51 รายการ รายละเอียด หลักการพิจารณา เอกสารประกอบ การเบิกจ่าย 1.ค่าอาหารมื้อหลัก (กลางวัน / เย็น) ไม่เกิน 150 บาท/ คน/มื้อ จ่ายตามจริง ระบุชื่อและจ�ำนวนใน ใบลงทะเบียน 1.ใบเสร็จรับเงิน บิล เงินสด 2.ใบส�ำคัญรับเงิน (เฉพาะร้านค้าชุมชน หรือบุคคลที่ไม่มีใบ เสร็จรับเงินเท่านั้น) แนบส�ำเนาบัตร ประชาชน พร้อมลง นามรับรองส�ำเนาถูก ต้อง 2.ค่าอาหารว่าง ไม่เกิน 50 บาท/คน/ มื้อ ค่าอาหาร รายการ รายละเอียด หลักการพิจารณา เอกสารประกอบ การเบิกจ่าย 1.ค่าเช่าที่พัก ค่าเช่าที่พัก หมาย ถึง ค่าใช้จ่ายที่จ่ายให้ แก่ผู้เดินทาง เพื่อเป็น ค่าเช่าที่พักในการเดิน ทางไปปฏิบัติงานนอก สถานที่ และจ�ำเป็น ต้องพักแรม ค่าใช้จ่ายตามจริง และต้องพักคู่ ไม่เกิน 1,500 บาท/ห้อง/คืน 1.เหตุผลหรือความ จ�ำเป็นที่ต้องเดินทาง ไปปฏิบัติงานนั้น และ ความจ�ำเป็นที่ต้อง พักแรม 2.ค่าใช้จ่ายขึ้นอยู่กับ สถานที่จัดงาน เช่น โรงแรม รีสอร์ท โฮม สเตย์ หรือที่พักอื่นๆ 3.การพักแรมในสถาน ที่ของทางราชการ หรือหน่วยงานอื่น ซึ่งจัดที่พักแรมไว้ให้ โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย ไม่ สามารถเบิกจ่ายได้ 1.ใบเสร็จรับเงิน หรือ บิลเงินสด 2.ใบส�ำคัญรับเงิน (เฉพาะกรณีที่ไม่มีใบ เสร็จรับเงินเท่านั้น) แนบส�ำเนาบัตร ประชาชน พร้อมลง นามรับรองส�ำเนาถูก ต้อง 3.ใบแสดงรายละเอียด การเข้าพัก (Folio) ที่ รับุชื่อ – นามสกุล ผู้ เข้าพัก และจ�ำนวนวัน เข้าพักให้ชัดเจน 2.ค่าเช่าสถานที่ / ค่า ห้องประชุม / ห้อง อัดเสียง / สตูดิโอ ใช้จ่ายตามจริง ความเหมาะสมและ คุ้มค่าของเวลาและ การด�ำเนินงาน โดยมี ก�ำหนดการแนบราย ละเอียดกิจกรรม ใบเสร็จรับเงิน ค่าเช่าที่พัก/ห้องอัดเสียง/ห้องสตูดิโอ
52 รายการ รายละเอียด หลักการพิจารณา เอกสารประกอบ การเบิกจ่าย 1.ค่าพาหนะเดินทาง รถยนต์ส่วนตัว 1.กรณีเดินทางเข้ามา ร่วมประชุมกับ สสส. เบิกจ่ายตามจริงตาม ระยะทางไม่เกิน 4 บาท/กิโลเมตร 2.กรณีจัดกิจกรรม ในพื้นที่ไม่มีค่าเดิน ทางของผู้เข้าร่วม กิจกรรม หากเป็น โครงการในพื้นที่ห่าง ไกล ให้พิจารณาเป็น รายกรณีไป 1.พิจารณาตามความ เหมาะสมของการใช้ พาหนะประเภทนั้นๆ ใน การเดินทางไปปฏิบัติ หน้าที่ 2.อ้างอิงการค�ำนวณ ระยะทาง จากกรม ทางหลวง และ Google Map ว่าเดินทาง จากจุดใดไปจุดใดให้ ชัดเจน ไม่มีการเหมา จ่าย 1.ใบส�ำคัญรับเงิน 2.ส�ำเนาบัตร ประชาชน/ใบขับขี่ของ ผู้เดินทางพร้อมลง นามรับรองส�ำเนาถูก ต้อง 3.ส�ำเนาเล่มทะเบียนรถ พร้อมลงนามรับรอง ส�ำเนาถูกต้อง เดินทางโดยรถ โดยสารสาธารณะ เช่น รถไฟ รถประจ�ำ ทาง กรณีเดินทาง เข้ามาร่วมประชุมกับ สสส. เบิกจ่ายตาม จริงพร้อมแนบกากตั๋ว โดยสาร ค่าใช้จ่าย ตามจริงพร้อมแนบ กากตั๋วโดยสาร 1.ใบส�ำคัญรับเงิน 2.ส�ำเนาบัตรประชาชน ของผู้เดินทาง พร้อม ลงนามรับรองส�ำเนา ถูกต้อง 3.กากตั๋วโดยสาร ค่าใช้จ่ายตามจริง พร้อมแนบกากตั๋ว โดยสาร 1.ใบส�ำคัญรับเงิน 2.ส�ำเนาบัตรประชาชน ของผู้เดินทาง พร้อม ลงนามรับรองส�ำเนา ถูกต้อง 3.กากตั๋วโดยสาร ค่าเดินทาง
53 รายการ รายละเอียด หลักการพิจารณา เอกสารประกอบ การเบิกจ่าย 2.ค่าเช่ารถ ค่าเช่ารถตู้ วันละไม่เกิน 1,800 บาท ไม่รวมค่าน�ำ้มัน ไม่มีการเช่ารถตู้แบบ เหมาจ่าย ทั้งนี้ให้ พิจารณาตามความ เหมาะสมของระยะเวลา ระยะทางที่ใช้บริการ และจ�ำนวนผู้โดยสาร 1.ใบส�ำคัญรับเงิน 2.ส�ำเนาบัตร ประชาชน/ใบขับขี่ของ คนขับรถ พร้อมลง นามรับรองส�ำเนาถูก ต้อง 3.ส�ำเนาเล่มทะเบียนรถ พร้อมลงนามรับรอง ส�ำเนาถูกต้อง 4.ระบุชื่อผู้ร่วมเดิน ทาง 3.ค่าน�ำ้มัน (เฉพาะการเช่ารถ เท่านั้น) จ่ายตามจริง (เฉพาะการเช่ารถ เท่านั้น) เบิกจ่ายค่าน�้ำมันเฉพาะ การเช่ารถเท่านั้น ใบเสร็จค่าน�ำ้มันที่ระบุ ทะเบียนรถ ค่าวัสดุ รายการ รายละเอียด หลักการพิจารณา เอกสารประกอบ การเบิกจ่าย 1.ค่าวัสดุ ค่าวัสดุหมายถึง ค่า วัสดุส�ำนักงาน ค่า ผลิตสื่อ และค่าวัสดุ สิ้นเปลือง จ่ายตามจริง 1.เหตุผลหรือความ จ�ำเป็นที่ต้องจัดซื้อ วัสดุส�ำนักงาน และค่า วัสดุสิ้นเปลืองในการ จัดกิจกรรมนั้นๆ 2.ราคาที่จัดซื้อวัสดุ ส�ำนักงาน และค่า วัสดุสิ้นเปลืองนั้น สอดคล้องกับราคาใน ท้องตลาด ใบเสร็จรับเงิน
54 ค่าใช้จ่ายอื่นๆ รายการ รายละเอียด หลักการพิจารณา เอกสารประกอบ การเบิกจ่าย 1. ค่าเอกสารประกอบ การประชุม ใช้จ่ายตามจริง โดยพิจารณา จ�ำนวนตามที่ใช้ ประโยชน์จริง ขึ้นอยู่กับความ เหมาะสม ใบเสร็จรับเงินจาก ร้านถ่ายเอกสาร โดยระบุจ�ำนวน และ ค่าใช้จ่ายต่อหน่วย ให้ชัดเจน 2. ค่าติดต่อประสาน งาน จ่ายตามจริง ให้ ระบุให้ชัดเจนว่า ค่าติดต่อประสาน งานนั้นประกอบ ด้วยอะไรบ้าง ใบเสร็จรับเงิน 3.ค่าโปรโมทหรือ การตลาดออนไลน์ ใช้จ่ายตามจริง โดยพิจารณาจาก การเข้าถึงกลุ่มเป้า หมาย ไม่ควรเกิน 5% ของงบประมาณ โครงการ ใบเสร็จรับเงิน ** ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับลักษณะงานและกิจกรรม โดยค�ำนึงถึงความคุ้มค่า และประโยชน์สูงสุด
55 Creative Creative Creative Creative Creative Creative Creative Creative Creative Creative
56 กระบวนการนวัตกรทางสังคม (Social Innovation Process) ดร.ก�ำธร เกิดทิพย์ จากกลไกการเปลี่ยนแปลงทางสังคม หากสิ่งเก่าที่เคยถูกยอมรับในสังคมถึง จุดที่สูงที่สุดแล้วยังไม่ปรับตัว ในขณะที่ผู้คนและสังคมเปลี่ยนไป สิ่งนั้นจะไม่เป็น ที่ยอมรับของคนในสังคมต่อไป ท�ำให้เกิดการสูญหายของสิ่งดังกล่าว หรือถ้ามี สิ่งใหม่เกิดขึ้นแต่โดนปฏิเสธจากสังคมหรือขัดแย้งกับบริบทของสังคมสิ่งนั้น ก็จะสูญหายไปในเร็ววันเช่นกัน. เพราะเมื่อสังคมเปลี่ยน คนเปลี่ยน เวลาเปลี่ยน สิ่งเก่า และสิ่งใหม่ต้องมีการ ปรับให้เข้ากับบริบทต่างๆที่เปลี่ยนไปเพื่อความอยู่รอดของสิ่งนั้นๆ Text cultre สู่ Visual Culure เมื่อวัฒนธรรมการสื่อสารด้วย ตัวอักษรถูกคุกคามด้วยเทคโนโลยีและเวลาอันเร่งรีบ การใช้ภาพสื่อสารจึงเป็นโอกาสที่ ท�ำให้เนื้อหาที่ต้องการ เดินทางไปยังผู้รับสารได้อย่างรวดเร็ว เพราะ 1 ภาพ สามารถ แทนข้อความนับร้อยพันข้อความในชั่ววินาที แต่ทั้งนี้ ภาพ หรือสื่อภาพจ�ำเป็นต้องผ่าน สังคมเปลี่ยน เวลาเปลี่ยน เทคโนโลยีเปลี่ยน ม นุ ษ ย ์ ต ้ อ ง ป รั บ ตั ว เ พื่ อ ใ ห ้ อ ยู ่ ร อ ด ใ น ยุ ค ส มั ย ที่เปลี่ยนไปในทุกประเด็น ปัจจัย 4 เป็นเรื่องพื้นฐานที่ ทุกคนรู้ ตระหนัก และต้องการ. แต่นอกเหนือ จากนั้นคือ การปรับตัว ปรับความเข้าใจให้เท่าทัน กับสังคมที่เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว “ “ อาจารย์ประจ�ำสาขานวัตกรรมออกแบบและสร้างสรรค์สื่อ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ วข.ปัตตานี
57 กระบวนการคิด การออกแบบที่ดีเสียก่อน การผลิตสื่อ ไม่ใช่เพียงแค่ท�ำ สิ่งที่ส�ำคัญกว่านั้นคือต้องเข้าใจปัญหาเพราะการ ท�ำความเข้าใจจะท�ำให้เราทราบปัญหาที่แท้จริงของสิ่งที่ก�ำลังจะท�ำ ซึ่งสอดคล้องกับ กระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking Process) คือ 1. Emphathize.การท�ำความเข้าใจปัญหา 2. Define การก�ำหนดปัญหา 3. Ideate. การระดมความคิด การหาททางเลือก หาหนทางแก้ปัญหา 4. Prototype การสร้างต้นแบบ 5. Test การทดสอบ จากการท�ำงานของแต่ละทีมในโครงการ Digitor Thailand เราได้เห็นคนยุคใหม่ ใส่ใจประเด็นสังคมและเข้าใจประเด็นสังคมจริงๆ จนท�ำให้เกิดสื่อที่น่าสนใจ ที่ได้รับการกลั่น กรองจากทีมงาน เราได้เห็นรูปแบบการท�ำงานที่หลากหลายของคนรุ่นใหม่ สู่คนรุ่นใหม่ ….
58 -ตัวอย่างby Pakphanang Production โครงการปากพนังวัยใส ไร้บุหรี่ ผลงานประเภทสื่อการ์ตูน ของ DigitorThailand Manga
59 อีซาได้ยินเสียงอดัมกับฟาตีมา รีบเอาว่าวมาอวด "สวยมั้ยๆ" "พ่อทำให้พี่สองคนด้วย มานั่งลงมือกันครับ" อดัมกับ ฟาตีมารีบนั่งและละเลงระบายสีสุดฝีมือ ๔ ๕ ผลงานประเภทสื่อนิทาน ของ DigitorThailand
60 อีซาตกใจ ร้องไห้โฮออกมา จนหอบหายใจไม่ทัน "เปาะซู กะจิ น้องอีซาแย่แล้ว" อดัมตะโกนเรียกพ่อแม่ของอีซา ๑๒ ๑๓ เปาะซูดาวุดกับกะจิซากีนะห์รีบมาดูลูกของตน และ พาไปโรงพยาบาลชุมชนใกล้บ้าน ๑๔ ๑๕ "น้องเสี่ยงเป็นโรคปอดอักเสบ"หมอบอกอาการ และได้กำชับว่าให้หลี่กเลี่ยงควันทุกชนิด เพราะมีพิษต่อปอด ทั้งควันไฟ ควันจากท่อไอเสีย และที่ต้องเลี่ยงที่สุด คือ ควันบุหรี่ ๑๖ ๑๗
61 หนังสั้น เรื่อง ครอบครัวของฉัน https://youtu.be/YcCk4TpPD4c Music video l พูดให้คิด Nayid video l ความหวัง https://youtu.be/tEXg_BJ3zUg https://youtu.be/XUiYbIjCa5Q ผลงานประเภทสื่อภาพเคลื่อนไหว ของ DigitorThailand
62
63
64
65
66
67
68
69
70 แนวคิดประเด็นสร้างสังคมปลอดบุหรี่ หรือ ที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์โควิด-19 ซึ่งสื่อดิจิทัลที่ผลิตต้องเป็นชิ้นงานหรือผลงานใหม่ (Product) แต่สามารถใช้เนื้อหา (Content) เดิมที่มีอยู่แล้วข้อมูลจาก มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ สามารถสืบค้น ข้อมูลได้ที่ www.ashthailand.or.th/ หรือ http://www.smokefreezone.or.th หรือ https://genzstrong.com/home เพื่อผลิตสื่อรณรงค์ผ่านสื่อใหม่ให้เข้าถึงกลุ่ม เป้าหมายในสังคมออนไลน์ในยุคดิจิทัล สู่การเป็น “ Digitor Thailand ” พลเมืองนัก สื่อสารดิจิทัลสร้างสรรค์สุขภาวะ (Digital Citizen Creative for Health) ประเภทสื่อ เป็นการผลิตสื่อใหม่ในรูปแบบต่างๆ เช่น อินโฟกราฟิก (infographic) คลิปวิดีโอ (Viral Clip) สื่อเสียงบรรยาย (Podcast) สื่อการเรียนแบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning) แผ่นป้าย (Poster) ภาพเคลื่อนไหว (Motion Graphic) หรือสื่อดิจิทัลใน รูปแบบอื่นๆที่น่าสนใจและเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย โดยในการผลิตสื่อจ�ำเป็นจะต้อง เชื่อมโยงของประเภทสื่อในการสื่อสารที่เหมาะสมกับระยะเวลา การเข้าถึงและเทคนิคที่มี ความน่าสนใจและหลากหลาย ช่องทางในการสื่อสาร ผ่านช่องทางการสื่อสารสังคมออนไลน์ อาทิ YouTube Twitter Facebook Instagram หรือช่องทางอื่นๆที่เหมาะสม โดยเชื่อมโยงกับประเด็น การปกป้องนักสูบหน้าใหม่ เลือกไม่สูบ ทั้งนี้ ต้องค�ำนึงถึงระยะเวลา และประเภทของสื่อ ที่มีความเหมาะสมกับการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายเป็นส�ำคัญ ระยะเวลา ช่วงเวลาในการสื่อสารที่เหมาะสม โดยระบุช่วงเวลาในการเผยแพร่สื่อที่ผลิต จ�ำนวนครั้ง หรือความถี่ เป็นต้น ค่าใช้จ่าย งบประมาณค่าใช้จ่ายที่ในการผลิตหรือกระบวนการในการผลิตชิ้นงาน ต่อต้นทุนที่เป็นค่าใช้จ่าย โดยเป็นไปตามเกณฑ์ที่ สสส. ก�ำหนด ทั้งนี้ ไม่สามารถซื้อ ครุภัณฑ์ เช่น กล้อง ขาตั้งกล้อง ไฟสตูดิโอ หรือเครื่องใช้ส�ำนักงานขนาดใหญ่ได้
71 ลงมือเขียน กิจกรรม
72 ชื่อกิจกรรม จะท�ำสื่อ อะไร..? มีแนวคิดที่จะท�ำ คือ..? เป้าหมายสื่อชิ้นนี้ คือ..? วิธีการที่จะท�ำ คือ..? ช่องทางในการเผยแพร่ ที่ไหน..? กลุ่มเป้าหมาย คือใคร..?
73 จ�ำนวน สื่อ กี่ชิ้น..? จ�ำนวน ช่องทาง กี่ช่องทาง..? จ�ำนวน ผู้ที่จะติดตามผลงานนี้ กี่คน..? ผลผลิตที่จะเกิดเชิงปริม า ณ สื่อที่ผลิตสามารถบอกได้ว่า ก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลง ด้านพฤติกรรม หรือการรับรู้ หรือ คุณค่า จากสื่อที่เผยแพร่ เชิงคุณภ า พ
74 การก�ำหนดช่วงเวลา ก�ำหนดเวลาในการด�ำเนินงานแต่ละกิจกรรม เช่น 1. การประชุม วางแผนงาน 2. ประสานงาน หรือส�ำรวจพื้นที่ก่อนถ่ายท�ำจริง 3. ลงพื้นที่ถ่ายท�ำ หรือด�ำเนินงาน 4. ตัดต่อ หรือผลิตชิ้นงาน 5. ตรวจสอบความถูกต้อง 6. ส่งตรวจสอบผลงานสื่อ 7. เผยแพร่ผลงานสู่สาธารณะ 8. เก็บผลประเมินชิ้นงาน เช่น ยอดผู้เข้าชม (View) ยอดผู้ที่ เผยแพร่ต่อ (Share, Retweet) เป็นต้น
75 อธิบายรายละเอียดสื่อที่ผลต บอกถึงผลผลิต เชิงปริมาณและ เชิงคุณภาพ ที่จะได้รับ
76 ตัวชี้วัดความส�ำเร็จ 1. คณะท�ำงาน ไม่น้อยกว่า 5 คน 2. เนื้อหาที่ผลิตเป็นแนวคิด การสร้างสังคมปลอดบุหรี่ หรือ โควิด19 ที่สร้างสรรค์สร้าง การเปลี่ยนแปลงสังคม
77 3.จ�ำนวนสื่อที่ผลิต 4.ช่องทางในการสื่อสาร 5.มีผู้ชมและผู้ติดตามผลงานสื่อ
78 แนวทางในการติดตามผล และประเมินผลงาน กอนการดําเนินงานโครงการ (Before the project) ขั้นตอนที่เกี่ยวกับ การวางแผนจัดทําโครงการ หรือ เรียกวา Project formulation and planning ขั้นตอนนี้จะเกี่ยวกับ ก่อนการด�ำเนินงานในการผลิตสื่อถึงความรู้ความเข้าใจ ทั้งเนื้อหาของประเด็นที่ตนเองมี ก่อนที่จะศึกษา หาข้อมูลเพิ่มเติม อาจจะเป็นการเช็ค ความเข้าใจตนเองและทีมงาน ระหวางการดําเนินงานโครงการ (During the project) เปนขั้นตอนที่โครงการดําเนินการ จะมีแผนปฏิบัติการ และดําเนินงานตามแผนที่วางไว ในชวงนี้ ปจจัยและข้อมูล (Inputs) เขาไปใน กิจกรรม (Activities) เมื่อผานกระบวนการ แลวจะเกิดผลไดเบื้องตน (Outputs) ตอจากนั้นจะเกิด ผลไดในระดับกลาง (Effect) หรือ ผลกระทบระยะสั้นตามวัตถุประสงคของโครงการ (Impact) หลังการดําเนินงานโครงการ (After the project) ชวงนี้เปนชวงที่เกิดผลได หรือ ผลกระทบระดับกลาง และผลไดระดับสุดทายของ กิจกรรมสื่อที่ผลิต (Ultimate Impacts) ผลกระทบของ โครงการนี้ อาจเกิดขึ้นตาม แผนที่วางไวหรือโครงการอาจมีผลไดเปนอยางอื่น เพราะในชวงดังกลาว มีปจจัยหลาย อยางที่โครงการไม สามารถควบคุมได เช น ป จจัยภายนอก และภายในกลุ่ม เป นต น ป จจัย เหลานี้อาจทําใหผลไดของโครงการมีลักษณะผิดแผกแตกตางไปจากวัตถุประสงคที่วาง ไวก็ได้
79 การสัมภาษณ์ สอบถาม สังเกตการณ์ แบบทดสอบ วิเคราะห์ข้อมูลหลังบ้าน อาจจะเป็นการท�ำคลิปสัมภาษณ์ เบื้องหลัง ทีมงาน และ ผู้ที่ชมสื่อ จากกลุ่มตัวอย่าง ผลกระทบที่เกิดขึ้นหลังจากการชมผลงานสื่อ เป็นต้น ผ่านวิธีการ Live ถ่ายทอดสด พูดคุยกับกลุ่มเป้าหมาย หนือแฟนคลับ ที่ติดตามรับชมผลงานสื่อ ถึงพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น จากการติดตาม หรือ เก็บพฤติกรรมของคนที่เข้าชมผลงานสื่อ เกิดค่านิยม หรือ การสื่อสารต่ออย่างไรบ้าง? การเชิญชวนผู้ที่ชมผลงานสื่อ ตอบแบบสอบถามหลังจากการรับชม ผลงานสื่อ ก่อน-หลัง ถึงพฤติกรรมที่เกิดขึ้นกับการชมผลงานนี้ ข้อมูลที่ได้จากหลังบ้านของเพจ หรือ ช่องทางที่กลุ่มได้เผยแพร่ผลงาน เพื่อมาวิเคราะห์จ�ำนวน ผู้ติดตาม ผู้ชม หรือผู้เเชร์ รวมถึง ประเภทของ กลุ่มเป้าหมาย เช่น อายุ เพศ พื้นที่อาศัย เป็นต้น
80 ประเภทและเกณฑ์การพิจารณาโครงการ วงเงินในการสนับสนุน รวมไม่น้อยกว่า 1,500,000 บาท (หนึ่งล้านห้าแสนบาท) โดยแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ประเภท วงเงินสนับสนุน เกณฑ์การพิจารณา 1.กลุ่มบุคคล หรือ องค์กร ที่มีพันธกิจ ที่เกี่ยวข้องกับงาน ด้านสื่อสาร และมี ความสนใจในการ ร่วมพัฒนางาน สื่อสารดิจิทัลสุขภาวะ ร่วมกับหน่วยจัดการ Node งบประมาณ ไม่เกิน 100,000 บาท/โครงการ ไม่เกิน 3 กลุ่ม 1.เป็นโครงการที่มุ่งสร้างให้เกิดความร่วมมือสู่ การขับเคลื่อนงานด้านเทคโนโลยีดิจิทัลในการ ผลิตสื่อสร้างสรรค์สังคมปลอดบุหรี่ 2.ผลงานที่เกิดต้องเป็นผลงานที่สร้างให้เกิด การเปลี่ยนแปลงจากการสื่อสารสามารถเกิด ผลกระทบทางสังคม Social Impact และต้อง ไม่เป็นเพียงชิ้นงานเพื่อน�ำส่งอาจารย์เหมือนใน ห้องเรียน 3.ผลงานสื่อที่เกิดขึ้นต้องมีการขยายผลในวง กว้างสู่สาธารณะ และสามารถสร้างให้เกิดการ แก้ปัญหาในระดับโครงสร้างหรือกลไกอื่นๆที่ เกี่ยวข้องได้ 4.สามารถพัฒนาให้เกิดเครือข่ายคนท�ำงานสร้าง เสริมสุขภาวะด้านสื่อกับประเด็นสังคมปลอดบุหรี่ ในพื้นที่ภาคใต้
81 2.กลุ่มหรือบุคคลที่มี ช่องทางของตนเอง หรือเคยมีผลงาน เชิงประจักษ์ มีฐานผู้ ติดตาม และช่องทาง งบประมาณ ไม่เกิน 50,000 บาท/โครงการ ไม่เกิน 15 กลุ่ม 1.บุคคลหรือกลุ่ม ไม่เคยรับทุนจาก สสส. เน้น ผู้รับทุนหน้าใหม่ แต่มีประสบการณ์หรือผลงาน สื่อและช่องทางออนไลน์เชิงประจักษ์ 2.จุดประสงค์ชัดเจนมีความน่าสนใจตรงกับเป้า หมายของโครงการ 3.จ�ำนวนชิ้นงานและมีช่องทางในการเผยแพร่ยัง กลุ่มเป้าหมายที่จะได้รับผลประโยชน์และสามารถ ด�ำเนินงานตามตัวชี้วัดได้ 4.มีความคิดสร้างสรรค์และสามารถน�ำมาปฏิบัติ ใช้ได้จริงในระยะเวลาที่ก�ำหนด 5.มีบุคลากรและที่ปรึกษาด�ำเนินงานที่มีความ สามารถในการท�ำงานให้ส�ำเร็จลุล่วงได้ 3.กลุ่มหน้าใหม่ที่สนใจ งานออนไลน์ เช่น นักเรียน นักศึกษา เยาวชนหรือบุคคล ทั่วไป งบประมาณ ไม่เกิน 30,000 บาท/โครงการ มากกว่า 15 กลุ่ม 1.บุคคลหรือกลุ่ม ไม่เคยรับทุนจาก สสส. เน้น ผู้รับทุนหน้าใหม่ ที่มีความสนใจในการใช้สื่อ เทคโนโลยีดิจิทัล 2.มีจุดประสงค์ชัดเจนตรงกับเป้าหมายของ โครงการ 3.มีความเป็นไปได้ในการด�ำเนินงานและมีตัวชี้ วัดของผลลัพธ์และกลุ่มเป้าหมายที่จะได้รับผล ประโยชน์ 4.มีความคิดสร้างสรรค์และสามารถน�ำมาปฏิบัติ ใช้ได้จริงในระยะเวลาที่ก�ำหนด 5.มีบุคลากรและที่ปรึกษาด�ำเนินงานที่มีความ สามารถในการท�ำงานให้ส�ำเร็จลุล่วง
82 ขั้นตอนและกรอบการด�ำเนินงาน 1. รวมกลุ่มไม่น้อยกว่า 5 คน พร้อมพี่เลี้ยง เสนอแนวคิดในการเขียนโครงการเข้าร่วม ผลิตสื่อดิจิทัลเพื่อการสื่อสารสุขภาวะ โดยกรอกข้อมูลตามรายละเอียดในแบบข้อ เสนอโครงการ https://th.city/h2t2WX 2. แบบข้อเสนอโครงการประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐานของผู้เสนอโครงการ ที่มาของ ความส�ำคัญและแนวคิดในการผลิตสื่อ วัตถุประสงค์ กระบวนการ และขั้นตอนในการ ด�ำเนินงาน เช่น การสร้างองค์ความรู้ การสร้างกระแสของสื่อ การขยายกลุ่มเป้า หมายให้เข้าถึงข้อมูล ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ การวัดผลจากยอดผู้เข้าชม (View) ยอดผู้ที่เผยแพร่ต่อ (Share, Retweet) เป็นต้น รวมถึงงบประมาณซึ่งขึ้นอยู่กับ กิจกรรมของโครงการ 3. กรอบงบประมาณการสนับสนุน ตั้งแต่ 30,000 ถึง 100,000 บาท โดยมีเงื่อนไข และระยะเวลาในการด�ำเนินงาน การขยายฐานผู้ชมและเข้าถึง จ�ำนวนสื่อที่ผลิต ระยะ เวลาไม่น้อยกว่า 6 เดือน ตั้งแต่เดือน กรกฎาคม 2563 ถึง มกราคม 2564 ซึ่งผู้เสนอ โครงการจ�ำเป็นต้องออกแบบกิจกรรมที่สอดคล้องการใช้จ่ายงบประมาณ โดยค�ำนึง ถึงความเหมาะสม การใช้จ่ายที่ประหยัด คุ้มค่าและเป็นไปตามเงื่อนไขที่ สสส. ก�ำหนด และต้องมีเอกสารประกอบการเบิกจ่ายทุกครั้งที่ด�ำเนินกิจกรรม ทั้งนี้ งบประมาณที่ สนับสนุนไม่สามารถจัดซื้อครุภัณฑ์ ที่คงทนถาวรได้ เช่น กล้อง คอมพิวเตอร์ เครื่อง บันทึกเสียง เป็นต้น 4. หลังจากที่โครงการได้รับการพิจารณาและสนับสนุนโครงการตามที่ผู้ทรงคุณวุฒิ ของ สสส. ได้อนุมัติแล้วหากมีเงื่อนไขในการปรับแก้ ผู้ที่เสนอโครงการจ�ำเป็นต้องปรับ ตามที่ผู้ทรงวุฒิก�ำหนด ก่อนการด�ำเนินการพร้อมกับลงนามเซ็นสัญญาตามข้อตกลง ของโครงการที่เสนอ 5. ผู้ที่ได้รับทุนต้องสามารถเข้าร่วมกิจกรรมตามระยะเวลาที่หน่วยจัดการก�ำหนด ได้แก่ การปฐมนิเทศ เวทีพัฒนาศักยภาพฯ เวทีการถอดบทเรียน รวมถึงการเข้าร่วม ประชุมออนไลน์ เป็นต้น
83 6. ก่อนการเผยแพร่ผลงานที่ผลิตทุกครั้ง ต้องผ่านการตรวจสอบและประเมินผลงาน สื่อทุกชิ้น (MediaLab) จากทีมหน่วยจัดการ เนื่องจากจ�ำเป็นต้องดูความเหมาะสม ความถูกต้อง ไม่ผิดจริยธรรม และผู้รับทุนสามารถรายงานผลการเพยแพร่ชิ้นงาน จากยอดผู้เข้าชม (View) ยอดผู้ที่เผยแพร่ต่อ (Share, Retweet) ทั้งนี้ ผลงานถือเป็น ผลงานร่วมระหว่างกลุ่มผู้ผลิตและ สสส. ซึ่งไม่สามารถน�ำไปเผยแพร่ต่อในเชิงพาณิชย์ ได้ 7. สมาชิกที่ระบุชื่อในโครงการ จะได้รับเกียรติบัตรและของที่ระลึกจาก DigitorThailand พร้อมมีสิทธิ์รับโล่รางวัลที่ทางหน่วยจัดการจัดขึ้น หลังสิ้นสุดโครงการ
84 ช่องทางในการติดต่อสื่อสารเป็น “เพื่อน” กับเรา Facebook/DigitorThailand Youtube/DigitorTH twitter/DigitorTH instagram/DigitorThailand Line@DigitorThailand http://www.digitorthailand.net