัตถุประสงค์ของโครงการ เพราะเป็นค�ำ ที่มีความหมายกว้าง ไม่แสดงแนวทางการปฏิบัติให้บรรลุวัตถุประสงค์ ยากต่อการวัดและประเมินผลการด�ำเนินงานได้ ค�ำที่ควรเลือกใช้ ได้แก่ ค�ำว่า.. เข้าใจ สื่อสาร พัฒนา เรียนรู้ เกิด ปฏิบัติการ ค่านิยม สนใจ ส�ำนึก รณรงค์ รู้เท่าทัน ป้องกัน คุณค่า ทัศนคติเชิงบวก ตัวอย่างประโยค ต่อไปนี้ - เพื่อผลิตสื่อเสียง Podcast ให้เข้าใจถึงปัญหาควันบุหรี่ - เพื่อเกิดกระบวนการเรียนรู้จากการผลิตสื่อภาพยนตร์สั้นเลือกไม่สูบ - เพื่อสร้างการรับรู้เกี่ยวกับปัญหาโควิด19กับภัยบุหรี่ผ่านสื่อ Motion infographic ให้มีทัศนคติเชิงบวกทางสุขภาวะในพื้นที่ชายแดนใต้
34 ตัวอย่าง ผลลัพธ์ ผลผลิต
35 ผลผลิต (Output) หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นทันที ผลโดยตรงจากการดําเนินโครงการกิจกรรมเสร็จสิ้น เช่น จ�ำนวนชิ้นงาน จ�ำนวนการรับรู้สื่อที่เผยแพร่ จ�ำนวนทีมงาน เป็นต้น ผลลัพธ์ (Outcome) หมายถึง ผลระยะยาวซึ่งเกิดเป็นผลจุดหมายปลายทาง หรือ ผลต่อเนื่องจากผลกระทบ เช่น ทีมงานเลิกสูบบุหรี่ เกิดการแชร์ข้อมูลในวงนักสูบ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องน�ำสื่อไปใช้ในการสื่อสาร เป็นต้น ผลกระทบ (Impact) หมายถึง ผลที่เกิดต่อเนื่องมาจาก ผลผลิต เช่น สื่อที่ผลิตได้รับความนิยมอย่างมาก สื่อที่ผลได้มีการพัฒนาต่อยอด สื่อที่ผลติ สามารถสร้างปรากฏการณ์ทางสังคม เป็นต้น
36 กลุ่มเป้าหมาย ส�ำคัญต่อโครงการ..อย่างไร?
37 ย?กลุ่มเป้าหมาย ควรสามารถ ระบุ.. 1.เพศ 2.ช่วงอายุ 3.ช่องทางที่ใช้สื่อสาร เพราะจะเกี่ยวข้องกับสื่อที่ผลิต ในการเข้าถึง และรับรู้ข้อมูลที่เกิดขึ้น
38 การก�ำหนดกลุ่มเป้าหมาย สามารถช่วยให้รูปแบบสื่อที่เราจะผลิต มีความเหมาะสม ตรงตามเป้าหมาย อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยเนื้อหา ช่องทาง ในการเผยแพร่ การรับรู้สื่อ ของกลุ่มเป้าหมาย จึงมีความส�ำคัญอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็น เพศ ช่วงอายุ ช่องทาง ในการรับรู้ข้อมูลที่เกิดขึ้น สิ่งที่เราจะต้องค�ำนึงก่อนเสมอ ก็คือ การก�ำหนดกลุ่มเป้าหมาย ที่ต้องเลือกและวางแผนให้ สอดคล้องสื่อมากที่สุด เพราะถ้าหากเราสื่อออกไปโดยที่ยังไม่รู้ว่า..คุณ ต้องการจะสื่อสารกับใคร ต้องการกระตุ้นความสนใจ จากใคร หรือต้องการเสียงตอบรับจากใคร ก็จะน�ำมาซึ่งการการสื่อสารที่ไม่ได้ผล นั่นเอง
39 พื้นที่ด�ำเนินง Where าน..ที่ไหน? Work form Home ท�ำงานพื้นที่ไหนบ้าง..? ระบุ ที่ตั้ง ต�ำบล อ�ำเภอ จังหวัด หรือ ปักหมุด location สถานที่ท�ำงานมาหน่อย และ พื้นที่ต้องเขตพื้นที่ปลอดบุหรี่ ด้วยนะ
40 พื้นที่ช่องทางออนไลน์ อะไรที่เหมาะสม..?? Platform
41 Platform Social Media ของ DigitorThailand จากการสื่อสารบนโซเชียลมีเดียของ DigitorThailand แม้บนโลกนี้มีนับร้อย แพลตฟอร์ม แต่ส�ำหรับ DigitorThailand ได้เลือกใช้แพลตฟอร์มที่เหมาะสมและ เข้าถึงข้อมูลในการสื่อสารเพื่อสร้างการรับรู้ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในประเด็น สุขภาวะที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยเสี่ยง เรื่องของบุหรี่ สู่การสื่อสารสร้างเสริมสุข ภาวะสู่สาธารณะเพื่อให้คนไทยมีความรอบรู้ทางสุขภาพและมีทัศนคติเชิงบวก ทางสุขภาวะมากยิ่งขึ้น Platform กลายเปลี่ยน “ช่องทาง” ส�ำคัญในการสื่อสารหรือเครื่องมือหนึ่งของ การตลาดในยุคดิจิทัล การใช้ Platform ถือเป็นกลยุทธ์หนึ่งในการรับสาร หรือ ข้อมูลที่ DigitorThailand ต้องการสื่อสารเพื่อสร้างการรับรู้ข้อมูลรวมไปถึง การบอกต่อแชร์ และ feedback ที่เกิดขึ้นจากการสื่อสาร แม้พฤติกรรมของผู้รับ สารในโลกดิจิทัลมีความแตกต่างที่เกี่ยวข้องทั้งเรื่องเพศ ช่วงอายุ เวลา และสถาน ที่ ล้วนเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมผู้ใช้ Social media แต่ละ Platform ต่างกัน จากการด�ำเนินงานของ DigitorThailand พบว่า Platform ที่ได้ผลตอบ รับจากการสื่อสารข้อมูล 4 อันดับแรก ได้แก่ Facebook YouTube LINE และ TikTok
42 Facebook ซึ่งผู้ใช้หรือกลุ่มเป้าหมาย Facebook ส่วนใหญ่ จะสื่อสารผ่าน ภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว ได้แก่ อินโฟกราฟิก โปสเตอร์ การ์ตูนอัลบั้ม และ ภาพเคลื่อนไหว ได้แก่ คลิปสั้น motion graphic เป็นต้น ข้อมูลที่สื่อสารใช้ เพื่อ Connect กับเพื่อน ครอบครัว และคนรู้จักและอื่นๆ สามารถติดตามความ เคลื่อนไหว ติดตามเพจ/บุคคลที่สนใจจากสมาชิก DigitorThailand ในรูปแบบ รูปภาพ ข้อความ หรือวิดีโอ รวมถึงการเผยแพร่ความเป็นตัวตนของตนเองหรือ ของกลุ่มผ่านการ Share และ การ Post คอนเทนต์ พบว่าคนที่อยู่ในช่องทาง นี้ เรียกได้ว่าแทบจะทุกเพศ ทุกวัย เพราะเป็น Social media อันดับหนึ่งที่คนเข้า ถึงได้มากที่สุด สิ่งที่ DigitorThailand ได้สร้างคอนเทนต์ที่มีคุณค่า มีประโยชน์ กับผู้อ่านในประเด็นการปกป้องนักสูบหน้าใหม่และการรู้เท่าทันของบุหรี่มวนและ บุหรี่ไฟฟ้าเพื่อให้เกิดการแชร์ต่อได้ง่าย ไม่ว่าจะเป็น รูปภาพ ข้อความ หรือวิดีโอ YouTube พบว่าผู้ใช้ Youtube จะใช้เพื่อรับชมวิดีโอตามที่ต้องการ เหมาะกับ การน�ำเสนอคลิปวิดีโอ Podcast กลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในช่องทางนี้ส่วนใหญ่ มี ตั้งแต่กลุ่มวัยเรียน อายุ 35 – 65 ปีขึ้นไป วัยท�ำงาน 25-34 ปี วัยผู้ใหญ่ อายุ 35 – 65 ปีขึ้นไป ซึ่งส่วนใหญ่จะเข้ามารับชมคลิป หาความรู้ ฟังเพลง และ หาข้อมูล Channel ที่กลุ่ม DigitorThailand ได้มีการพัฒนาให้เกิดความเป็น ตัวเอง ควรสร้างคอนเทนต์ที่มีประโยชน์ต่อผู้รับชม เพื่อให้เกิดการแชร์ต่อสิ่ง ที่ต้องพัฒนาคือการน�ำเสนอสื่อที่ต่อเนื่องเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายติดตามได้ตลอด
43 LINE เป็นช่องทางที่มีกลุ่มเป้าหมาย เช่น เพื่อน กลุ่มที่เคยมีความสัมพันธ์ กันก่อนหน้านี้ในการใช้เป็นเครื่องมือเพื่อสร้างการสื่อสารกับรับรู้ข้อมูล หรือประเด็นที่อยากให้มีการสื่อสารถึง ส่วนใหญ่เลือกใช้เพราะเป็นช่องทาง ที่สามารถยิงตรง ข้อความ รูปภาพ หรือวิดีโอคลิปเข้าหากลุ่มเป้าหมายได้ ทันที รวมถึงสามารถติดตามข่าวสาร กิจกรรมต่าง ๆ จากได้ในทันทีอีก ด้วย โดยกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในช่องทางนี้ เกือบทุกเพศ ทุกวัย ตั้งแต่วัยเรียน ไปจนถึงผู้สูงอายุ เพราะความสะดวก และรวดเร็วในการติดต่อระหว่างกัน ท�ำให้แอพนี้เป็นที่นิยมอย่างมาก ในการส่งข้อมูลโดยตรงส�ำหรับ DigitorThailand ทั้งนี้ ช่องทางนี้ เป็นอีกช่องทางที่สามารถ Broadcast ถึงกลุ่ม เป้าหมายครั้งละหลายๆคนได้ ฉะนั้น หากต้องการให้รับรู้ข้อมูลข่าวสารอย่าง รวดเร็ว และเป็นการสื่อสารโดยตรงก็สามารถใช้ช่องทางนี้ นอกเหนือจากนั้น DigitorThailand ยังใช้ช่องทางนี้เชื่อมกับ Platform อื่นๆ เช่น Facebook YouTube รวมถึงการสร้าง line sticker เพื่อเป็นเครื่องมือหนึ่ง ในการสื่อสารผ่านช่องทางนี้ Tiktok ติ๊กต๊อก เป็นแอปพลิเคชันที่ได้รับความนิยมในหมู่วัยรุ่นบนโลกออนไลน์ เป็นบริการประเภทวีดีโอ ทั้งนี้ TikTok กลายเป็นปรากฏการณ์ไวรัลในช่วงที่ผ่านมา เป็นที่นิยมขึ้นมา มีครีเอเตอร์มาสร้างแอคเคาท์ และสามารถสร้าง Challenge ต่างๆ ทั่วสังคมออนไลน์ท�ำให้แพลตฟอร์มกลายเป็นคอมมูนิตี้ที่รวมคนที่ชื่นชอบ แบบเดียวกัน สไตล์เดียวกัน กลุ่ม DigitorThailand สามารถสร้างตัวตนและ น�ำเสนอเรื่องราวแบบสั้นๆมีผู้ติดตามจ�ำนวนมากภายในระยะเวลาที่สั้น กล่าวโดยสรุป การใช้สื่อเทคโนโลยีดิจิทัลในการสื่อสารในยุคปัจจุบันและอนาคตสื่อ สังคมออนไลน์ Social Media นั้นจะกลายมาเป็น Platform ที่จะสร้างโอกาสในการ ด�ำเนินงานและการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายเพื่อสร้างการรับรู้ด้านสุขภาวะให้เกิดการ เผยแพร่สื่อที่สร้างสรรค์สร้างความตระหนักแก่สังคมมากขึ้น ทั้งนี้ ในแต่ละ Platform ที่ควรเลือกใช้งานให้เหมาะสมกับช่วงเวลา กลุ่มคน และประเภทของ สื่อที่ต้องสื่อสารเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพของสื่อที่สื่อสารออกไปนั่นเอง
44 Timeline เปิดห้องออนไลน์ในการเขียนข้อเสนอโครงการ สัมภาษณ์โครงการผ่านระบบออนไลน์ (Zoom) ประกาศผลผู้ที่ผ่านการคัดเลือก ปฐมนิเทศโครงการและท�ำสัญญาโครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ห้องเรียนคอร์สออนไลน์ (Zoom) 3 หลักสูตร (เลือกเรียนได้) ด�ำเนินโครงการ (ไม่น้อยกว่า 6 เดือน) ร่วมเวทีถอดบทเรียนและน�ำเสนอผลงาน 19 มิถุนายน 63 วันสุดท้ายของการรับข้อเสนอโครงการ 24 พฤษภาคม 63 20-21 มิถุนายน 63 4 กรกฎาคม 63 17-19 กรกฎาคม 63 12-13 กันยายน 63 ระหว่างเดือน สิงหาคม ถึง ธันวาคม 63 ระหว่างเดือน กรกฎาคม 63 ถึง มกราคม 64 27-28 กุมภาพันธ์ 64 1. กิจกรรมผลิตสื่อดิจิทัล 2. รับการประเมินผลงานสื่อก่อนเผยแพร่ 3. สื่อสารผลงานผ่านออนไลน์ 4. ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้สื่อสุขภาวะ ระหว่างด�ำเนินงาน ส.ค. ถึง ธ.ค. 63 ก.ค. 63 ถึง ม.ค. 64 ** อาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
45 ระยะเวลาด�ำเนินงาน Action Pland ด�ำเนินโครงการ (ไม่น้อยกว่า 6 เดือน) ระหว่างเดือน กรกฎาคม 63 ถึง มกราคม 64 1. กิจกรรม ผลิตสื่อดิจิทัล 2. รับการประเมิน ผลงานสื่อ ก่อนเผยแพร่ 3. สื่อสาร ผลงานผ่าน ออนไลน์ 4.ร่วมแลก เปลี่ยนเรียนรู้ สื่อสุขภาวะ ระหว่างด�ำเนินงาน
46 Activity กระบวนการในการด�ำเนินกิจกรรม 1.ขั้นเตรียมการผลิต (Pre-Production) 1.1 แสวงหาแนวคิด เป็นการหาแนวทาง เรื่องราวที่จะน�ำมาผลิต ตั้งค�ำถามให้กับตัวเองว่า แนวคิดคิดที่ได้นั้นดีอย่างไร และจะให้ ประโยชน์อะไรต่อผู้ชม การหาแนวคิดหรือเรื่องราว จึงเป็นงานที่ จะต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการคอนข้างสูง 1.2 ก�ำหนดวัตถุประสงค์ (Objective) เมื่อได้เรื่องที่จะท�ำการ ผลิตเป็นการคาดหวังถึงผลที่จะเกิดกับผู้ชมเมื่อได้รับชมแล้ว เกิดการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ หรือพฤติกรรมในด้านใดบ้าง 1.3 วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย (Target audience) ว่ามีลักษณะ อย่างไร เกี่ยวกับเพศ อายุ การศึกษา อาชีพ ความสนใจ ความ ต้องการ และจ�ำนวนผู้ชม 1.4 วิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) การศึกษาเนื้อหา และ ข้อมูลที่เกี่ยวกับเรื่องที่จะท�ำการผลิตแล้วน�ำมาวิเคราะห์ เพื่อให้ได้ เนื้อหาสาระ และข้อมูลที่ถูกต้องทันสมัย น่าสนใจ และเพิ่มความน่า เชื่อถือ 1.5 เขียนบท (Script Writing) การก�ำหนดล�ำดับก่อนหลังของ การน�ำเสนอภาพและเสียง และหน้าที่ของแต่ละทีมงาน 1.6 ก�ำหนดวัสดุ และอุปกรณ์ โดยก�ำหนดรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ในการจัดหา และเตรียมการต่อไป 1.7 ก�ำหนดผู้แสดง หรือผู้ด�ำเนินรายการ ตามความเหมาะสม ของเนื้อหาและรูปแบบของรายการที่จะน�ำเสนอ 1.8 จัดท�ำงบประมาณ ตั้งงบประมาณค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในการ ด�ำเนินการผลิต เช่น ค่าตอบแทน ค่าวัสดุ ค่าเดินทาง ค่าที่พัก และค่าพาหนะ เป็นต้น 1
47 2.ขั้นการผลิต (Production) 3. ขั้นการหลังการผลิต (Post-Production) การด�ำเนินการถ่ายท�ำตามเส้นเรื่อง หรือ บทตามสคริปต์ ทีมงานผู้ผลิต เช่น ผู้ก�ำกับ ช่างภาพ รวมทั้งการบันทึก เสียง ตามที่ก�ำหนดไว้ในสคริปต์ อาจมีการเดินทางไปถ่าย ท�ำยังสถานที่ต่างๆ ทั้งในร่มและกลางแจ้ง มีการสัมภาษณ์ จัดฉากจัดสถานที่ภายนอกหรือในสตูดิโอ ขั้นตอนนี้ อาจมี การถ่ายท�ำแก้ไขหลายครั้งจนเป็นที่พอใจ (take) นอกจากนี้ อาจจะเป็นต้องเก็บภาพ/เสียงบรรยากาศทั่วไป ภาพเฉพาะ มุมเพิ่มเติมเพื่อใช้ในการขยายความ (insert) เพื่อให้ผู้ชม ได้เห็นและเข้าใจรายละเอียดมากยิ่งขึ้น โดยทั่วไปจะมีการ ประชุมเตรียมงาน และมอบหมายงานให้กับผู้เชี่ยวชาญใน แต่ละด้านและนั้นคือการท�ำงานของทีม คือ การตัดต่อล�ำดับภาพ หรือเป็นขั้นตอนการตัดต่อเรียบ เรียงภาพและเสียงเข้าไว้ด้วยกันตามสคริปต์หรือเนื้อหา ของเรื่อง ขั้นตอนนี้ จะมีการใส่กราฟิกท�ำเทคนิคพิเศษ ภาพ การแต่งภาพการย้อมสี การเชื่อมต่อภาพ/ฉาก อาจมีการบันทึกเสียงในห้องบันทึกเสียงใส่เสียงพูดซาวน์ บรรยากาศต่างๆ เพิ่มเติม อื่นๆ อาจมีการน�ำดนตรีมา ประกอบเรื่องราวเพื่อเพิ่มอรรธรสในการรับชมยิ่งขึ้น ขั้นตอนนี้ส่วนใหญ่จะด�ำเนินการอยู่ในห้องตัดต่อ ระยะเวลา ในขั้นตอนนี้ ขึ้นอยู่กับระยะเวลาของบทและการบันทึกภาพ รวมถึงความยากง่ายและการใส่รายละเอียดต่างๆเพิ่มเติม ของงานในแต่ละ THEME รวมถึงการตรวจสอบ (Preview) งานที่จะต้องปรับปรุงแก้ไขก่อนส่งตรวจสอบให้ทีม MediaLab และหลังจากเผยแพร่ออนไลน์แล้ว มีการประเมินผล (Evaluation) ของประเมินผลกระบวนการผลิต ผลผลิต และ การ การเผยแพร่จากการรับชมสื่อที่ผลิต 2 3
48 ใน 1 กิจกรรมควรเกิดกระบวนการ ที่เรียกว่า.. P - D - C - A 1. Plan (วางแผน) หมายถึง การวางแผนการด�ำเนินงานอย่าง รอบคอบ ครอบคลุมถึงการก�ำหนดหัวข้อที่ต้องการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง ซึ่งรวมถึงการพัฒนาสิ่งใหม่ๆ การแก้ปัญหาที่เกิด ขึ้นจากการปฏิบัติงาน อาจประกอบด้วย การก�ำหนดเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ของการด�ำเนินงาน Plan การจัดอันดับความ ส�ำคัญของ เป้าหมาย ก�ำหนดการด�ำเนินงาน ก�ำหนดระยะเวลา การด�ำเนินงาน ก�ำหนดผู้รับผิดชอบหรือผู้ด�ำเนินการและก�ำหนด งบประมาณที่จะใช้ การเขียนแผนดังกล่าวอาจปรับเปลี่ยนได้ตาม ความเหมาะสมของลักษณะ การด�ำเนินงาน การวางแผนยังช่วย ให้เราสามารถคาดการณ์สิ่งที่เกิดขึ้นในอนาคต และช่วยลดความ สูญเสียต่างๆที่อาจเกิดขึ้นได้
49 3. Check (ตรวจสอบผลงาน) หมายถึง การประเมินผลงานจาก การผลิตสื่อ ที่เกิดขึ้นในการด�ำเนินการ ซึ่งการประเมินนี้ เป็นขั้น ตอนการประเมินชิ้นงานด้วยตนเอง ก่อนที่จะส่งให้ทางทีมหน่วย จัดการ ในการก�ำกับตรวจสอบอีกครั้ง 4. Act (ปรับปรุงแก้ไข) หมายถึง การน�ำผลการประเมิน และข้อเสนอแนะหลังจากการตรวจสอบผลงานแล้ว เพื่อ ปรับปรุงหรือพัฒนาสิ่งที่ดีอยู่แล้วให้ดียิ่งขึ้น ก่อนน�ำ เสนอเผยแพร่สู่สาธารณะ พร้อมการเก็บตัวอย่างชิ้น งานที่เกิดขึ้น 2. Do (ปฏิบัติตามแผน) หมายถึง การด�ำเนินการตามแผนที่วางไว้ อาจ ประกอบด้วย การมีโครงแนวคิดในการด�ำเนินการ เช่น การถ่ายท�ำตามสตอ รี่บอร์ดที่วางและออกแบบไว้ ในการลงพื้นที่ถ่ายท�ำ หรือ ผลิตสื่อเสียง รวม ถึงการตัดต่อ ลงเสียง เป็นต้น
50 หลักเกณฑ์การใช้จ่ายงบประมาณ และเอกสารประกอบการเบิกจ่าย รายการ รายละเอียด หลักการพิจารณา เอกสารประกอบ การเบิกจ่าย 1.ค่าตอบแทน วิทยากร - รายบุคคล - วิทยากร กระบวนการ / วิทยากรกลุ่ม ค่าตอบแทนวิทยากร หมายถึง ค่าตอบแทน บุคคลที่ท�ำหน้าที่เป็น วิทยากรในการประชุม การฝึกอบรม การ สัมมนา หรือการจัด กิจกรรมต่างๆตาม วัตถุประสงค์ของ โครงการ รายบุคคล 600-1,200 บาท / ชั่วโมง หมายเหตุ 1.ขึ้นอยู่กับความ รู้ ทักษะ ปละ ประสบการณ์และภาระ งานที่มอบหมาย 2.ต้องก�ำหนดว่า วิทยากรเป็นใคร ให้ แนบหลักสูตร และ ประวัติการท�ำงานของ วิทยากรเพื่อประกอบ การพิจารณาด้วย รายกลุ่ม 3,000 บาท / ครึ่งวัน 1.พิจารณาตาม คุณวุฒิและ ประสบการณ์ตาม ความเหมาะสม 2.ชั่วโมงการท�ำหน้าที่ ให้นับตามเวลาในการ จัดกิจกรรม และนับ เป็นหนึ่งชั่วโมง เมื่อ จัดกิจกรรมไม่ต�่ำกว่า 50 นาที 3.ไม่เบิกจ่ายให้แก่เจ้า หน้าที่ของ สสส. ไม่ ว่ากรณีใดๆ ยกเว้น ผู้แทนจากสสส.ที่ได้ รับเชิญ 1.ใบส�ำคัญรับเงิน 2.ส�ำเนาบัตรประชาชน พร้อมลงนามรับรอง ส�ำเนาถูกต้อง ค่าตอบแทน ค่าตอบแทน หมายถึง เงินค่าตอบแทนผู้ร่วมงาน อาทิ ค่าวิทยากร ค่าผู้ช่วยงาน ค่าใช้สอย หมายถึง ค่าใช้จ่ายเพื่อซื้อบริการต่างๆ เช่น ค่าพาหนะ ค่าที่พัก ค่าถ่าย เอกสาร ค่าเช่าห้องประชุม ค่าเช่าห้องสตูดิโอ ค่าอาหาร ค่าสาธารณูปโภค หมายถึง ค่าไฟฟ้า ค่าไปรษณีย์ ค่าโทรศัพท์ ค่าอินเตอร์เน็ต ค่าใช้จ่ายอื่นๆ หมายถึง รายจ่ายที่มิได้เกิดขึ้นกับโครงการโดยตรง แต่มีส่วนท�ำให้ โครงการดีขึ้น ซึ่งทาง สสส. จะพิจารณาจ่ายตามความเหมาะสมเป็นครั้งๆไป