The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนา 3 ปี รร.บ้านดอนธูป 63-65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อภิเดช จิตรมุ่ง, 2020-12-29 03:50:56

แผนพัฒนา 3 ปี รร.บ้านดอนธูป 63-65

แผนพัฒนา 3 ปี รร.บ้านดอนธูป 63-65

แผนพัฒนาการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ระยะ 3 ป (พ.ศ.2563 - 2565)
โรงเรียนบา นดอนธูป

สาํ นกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสรุ าษฎรธ านี เขต 1
สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

คาํ นาํ

การพัฒนาคุณภาพของการศึกษาในสถานศึกษาข้ันพื้นฐานระยะท่ีมีสภาวการณของการเปลี่ยนแปลงทาง
เศรษฐกิจ การเมือง สงั คม และเทคโนโลยี มคี วามซบั ซอ นมากขึ้น ผูบ รหิ ารสถานศึกษาและบุคลากรในสถานศึกษา
จงึ ตอ งรวมมือกันกําหนดแนวทาง กระบวนการ และเคร่ืองมือ ในการบริหารจัดการศึกษาใหมีความหลากหลาย
การขบั เคลื่อนการพฒั นาโดยยทุ ธศาสตร (Strategy – focus Organization) จะกอใหเกิดคุณคา (Value Creation)
ตามเปาประสงคท ่ีกําหนดไว

แผนกลยุทธพ ัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ 3 ป (2563 - 2565) ของโรงเรียนบานดอนธูปฉบับน้ี เปน
การขับเคล่ือนยุทธศาสตรสูการปฏิบัติใหบังเกิดผลโดยใชกลยุทธการบริหารแบบใชโรงเรียนเปนฐานและการ
บริหารจัดการคุณภาพโดยรวม จัดทําเปนแผนพัฒนาคุณภาพระยะยาว ท่ีสามารถนําไปปฏิบัติไดอยางมี
ประสิทธิภาพ ประกอบดว ย

สว นท่ี 1 บทนํา
สว นที่ 2 ความเชอื่ มโยงนโยบายและยุทธศาสตรท ่เี กยี่ วขอ ง
สวนที่ 3 ทิศทางการพฒั นาคุณภาพการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน
สว นที่ 4 การนาํ แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาขั้นพน้ื ฐานสกู ารปฏิบตั ิ
สว นท่ี 5 การประเมินและการควบคมุ แผนพัฒนาการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวาแผนกลยุทธพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ 3 ป (2563 – 2565) ฉบับนี้
จะเปนแบบอยา งและแนวทางการปฏิบตั งิ าน/โครงการ/กิจกรรม ใหประสบผลสาํ เร็จตามเปาหมายท่โี รงเรยี นกาํ หนดไว

โรงเรยี นบา นดอนธปู

สารบญั หนา

คาํ นํา 1
สารบัญ 5
สว นท่ี 1 บทนาํ
10
ขอมลู ทว่ั ไป 12
การวิเคราะหส ภาพแวดลอม (SWOT Analysis) 17
สวนท่ี 2 ความเชอ่ื มโยงนโยบายและยทุ ธศาสตรที่เกยี่ วขอ ง 20
รฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2560 24
ยุทธศาสตรช าติ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580) 27
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) 30
แผนการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 40
คาํ แถลงนโยบายของคณะรฐั มนตรตี อรฐั สภา 25 กรกฎาคม 2562
นโยบายและจดุ เนนของกระทรวงศกึ ษาธิการ ปง บประมาณ พ.ศ.2563 45
นโยบายสาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ปง บประมาณ พ.ศ. 2563 50
นโยบายสํานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ าษฎรธ านี เขต 1 เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา 60
ประจําปก ารศกึ ษา 2562
สว นท่ี 3 ทิศทางการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
สวนท่ี 4 การนาํ แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานสูการปฏิบัติ
สว นที่ 5 การประเมนิ และการควบคมุ แผนพฒั นาการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน

ภาคผนวก
บนั ทกึ ใหค วามเห็นชอบแผนพฒั นาการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ระยะ 3 ป (พ.ศ.2563 - 2565)

ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐานโรงเรียนบานดอนธปู
คาํ สงั่ คณะทาํ งานจดั ทําแผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ระยะ 3 ป (พ.ศ.2563 - 2565)

1

สวนท่ี 1
บทนํา

ขอมลู เบอ้ื งตน
1.1 สภาพท่ัวไปของโรงเรยี น
1.1.1 สภาพภมู ศิ าสตร
โรงเรียนบานดอนธูป ต้ังอยูบนพื้นที่เกาะสมุยอยูตอนกลางของอาวไทยนอกชายฝงทางทิศ

ตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวดั สรุ าฎรธานี หางจากแผนดินใหญประมาณ 20 กิโลเมตร โรงเรียนต้ังอยูในพ้ืนท่ี
หมูท่ี 1 ตําบลลิปะนอย อําเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎรธานี รหัสไปรษณีย 84140 โทรศัพท 077 - 423239
โทรสาร 077 – 415107 สังกดั สาํ นักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสรุ าษฎรธานี เขต 1

1.1.2 สภาพทางการปกครอง
โรงเรียนบา นดอนธปู เปด สอนตงั้ แตร ะดับอนุบาล 1 ถงึ ระดับชั้น ประถมศึกษาปที่ 6 มีการปกครองเขต
พ้นื ทบี่ รกิ าร 2 หมบู าน ไดแ ก หมูที่ 1, หมูที่ 5 ตําบลลปิ ะนอ ย และหมูท ี่ 1 ตําบลตลงิ่ งาม

1.1.3 สภาพทางเศรษฐกิจ
ผูปกครองสว นใหญ จบการศึกษาระดับประถมศึกษา อาชีพหลักคือ อาชีพทางการเกษตร อาชีพรับจาง
และอาชีพที่ใหบริการการทองเที่ยว สวนใหญฐานะทางเศรษฐกิจปานกลาง รายไดโดยเฉล่ียตอครอบครัว ตอป
60,000 บาท จาํ นวนคนเฉลีย่ ตอ ครอบครวั 4 คน

1.1.4 สภาพทางวัฒนธรรม
ประชากรสวนใหญน ับถือศาสนาพทุ ธ และนับถือศาสนาครสิ ตและศาสนาอสิ ลามเปนบางสวนเนื่องจากมี
ชาวตา งชาตอิ าศยั ในพื้นที่ ชาวสมุยดง้ั เดมิ ไดสืบทอดวัฒนธรรมตางๆท้ังอิทธิพลทางศาสนา เครือญาติวัฒนธรรม
ชาวจีนไหหลํา มุสลิม และความเชื่อด้ังเดิม ขนบธรรมเนียมประเพณีที่สําคัญ คือ ประเพณีชักพระ ซ่ึงจัดข้ึน
ประมาณกลางเดือนตลุ าคมของทกุ ป ประเพณวี ันตายาย(วันสารทเดอื นสบิ ) ประเพณีทาํ บุญศาลาพอตา ประเพณี
ลงครโู นราห ประเพณีสงกรานต ประเพณลี อยกระทง ประเพณตี กั บาตรปใ หม

2

1.2 สภาพการจัดการศกึ ษา
ตารางท่ี 1 จํานวนนักเรียน ตง้ั แตป ง บประมาณ 2560 – 2562

ระดับชน้ั เรยี น จํานวนหอ ง เพศ รวม เฉล่ยี ตอ หอง

อนุบาล 1 1 ชาย หญิง 28 28
อนบุ าล 2 1 15 13 23 23
อนบุ าล 3 1 9 14 15 15
3 78 66 22
รวม 1 31 35 23 23
ประถมศึกษาปท ี่ 1 1 10 13 20 20
ประถมศกึ ษาปท ่ี 2 1 13 7 21 21
ประถมศกึ ษาปท่ี 3 1 10 11 16 16
ประถมศึกษาปท ่ี 4 1 5 11 24 24
ประถมศกึ ษาปท ี่ 5 1 12 12 27 27
ประถมศึกษาปที่ 6 6 12 15 131 22
9 62 69 197 22
รวม 93 104
รวมทงั้ หมด

ทมี่ า : ขอมลู นกั เรยี น ณ วันท่ี 10 มถิ ุนายน 2562

ตารางท่ี 2 จาํ นวนครู และบุคลากร ต้ังแตป งบประมาณ 2560 – 2562

เพศ ระดับการศึกษาสงู สุด ประสบการณ
สอนเฉลีย่
ประเภทบุคลากร ชาย หญิง ตาํ่ กวา ป.ตรี สูงกวา อายุเฉลีย่

ป.ตรี ป.ตรี

ผูอาํ นวยการ 1- - 1 - 59 37
--
รองผูอาํ นวยการ -- - - - 36 7
30 3
ครปู ระจําการ 19 - 8 2 --
26 1
ครอู ตั ราจาง -2 - 2 -

นกั การ/ภารโรง -- - - -

อนื่ ๆ (เจาหนา ทธ่ี รุ การ) - 1 - 1 -

รวม 2 12 - 12 2 38 12
14

ท่มี า : ขอมลู ครู ปก ารศกึ ษา 2562

3

โครงสรางการบรหิ ารงานสถานศกึ ษา

โครงสรา งการบรหิ ารโรงเรยี นบา นดอนธูป
สาํ นกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาสุราษฎรธานี เขต 1

ผูอาํ นวยการสถานศึกษา

ฝายบริหารวิชาการ ฝา ยบริหารงบประมาณ ฝา ยบรหิ ารบุคคล ฝายบรหิ ารทั่วไป

ภาพท่ี 1 โครงสรา งการบรหิ ารโรงเรียนบานดอนธูป

4

1.3 ผลการจดั การศกึ ษา

ตารางท่ี 3 ผลการวัดความสามารถพื้นฐานของผูเรียนระดับชาติ (National Test : NT) ระดับช้ันประถมศึกษา
ปที่ 3 ปการศกึ ษา 2559 - 2561

ความสามารถ ปก ารศกึ ษา 2559 ปก ารศกึ ษา 2560 ปการศกึ ษา 2561
การเรียนรู
ระดบั ระดบั ระดับ ระดับ ระดับ ระดับ ระดบั ระดบั ระดับ
ดา นภาษา
ดานคํานวณ โรงเรียน สพฐ. ประเทศ โรงเรียน สพฐ. ประเทศ โรงเรียน สพฐ. ประเทศ
ดานเหตผุ ล
รวมทุกดาน 49.89 50.29 51.00 65.04 51.94 52.67 57.14 52.73 53.18

31.20 37.35 36.99 46.89 38.38 37.75 47.75 47.89 47.19

58.46 52.62 53.38 52.60 44.98 45.31 48.36 47.56 48.07

46.52 46.75 47.13 54.84 45.10 45.25 51.08 49.39 49.48

ทีม่ า : รายงานผลการวัดความสามารถพน้ื ฐานของผเู รยี นระดบั ชาติ (National Test : NT) ระดับชน้ั ประถมศกึ ษา
ปท่ี 3 ปก ารศกึ ษา 2559 – 2561 สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ตารางท่ี 4 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พน้ื ฐาน (O-Net) ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 6 ปการศกึ ษา
2559 – 2561

กลมุ สาระการ คาคะแนนเฉลีย่ คาคะแนนเฉลีย่ คา คะแนนเฉลย่ี
เรียนรู ปก ารศกึ ษา 2559 ปการศึกษา 2560 ปการศึกษา 2561
ระดับ ระดับ ระดบั ระดับ ระดับ ระดบั ระดบั ระดับ ระดบั
ภาษาไทย โรงเรยี น สพฐ. ประเทศ โรงเรยี น สพฐ. ประเทศ โรงเรยี น สพฐ. ประเทศ
คณติ ศาสตร 64.75 51.88 52.98 38.69 45.29 46.58 61.00 54.61 55.90
วทิ ยาศาสตร 52.00 38.76 40.47 28.89 35.55 37.12 46.43 35.65 37.50
ภาษาองั กฤษ 45.75 40.27 41.22 33.17 38.13 39.12 44.36 38.83 39.93
สังคมศึกษา 32.50 31.11 34.59 31.11 32.73 36.34 34.64 35.47 39.24
รวมเฉลี่ย 55.75 45.08 46.68
50.15 41.42 43.19 32.97 37.93 39.79 46.61 41.14 43.14

ท่ีมา : รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-Net) ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา
2559 – 2561 สถาบันทดสอบทางการศกึ ษาแหง ชาติ (องคการมหาชน)

5

2. การวเิ คราะหสภาพแวดลอ ม (SWOT Analysis)
ในการระดมความคิดเห็นจากผูมีสวนไดสวนเสียในการจัดการศึกษาของโรงเรียนบานดอนธูป สามารถ

สรปุ ความคิดเหน็ จากการศึกษาและประเมนิ สภาพแวดลอมภายในและสภาพแวดลอมภายนอก ดงั นี้

2.1 การวิเคราะหสภาพแวดลอ มภายใน (Internal Environment Analysis)

จุดแขง็ (Strengths) จุดออน (Weaknesses)

ดานโครงสราง (Structure : S1)

1. สถานศึกษามโี ครงสรางการบรหิ ารงานชัดเจน 1. บคุ ลากรท่รี บั ผิดชอบบางงานมคี วามสามารถ

2. โรงเรียนกาํ หนดวิสัยทัศนและพนั ธกิจชัดเจน ทาํ ให เฉพาะบคุ คลไมตรงตามโครงสรา งการบริหารงาน

การทํางานบรรลเุ ปาหมายอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ 2. ใชบ ุคลากรซาํ้ ซอ นในงานแตล ะฝา ยทําใหง าน

กองทคี่ นใดคนหนงึ่

ดานกลยทุ ธหนว ยงาน (Strategy : S2)

1. โรงเรยี นกําหนดวิสัยทศั นและพันธกิจชดั เจน ทําให 1. การถายทอดกลยุทธส ูการปฏบิ ตั ิยงั ไมมี

การทํางานบรรลุเปาหมายอยา งมปี ระสิทธิภาพ ประสิทธิภาพ

2. มโี ครงการ/กจิ กรรมทส่ี อดคลอ งกับกลยทุ ธข อง 2. การดาํ เนนิ การจดั กจิ กรรมไมครบทกุ กจิ กรรมท่ี

หนว ยงาน กาํ หนดไวใ นแผนการปฏิบัติงาน

3. บุคลากรบางสวนไมเขา ใจเก่ียวกบั กลยทุ ธของ

หนวยงาน

ดา นระบบในการดาํ เนนิ งานของหนว ยงาน (System : S3)

1. มีกระบวนการบริหารจัดการภายในอยางเปน ระบบ 1. ไมมีการสํารวจความตอ งการในการพฒั นา

และมีประสทิ ธภิ าพ ตนเองของบุคลากร

2. ระบบดา นงบประมาณ ระบบบญั ชี การเงนิ พสั ดุ มกี าร 2. มีระบบการติดตามตรวจสอบและประเมนิ ผลไม

ดาํ เนนิ การตามระเบียบกฎหมาย โปรง ใส สามารถ ตอเนือ่ ง

ตรวจสอบได 3. คาํ สัง่ ในการปฏิบตั ิงานของบุคลากรไมช ดั เจน

3. มรี ะบบการติดตามตรวจสอบและประเมินผลที่มี

ประสิทธิภาพ

4. มแี ผนการปฏบิ ัตงิ าน และแผนการนเิ ทศตดิ ตามของ

สถานศกึ ษาที่ชดั เจน

ดา นแบบแผนหรือพฤตกิ รรมในการบรหิ ารกจิ การ (Style : S4)

1. ผูบรหิ ารกลาตดั สนิ ใจ 1. ผบู รหิ ารเปเ ดโอกาสใหผ รู ว มงานแสดงความ

2. ผูบรหิ ารใชรปู แบบการบรหิ ารจดั การท่ีเปน ระบบ มี คิดเห็นและรบั ฟงความคดิ เห็นนอย

ประสทิ ธิภาพ

6

จุดแข็ง (Strengths) จุดออน (Weaknesses)

ดา นบุคลากร/สมาชกิ ในหนว ยงาน (Staff : S5)

1. บุคลากรมคี วามรูต รงตามวชิ าเอก มคี วาม 1. บคุ ลากรมีประสบการณในการทาํ งานนอย

สามารถหลากหลาย เปน ผลดตี อการจัดการศึกษา 2. บุคลากรบางสวนมีความตระหนกั ในการปฏบิ ัติ

2. จาํ นวนบคุ ลากรเพียงพอตามอัตรากําลังของหนว ยงาน หนาทีใ่ หม ปี ระสทิ ธภิ าพและพฒั นางานนอ ย

3. บุคลากรมีคณุ ธรรม จริยธรรม

ดานทกั ษะ ความรู ความสามารถของหนวยงาน (Skills : S6)

1. โรงเรยี นมกี ารประสานงานกบั หนวยงานอ่ืน 1. นักเรียนยงั ขาดคณุ ธรรม จรยิ ธรรมบางประการ

ในการพฒั นาโรงเรียน เชน ความรบั ผิดชอบ การรกั ษาสมบัตสิ ว นรวม

2. มีการจัดกจิ กรรมการสง เสริมกิจกรรมทเ่ี กีย่ วกับ 2. ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนในบางวชิ ายงั คอนขาง

คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จติ สาธารณะในโรงเรยี น นอย

3. โรงเรียนมคี วามพรอ มดา นเทคโนโลยีทท่ี ันสมัย มี

สัญญาณอนิ เตอรเนต็ กระจายอยางทวั่ ถึงในการจดั การ

เรยี นการสอน

4. การจัดสภาพแวดลอมสะอาด สวยงาม รม ร่ืน เออ้ื ตอ

การเรียนรู

5. มีการจัดกิจกรรมสง เสรมิ พัฒนาบุคลิกภาพ สุขภาพ

และอนามัยของนกั เรยี น ใหอยใู นสังคมไดอยางมีความสุข

ดานคานิยมรวมกันของสมาชกิ ในหนวยงาน (Shared Values : S7)

1. มีการสง เสรมิ การทํางานเปนทมี ของบคุ ลากร 1. บคุ ลากรบางสวนยงั ยึดวฒั นธรรมการปฏบิ ตั งิ าน

2. บคุ ลากรและผบู รหิ ารมสี วนรวมในการปฏิบัตงิ านของ แบบเดมิ

หนว ยงานภายใตเอกลักษณเ ดยี วกัน

7

2.2 การวเิ คราะหส ภาพแวดลอ มภายนอก (External Analysis)

โอกาส (Opportunities) อุปสรรค (Threats)

ดานพฤตกิ รรมของลูกคา (Customer Behavior : C)

1. โรงเรียนไดรบั การยอมรบั และศรัทธาจากชมุ ชนและ 1. มสี ถานศึกษากระจายหลายแหงในตําบล

สังคม เดยี วกัน

2. ผูปกครองใหความไวว างใจและมคี วามเช่อื มน่ั ใน 2. นกั เรยี นในเขตพน้ื ท่ีบริการมจี ํานวนนอย

ครูผสู อน 3. ขาดการประชาสัมพันธ

3. สถานศกึ ษาต้งั อยใู นพนื้ ทท่ี เี่ อือ้ ตอ การศกึ ษา

ดา นการเมอื งและกฎหมาย (Political and Legal : P)

1. หนวยงานและองคก รทัง้ ภาครัฐและเอกชนใหการ 1. นโยบายของรฐั ทเ่ี ปล่ียนแปลงบอ ย ทาํ ให

สนบั สนนุ กจิ กรรมของโรงเรยี น การดําเนินงานตอ งปรับเปลย่ี นตามรัฐบาลจงึ ขาด

2. มขี อกฎหมายและระเบยี บปฏิบัตทิ ่ีชัดเจน ความตอเน่ืองในการพฒั นา

3. นโยบายดา นการจดั การศกึ ษามคี วามชดั เจนสอดคลอง 2. พรบ.กําหนดใหอ งคก ารปกครองสวนทองถ่นิ จดั

กบั ยทุ ธศาสตรชาติ การศึกษาไดด วยตนเอง

ดา นเศรษฐกจิ (Economic : E)

1. โรงเรยี นต้ังอยูใ นชมุ ชนเมืองทําใหการเดนิ ทางมา 1. คาครองชพี สงู ทําใหผ ปู กครองโยกยา ยทอ่ี ยูเพอ่ื

คอ นขางสะดวก ประกอบอาชพี

2. ชมุ ชนเปน แหลง เศรษฐกิจทีส่ ําคญั และมีความพรอ มใน

การใหก ารสงเสรมิ สนบั สนุนงบประมาณแกส ถานศึกษา

ปจ จยั ดา นสังคมและวัฒนธรรม (Social cultural : S)

1. โรงเรยี นมสี ภาพธรรมชาติ สภาพแวดลอ มและ 1. ผปู กครองสวนใหญม ปี ญ หาดานครอบครัว

วฒั นธรรม ประเพณีเอือ้ ตอ การเรียนการสอน แตกแยกสงผลกระทบตอผลการเรียนของนกั เรยี น

2. มีภูมิปญญาทอ งถิ่นและแหลงเรียนรู 2. สภาพแวดลอมในชมุ ชน ทาํ ใหน ักเรียนมีความ

3. โรงเรียนตงั้ อยูนบรบิ ททเี่ ปน วิถที อ งถ่ินของชมุ ชน เส่ียงในการดํารงชวี ติ ทีด่ ี

ใชภ ูมิปญ ญาทอ งถิน่ ในการดาํ รงชวี ิต

ดา นเทคโนโลยี (Technological : T)

1. มคี วามพรอมของอปุ กรณแ ละบคุ ลากรทม่ี ีทกั ษะการใช 1. มสี ิ่งแวดลอมทม่ี สี ือ่ ยัว่ ยุ เชน การใช

เทคโนโลยีการเรียนการสอนและเปนแบบอยางได โทรศพั ทม อื ถือ นาํ สอ่ื เทคโนโลยีไปใช

2. มีสือ่ การเรยี นการสอนทที่ ันสมยั เพียงพอตอจํานวน ในทางทผี่ ดิ สภาพแวดลอมในชุมชน ทาํ ใหนกั เรยี น

นกั เรยี น มคี วามเสีย่ งในการดาํ รงชีวิตที่ดี

3. มรี ะบบอินเตอรเ นต็ ความเร็วสูง

8

2.3 สรปุ ผลการวิเคราะหส ภาพแวดลอ มภายในของโรงเรียนบา นดอนธูป
ตารางที่ 5 ตารางสรปุ ผลการวิเคราะหสภาพแวดลอ มภายใน

คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉล่ยี x

รายการปจจัยสภาพแวดลอ มภายใน นา้ํ หนกั (5 ระดบั ) น้ําหนกั สรุปผล

S1 : ดา นโครงสราง 0.15 จุดแขง็ จุดออน จดุ แขง็ จุดออน
S2 : ดา นกลยุทธของหนว ยงาน 0.12
S3 : ดา นระบบในการดําเนนิ งานของหนวยงาน 0.17 4 1 0.60 0.15 +0.45
S4 : ดานแบบแผนหรือพฤตกิ รรมในการบรหิ าร 0.15
จัดการ 3 1 0.36 0.12 +0.24
S5 : ดานบุคลากร/สมาชิกในหนวยงาน 0.15
S6 : ดานทักษะ ความรู ความสามารถของ 0.15 4 2 0.68 0.34 +0.34
หนว ยงาน
S7 : ดา นคานยิ มรว มกันของสมาชิกในหนว ยงาน 0.11 4 1 0.60 0.15 +0.45

เฉลี่ยปจจยั ภายใน 3 2 0.45 0.30 +0.15
สรุปปจจัยภายใน 4 1 0.60 0.15 +0.45

4 1 0.44 0.11 +0.33
+3.19 -1.32
+1.87

2.4 สรปุ ผลการวิเคราะหสถานภาพของสภาพแวดลอ มภายนอกของโรงเรยี นบานดอนธูป
ตารางท่ี 6 ตารางสรปุ ผลการวเิ คราะหส ภาพแวดลอ มภายนอก

คะแนนเฉล่ยี คะแนนเฉลี่ย x

รายการปจจัยสภาพแวดลอ มภายนอก นา้ํ หนกั (5 ระดับ) นํา้ หนัก สรุปผล

0.20 จุดแข็ง จุดออ น จดุ แขง็ จดุ ออน
0.15
C : พฤตกิ รรมลูกคา (ผเู รียน) 0.25 4 1 0.80 0.20 +0.60
P : การเมอื งและกฎหมาย 0.20
E : เศรษฐกจิ 0.20 3 2 0.45 0.30 +0.15
S : สังคม – วฒั นธรรม
T : เทคโนโลยี 3 2 0.75 0.50 +0.25

2 1 0.40 0.20 +0.20

4 1 0.80 0.20 +0.60

เฉล่ยี ปจจัยภายใน +3.20 -1.40
สรปุ ปจจยั ภายใน
+1.80

9

2.5 กราฟแสดงสถานภาพของโรงเรยี นบานดอนธปู

ภาพท่ี 2 กราฟแสดงสถานภาพของโรงเรียนบานดอนธปู

จากกราฟ พบวา โรงเรยี นบานดอนธูป มผี ลสรปุ ปจจัยภายใน คาคะแนนเฉล่ียดานจุดแข็งเปน 3.19 ได
แก ดานโครงสรางการบริหารงาน ดานกลยุทธข องหนวยงาน ดานระบบในการดาํ เนนิ งานของหนวยงาน ดานแบบ
แผนหรอื พฤติกรรมในการบริหารจัดการ ดานบคุ ลากร/สมาชิกในหนวยงาน ดา นทักษะ ความรู ความสามารถของ
หนว ยงาน ดา นคานิยมรวมกันของสมาชิกในหนวยงาน และมีคาคะแนนเฉลี่ยดานจุดออนเปน 1.32 คาคะแนน
เฉลี่ยดา นโอกาส 3.20 ไดแ ก ดานพฤติกรรมลูกคา ดา นการเมอื งและกฎหมาย ดา นเศรษฐกิจ ดา นสังคมวัฒนธรรม
และดา นเทคโนโลยี และคา คะแนนเฉล่ยี ดานอปุ สรรค 1.40 จะเห็นวา เกดิ จุดแรเงาพรอมลูกศรปรากฏอยูท างดา น
จดุ แข็งและโอกาสทจ่ี ะดําเนนิ การเชิงรุกไดด ี แตมีอุปสรรคทอ่ี าจทําให ไมสามารถดําเนินการไดบรรลุเปาหมายได
จําเปนตองกําหนดยุทธศาสตรเพ่ือเปลี่ยนอุปสรรคใหเปนโอกาสเพ่ือดําเนินการเชิงรุกตอไป และกําหนด
ยุทธศาสตรเ พ่ือรองรับ

10

สว นที่ 2
ความเชอ่ื มโยงนโยบายและยุทธศาสตรทเ่ี กย่ี วของ

1. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ไดบัญญัติสาระสําคัญเก่ียวกับการศึกษา
ข้ันพ้นื ฐานไวใน มาตรา 54 รฐั ตองดาํ เนนิ การใหเด็กทกุ คนไดรับการศกึ ษาเปน เวลาสิบสองป ตั้งแตกอนวัยเรียน
จนจบการศึกษาภาคบังคบั อยางมคี ุณภาพโดยไมเก็บคาใชจาย รัฐตองดําเนินการใหเด็กเล็กไดรับการดูแลและ
พัฒนากอ นเขา รบั การศกึ ษา ตามวรรคหนึง่ เพ่ือ พฒั นารา งกาย จติ ใจวินัยอารมณ สังคม และสติปญญาใหสมกับ
วยั โดยสง เสรมิ และสนับสนนุ ใหอ งคก รปกครองสวนทองถิ่นและภาคเอกชนเขามีสวนรวมในการดําเนินการดวย
รัฐตองดําเนนิ การใหประชาชนไดรับการศึกษาตามความตองการในระบบตางๆ รวมท้ังสงเสริมใหมีการเรียนรู
ตลอดชีวติ และจดั ใหมกี ารรวมมอื กันระหวางรัฐ องคก รปกครองสวนทองถิ่นภาคเอกชนในการจัดการศึกษาทุก
ระดับและโดยรัฐมีหนาที่เนินการกับสงเสริม และสนับสนุนใหการจัดการศึกษาดังกลาวมีคุณภาพได
มาตรฐานสากลทั้งน้ี ตามกฎหมาย วาดวยการศึกษาแหงชาติซึ่งอยางนอยตองมีบทบัญญัติเก่ียวกับการจัดทํา
แผนการศกึ ษาแหงชาติ และการดําเนนิ การและตรวจสอบการดําเนินการใหเปนไปตามแผนการศึกษาแหงชาติ
ดวยการศกึ ษาทั้งปวงตองมุง พฒั นาผูเรยี นใหเปนคนดมี วี นิ ัย ภมู ใิ จในชาติ สามารถเชยี่ วชาญไดต ามความถนัดของ
ตน และมคี วามรบั ผิดชอบตอ ครอบครวั ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติในการดําเนินการใหเดก็ เลก็ ไดรับการดูแล
และพัฒนาตามวรรคสองหรือใหประชาชนไดรับการศึกษาตามวรรคสองรัฐตองดําเนินการใหผูขาดแคลน
ทนุ ทรัพยไดรับการสนบั สนุนคาใชจายในการศกึ ษาตามความถนัดของตนใหจ ัดตง้ั กองทนุ เพ่อื ใชในการชว ยเหลอื ผู
ขาดแคลนทนุ ทรัพยเ พื่อลดความเหลือ่ มล้าํ ในการศกึ ษา และเพือ่ เสริมสรา งและพฒั นาคุณภาพและประสิทธิภาพ
ครู โดยใหร ัฐจดั สรรงบประมาณใหแ กกองทุน หรอื ใชมาตรการหรอื กลไกทางภาษรี วมทั้งการใหผูบริจาคทรพั ยสนิ
เขากองทุน ไดรับประโยชนในการลดหยอนภาษี 11 ดวยท้ังนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ ซ่ึงกฎหมายดังกลาว
อยางนอยตอ งกําหนดใหการบริหารจดั การกองทนุ เปน อสิ ระและกําหนดใหม ีการใชจา ยเงินกองทุน เพื่อบรรลวุ ตั ถุ
ประสงคดงั กลา ว โรงเรยี นบานดอนธปู ไดนาํ พระบรมราโชบายดา นการศกึ ษาในสมเด็จพระเจาอยหู ัวมหาวชริ าลง
กรณบดินทรเทพยวรางกูร ยทุ ธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนพัฒนาพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 นโยบายรัฐบาล
(พลเอกประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี) นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ และนโยบายของสํานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานและบรบิ ทตางๆ ที่เก่ียวของมาเชื่อมโยงกับอํานาจหนาท่ีของโรงเรียน และ
กาํ หนดเปนกรอบแนวทางในการจัดทําแผนพัฒนาการศึกษาข้ันพื้นฐาน ระยะ 3 ป (พ.ศ. 2563 – 2565) ของ
โรงเรียน โดยมีรายละเอียด ดังนี้

พระบรมราโชบายดา นการศกึ ษาในพระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ
พระวชริ เกลา เจาอยหู ัว การศกึ ษาตองมุงสรา งพนื้ ฐานใหแกผ ูเรียน 4 ดา น คอื

1. ทศั นคตทิ ถ่ี ูกตองตอ บานเมอื ง ไดแก
1.1 ความรู ความเขาใจตอชาติบา นเมือง
1.2 ยึดมัน่ ในศาสนา
1.3 มนั่ คงในสถาบันพระมหากษตั ริย

11

1.4 มีความเอื้ออาทรตอครอบครัวและชมุ ชนของตน
2. มีพน้ื ฐานชวี ิตทม่ี ่ันคง – มีคณุ ธรรม

2.1 รูจกั แยกแยะสงิ่ ท่ีผดิ – ชอบ / ชั่ว – ดี
2.2 ปฏบิ ตั ิแตส ่ิงทชี่ อบ ส่ิงทีด่ งี าม
2.3 ปฏเิ สธส่ิงท่ผี ิด สง่ิ ท่ีช่ัว
2.4 ชว ยกนั สรางคนดใี หแ กบา นเมอื ง
3. มงี านทาํ – มีอาชพี
3.1 การเลี้ยงดูลูกหลานในครอบครัว หรือการฝกฝนอบรมในสถานศึกษาตองมุงใหเด็กและ
เยาวชนรักงาน สงู าน ทํางานจนสาํ เร็จ
3.2 การฝกฝนอบรมทั้งในหลักสูตรและนอกหลักสูตรตองมีจุดมุงหมายใหผูเรียนทํางานเปน
และมีงานทําในท่ีสดุ
3.3 ตอ งสนับสนุนผูส ําเร็จหลักสตู รมอี าชพี มงี านทําจนสามารถเล้ียงตัวเองและครอบครัว
4. เปนพลเมอื งดี
4.1 การเปนพลเมอื ง เปน หนาที่ของทกุ คน
4.2 ครอบครวั – สถานศกึ ษาและสถานประกอบการตองสงเสริมใหทุกคนมีโอกาสหนาท่ีเปน
พลเมอื งดี

12

2. ยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580)
สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการไดนํายุทธศาสตรชาติ (พ.ศ. 2561-2580) แผนแมบทภายใตยุทธศาสตร

ชาติ แผนการปฏริ ปู ประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560-2564 แผนการ
ศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 นโยบายรัฐบาล นโยบายความมั่นคงแหงชาติ พ.ศ. 2558-2564 นโยบายของ
รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ แผนปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของกระทรวงศึกษาธิการ
และบริบทตางๆ ท่เี กี่ยวขอ งมาเช่ือมโยงกบั อาํ นาจหนา ท่ีของสาํ นักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และกาํ หนดเปนกรอบ
แนวทางในการจัดทําแผนปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
(ฉบบั ปรับปรงุ ตามงบประมาณท่ไี ดรับจดั สรร) โดยมีรายละเอียด ดังนี้

ยทุ ธศาสตรช าติ (พ.ศ. 2561-2580)
คณะกรรมการจัดทาํ ยทุ ธศาสตรชาติไดดําเนินการจัดทํายุทธศาสตรชาติ (พ.ศ. 2561-2580) เพ่ือใชเปน
กรอบแนวทางการพฒั นาประเทศในระยะ 20 ป โดยกาํ หนดวิสัยทัศน เปา หมายและยทุ ธศาสตร ดังน้ี
วสิ ัยทัศน
“ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคัง่ ยงั่ ยนื เปน ประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง” หรือเปนคติพจนประจําชาติวา “ม่นั คง มง่ั ค่ัง ยั่งยืน”
ความม่ันคง หมายถึง หมายถึง การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลงทั้ง
ภายในประเทศ และภายนอกประเทศในทุกระดับ ทั้งระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปจเจกบุคคล
และมคี วามมน่ั คงในทุกมติ ิ ทงั้ มิตทิ างการทหาร เศรษฐกิจ สงั คม สิ่งแวดลอม และการเมือง เชน ประเทศมีความ
ม่ันคงในเอกราชและอธปิ ไตยมกี ารปกครองระบบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริยทรงเปนพระประมุข สถาบัน
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริยมีความเขมแข็งเปนศูนยกลางและเปนท่ียึดเหนี่ยวจิตใจ ของประชาชน มีระบบ
การเมืองทีม่ น่ั คงเปนกลไกที่นําไปสกู ารบริหารประเทศที่ตอเน่ืองและโปรงใสตามหลักธรรมาภิบาล สังคม มีความ
ปรองดองและความสามัคคี สามารถผนึกกําลังเพื่อพัฒนาประเทศ ชุมชนมีความเขมแข็ง ครอบครัวมีความอบอุน
ประชาชนมคี วามมน่ั คงในชีวิต มีงานและรายไดท ่มี ่ันคง พอเพียงกับการดํารงชีวิต มีการออมสําหรับวัยเกษียณ ความ
มน่ั คงของอาหาร พลงั งาน และนาํ้ มีทอ่ี ยูอ าศยั และความปลอดภยั ในชวี ติ ทรัพยสิน
ความม่ังคงั่ หมายถึง ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอยางตอเนื่องและมีความยั่งยืนจนเขาสูกลุม
ประเทศรายไดสูง ความเหล่ือมล้ําของการพัฒนาลดลง ประชากรมีความอยูดีมีสุขไดรับผลประโยชนจากการ
พฒั นาอยา งเทาเทยี มกนั มากข้นึ และมกี ารพัฒนาอยา งทว่ั ถึงทุกภาคสว นมคี ณุ ภาพชีวติ ตามมาตรฐานขององคการ
สหประชาชาติ ไมม ีประชาชนที่อยูใ นภาวะความยากจน เศรษฐกิจในประเทศมีความเขมแข็ง ขณะเดียวกันตองมี
ความสามารถในการแขงขนั กบั ประเทศตางๆ ท้ังในตลาดโลกและตลาดภายในประเทศเพ่ือใหส ามารถสรางรายได
ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ ตลอดจนมีการสรางฐานเศรษฐกิจและสังคมแหงอนาคตเพื่อใหสอดรับกับ
บรบิ ทการพฒั นาทเ่ี ปลี่ยนแปลงไป และประเทศไทยมีบทบาทที่สาํ คญั ในเวทโี ลก และมคี วามสัมพันธทางเศรษฐกิจ
และการคา อยางแนน แฟน กบั ประเทศ ในภมู ิภาคเอเชีย เปน จุดสําคัญของการเช่ือมโยงในภูมิภาคท้ังการคมนาคม
ขนสง การผลติ การคา การลงทนุ และการทาํ ธุรกจิ เพ่อื ใหเ ปนพลังในการพัฒนา นอกจากน้ัน ยงั มีความสมบรู ณใน

13

ทนุ ทีจ่ ะสามารถสรางการพัฒนาตอเน่อื งไปได ไดแก ทุนมนุษย ทนุ ทางปญญา ทุนทางการเงนิ ทุนที่เปนเครื่องมือ
เครอ่ื งจักร ทนุ ทางสังคม และทนุ ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

ความยง่ั ยืน หมายถึง การพัฒนาท่สี ามารถสรางความเจริญ รายได และคุณภาพชีวิตของประชาชนให
เพ่ิมข้ึนอยางตอเน่ือง ซ่ึงเปนการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจท่ีอยูบนหลักการใช การรักษาและการฟนฟูฐาน
ทรัพยากรธรรมชาติอยางย่ังยืน ไมใชทรัพยากรธรรมชาติจนเกินพอดี ไมสรางมลภาวะตอสิ่งแวดลอมจนเกิน
ความสามารถในการรองรับและเยียวยาของระบบนิเวศ การผลิตและการบริโภคเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม และ
สอดคลองกับเปาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน ทรัพยากรธรรมชาติมีความอุดม สมบูรณมากขึ้นและสิ่งแวดลอมมี
คุณภาพดขี นึ้ คนมีความรบั ผดิ ชอบตอ สังคม มคี วามเอ้ืออาทร เสียสละเพอ่ื ผลประโยชนส วนรวม รฐั บาลมีนโยบาย
ทม่ี ุง ประโยชนส วนรวมอยางยั่งยืน และใหความสาํ คัญกับการมีสวนรวมของประชาชน และทุกภาคสวนในสังคม
ยดึ ถอื และปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเพื่อการพฒั นาอยางสมดลุ มีเสถียรภาพและยั่งยืน โดยมี
เปา หมายการพฒั นาประเทศ คอื “ประเทศชาตมิ ่นั คง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอยางตอเนื่อง สังคม
เปน ธรรม ฐานทรพั ยากรธรรมชาตยิ ่ังยนื ” โดยยกระดับศกั ยภาพของประเทศ ในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุก
มิตแิ ละในทุกชว งวยั ใหเ ปนคนดี เกง และมคี ณุ ภาพ สรางโอกาสและ ความเสมอภาคทางสังคม สรา งการเติบโตบน
คณุ ภาพชีวติ ทีเ่ ปนมติ รกบั ส่งิ แวดลอ ม และมภี าครัฐ ของประชาชนเพอ่ื ประชาชนและประโยชนสวนรวม โดยการ
ประเมินผลการพัฒนาตามยทุ ธศาสตรชาติ ประกอบดวย

1) ความอยูด มี ีสุขของคนไทยและสงั คมไทย
2) ขดี ความสามารถในการแขงขนั การพฒั นาเศรษฐกจิ และการกระจายรายได
3) การพฒั นาทรัพยากรมนษุ ยของประเทศ
4) ความเทา เทยี มและความเสมอภาคของสงั คม
5) ความหลากหลายทางชวี ภาพ คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ ม และความยงั่ ยืนของทรัพยากรธรรมชาติ
6) ประสิทธิภาพการบริหารจดั การและการเขา ถึงการใหบรกิ ารของภาครัฐ
ยุทธศาสตรชาติ (พ.ศ.2561-2580) มี 6 ยุทธศาสตร ซ่ึงเกี่ยวของกับภารกิจของสํานักงาน
ปลดั กระทรวงศึกษาธิการ 6 ยุทธศาสตร ดังนี้
1. ยทุ ธศาสตรช าติดา นความม่ันคง มีเปา หมายการพัฒนาทีส่ ําคญั คอื ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมี
ความสขุ เนน การบรหิ ารจดั การสภาวะแวดลอ มของประเทศใหมีความมั่นคง ปลอดภัย เอกราช อธิปไตย และมี
ความสงบเรียบรอยในทุกระดับตั้งแตระดับชาติ สังคม ชุมชน มุงเนนการพัฒนาคน เครื่องมือ เทคโนโลยี และ
ระบบฐานขอมลู ขนาดใหญ ใหม ีความพรอมสามารถรบั มอื กบั ภัยคกุ คามและภัยพิบัติไดทุกรูปแบบ และทุกระดับ
ความรุนแรง ควบคูไปกับการปองกันและแกไขปญหาดานความมั่นคงที่มีอยูในปจจุบัน และท่ีอาจจะเกิดข้ึนใน
อนาคต ใชกลไกการแกไ ขปญหาแบบบรู ณาการทงั้ กบั สวน ราชการ ภาคเอกชนประชาสังคม และองคกรที่ไมใชรัฐ
รวมถงึ ประเทศเพ่ือนบานและมิตรประเทศ ทั่วโลกบนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาลเพ่ือเอ้ืออํานวยประโยชนตอการ
ดาํ เนินการของยุทธศาสตรช าติ ดา นอน่ื ๆ ใหส ามารถขบั เคลอ่ื นไปไดต ามทิศทางและเปาหมายทก่ี ําหนด
2. ยุทธศาสตรชาติดานการสรางความสามารถในการแขงขัน มีเปาหมายการพัฒนาท่ีมุงเนนการ
ยกระดบั ศักยภาพของประเทศในหลากหลายมติ ิ บนพ้ืนฐานแนวคดิ 3 ประการ ไดแก

14

1) “ตอ ยอดอดีต” โดยมองกลบั ไปทีร่ ากเหงา ทางเศรษฐกจิ อัตลกั ษณ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต
และจุดเดนทางทรัพยากรธรรมชาตทิ ห่ี ลากหลาย รวมท้ังความไดเ ปรียบเชงิ เปรียบเทียบของประเทศในดานอ่ืนๆ
นาํ มาประยุกตผ สมผสานกบั เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมเพ่ือใหสอดรับกับบริบทของเศรษฐกจิ และสงั คมโลกสมยั ใหม

2) “ปรบั ปจ จุบนั ” เพ่อื ปูทางสูอ นาคต ผา นการพฒั นาโครงสรา งพื้นฐานของประเทศ ในมิติตา งๆ ทง้ั
โครงขายระบบคมนาคมและขนสง โครงสรางพื้นฐานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และดิจิทัลและการปรับ
สภาพแวดลอมใหเ อือ้ ตอ การพฒั นาอุตสาหกรรมและบริการอนาคต

3) “สรางคณุ คา ใหมในอนาคต” ดวยการเพม่ิ ศักยภาพของผูประกอบการ พัฒนาคนรุนใหม รวมถึง
ปรบั รปู แบบธุรกจิ เพื่อตอบสนองตอความตองการของตลาด ผสมผสานกับยทุ ธศาสตรทรี่ องรบั อนาคต บนพื้นฐาน
ของการตอยอดอดตี และปรบั ปจจบุ นั พรอมทั้งการสงเสรมิ และสนบั สนุนจากภาครฐั ใหป ระเทศไทยสามารถสราง
ฐานรายไดแ ละการจางงานใหม ขยายโอกาสทางการคา และการลงทนุ ใน เวทีโลก ควบคูไปกบั การยกระดับรายได
และการกินดอี ยูดี รวมถึงการเพิ่มขน้ึ ของคนชั้นกลางและลดความเหลอ่ื มล้าํ ของคนในประเทศไดใ นคราวเดียวกัน

3. ยุทธศาสตรช าตดิ า นการพฒั นาและเสรมิ สรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย มีเปาหมายการพัฒนาท่ี
สาํ คญั เพอ่ื พฒั นาคนในทุกมิตแิ ละในทกุ ชว งวัยใหเปน คนดี เกง และมคี ุณภาพ โดยคนไทย มีความพรอมทัง้ กาย ใจ
สตปิ ญ ญา มพี ัฒนาการที่ดีรอบดานและมีสุขภาวะที่ดีในทุกชวงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบตอสังคมและผูอื่น
มธั ยัสถ อดออม โอบออ มอารี มีวนิ ยั รกั ษาศีลธรรมและเปน พลเมอื งดขี องชาติ มีหลกั คิดทถ่ี กู ตอง มที กั ษะท่จี ําเปน
ในศตวรรษที่ 21 มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาท่ี 3 และอนุรักษภาษาทองถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรูและ
การพัฒนาตนเองอยางตอเน่ืองตลอดชีวิตสูการเปน คนไทยที่มีทักษะสูง เปนนวัตกร นักคิด ผูประกอบการ
เกษตรกรยุคใหมและอืน่ ๆ โดยมีสมั มาชีพตามความถนัดของตนเอง

4. ยทุ ธศาสตรช าตดิ านการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มีเปาหมาย การพฒั นาที่สําคัญ
ที่ใหความสําคัญการดึงเอาพลังของภาคสวนตา งๆ ทง้ั ภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชน ทองถ่ิน มารวมขับเคล่ือน
โดยการสนับสนุนการรวมตัวของประชาชน ในการรวมคิด รวมทําเพื่อสวนรวม การกระจายอํานาจและความ
รับผดิ ชอบไปสกู ลไกบริหารราชการแผนดนิ ในระดบั ทอ งถน่ิ การเสรมิ สราง ความเขมแขง็ ของชุมชนในการจัดการ
ตนเอง และการเตรยี มความพรอมของประชากรไทย ท้งั ในมิติ สขุ ภาพ เศรษฐกิจ สงั คม และสภาพแวดลอมใหเปน
ประชากรทมี่ ีคณุ ภาพ สามารถพึ่งตนเองและทําประโยชนแกครอบครัว ชุมชน และสังคมใหนานท่ีสุด โดยรัฐให
หลักประกนั การเขาถงึ บริการและสวัสดกิ ารท่มี ีคณุ ภาพอยา งเปน ธรรมและทวั่ ถงึ

5. ยุทธศาสตรชาติดานการสรา งการเตบิ โตบนคุณภาพชีวิตทเ่ี ปน มติ รกบั ส่ิงแวดลอ ม มีเปา หมายการ
พฒั นาท่ีสาํ คญั เพอ่ื นาํ ไปสูก ารบรรลุเปา หมายการพฒั นาทย่ี ่ังยนื ในทุกมติ ิ ท้ังมติ ิดาน สงั คม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดลอม
ธรรมาภิบาล และความเปนหุนสวนความรวมมือระหวางกันทั้งภายในและภายนอกประเทศอยางบูรณาการ ใช
พ้นื ทเ่ี ปน ตัวตัง้ ในการกําหนดกลยทุ ธแ ละแผนงาน และการใหท กุ ฝา ยทีเ่ กย่ี วขอ งไดเขามามสี ว นรวมในแบบทางตรง
ใหมากที่สุดเทาที่จะเปนไปไดโดยเปนการดําเนินการ บนพื้นฐานการเติบโตรวมกัน ไมวาจะเปนทางเศรษฐกิจ
สงิ่ แวดลอม และคุณภาพชวี ิต โดยใหค วามสาํ คัญกับการสรา งสมดุลทง้ั 3 ดา น อนั จะนาํ ไปสูความยั่งยืนเพื่อคนรุน
ตอ ไปอยางแทจ รงิ

15

6. ยุทธศาสตรชาติดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ มีเปาหมายการ
พฒั นาทสี่ ําคัญเพื่อปรบั เปลี่ยนภาครัฐที่ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชน และประโยชนสวนรวม”
โดยภาครัฐตอ งมีขนาดท่เี หมาะสมกับบทบาทภารกจิ แยกแยะบทบาท หนวยงานของรัฐท่ีทําหนาท่ีในการกํากับ
หรือในการใหบ ริการในระบบเศรษฐกจิ ทม่ี ีการแขง ขันมขี ีดสมรรถนะสูง ยึดหลกั ธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการ
ทํางานใหม ุง ผลสัมฤทธิ์และผลประโยชนสวนรวมมคี วามทันสมัยและพรอมท่จี ะปรบั ตัวใหทันตอการเปลี่ยนแปลง
ของโลกอยตู ลอดเวลา โดยเฉพาะอยางย่ิงการนํานวัตกรรม เทคโนโลยีขอมูลขนาดใหญ ระบบการทํางานท่ีเปน
ดิจิทัลเขามาประยุกตใชอยางคุมคา และปฏิบัติงานเทียบไดกับมาตรฐานสากล รวมทั้งมีลักษณะเปดกวาง
เช่อื มโยงถึงกนั และเปดโอกาสใหท ุกภาคสวนเขามามีสว นรว มเพื่อตอบสนองความตองการของประชาชนไดอยาง
สะดวก รวดเร็ว และโปรง ใส โดยทุกภาคสวนในสังคมตองรวมกันปลกู ฝงคา นยิ มความซ่ือสัตยสุจริต ความมัธยัสถ
และสรางจิตสาํ นกึ ในการปฏิเสธไมยอมรับการทุจรติ ประพฤติมิชอบอยางสนิ้ เชิง นอกจากนั้น กฎหมายตองมีความ
ชดั เจน มเี พยี งเทา ทีจ่ าํ เปนมีความทันสมัยมีความเปนสากล มีประสิทธิภาพ และ นําไปสูการลดความเหลื่อมล้ํา
และเออ้ื ตอการพฒั นา โดยกระบวนการยุตธิ รรมมกี ารบริหารท่ีมปี ระสิทธิภาพ เปนธรรม ไมเลือกปฏิบัติและการ
อํานวยความยุติธรรมตามหลักนติ ิธรรม

แผนแมบ ทภายใตย ทุ ธศาสตรชาติ
ตามพระราชบัญญัตกิ ารจัดทํายุทธศาสตรชาติ พ.ศ. 2560 มาตรา 10 บัญญัติวา 1) เม่ือมีพระบรมราช
โองการประกาศใชยุทธศาสตรช าตแิ ลวใหค ณะกรรมการจดั ทาํ ยทุ ธศาสตรช าติแตละดานจดั ทําแผนแมบ ทเพื่อบรรลุ
เปา หมายตามที่กาํ หนดไวในยทุ ธศาสตรชาติเสนอคณะกรรมการพจิ ารณาใหค วามเห็นชอบ กอนเสนอคณะรัฐมนตรี 3)
แผนแมบ ททีค่ ณะรฐั มนตรใี หความเหน็ ชอบและประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว ใหมีผลพนั ธหนวยงานของรัฐที่
จะตอ งปฏิบตั ใิ หเ ปนไปตามน้นั รวมทั้งการจัดทํางบประมาณรายจายประจําปตองสอดคลองกันแผนแมบทดวย
โดยแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรช าติ ประกอบดว ย 6 ดาน 37 ประเด็น (ขอ มลู ณ วนั ที่ 13 สงิ หาคม 2561) ดงั น้ี
1. ดา นความมน่ั คง

1. การรักษาความสงบภายในประเทศ
2. การปองกนั และแกไ ขปญหาท่ีมผี ลกระทบตอ ความม่ันคง
3. การพัฒนาศักยภาพของประเทศใหพรอมเผชญิ ภัยคกุ คามทก่ี ระทบตอ ความมน่ั คง ของชาติ
4. การบรู ณาการความรวมมือดานความม่ันคงกับอาเซียนและนานาชาติ รวมถึงองคกรภาครัฐ
และมิใชภ าครฐั
5. การพัฒนากลไกการบริหารจัดการความมัน่ คงแบบองครวม
2. ดานการสรางความสามารถในการแขงขนั
6. การเกษตรสรา งมูลคา
7. อุตสาหกรรมและบรกิ ารแหง อนาคต
8. สรางความหลากหลายดานการทองเท่ียว
9. โครงสรา งพืน้ ฐาน เชือ่ มไทย เชอ่ื มโยง
10. พฒั นาเศรษฐกจิ บนพนื้ ฐานผูป ระกอบการยุคใหม

16

3. ดานการพฒั นาและเสริมสรา งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย
11. การปรับเปลยี่ นคา นยิ มและวัฒนธรรม
12. การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดชว งชวี ิต
13. ปฏิรปู การเรียนรูท่ตี อบสนองตอการเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ 21
14. การตระหนกั ถึงพหุปญหาของมนุษยทหี่ ลากหลาย
15. การเสรมิ สรางใหค นไทยมสี ขุ ภาวะทดี่ ี
16. การสรา งสภาพแวดลอ มท่ีเอือ้ ตอการพฒั นาและเสริมสรางศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย
17. การเสริมสรางศักยภาพการกฬี าในการสรางมลู คาทางสงั คมและพฒั นาประเทศ

4. ดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
18. การปรบั โครงสรา งเศรษฐกจิ ฐานราก
19. การปฏริ ูประบบภาษแี ละการคมุ ครองผูบรโิ ภค
20. การสรางหลักประกนั สงั คม (รวมประเด็นแรงงาน การศึกษา และสาธารณสุข)
21. เร่ืองกระบวนการยุตธิ รรม
22. การกระจายศูนยก ลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี
23. การเสรมิ สรา งพลังทางสงั คม
24. การเพิม่ ขีดความสามารถของชุมชนทองถน่ิ ในการพัฒนาตนเองและจดั การตนเอง

5. ดา นการสรางเติบโตบนคุณภาพชีวติ ที่เปนมิตรตอ ส่ิงแวดลอ ม
25. สรางการเติบโตอยางยงั่ ยืนบนสังคมเศรษฐกจิ สีเขียว
26. สรา งการเติบโตอยา งย่งั ยืนบนสังคมเศรษฐกจิ ภาคทะเล
27. สรางการเติบโตอยางยัง่ ยืนบนสังคมที่เปนมิตรตอสภาพภูมอิ ากาศ
28. พัฒนาพื้นที่เมือง ชนบท เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ มุงเนนความเปนเมืองที่

เตบิ โตอยางยง่ั ยนื
29. พฒั นาความมั่นคงทางนาํ้ พลังงาน และเกษตรที่เปน มิตรตอ ส่ิงแวดลอ ม
30. ยกระดบั กระบวนทัศนเ พื่อกาํ หนดอนาคตประเทศ

6. ดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ
31. การพัฒนาระบบบริการประชาชน
32. การปรบั สมดลุ ภาครัฐ
33. การพัฒนาระบบบริหารงานภาครัฐ
34. การพฒั นาบุคลากรภาครฐั
35. การตอ ตานการทุจริตประพฤติมิชอบ
36. การแกไ ขกฎหมาย
37. การปรับปรุงกระบวนการยุติธรรม

17

3. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564)
สาํ นกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาตไิ ดจ ดั ทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

แหง ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) สําหรับใชเปนแผนพัฒนาประเทศไทยในระยะ 5 ป ซึ่งเปนการแปลง
ยทุ ธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป สูการปฏบิ ัตอิ ยา งเปน รปู ธรรม เพ่ือเตรยี มความพรอมและวางรากฐานในการยกระดบั
ประเทศไทยใหเปนประเทศที่พัฒนาแลว มีความมั่นคง มั่งค่ัง ย่ังยืน ดวยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ซง่ึ การพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
มีหลักการทส่ี าํ คัญ คือ

1. ยึด “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”เพื่อใหเกิดบูรณาการการพัฒนาในทุกมิติ อยาง
สมเหตุสมผล มีความพอประมาณ และมีระบบภูมิคุมกันและการบริหารจัดการความเสี่ยงท่ีดี ซ่ึงเปนเง่ือนไขที่
จําเปน สําหรบั การพฒั นาทีย่ ัง่ ยืนซ่งึ มงุ เนน การพัฒนาคน มคี วามเปนคนทส่ี มบูรณ สงั คมไทย เปนสังคมคุณภาพ
มที ย่ี นื และเปดโอกาสใหก บั ทุกคนในสังคมไดดําเนนิ ชีวิตท่ีดีมีความสขุ และอยรู ว มกนั อยางสมานฉันท

2. ยึด “คนเปน ศูนยก ลางการพัฒนา”มุง สรา งคณุ ภาพชีวติ และสุขภาวะท่ีดี สาํ หรับคนไทย พัฒนาคนใหมี
ความเปน คนท่สี มบูรณ มวี นิ ัย ใฝรู มีความรู มีทักษะ มีความคิดสรางสรรค มีทัศนคติท่ีดี รับผิดชอบตอสังคม มี
จรยิ ธรรมและคณุ ธรรม พัฒนาคนทกุ ชวงวยั และเตรยี มความพรอมเขา สูสังคมผสู งู อายุอยางมีคุณภาพ รวมถึงการ
สรางคนใหใชประโยชนและอยูกับส่ิงแวดลอมอยางเกื้อกูล อนุรักษ ฟนฟูใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติและ
สงิ่ แวดลอมอยางเหมาะสม

3. ยึด “วสิ ัยทศั นภายใตย ุทธศาสตรช าติ ระยะ 20 ป” มาเปนกรอบของวิสยั ทศั นประเทศไทยในแผนพฒั นา
เศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบับที่ 12 วสิ ยั ทัศน “ประเทศไทยมคี วามมั่นคง มั่งค่ัง ย่ังยนื เปน ประเทศพฒั นาแลว
ดวยการพฒั นาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” หรือเปนคตพิ จนป ระจาํ ชาติวา “มัน่ คง ม่ังคง่ั ย่งั ยืน”

4. ยดึ “เปา หมายอนาคตประเทศไทย ป 2579” ท่ีเปน เปา หมายในยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป มาเปน
กรอบในการกาํ หนดเปาหมายทจี่ ะบรรลุใน 5 ปแรกและเปา หมายในระดับยอยลงมา ควบคูกับกรอบเปาหมายที่
ยง่ั ยืน (SDGs)

5. ยดึ “หลกั การเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจที่ลดความเหล่ือมลาํ้ และขบั เคลื่อนการเจริญเติบโต จากการเพม่ิ
ผลติ ภาพการผลติ บนฐานของการใชภ มู ปิ ญญาและนวตั กรรม”

6. ยึด “หลักการนําไปสูการปฏิบัติใหเกิดผลสัมฤทธ์ิอยางจริงจังใน 5 ปที่ตอยอดไปสูผลสัมฤทธ์ิ ท่ีเปน
เปาหมายระยะยาว”

วตั ถปุ ระสงค
1. เพือ่ วางรากฐานใหค นไทยเปน คนท่ีสมบูรณ มคี ณุ ธรรมจริยธรรม มีระเบยี บวนิ ัยคา นิยมที่ดี มีจิตสาธารณะ
และมคี วามสุข โดยมสี ุขภาวะและสขุ ภาพท่ดี ี ครอบครวั อบอนุ ตลอดจนเปนคนเกงท่มี ที กั ษะความรคู วามสามารถ
และพัฒนาตนเองไดตอ เนอื่ งตลอดชวี ิต
2. เพอื่ ใหคนไทยมคี วามมนั่ คงทางเศรษฐกจิ และสังคม ไดรับความเปนธรรมในการเขาถึงทรัพยากรและ
บรกิ ารทางสังคมท่ีมคี ุณภาพ ผดู อ ยโอกาสไดร บั การพัฒนาศกั ยภาพ รวมท้งั ชุมชนมคี วามเขมแขง็ พง่ึ พาตนเองได

18

3. เพือ่ ใหเ ศรษฐกิจเขมแข็ง แขง ขนั ได มีเสถียรภาพ และมีความยั่งยืน สรางความเขมแข็งของฐานการ
ผลติ และบรกิ ารเดิมและขยายฐานใหมโดยการใชน วัตกรรมทีเ่ ขม ขน มากขึ้น สรา งความเขมแข็งของเศรษฐกิจฐาน
ราก และสรางความมน่ั คงทางพลังงาน อาหาร และนํา้

4. เพื่อรกั ษาและฟน ฟูทรัพยากรธรรมชาติและคณุ ภาพสงิ่ แวดลอมใหส ามารถสนบั สนุนการเตบิ โตที่เปน
มติ รกับส่ิงแวดลอ มและการมีคุณภาพชีวติ ทด่ี ขี องประชาชน

5. เพ่ือใหการบริหารราชการแผนดินมีประสิทธิภาพ โปรงใส ทันสมัย และมีการทํางานเชิงบูรณาการ
ของภาคีการพฒั นา

6. เพื่อใหมีการกระจายความเจริญไปสูภูมิภาคโดยการพัฒนาภาคและเมืองเพื่อรองรับการพัฒนา
ยกระดับฐานการผลติ และบรกิ ารเดิมและขยายฐานการผลติ และบริการใหม

7. เพอ่ื ผลกั ดนั ใหป ระเทศไทยมคี วามเชอื่ มโยง (Connectivity) กบั ประเทศตา งๆ ท้งั ในระดับอนภุ มู ิภาค
ภมู ภิ าค และนานาชาติไดอ ยา งสมบูรณและมีประสทิ ธภิ าพ รวมทั้งใหประเทศไทยมีบทบาทนําและสรางสรรคใน
ดานการคา การบรกิ าร และการลงทนุ ภายใตกรอบความรว มมือตางๆ ทั้งในระดบั อนุภูมิภาค ภมู ภิ าค และโลก

เปาหมายรวม เพ่ือใหเปนไปตามวัตถุประสงคดังกลาว ไดกําหนดเปาหมายรวมการพัฒนาของ
แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี 12 ประกอบดว ย

1. คนไทยมีคณุ ลกั ษณะเปนคนไทยทส่ี มบรู ณ มวี ินยั มที ัศนคติและพฤตกิ รรมตามบรรทัดฐานทีด่ ีของสังคม
มีความเปนพลเมืองตื่นรู มีความสามารถในการปรับตัวไดอยางรูเทาทันสถานการณมีความรับผิดชอบและทํา
ประโยชนตอสวนรวม มีสุขภาพกายและใจท่ีดี มีความเจริญงอกงามทางจิตวิญญาณมีวิถีชีวิตท่ีพอเพียง และมี
ความเปนไทย

2. ความเหล่ือมลาํ้ ทางดา นรายไดและความยากจนลดลง เศรษฐกิจฐานรากมีความเขม แขง็ ประชาชนทกุ
คนมีโอกาสในการเขาถึงทรัพยากร การประกอบอาชีพ และบริการทางสังคมท่ีมคี ณุ ภาพอยา งทวั่ ถงึ และเปนธรรม

3. ระบบเศรษฐกิจมีความเขมแข็งและแขงขันได โครงสรางเศรษฐกิจปรับสูเศรษฐกิจฐานบริการและ
ดจิ ทิ ลั มผี ูประกอบการรุนใหมแ ละเปนสงั คมผปู ระกอบการ ผปู ระกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กทีเ่ ขมแขง็ สามารถ
ใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีดจิ ิทัลในการสรางสรรคค ุณคา สินคาและบรกิ ารมรี ะบบการผลติ และใหบ รกิ ารจากฐาน
รายไดเดิมท่ีมีมูลคาเพิ่มสูงข้ึน และมีการลงทุนในการผลิตและบริการฐานความรูช้ันสูงใหมๆ ท่ีเปนมิตรกับ
สิ่งแวดลอมและชุมชน รวมท้ังกระจายฐานการผลิตและการใหบริการสูภูมิภาคเพื่อลดความเหล่ือมล้ํา โดย
เศรษฐกจิ ไทยมีเสถยี รภาพ

4. ทุนทางธรรมชาติและคุณภาพส่ิงแวดลอมสามารถสนับสนุนการเติบโตที่เปนมิตรกับส่ิงแวดลอม
มีความมน่ั คงทางอาหาร พลังงาน และน้ํา

ยทุ ธศาสตรการพฒั นาประเทศ ประกอบดวย 10 ยุทธศาสตร ซงึ่ เก่ียวขอ งกบั ภารกิจของสาํ นัก
งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 7 ยทุ ธศาสตร ดงั นี้

1. ยทุ ธศาสตรท ี่ 1 การเสริมสรางและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย ใหความสําคัญกับการวางรากฐานการ
พฒั นาคนใหม ีความสมบูรณ เรมิ่ ต้ังแตก ลุม เดก็ ปฐมวยั ที่ตอ งพฒั นาใหมสี ุขภาพกาย และใจที่ดี มีทักษะทางสมอง
ทกั ษะการเรียนรู และทักษะชีวิต เพื่อใหเติบโตอยางมีคุณภาพ ควบคูกับ การพัฒนาคนไทยในทุกชวงวัยใหเปน

19

คนดี มีสุขภาวะท่ีดี มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย มีจิตสํานึกท่ีดีตอสังคมสวนรวม มีทักษะความรู และ
ความสามารถปรบั ตัวเทาทนั กบั การเปล่ยี นแปลงรอบตวั ท่ีรวดเร็ว บนพื้นฐานของการมีสถาบนั ทางสังคมทเี่ ขมแข็ง
ท้ังสถาบันครอบครวั สถาบันการศกึ ษา สถาบันศาสนา สถาบันชุมชน และภาคเอกชนที่รวมกันพัฒนาทุนมนุษย
ใหม คี ุณภาพสงู อกี ทั้งยังเปน ทนุ ทางสังคมสาํ คญั ในการขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศ

2. ยทุ ธศาสตรท ี่ 2 การสรางความเปนธรรมลดความเหล่ือมลา้ํ ในสังคม ใหค วามสาํ คัญกับการดําเนนิ การ
ยกระดับคุณภาพบริการทางสังคมใหทั่วถึงโดยเฉพาะอยางยิ่งดานการศึกษาและ สาธารณสุข รวมทั้งการปด
ชองวา งการคมุ ครองทางสังคมในประเทศไทยซงึ่ เปน การดาํ เนินงานตอเนอื่ งจากทไี่ ด ขบั เคลอ่ื นและผลกั ดันในชวง
แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 11 และมุง เนนมากขนึ้ ในเรื่องการเพม่ิ ทกั ษะแรงงานและการใชนโยบายแรงงานท่ีสนับสนุน
การเพ่มิ ผลติ ภาพแรงงานและเสริมสรางรายไดสงู ขึน้ และการสรางโอกาส ทางเศรษฐกจิ และสังคมโดยเฉพาะอยา งย่งิ
การสนับสนุนในเรื่องการสรางอาชพี รายได และใหค วามชวยเหลือ ท่ีเช่อื มโยง การเพ่ิมผลติ ภาพสําหรบั ประชากรกลุม
รอยละ 40 รายไดต่ําสุด ผูดอยโอกาส สตรี และผูสูงอายุ อาทิ การสนับสนุนธุรกิจขนาดเล็ก ขนาดกลาง และ
ขนาดยอม วิสาหกิจชมุ ชนและวสิ าหกจิ เพือ่ สงั คม การพัฒนาองคกรการเงิน ฐานรากและการเขาถึงเงินทุนเพื่อสราง
อาชพี และการสนบั สนุนการเขา ถึงปจจัยการผลิตคุณภาพดีท่ีราคาเปนธรรม เปนตน และในขณะเดียวกันก็ตองเพ่ิม
ประสทิ ธิภาพการใชงบประมาณเชิงพน้ื ท่แี ละบูรณาการเพื่อการลดความเหล่อื มล้าํ

3. ยุทธศาสตรท่ี 4 การเติบโตท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอมเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน ประเด็น
ทาทายทีต่ องเรงดําเนินการในชวงแผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 12 ไดแ ก การสรา งความมัน่ คงของฐานทรพั ยากร ธรรมชาติ
และยกระดับคุณภาพสิ่งแวดลอม เพื่อสนับสนุนการเติบโตที่เปนมิตรกับส่ิงแวดลอมและคุณภาพชีวิตของ
ประชาชน เรงแกไ ขปญหาวกิ ฤติส่ิงแวดลอมเพือ่ ลดมลพษิ ท่ีเกดิ จากการผลิต และการบรโิ ภค พัฒนาระบบบริหาร
จัดการทโ่ี ปรง ใสเปน ธรรม สง เสริมการผลิตและการบริโภคที่เปนมิตรกับส่ิงแวดลอมเปนวงกวางมากข้ึน ตองเรง
เตรียมความพรอมในลดการปลอยกาซเรือนกระจกและเพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลง
สภาพภมู อิ ากาศ รวมทั้งบรหิ ารจดั การเพ่ือลดความเสย่ี งดานภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ

4. ยุทธศาสตรท่ี 5 การเสรมิ สรางความมนั่ คงแหง ชาติเพ่ือการพัฒนาประเทศสูความม่ังค่ัง และยั่งยืน ให
ความสําคัญตอการฟนฟูพื้นฐานดานความม่ันคงที่เปนปจจัยสําคัญตอการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของ
ประเทศ โดยเฉพาะการอยูรว มกนั ในสงั คมอยางสันติของผมู คี วามเห็นตางทางความคิดและอุดมการณบนพ้ืนฐาน
ของการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ เ ปนประมขุ และการเตรยี มการรบั มือกบั ภัยคกุ คามขา มชาติ
ซ่งึ จะสงผลกระทบอยา งมีนยั ยะสาํ คัญตอการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศในระยะ 20 ปข างหนา

5. ยุทธศาสตรที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การปองกันการทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลใน
สังคมไทย เปน ชว งเวลาสาํ คญั ท่ีตอ งเรง ปฏริ ูป การบริหารจัดการภาครัฐใหเกดิ ผลสัมฤทธ์ิอยางจริงจัง เพื่อใหเปน
ปจจัยสนบั สนุนสาํ คัญทจ่ี ะชวยสง เสริมการพัฒนาประเทศในทุกดานใหประสบผลสําเร็จบรรลุเปาหมาย ทั้งการ
บรหิ ารจดั การภาครฐั ใหโปรงใส มปี ระสิทธิภาพ รับผิดชอบ ตรวจสอบไดอ ยา งเปน ธรรม และประชาชนมีสวนรวม
มีการกระจายอํานาจ และแบงภารกิจรับผิดชอบท่ีเหมาะสม ระหวางสวนกลาง ภูมิภาค และทองถิ่น และวาง
พืน้ ฐานเพอ่ื ใหบ รรลุตามกรอบเปาหมายอนาคตในป 2579

20

6. ยุทธศาสตรที่ 7 การพฒั นาโครงสรางพนื้ ฐานและระบบโลจสิ ติกส มงุ เนนการขยายขีดความ
สามารถและพฒั นาคุณภาพการใหบริการ เพ่ือรองรับการขยายตัวของเมืองและพื้นที่เศรษฐกิจหลักและสงเสริมการ
พัฒนาคณุ ภาพชีวติ ของทกุ กลุม ในสงั คม สนับสนุนใหเกดิ ความเชอ่ื มโยงในอนุภูมิภาคและในอาเซยี นอยา งเปน ระบบ โดยมี
โครงขา ยเช่อื มโยงภายในประเทศท่ีสนับสนุนการพฒั นาพืน้ ท่ีตามแนวระเบยี งเศรษฐกิจตา งๆ การพัฒนาระบบการบริหาร
จัดการและการกาํ กับดูแลใหส อดคลองกบั มาตรฐานสากลเพอื่ เพมิ่ ประสทิ ธฺ ิภาพ การดาํ เนนิ การสรา งความเปนธรรมใน
การเขา ถงึ บรกิ ารพ้นื ฐาน และการคุมครองผบู รโิ ภค การพฒั นาอตุ สาหกรรมตอ เนื่องเพือ่ สรางโอกาสทางเศรษฐกิจ
ใหกับประเทศ และการพัฒนาผูประกอบการในสาขาโลจิสติกสและหนวยงานที่มีศักยภาพเพื่อไปทําธุรกิจใน
ตา งประเทศ

7. ยทุ ธศาสตรท ่ี 8 การพฒั นาวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี วจิ ัย และนวตั กรรม ใหความสําคัญกับการใช
องคความรูทางวิทยาศาสตร ผลงานวิจัยและพัฒนา ความกาวหนาทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและความคิด
สรา งสรรคอ ยางเขมขน ท้ังในภาคธรุ กิจ ภาครฐั และภาคประชาสงั คม รวมทัง้ ใหความสําคัญกับการพัฒนาสภาวะ
แวดลอ มหรือปจ จยั พน้ื ฐานท่ีเอื้ออํานวยทงั้ การลงทนุ ดานการวิจยั และพัฒนา การพัฒนาบุคลากรวิจัย โครงสราง
พ้นื ฐานทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และการบริหารจัดการ เพื่อชวยขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศใหกาวสู
เปาหมายดังกลา ว

4. แผนการศึกษาแหง ชาติ (พ.ศ. 2560 - 2579)
สํานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษาไดจ ัดทําแผนการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2560-2579 ข้นึ เพอ่ื วางกรอบ

เปา หมายและทศิ ทางการจัดการศึกษาของประเทศ โดยมุงจัดการศึกษาใหคนไทยทกุ คนสามารถเขาถงึ โอกาสและ
ความเสมอภาคในการศึกษาท่ีมีคุณภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ พัฒนาคนใหมี
สมรรถนะในการทาํ งานที่สอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ แนวคิดการจัด
การศึกษาตามแผนการศกึ ษาแหงชาติ ยดึ หลักสาํ คญั ในการจดั การศึกษาประกอบดวย หลักการจัดการศึกษาเพื่อปวง
ชน (Education for All) หลกั การจดั การศึกษาเพือ่ ความเทาเทียม และท่ัวถึง (Inclusive Education) หลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง (Sufficiency Economy) และหลักการมีสวนรวมของสังคม (All For Education) อีกทั้งยึด
ตามเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs 2030) ประเด็นภายในประเทศ
(Local Issues) อาทิ คณุ ภาพของคนชวงวัย การเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากรของประเทศ ความเหล่ือมล้ํา
ของการกระจายรายได และวิกฤติดา นสง่ิ แวดลอม โดยนํายทุ ธศาสตรชาตมิ าเปนกรอบความคดิ สาํ คญั ในการจดั ทํา
แผนการศกึ ษาแหง ชาติ โดยมสี าระสําคัญ ดงั นี้

วสิ ัยทศั น : คนไทยทุกคนไดรับการศึกษาและเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ ดํารงชีวิตอยางเปนสุข
สอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และเปลีย่ นแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21

วัตถุประสงค
1. เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศกึ ษาทม่ี ีคุณภาพและมปี ระสทิ ธิภาพ
2. เพ่ือพัฒนาคนไทยใหเปนพลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะและสมรรถนะท่ีสอดคลองกับ

บทบญั ญตั ิของรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง ชาติ และยุทธศาสตรชาติ

21

3. เพื่อพัฒนาสงั คมไทยใหเปนสังคมแหงการเรียนรู และคุณธรรม จริยธรรม รูรักสามัคคี และ
รวมมือผนกึ กาํ ลงั มงุ สูก ารพัฒนาประเทศอยา งย่ังยนื ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

4. เพ่ือนําประเทศไทยกาวขามกับดักประเทศท่ีมีรายไดปานกลาง และความเหล่ือมลํ้า
ภายในประเทศลดลง

ยุทธศาสตร ยทุ ธศาสตรประกอบ 6 ยุทธศาสตร โดยมียุทธศาสตรที่เกี่ยวของกับภารกิจของสํานักงาน
ปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร 6 ยทุ ธศาสตร ดงั นี้

ยทุ ธศาสตรท ี่ 1 การจัดการศึกษาเพือ่ ความม่ันคงของสงั คมและประเทศชาติ
เปา หมาย
1. คนทุกชวงวยั มีความรกั ในสถาบันหลกั ของชาติ และยดึ ม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตย

อนั มพี ระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
2. คนทุกชวงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตและพื้นที่พิเศษไดรับ

การศึกษาและเรยี นรอู ยา งมคี ณุ ภาพ
3. คนทุกชว งวยั ไดรบั การศึกษา การดูแลและปองกนั จากภัยคุกคามในชีวิตรปู แบบใหม

แนวทางการพัฒนา
1. พัฒนาการจดั การศกึ ษาเพื่อเสริมสรา งความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครอง

ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยทรงเปน ประมุข
2. ยกระดับคุณภาพและสงเสริมโอกาสในการเขาถึงการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ

จังหวัดชายแดนภาคใต
3. ยกระดบั คุณภาพและสงเสริมโอกาสในการเขาถงึ การศกึ ษาในพืน้ ท่ีพิเศษ (พ้ืนท่ีสูงพ้ืนท่ีตามแนว

ตะเขบ็ ชายแดน และพ้นื ที่เกาะแกง ชายฝงทะเล ทั้งกลุมชนตางเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลุมชน-ชายขอบ
และแรงงานตา งดา ว)

4. พฒั นาการจัดการศกึ ษาเพอ่ื การจัดระบบการดูแลและปองกันภัยคุกคามในรูปแบบใหม อาทิ
อาชญากรรมและความรุนแรงในรูปแบบตางๆ ยาเสพติด ภัยพิบัติจากธรรมชาติภัยจากโรคอุบัติใหม ภัยจากไซ
เบอร เปน ตน

ยุทธศาสตรท่ี 2 การผลิตและพัฒนากําลังคน การวิจยั และนวัตกรรมเพ่ือสรางขีดความสามารถใน
การแขง ขันของประเทศ

เปา หมาย
1. กําลังคนมที ักษะท่ีสําคัญจําเปนและมีสมรรถนะตรงตามความตองการของตลาดงานและการพัฒนา

เศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ
2. สถาบนั การศึกษาและหนวยงานที่จัดการศึกษาผลิตบัณฑิตท่ีมีความเช่ียวชาญและเปนเลิศเฉพาะ

ดาน
3. การวิจัยและพัฒนาเพื่อสรางองคความรูและนวัตกรรมท่ีสรางผลผลิตและมูลคาเพิ่มทาง

เศรษฐกิจ

22

แนวทางการพัฒนา
1. ผลติ และพฒั นากาํ ลังคนใหมีสมรรถนะในสาขาท่ีตรงตามความตองการของตลาดงานและการพัฒนา

เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
2. สงเสรมิ การผลิตและพฒั นากาํ ลังคนทม่ี คี วามเชีย่ วชาญและเปน เลิศเฉพาะดา น
3. สง เสรมิ การวจิ ัยและพัฒนาเพอื่ สรางองคความรูและนวัตกรรมท่ีสรางผลผลิตและมูลคาเพ่ิม

ทางเศรษฐกจิ
ยุทธศาสตรท ่ี 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวยั และการสรา งสงั คมแหงการเรยี นรู
เปา หมาย
1. ผูเรียนมีทกั ษะและคุณลกั ษณะพื้นฐานของพลเมืองไทยและทักษะและคณุ ลกั ษณะที่จําเปนใน

ศตวรรษที่ 21
2. คนทุกชวงวัยมีทักษะความรูความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและ

มาตรฐานวิชาชพี และพัฒนาคุณภาพชีวติ ไดตามศกั ยภาพ
3. สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรูตามหลักสูตรไดอยางมี

คณุ ภาพและมาตรฐาน
4. แหลงเรียนรู สื่อตําราเรียน นวัตกรรมและสื่อการเรียนรูมีคุณภาพและมาตรฐาน และ

ประชาชนสามารถเขา ถงึ ไดโ ดยไมจ าํ กัดเวลาและสถานท่ี
5. ระบบและกลไกการวัด การติดตามและประเมนิ ผลมปี ระสทิ ธภิ าพ
6. ระบบการผลติ ครู อาจารย และบคุ ลากรทางการศกึ ษาไดมาตรฐานระดบั สากล
7. ครู อาจารย และบคุ ลากรทางการศึกษาไดรบั การพฒั นาสมรรถนะตามมาตรฐาน

แนวทางการพฒั นา
1. สงเสรมิ สนับสนนุ ใหคนทกุ ชวงวัยมีทักษะ ความรูความสามารถและการพัฒนาคุณภาพชีวิต

อยางเหมาะสม เต็มตามศักยภาพในแตล ะชว งวัย
2. สง เสริมและพฒั นาแหลง เรียนรู สอื่ ตาํ ราเรยี น และส่ือการเรยี นรูตางๆ ใหม ีคุณภาพมาตรฐาน

และประชาชนสามารถเขา ถงึ แหลง เรยี นรูไ ดโ ดยไมจํากัดเวลาและสถานที่
3. สรางเสริมและปรับเปล่ียนคานิยมของคนไทยใหมีวินัย จิตสาธารณะและพฤติกรรมท่ีพึง

ประสงค
4. พฒั นาระบบและกลไกการติดตาม การวดั และประเมนิ ผลผเู รยี นใหมปี ระสิทธิภาพ
5. พฒั นาคลงั ขอ มลู สื่อ และนวัตกรรมการเรยี นรู ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน
6. พฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการผลติ ครู อาจารย และบคุ ลากรทางการศกึ ษา
7. พฒั นาคุณภาพครู อาจารย และบุคลากรทางการศกึ ษา

ยุทธศาสตรท ่ี 4 การสรางโอกาส ความเสมอภาคและความเทา เทยี มทางการศกึ ษา
เปาหมาย
1. ผเู รียนทุกคนไดรับโอกาสและความเสมอภาคในการเขาถงึ การศึกษาทีม่ ีคุณภาพ

23

2. การเพมิ่ โอกาสทางการศึกษาผานเทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพอ่ื การศกึ ษาสาํ หรบั คนทกุ ชว งวยั
3. ระบบขอมลู รายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาท่ีครอบคลุม ถูกตองเปนปจจุบัน เพื่อการวาง
แผนการบรหิ ารจดั การศึกษา การตดิ ตามประเมิน และรายงานผล
แนวทางการพัฒนา
1. เพิม่ โอกาสและความเสมอภาคในการเขา ถึงการศึกษาที่มีคณุ ภาพ
2. พฒั นาระบบเทคโนโลยีดิจิทลั เพ่ือการศกึ ษาสาํ หรับคนทกุ ชว งวัย
3. พัฒนาฐานขอมลู ดา นการศึกษาท่ีมีมาตรฐาน เชอ่ื มโยงและเขา ถงึ ได
ยุทธศาสตรท่ี 5 การจดั การศกึ ษาเพื่อสรางเสริมคุณภาพชีวิตทเ่ี ปน มติ รกับสง่ิ แวดลอ ม
เปา หมาย
1. คนทุกชวงวัย มีจิตสํานึกรักษส่ิงแวดลอม มีคุณธรรม จริยธรรม และนําแนวคิดตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสกู ารปฏิบัติ
2. หลักสูตร แหลงเรียนรู และส่ือการเรียนรูที่สงเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และการนําแนวคดิ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสกู ารปฏิบตั ิ
3. การวิจัยเพื่อพัฒนาองคความรูและนวัตกรรมดานการสรางเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับ
สง่ิ แวดลอ ม
แนวทางการพัฒนา
1. สงเสริม สนับสนุนการสรางจิตสํานึกรักษส่ิงแวดลอม มีคุณธรรม จริยธรรม และนําแนวคิด
ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบตั ิในการดาํ เนนิ ชวี ิต
2. สงเสริมและพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู แหลงเรียนรู และสื่อการเรียนรูตางๆ
ทีเ่ กย่ี วของกบั การสรา งเสริมคณุ ภาพชวี ติ ทีเ่ ปนมิตรกับส่งิ แวดลอ ม
3. พัฒนาองคความรู งานวิจัย และนวัตกรรม ดานการสรางเสริมคุณภาพชีวิต ท่ีเปนมิตรกับ
สิง่ แวดลอ ม
ยทุ ธศาสตรที่ 6 การพฒั นาประสิทธิภาพของระบบบรหิ ารจดั การศึกษา
เปาหมาย
1. โครงสราง บทบาท และระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความคลองตัว ชัดเจนและ
สามารถตรวจสอบได
2. ระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษามปี ระสิทธภิ าพและประสิทธิผลสงผลตอคณุ ภาพและมาตรฐาน
การศึกษา
3. ทกุ ภาคสวนของสังคมมีสวนรวมในการจดั การศกึ ษาทีต่ อบสนองความตองการของประชาชน
และพ้ืนที่
4. กฎหมายและรปู แบบการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรทางการศกึ ษารองรับลักษณะท่ีแตกตางกัน
ของผเู รียน สถานศกึ ษา และความตอ งการกําลังแรงงานของประเทศ

24

5. ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย และบุคลากรทางการศึกษามีความเปนธรรม สรางขวัญ
กาํ ลงั ใจ และสงเสริมใหปฏิบัติงานไดอ ยา งเตม็ ตามศักยภาพ

แนวทางการพัฒนา
1. ปรับปรงุ โครงสรา งการบรหิ ารจัดการศึกษา
2. เพ่มิ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษา
3. สงเสรมิ การมสี ว นรวมของทุกภาคสวนในการจัดการศกึ ษา
4. ปรับปรุงกฎหมายเก่ียวกับระบบการเงินเพ่ือการศึกษาท่ีสงผลตอคุณภาพและประสิทธิภาพ

การจัดการศึกษา
5. พฒั นาระบบบริหารงานบคุ คลของครู อาจารย และบคุ ลากรทางการศกึ ษา

5. คําแถลงนโยบายของคณะรฐั มนตรีตอรัฐสภา 25 กรกฎาคม 2562
การพัฒนาคนไทยใหมีความพรอมในการดํารงชีวิตในศตวรรษท่ี 21 เพ่ือใหคนไทยในอนาคตเปนพลัง

ขบั เคล่ือนการพัฒนาประเทศใหกา วไปขา งหนา อยางมแี บบแผนไดอ ยา งมีประสิทธิภาพ รัฐบาลไดกําหนดนโยบาย
ในการพัฒนาทีม่ ุงพฒั นาคนในทกุ มติ ิตามความเหมาะสมในแตละชว งวัยใหมคี วามสมบรู ณ เปน คนดี มีวนิ ัย เหน็ แก
ประโยชนส ว นรวม รวมท้ังการพัฒนาระบบสาธารณสุขและหลกั ประกันทางสงั คมทเ่ี หมาะสมแกป ระชาชนในกลุม
ตางๆ สาํ หรับนโยบายในขอ ท่ี 8 ทีเ่ กี่ยวขอ งกบั ดา นการศกึ ษา มีรายละเอยี ดดังนี้

1. สงเสริมการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั
1.1 จัดใหมีระบบพัฒนาเด็กแรกเกิดอยางตอเน่ืองจนถึงเด็กวัยเรียนใหมีโอกาสพัฒนาตาม

ศักยภาพ เพอื่ สรางคนไทยทม่ี ีพฒั นาการเต็มตามศกั ยภาพผานครอบครัวท่ีอบอุนในทุกรูปแบบครอบครัว เพ่ือสง
ตอ การพฒั นาเดก็ ไทยใหมีคณุ ภาพสกู ารพฒั นาในระยะถัดไปบนฐานการใหความชว ยเหลือทคี่ าํ นงึ ถึงศักยภาพของ
ครอบครวั และพน้ื ที่ เตรยี มความพรอมการเปนพอแม ความรูเร่ืองโภชนาการและสุขภาพการอบรมเล้ียงดู การ
สง เสริมพฒั นาการเด็กปฐมวยั ผานการใหบริการสาธารณะท่ีเกี่ยวของโดยเฉพาะการยกระดบั คุณภาพสถานพัฒนา
เด็กปฐมวยั ท่ัวประเทศใหไดมาตรฐาน และพัฒนาศักยภาพของบุคลากรทางการศึกษาและผูดูแลเด็กปฐมวัยให
สามารถจัดการศกึ ษาไดอ ยา งมีคณุ ภาพ

1.2 สงเสรมิ การพฒั นาเด็กปฐมวัย โดยคาํ นงึ ถงึ พหปุ ญญาทีห่ ลากหลายของเด็กแตละคนใหไ ดร ับ
การสง เสริมและพัฒนาอยา งเตม็ ตามศกั ยภาพ ผานการออกแบบการจัดการเรียนรูท่ีเช่ือมโยงกับระบบโรงเรียน
ปกติ ท่ีเปน ระบบและมที ิศทางที่ชัดเจน

2. พัฒนาบัณฑติ พันธุใ หม
2.1 ปรับรูปแบบการเรียนรูและการสอนเพื่อพัฒนาทักษะและอาชีพของคนทุกชวงวัยสําหรับ

ศตวรรษที่ 21 โดยปรบั โครงสรางหลักสูตรการศึกษาใหทันสมัย มีการนําเทคโนโลยีและการเรียนรูผานประสบ
การณจริงเขามามีสวนในการจัดการเรียนการสอน และปรับระบบดึงดูด การคัดเลือก การผลิตและพัฒนาครู
ท่ีนาํ ไปสูการมคี รสู มรรถนะสงู เปนครยู คุ ใหมทส่ี ามารถออกแบบและจดั ระบบการสรางความรู สรางวินัย กระตุน

25

และสรา งแรง บันดาลใจ เปด โลกทัศนม ุมมองของเดก็ และครดู ว ยการสอนในเชงิ แสดงความคิดเห็นใหม ากข้ึนควบคู
กับหลกั การทาง วชิ าการ

2.2 จัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทํางานเพ่ือพัฒนาสมรรถนะของผูเรียนท้ังในสวนฐาน
ความรูและระบบความคิดในลักษณะสหวิทยาการ และตรงกับความตองการของประเทศในอนาคต และเปน
ผูเรยี นท่ีสามารถปฏิบัติไดจริงและสามารถกํากับการเรียนรูของตนเองได รวมถึงมีทักษะดานภาษาอังกฤษและ
ภาษาทสี่ ามท่สี ามารถสือ่ สารและแสวงหาความรูได มีความพรอมทั้งทักษะความรู ทักษะอาชีพ และทักษะชีวิต
กอ นเขาสู ตลาดแรงงาน

3. พัฒนาอาชีวะ พัฒนาคุณภาพวิชาชีพ และพัฒนาแรงงานรองรับอุตสาหกรรม 4.0 โดยการจัดระบบ
และกลไกความรว มมอื ระหวางหนว ยงานภาครฐั และเอกชนท่ีชัดเจนเปน ระบบในการพฒั นากําลังคนท่ีมีทักษะขั้น
สูงใหสามารถนําความรูและทักษะมาใชในการแกไขปญหา รวมถึงการสรางและพัฒนานวัตกรรม ซ่ึงตอง
ครอบคลุมการพัฒนากําลังคนท่ีอยูในอุตสาหกรรมแลว กําลังคนท่ีกําลังจะเขาสูอุตสาหกรรม และเตรียมการ
สําหรับผลติ กาํ ลังคนในสาขาที่ขาดแคลน เพ่ือรองรับอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยใี นอนาคต รวมทงั้ เรง รดั และขยาย
ผลระบบคณุ วฒุ วิ ิชาชีพ การยกระดับฝมอื แรงงานในกลุม อตุ สาหกรรมท่ีมีศักยภาพและอุตสาหกรรมท่ีใชแรงงาน
เขม ขน

4. ดึงดูดคนเกงจากทั่วโลกเขามารวมทํางานกับคนไทย และสงเสริมผูมีความสามารถสูง สนับสนุนให
ธรุ กจิ ช้นั นําในประเทศดงึ ดูดบคุ คลทม่ี คี วามสามารถระดับสงู จากทว่ั โลกโดยเฉพาะคนไทย เพ่อื กลบั มาเปนผนู าํ การ
เปลีย่ นแปลงและถา ยทอดประสบการณค วามรู ความเช่ยี วชาญใหแกบุคลากรในองคกร ซ่ึงจะชวยกระตุนใหเกิด
การสรางธุรกจิ ผลติ ภณั ฑและนวตั กรรมใหมๆ ใหกับประเทศ โดยในระยะแรกใหความสาํ คัญกับการดึงดูดนักวิจัย
ผูเ ชี่ยวชาญจากตา งประเทศมารวมวจิ ัยและพฒั นาเทคโนโลยีชน้ั แนวหนาในสาขาอุตสาหกรรมเปาหมายรวมท้ังมี
พ้ืนท่ีใหกลุมผูมีความสามารถพิเศษท่ีมีศักยภาพสูงไดทํางานรวมกัน หรือรวมกับเครือขายอื่นๆ เพ่ือสรางองค
ความรแู ละนวตั กรรมใหมๆใหกบั ประเทศ

5. วิจัยและพฒั นานวตั กรรมทตี่ อบโจทยก ารพัฒนาประเทศ
5.1 สงเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพ่ือขจัดความเหล่ือมลํ้าและความยากจน ยกระดับ

คุณภาพชีวิตของประชาชน โดยมงุ เนน การพัฒนานวตั กรรมเชิงสังคมและนวัตกรรมในเชิงพื้นท่ีท่ีสามารถชวยแก
ปญ หาความเหลอื่ มล้ํา สรา งโอกาสสําหรบั ผูดอ ยโอกาส และยกระดับคุณภาพชีวิตผูสูงวัยควบคูไปกับการพัฒนา
ทุนมนุษยใหพรอมสําหรับโลกยุคดิจิทัลและอุตสาหกรรม 4.0 ตามความเหมาะสมไดอยางเปนรูปธรรมโดย
ระยะแรก จะใหความสาํ คัญกับการสง เสริมการวิจัยและพัฒนาดา นสุขภาพของประชาชนอยา งครบวงจร ทง้ั ระบบ
ยา วัคซีน เวชภัณฑ และเทคโนโลยที ที่ ันสมัย

5.2 สงเสรมิ การวจิ ยั และพฒั นานวัตกรรมทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีข้ันสูง เพ่ือสราง
ความไดเปรยี บในการแขงขัน สามารถตอบสนองตอความเปล่ียนแปลง และสรางความเปนเลิศของประเทศใน
อนาคต โดยมงุ เนนการวิจยั และพฒั นานวัตกรรมเพ่ือนํามาใชใหเกิดประโยชนในเชิงธุรกิจ กําหนดวาระการวิจัย
แหง ชาติ สง เสริมความรวมมอื และการเปนหุน สว นของทุกฝา ยทงั้ ภาครฐั ภาคการศึกษา ชุมชน และภาคเอกชนใน

26

ทุกสาขาการผลิตและบริการ สรางสภาพแวดลอมและองคประกอบของระบบวิจัยและการพัฒนานวัตกรรม
ใหเ ขมแขง็ รวมทง้ั บูรณาการการวิจยั และพฒั นานวตั กรรมกับการนาํ ไปใชป ระโยชนใ นเชงิ พาณิชย

5.3 สรา งเครือขายการทาํ วิจัยระหวางภาคสวนตางๆ ปฏิรูปและบูรณาการระบบการเรียนการ
สอนกับระบบงานวจิ ยั และพฒั นาใหเ ออื้ ตอ การเพิ่มศักยภาพดานนวัตกรรมของประเทศ เพ่ือสนับสนุนการสราง
ความเขม แข็งของธุรกิจไทยทกุ ระดับในเวทีการคาโลก สง เสรมิ กระบวนการการทํางานของภาครฐั และภาคเอกชน
ในการวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี นวัตกรรมใหเปนระบบเปด และมีการบูรณาการการทํางานกัน
อยา งมปี ระสิทธิภาพ รวมทั้งเชอ่ื มโยงระบบการศึกษากับภาคปฏิบตั ิจรงิ ในภาคธรุ กิจ โดยเฉพาะอยางย่ิงการสราง
นักวจิ ยั มอื อาชพี และนวัตกรที่สามารถสรา งมูลคา เพ่ิมและยกระดับงานวจิ ยั สูก ารเพ่มิ ศกั ยภาพดานเทคโนโลยแี ละ
นวัตกรรมของประเทศ

6. สง เสรมิ การเรยี นรูและพฒั นาทกั ษะทุกชวงวัย
6.1 มุงเนนการพัฒนาโรงเรียนควบคูกับการพัฒนาครู เพ่ิมประสิทธิภาพระบบบริหารจัด

การศึกษา ในทกุ ระดบั บนพน้ื ฐานการสนับสนุนที่คํานึงถึงความจําเปนและศักยภาพของสถาบันการศึกษาแตละ
แหง พรอมทงั้ จดั ใหมมี าตรฐานขน้ั ตาของโรงเรยี นในทกุ ระดับ และสรา งระบบวดั ผลโรงเรยี นและครทู ส่ี ะทอนความ
รบั ผิดชอบตอ ผลลัพธท่ีเกิดกบั ผูเ รียน คืนครูใหน ักเรียนโดยลดภาระงานท่ีไมจําเปน รวมถึงจัดใหมีระบบฐานขอ
มลู เพื่อการพฒั นาทรัพยากรมนุษย โดยการเชื่อมโยงหรือสง ตอขอมลู ครอบครวั และผเู รียนระหวางหนวยงานตา งๆ
ตง้ั แตแรกเกดิ จนถงึ การพฒั นาตลอดชว งชีวติ ตลอดจนพัฒนาชองทางใหภ าคเอกชนมีสวนรวมในการจดั การศกึ ษา
และการเรยี นรู ตลอดชวี ติ

6.2 พัฒนาแพลตฟอรมการเรียนรูผานระบบดิจิทัล พรอมท้ังสงเสริมใหมีการนําเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสรา งสรรคทีเ่ หมาะสมมาใชในการเรียนการสอนออนไลนแบบเปดท่ีหลากหลาย เพื่อสงเสริม
การเรียนรูด วยตนเองตามความสนใจและเหมาะสมกบั ชวงวยั ตลอดจนพฒั นาแหลงเรยี นรูและอุทยานการเรียนรู
สําหรับ เยาวชนทีเ่ ชอื่ มโยงเทคโนโลยกี บั วถิ ชี วี ติ และสงเสริมการเรียนการสอนที่เหมาะสมสําหรับผูท่ีเขาสูสังคม
สูงวยั

6.3ลดความเหลื่อมลาทางการศกึ ษา โดยบูรณาการการดําเนินงานระหวา งหนว ยจดั การศึกษากบั
กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา มุงเนนกลุมเด็กดอยโอกาสและกลุมเด็กนอกระบบการศึกษา
ปรับเปล่ียน การจัดสรรงบประมาณใหสอดคลองกับความจําเปนของผูเรียนและลักษณะพ้ืนที่ของสถานศึกษา
จดั ระบบโรงเรียน พ่ีเลยี้ งจบั คูร ะหวา งโรงเรยี นขนาดใหญทม่ี คี ณุ ภาพการศึกษาดกี บั โรงเรยี นขนาดเลก็ เพ่ือยกระดบั
คุณภาพการศกึ ษา และการสงเสรมิ ใหภ าคเอกชน ชมุ ชนในพนื้ ทเี่ ขามามสี ว นรว มในการออกแบบการศึกษาในพน้ื ท่ี
สนับสนนุ เดก็ ทม่ี คี วามสามารถแตไ มมที ุนทรัพยเ ปน กรณพี เิ ศษ ตลอดจนแกไขปญหาหน้ีสินทางการศึกษา โดยการ
ปรับโครงสรางหนี้ กองทนุ เงนิ ใหก ูย มื เพ่ือการศึกษา และทบทวนรปู แบบการใหก ูย มื เพือ่ การศกึ ษาทเ่ี หมาะสม

6.4 พัฒนาทักษะอาชีพทุกชวงวัย โดยกําหนดระบบที่เอ้ือตอการพัฒนาทักษะและเพิ่ม
ประสิทธภิ าพของทุกชว งวัย อาทิ การพฒั นาคณุ ภาพมาตรฐานการศึกษาใหเ ชอ่ื มโยงกบั ระบบคณุ วฒุ ิวิชาชีพ โดยมี
กลไกการวัดและประเมนิ ผลเพื่อเทยี บโอนความรูและประสบการณหนวยการเรียนท่ีชัดเจน สงเสริมเยาวชนที่มี
ศักยภาพดานกีฬาใหสามารถพัฒนาไปสูนักกีฬาอาชีพ การกําหนดมาตรฐานฝมือแรงงาน การจัดใหมีระบบที่

27

สามารถรองรับความตอ งการพฒั นาปรับปรงุ ทกั ษะอาชีพของทุกชวงวยั เพ่อื รองรบั การเปล่ียนสายอาชพี ใหต รงกับ
ความตอ งการของตลาดแรงงานทอ่ี าจจะเปลยี่ นไปตามแนวโนม ความกาวหนาทางเทคโนโลยีในอนาคต

6.5 สงเสริมหลกั คิดทถ่ี ูกตอ ง โดยสอดแทรกการปลูกฝงวินัยและอุดมการณที่ถูกตองของคนใน
ชาติ หลกั คิดท่ีถูกตอ งดา นคณุ ธรรม จริยธรรม การมจี ติ สาธารณะการเคารพกฎหมาย และกติกาของสังคมเขาไป
ใน ทุกสาระวชิ าและในทกุ กิจกรรม ควบคไู ปกับการสงเสรมิ กลไกสรางความเขม แข็งของสถาบนั ครอบครวั ในทกุ มติ ิ
อยางเปนระบบและมีประสิทธิภาพ ปรับสภาพแวดลอมท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษาใหเอ้ือตอการมี
คุณธรรม จริยธรรม และจิตสาธารณะ รวมท้งั ลงโทษผูล ะเมิดบรรทดั ฐานท่ดี ีทางสงั คม ตลอดจนสง เสรมิ ใหเ กิดการ
มีสว นรวม ของประชาชนในการขบั เคล่อื นประเทศ

7. จัดทําระบบปริญญาชุมชนและการจัดอบรมหลักสูตรระยะสั้น เนนออกแบบหลักสูตรระยะส้ันตาม
ความสนใจ พัฒนาทกั ษะตางๆ ท่ีใชในการดํารงชวี ติ ประจาํ วันและทกั ษะอาชีพของคนทุกชวงวยั ในพน้ื ทแ่ี ละชุมชน
เปน หลัก พรอมทง้ั ศึกษาแนวทางการพัฒนาเปนรูปแบบธนาคารหนวยกิต ซ่ึงเปนการเรียนเก็บหนวยกิตของวิชา
เรียนเพ่ือใหผ ูเรยี นสามารถเรียนขา มสาขาวิชาและขา มสถาบันการศึกษา หรอื ทํางานไปพรอมกัน หรือเลือกเรียน
เฉพาะหลักสูตรที่สนใจ เพื่อสรางโอกาสของคนไทยทุกชวงวัยและทุกระดับสามารถพัฒนาตนเองทั้งในดาน
การศึกษา และการดาํ รงชีวติ

6. นโยบายและจุดเนนของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปงบประมาณ พ.ศ.2563
นโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

เพื่อใหการดําเนินการจัดการศึกษาและการบริหารจัดการการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการใน
ปงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีความสอดคลองกบั ยทุ ธศาสตรชาติ เปาหมายของแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ
วตั ถปุ ระสงคของแผนการปฏิรปู ประเทศดา นการศึกษา และนโยบายของรัฐบาลโดยเฉพาะนโยบายเรงดวน เรื่อง
การเตรยี มคนสูศตวรรษท่ี 21

อาศัยอํานาจตามคามในมาตรา 8 และมาตรา 12 แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายและจุดเนนของประ
ทรวงศกึ ษาธกิ าร ปงบประมาณ พ.ศ. 2563 ดังน้ี

หลกั การ
1. ใหความสาํ คญั กบั ประเด็นคุณภาพและประสิทธภิ าพในทุกมิติ ท้ังเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา
ขาราชการพลเรอื น และผูบริหารทุกระดบั ตลอดจนสถานศึกษาทุกระดบั ทกุ ประเภทและเปน การศึกษาตลอดชวี ติ
2. บรู ณาการการทํางานรวมกันระหวางสวนราชการหลัก องคการมหาชนในกํากับของรัฐมนตรีวาการ
กระทรวงศึกษาธกิ ารใหมีความคลองตัว รวมท้ังหนวยงานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการในพ้ืนท่ีภูมิภาคใหสามารถ
ปฏิบัติงานรว มกันได เพอ่ื ดาํ เนินการปฏิรปู การศกึ ษารว มกับภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชน ตามนโยบาย
ประชารฐั

28

ระดบั กอนอนุบาล
เนนประสานงานกับสวนราชการ และชุมชน ในการเตรียมความพรอมผูเรียนในดานสุขภาพและ
โภชนาการ และจัดประสบการณก ารเรียนรูที่เช่ือมโยงกบั ระบบโรงเรียนปกติ
ระดบั อนุบาล
เนน สรา งความรวมมอื กบั พอแม ผูปกครอง และชุมชน เพ่ือออกแบบกิจกรรมการพัฒนาทักษะท่ีสําคัญ
ดานตา งๆ เชน ทักษะทางสมอง ทักษะความคิดความจํา ทักษะการควบคุมอารมณทักษะการรูจักและประเมิน
ตนเอง
ระดบั ประถมศึกษา
มงุ คํานงึ ถึงพหปุ ญญาของผเู รียนรายบุคคลท่หี ลากหลายตามศักยภาพ ดว ยจดุ เนน ดงั นี้
1. ปลกู ฝงความมีระเบียบวินยั ทัศนคติที่ถกู ตอง โดยใชก ระบวนการลูกเสอื และยุวการชาติ
2. เรียนภาษาไทย เนน เพือ่ ใชเครอ่ื งมือในการเรยี นรวู ชิ าอืน่
3. เรยี นภาษาองั กฤษและภาษาพืน้ ถ่นิ (ภาษาแม) เนนเพ่ือการสอื่ สาร
4. เรียนรูดว ยวิธกี าร Active Learning เพ่อื พฒั นากระบวนการคดิ การเรยี นรจู ากประสบการณจ รงิ
หรอื จากสถานการณจําลองผานการลงมือปฏบิ ัติ และเปดโลกทัศนมมุ มองรวมกันของผเู รียนและครดู ว ยการจัดการ
เรยี นการสอนในเชิงแสดงความคดิ เหน็ ใหม ากขนึ้
5. สรางแพลตฟอรมดิจทิ ัลเพื่อการเรยี นรู และใชด ิจิทัลเปน เครื่องมอื การเรยี นรู
6. จัดการเรียนการสอนเพ่อื ฝก ทักษะการคิดแบบมเี หตุผลและเปนขนั้ ตอน (Coding)
7. พฒั นาครูใหม ีความชาํ นาญในการสอนภาษาองั กฤษ และภาษาคอมพิวเตอร (Coding)
8. จดั ใหม ีโครงการ 1 ตําบล 1 โรงเรยี นคณุ ภาพ โดยเนน ปรับสภาพแวดลอ มทงั้ ภายในและภายนอก
บริเวณโรงเรียนใหเ อ้อื ตอ การสรางคุณธรรมจริยธรรมและจิตสาธารณะ
ระดับมธั ยมศกึ ษา
มุงตอยอดระดับประถมศึกษา ดวยจุดเนน ดงั น้ี
1.จดั การเรียนรูด วยวธิ กี ารทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วศิ วกรรม คณิตศาสตร (STEM) และ
ภาษาตางประเทศ (ภาษาทส่ี าม)
2.จัดการเรียนรทู ่หี ลากหลาย เพือ่ สรางทักษะพ้ืนฐานที่เช่อื มโยงสกู ารสรา งอาชีพและการมีงานทาํ เชน
ทกั ษะดา นกฬี าท่ีสามารถพฒั นาไปสนู กั กีฬาอาชพี ทักษะภาษาเพ่ือเปน มัคคุเทศก
ระดบั อาชีวศกึ ษา
มุงจัดการศึกษาเพ่ือการมีงานทําและสรางนวัตกรรมตามความตองการของพ้ืนท่ีชุมชนภูมิภาคหรือ
ประเทศ รวมท้ังการเปน ผูประกอบการเอง ดว ยจุดเนน ดังน้ี
1. จัดการศึกษาในระบบทวภิ าคี ใหผ ูเ รยี นมีทกั ษะและความเชย่ี วชาญเฉพาะดา น
2. เรยี นภาองั กฤษ เพอ่ื เพิม่ ทักษะสําหรับใชในการประกอบอาชพี

29

3. เรียนรูการใชด ิจทิ ลั เพอ่ื ใชเ ปน เครอื่ งมือสําหรบั ในการสรา งอาชพี
4. จัดตงั้ ศนู ยป ระสานงานการผลิตและพัฒนากาํ ลงั คนอาชีวศึกษาในภมู ภิ าค
การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
มุง สรางโอกาสใหประชาชนผูเ รยี นที่สําเรจ็ หลกั สูตร สามารถมีงานํา ดวยจุดเนน ดังน้ี
1. เรยี นรูการใชดิจทิ ัล เพ่ือใชเปนเครอื่ งมือสําหรบั หาชองทางในการสรางอาชพี
2. จัดทาํ หลกั สูตรพัฒนาอาชพี ทีเ่ หมาะสมสําหรบั ผทู ่ีเขา สูส งั คมสงู วยั
การขบั เคลื่อนสูก ารปฏบิ ัติ
1. ทกุ หนว ยงานในสังกดั กระทรวงศกึ ษาธิการ ตอ งปรบั ปรงุ แผนปฏิบัติราชการใหสอดคลอ งกับนโยบาย
ของรัฐบาล และวางแผนการใชงบประมาณเปนรายไตรมาส รวมท้ังใชจายงบประมาณใหเปนไปตามกฎหมาย
ระเบยี บ ขอบงั คบั ทเี่ กีย่ วขอ ง
2. จัดทาํ ฐานขอ มูล (Big Data) ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ใหค รบถวน ถกู ตอ ง ทันสมยั
3. ใชเ ทคโนโลยีและดิจทิ ลั เปนเครอ่ื งมือในการพัฒนางานทั้งระบบ เนน การเรยี นรูและการบริหารจัดการ
4. ปรับปรุงโครงสรา งของกระทรวงศกึ ษาธิการใหเ กิดความคลอ งตัว หากตดิ ขดั ในเร่อื งขอ กฎหมาย ให
ผบู รหิ ารระดับสงู รวมหาแนวทางการแกไขรว มกัน
5. ใหห นวยงานระดบั กรมกําหนดแผนงานสนับสนนุ ทรพั ยากร งบประมาณ อตั รากําลงั ตามความตองการ
จําเปน ใหแกหนวยงานในพน้ื ทีภ่ ูมิภาค
6.ใชกลไกกองทนุ เพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา มาบรู ณาการการดําเนนิ งานรวมกบั หนว ยงานท่ีจดั
การศึกษา
7. เรงบททวน(ราง) พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหงชาติ โดยปรับปรุงสาระสําคญั ใหเออื้ ตอการขบั เคลือ่ น
นโยบายของรฐั บาล
8. ในระดับพน้ื ทห่ี ากเกดิ ปญหาขอติดขัดการปฏบิ ตั ิงาน ตองศึกษา ตรวจสอบขอ มูลขอ เท็จจรงิ ท่ีเกดิ ขน้ึ
เชน จาํ นวนเด็กในพน้ื ทีน่ อยลง ซึ่งจําเปน ตองมีการรวบรวมโรงเรียน ใหพิจารณาส่ือสารอธิบายทําความเขาใจท่ี
ชัดเจนกบั ชมุ ชน
9. วางแผนการใชอ ัตรากําลังครรู ะดบั อนบุ าล และครรู ะดบั อาชีวศึกษาใหม ปี ระสทิ ธิภาพ และจดั ทาํ แผน
จัดทําแผนการประเมินครอู ยา งเปนระบบ รวมท้ังจัดทําหลักสูตรการพัฒนาครูใหมีองคความรูและทักษะในดาน
พหปุ ญ ญา
10. ใหศ ึกษาธกิ ารจังหวัดจดั ทาํ แผนการจดั การศกึ ษาของแตล ะจังหวดั นําเสนอตอคณะกรรมการ
ศกึ ษาธกิ ารจังหวัด และขบั เคลื่อนสกู ารปฏิบตั อิ ยางเปน รูปธรรม
11. ใหผตู รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ และศึกษาธกิ ารภาค มบี ทบาทหนาทตี่ รวจราชการ ติดตาม
ประเมินผลในระดบั นโยบาย และจดั ทํารายงานเสนอตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงศกึ ษาธิการ

30

7. นโยบายสาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ปงบประมาณ พ.ศ. 2563
สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ไดตระหนกั ถงึ ความสําคัญของยทุ ธศาสตรช าติเปนอยางย่ิง

เพราะเปน แนวทางในการพฒั นาประเทศท่ียัง่ ยืน โดยเฉพาะอยางยิง่ ยุทธศาสตรชาติดา นการพัฒนาและ เสริมสรา ง
ศักยภาพทรัพยากรมนุษย ซ่ึงเปนยุทธศาสตรท่ีเนนการวางรากฐานการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของประเทศ
อยา งเปนระบบ โดยมุงเนนการพฒั นาและยกระดับคนในทุกมิติและในทุกชวงวัยใหเปนทรัพยากรมนุษยที่ดี เกง
และมีคุณภาพพรอ มขับเคล่อื นการพัฒนาประเทศไปขางหนาไดอ ยางเต็มศักยภาพ ซ่ึง “คนไทยในอนาคต จะตองมี
ความพรอมท้ังกาย ใจ สติปญญา มีพัฒนาการท่ีดีรอบดานและมีสุขภาวะที่ดีในทุกชวงวัย มีจิตสาธารณะ
รับผิดชอบตอสังคมและผูอ่ืน มัธยัสถ อดออม โอบออมอารีมีวินัย รักษาศีลธรรม และเปนพลเมืองดีของชา
มีหลกั คิดท่ีถูกตอง มีทักษะที่จําเปนในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษและ ภาษาท่ี 3 และอนุรักษ
ภาษา ทอ งถิ่น มนี ิสัยรกั การเรยี นรูและการพัฒนาตนเองอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต สูการเปนคนไทยท่ีมีทักษะสูง
เปนนวัตกร นักคิด ผูประกอบการเกษตรกรยุคใหมและอื่นๆ โดยมี สัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง”ดังน้ัน
เพ่ือใหการพัฒนาประเทศไปสูเปาหมาย “ประเทศชาตมิ ่ันคง ประชาชนมีความสุขเศรษฐกิจพัฒนาอยางตอเนื่อง
สังคมเปนธรรมฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงไดกําหนด
นโยบายสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปงบประมาณพ.ศ. 2563 สอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ
20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580) แผนการศึกษาแหงชาติพ.ศ. 2560 - 2579 แผนการปฏิรูปประเทศ นโยบายรัฐบาล
ท่ีไดแ ถลงนโยบายตอรฐั สภาเม่ือวันที่ 25 – 26 กรกฎาคม 2562 และนโยบายและจุดเนนของกระทรวงศึกษาธกิ าร
ปงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยไดกําหนดวิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค และมาตรการและแนวทางในการ
ดาํ เนนิ การ ดังนี้

วสิ ัยทศั น
“สรา งคุณภาพทนุ มนษุ ยส ูส ังคมอนาคตทยี่ งั่ ยนื ”
พนั ธกจิ
1. จัดการศึกษาเพ่ือเสริมสรางความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการปกครองในระบอบ
ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยท รงเปน ประมุข
2. พฒั นาผูเรียนใหม คี วามสามารถความเปนเลศิ ทางวิชาการเพ่อื สรางขดี ความสามารถในการแขงขัน
3. พัฒนาศักยภาพและคุณภาพผเู รียนใหมสี มรรถนะตามหลักสูตรและคณุ ลกั ษณะในศตวรรษที่ 21
4. สรา งโอกาส ความเสมอภาค ลดความเหลอ่ื มลา ใหผูเรยี นทกุ คนไดร ับบรกิ ารทางการศกึ ษาอยา ง ทั่วถึง
และเทาเทียม
5. พัฒนาผูบริหาร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาใหเ ปนมืออาชีพ
6. จัดการศึกษาเพือ่ พัฒนาคณุ ภาพชวี ิตท่เี ปน มติ รกบั สง่ิ แวดลอม ยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง
และเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยนื (Sustainable Development Goals: SDGs)
7. ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาทุกระดับ และจัดการศึกษาโดยใชเทคโนโลยี
ดจิ ิทัล (Digital Technology) เพ่อื พฒั นามุงสู Thailand ๔.๐

31

เปา หมาย
1. ผูเ รยี นมคี วามรกั ในสถาบันหลกั ของชาติ และยึดมน่ั การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหา
กษตั รยิ ทรงเปน ประมุข มที ัศนคติทถ่ี กู ตองตอบา นเมือง มหี ลกั คดิ ทถ่ี กู ตอง และเปน พลเมืองดขี องชาติ มี คุณธรรม
จริยธรรม มีคานิยมท่ีพึงประสงค มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบตอสังคมและผูอ่ืน ซื่อสัตยสุจริต มัธยัสถ อด ออม
โอบออ มอารี มวี ินยั รักษาศีลธรรม
2. ผูเ รยี นทีม่ ีความสามารถพเิ ศษดา นวิทยาศาสตร คณติ ศาสตร ศลิ ปะ ดนตรี กีฬา ภาษา และอนื่ ๆ ไดรับ
การพฒั นาอยางเต็มตามศกั ยภาพ
3. ผูเรยี น เปน บุคคลแหงการเรียนรู คิดรเิ ร่ิมและสรางสรรคน วตั กรรม มคี วามรู มีทกั ษะมสี มรรถนะ ตาม
หลกั สตู ร และคุณลักษณะของผเู รยี นในศตวรรษท่ี 21 มีสุขภาวะที่เหมาะสมตามวัยมีความสามารถในการพึ่งพา
ตนเอง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปนพลเมืองพลโลกที่ดี (Global Citizen) พรอมกาว
สูสากล นําไปสูก ารสรา งความสามารถในการแขงขันของประเทศ
4. ผูเรยี นทีม่ ีความตองการจําเปนพิเศษ (ผูพ ิการ) กลุมชาตพิ นั ธุ กลุมผูด อยโอกาสและกลุมที่อยูใน พื้นท่ี
หา งไกลทรุ กนั ดาร ไดรับการศึกษาอยางทัว่ ถึง เทา เทียม และมีคุณภาพ
5. ผูบริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาเปนบุคคลแหงการเรียนรู มีความรูและจรรยาบรรณ ตาม
มาตรฐานวิชาชีพ
6. สถานศกึ ษาจัดการศึกษาเพื่อการบรรลเุ ปา หมายการพัฒนาอยางย่ังยนื (Sustainable Development
Goals: SDGs) และสรา งเสริมคณุ ภาพชีวิตที่เปน มิตรกับสงิ่ แวดลอม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง
7. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษามีสมดุลใน
การบรหิ ารจดั การเชงิ บรู ณาการ มกี ารกํากับ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล มรี ะบบขอมลู สารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ และ
การรายงานผลอยางเปนระบบ ใชงานวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการขับเคล่ือนคุณภาพการศึกษา
ตามนโยบายสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ไดก าํ หนดนโยบายประจําปง บประมาณพ.ศ. 2563 โดยยึดหลักของการพฒั นาท่ียง่ั ยืน และการสรา งความสามารถ
ในการแขงขนั ของประเทศในอนาคตเปน แนวทางในการจัดการศึกษาจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และสอดคลองกับ
ยทุ ธศาสตรชาติ พ.ศ. 2561 -2580แผนแมบ ทภายใตย ุทธศาสตรชาติ (พ.ศ. 2561 -2580) แผนปฏิรปู ประเทศดาน
การศึกษา แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12(พ.ศ. 2560 -2565) แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.
2560 - 2579 และมงุ สู Thailand 4.0 ดังน้ี
นโยบายท่ี 1 ดา นการจดั การศึกษาเพื่อความม่นั คงของมนุษยและของชาติ
นโยบายที่ 2 ดา นการจัดการศึกษาเพอ่ื เพม่ิ ความสามารถในการแขงขนั ของประเทศ
นโยบายที่ 3 ดานการพัฒนาและเสริมสรางศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย
นโยบายที่ 4 ดานการสรางโอกาสในการเขาถึงบริการการศึกษาท่ีมีคุณภาพมีมาตรฐานและลดความ
เหลื่อมลาํ้ ทางการศกึ ษา
นโยบายที่ 5 ดานการจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาคณุ ภาพชีวิตทเ่ี ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม
นโยบายท่ี 6 ดานการปรบั สมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจดั การศกึ ษา 27

32

มาตรการและแนวดาํ เนินการ
นโยบายท่ี 1 ดา นการจดั การศึกษาเพื่อความม่นั คงของมนุษยแ ละของชาติ
นโยบายดานการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของมนุษยและของชาติเปนการจัดการศึกษาเพ่ือมุงเนน
การพัฒนาผูเ รียนทกุ คน ใหมคี วามรกั ในสถาบันหลกั ของชาตยิ ึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระ
มหากษัตริยท รงเปนประมุข มที ศั นคตทิ ่ดี ีตอ บา นเมอื ง มหี ลักคิดทถ่ี กู ตอ งเปนพลเมอื งดขี องชาติและพลเมอื ง โลกที่
ดีมคี ุณธรรม จริยธรรม มคี ณุ ธรรมอัตลักษณมีจิตสาธารณะมีจิตอาสา รับผิดชอบตอครอบครัว ชุมชน สังคม
และประเทศชาติซ่อื สตั ยส จุ รติ มัธยสั ถอ ดออม โอบออมอารีมีวินยั และรกั ษาศีลธรรม เปนผูเรียนท่ีมีความพรอม
สามารถรับมอื กับภัยคุกคามรูปแบบใหมทุกรูปแบบ ที่มีผลกระทบตอความม่ันคง เชน ภัยจากยาเสพติด ความ
รุนแรง การคกุ คามในชีวติ และทรัพยสิน การคามนุษยอ าชญากรรมไซเบอรแ ละภยั พบิ ัตติ าง ๆ เปน ตน ควบคไู ปกบั
การปองกันและแกไ ขปญ หาท่ีมอี ยูในปจจบุ นั และท่ีอาจจะเกดิ ข้นึ ในอนาคต และเนน การจดั การศกึ ษาใหเหมาะสม
สอดคลอ งกับบรบิ ทของพ้ืนฐาน สภาพทางภมู ิศาสตรดา นเศรษฐกิจ และสังคม ซึ่งมีความแตกตางทางดานสังคม
วฒั นธรรม เชื้อชาติเชน การจัดการศึกษาเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตการจัดการศึกษาในเขต
พื้นท่ีเฉพาะ กลุมชาติพันธุกลุมผูดอยโอกาส และกลุมที่อยูในพื้นที่หางไกลทุรกันดาร พ้ืนท่ีสูง ชายแดน ชายฝ
งทะเล และเกาะแกง เปนตน เพ่ือใหผูเรียนไดมีโอกาสไดรับการพัฒนาสอดคลองกับบริบทของพ้ืนที่ ไดรับการ
บริการดา น การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานทมี่ คี ุณภาพ และเหมาะสมตรงตามความตอ งการ เปนตน
เปา ประสงค
1. ผูเรียนทกุ คนที่มพี ฤติกรรมทีแ่ สดงออกถงึ ความรักในสถาบันหลักของชาติยึดม่ันการปกครอง ระบอบ
ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
2. ผูเรียนทกุ คนมที ศั นคตทิ ด่ี ีตอบา นเมอื ง มหี ลักคดิ ท่ถี กู ตอ ง เปนพลเมอื งดีของชาติมีคณุ ธรรม จริยธรรม
มีคานิยมทพ่ี งึ ประสงค มจี ิตสาธารณะ มจี ติ อาสา รับผิดชอบตอครอบครัวผอู ืน่ และสงั คมโดยรวมซื่อสัตย สุจตริต
มัธยสั ถ อดออม โอบออมอารี มวี นิ ยั และรักษาศีลธรรม
3. ผูเรียนทุกคนมีความรู ความเขาใจ และมีความพรอมสามารถรับมือกับภัยคุกคามทุกรูปแบบที่มี
ผลกระทบตอความมั่นคง เชน ภัยจากยาเสพติด ความรุนแรง การคุกคามในชีวิตและทรัพยสิน การคามนุษย
อาชญากรรมไซเบอรแ ละภยั พบิ ตั ติ างๆ เปนตน
4. ผูเ รยี นในเขตพน้ื ท่เี ขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตไดรับโอกาสและการพัฒนาอยาง
เตม็ ศกั ยภาพ และมคี ุณภาพสอดคลองกับบริบทของพื้นท่ี
5. ผูเ รียนในเขตพน้ื ทเ่ี ฉพาะ กลุม ชาติพนั ธุ กลุม ผูด อยโอกาส และกลมุ ท่ีอยใู นพืน้ ทีห่ า งไกลทรุ กนั ดาร เชน
พน้ื ท่ีสงู ชายแดน ชายฝงทะเล และเกาะแกง เปน ตน ไดร บั การบรกิ ารดานการศึกษาขั้นพื้นฐานท่ีมีคุณภาพ และ
เหมาะสมตรงตามความตองการ
ตวั ช้วี ดั
1. รอยละของผูเรียนที่มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความรักในสถาบันหลักของชาติยึดมั่นการปกครอง
ระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยท รงเปนประมุข

33

2. รอยละของผเู รยี นทม่ี พี ฤตกิ รรมท่ีแสดงออกถงึ การมที ัศนคติท่ีดีตอบานเมืองมหี ลักคิดท่ถี กู ตอง เปนพล
เมืองดีของชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม มีคานิยมที่พึงประสงค มีคุณธรรมอัตลักษณ มีจิตสาธารณะ มีจิตอาสา
รบั ผดิ ชอบตอ ครอบครวั ผอู นื่ และสงั คมโดยรวม ซ่ือสัตย สุจริตมัธยัสถ อดออม โอบออมอารี มีวินัย และรักษา
ศีลธรรม

3. รอยละของผเู รียนมคี วามรู ความเขา ใจ และมีความพรอมสามารถรับมือกับภัยคุกคามทุกรูปแบบท่ีมี
ผลกระทบตอความม่ันคง เชน ภัยจากยาเสพติด ความรุนแรง การคุกคามในชีวิตและทรัพยสิน การคามนุษย
อาชญากรรมไซเบอร และภยั พิบัติตา งๆ เปน ตน

4. รอยละของผูเรียนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใตไดรับโอกาสและการพัฒนา
อยา งเต็มศักยภาพ และมีคณุ ภาพสอดคลอ งกับบริบทของพน้ื ที่

5. รอยละของผเู รียนในเขตพ้ืนที่เฉพาะกลุมชาติพันธุ กลุมผูดอยโอกาส และกลุมท่ีอยูในพ้ืนที่หางไกล
ทุรกันดาร เชน พื้นท่ีสูง ชายแดน ชายฝงทะเล และเกาะแกง ไดรับการบริการดานการศึกษาขั้นพื้นฐานท่ีมี
คณุ ภาพ และเหมาะสมตรงตามความตองการ สอดคลองกับบริบทของพื้นที่

6. จํานวนสถานศึกษาที่นอมนําพระบรมราโชบายดานการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทร
รามาธิบดศี รสี ินทร มหาวชิราลงกรณฯ พระวชิรเกลา เจา อยหู วั และหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปพัฒนา
ผูเ รียนใหม ีคุณลักษณะอนั พึงประสงคต ามท่กี าํ หนดไดอ ยางมปี ระสิทธิภาพ

7. จาํ นวนสถานศกึ ษาที่จัดบรรยากาศสิ่งแวดลอ ม และจดั กจิ กรรมการเรยี นรใู หผูเรยี นแสดงออกถึง ความ
รักในสถาบันหลักของชาติ ยึดม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
มที ศั นคติทดี่ ตี อ บา นเมอื ง มีหลกั คิดทีถ่ ูกตอง เปนพลเมืองดขี องชาติ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม

นโยบายท่ี 2 ดา นการจดั การศึกษาเพ่อื เพิม่ ความสามารถในการแขงขันของประเทศ
ยทุ ธศาสตรช าตดิ านการสรางความสามารถในการแขงขันใหความสําคัญกับศักยภาพและคุณภาพ ของ
ทรัพยากรมนุษยเปนสําคัญ เน่ืองจาก “ทรัพยากรมนุษยเปนปจจัยขับเคล่ือนสําคัญในการยกระดับการพัฒนา
ประเทศในทกุ มิตไิ ปสูเปา หมายการเปนประเทศท่พี ัฒนาแลวมขี ีดความสามารถในการแขงขันกับนานาประเทศ”
ดงั นนั้ การพัฒนาศักยภาพและคุณภาพผูเรียนใหมีความเปนเลิศทางวิชาการจึงมีความจําเปนอยางย่ิงท่ีจะตอง
ดาํ เนนิ การใหสอดคลอ งกนั โดยเนนปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษาที่จัดการศึกษา
ระดบั มัธยมศึกษาใหเปนสถานศึกษาที่จัดการเรียนรูใหแกผูเรียนเชิงสมรรถนะรายบุคคล ตามความสนใจ และ
ความ ถนัดอยา งเต็มศกั ยภาพ มคี วามเปนเลิศทางดานวิชาการ มีทักษะที่จําเปนในศตวรรษที่ 21 มีความเปนเลิศ
ดานทักษะสอ่ื สารภาษาไทย ภาษาองั กฤษ และภาษาที่ ๓ มที กั ษะความรดู านดจิ ทิ ัล (Digital Literacy) เพอื่ ใชเปน
เครอื่ งมือในการเรยี นรูไ ดอ ยางมีประสทิ ธภิ าพ มีนิสยั รักการเรยี นรูและการพฒั นาตนเองอยา งตอ เน่ืองตลอดชีวิตสู
การเปนคนไทย ที่มีทักษะวิชาชีพชั้นสูง เปนนักคิด เปนผูสรางนวัตกรรมเปนนวัตกร เปนผูประกอบการ เปน
เกษตรกรยุคใหม และอ่ืน ๆ สอดคลองกับความตอ งการของประเทศมีความยืดหยุนทางดา นความคดิ สามารถ ทํา
งานรว มกบั ผูอน่ื ไดภายใตส งั คมทเี่ ปนพหุวัฒนธรรมและมีความสามารถในการจัดการสุขภาวะของตนเองใหมีสุข
ภาวะทีด่ ี สามารถดํารงชวี ิตอยางมีความสขุ ทัง้ ดานรางกายและจิตใจ

34

เปา ประสงค
1. ผูเ รยี นทุกระดบั ใหมีความเปน เลศิ มที กั ษะทจ่ี ําเปนในศตวรรษท่ี 21
2. ผูเรียนมีความเปนเลิศตามความถนัดและความสนใจ นําไปสูการพัฒนา ทักษะวิชาชีพ เปนนักคิด
เปน ผูส รางนวัตกรรม เปนนวตั กร
3. ผูเรียนไดรบั โอกาสเขาสเู วทกี ารแขงขนั ระดับนานาชาติ
ตัวชวี้ ัด
1. จํานวนผูเรียนมีความเปนเลิศทางดานวิชาการ มีทักษะความรูที่สอดคลองกับทักษะท่ีจําเปน
ใน ศตวรรษที่ 21
2. ผูเรียนระดับมัธยมศึกษาผานการประเมินสมรรถนะที่จําเปนดานการรูเร่ืองการอาน (Reading
Literacy) ดานการรูเร่ืองคณิตศาสตร (Mathematical Literacy) และดานการรูเร่ืองวิทยาศาสตร (Scientific
Literacy) ตามแนวทางการประเมนิ PISA
3. รอยละของผูเรียนท่ีมีศักยภาพไดรับโอกาสเขาสูเวทีการแขงขันระดับนานาชาติมาตรการและแนว
ทางการดําเนินการพฒั นาคุณภาพผูเรียนเต็มตามศักยภาพ นําไปสูความเปนเลิศดานวิชาการตามความสามารถ
ความสนใจ มีทกั ษะท่จี าํ เปน ในศตวรรษท่ี 21 สรา งขดี ความสามารถในการแขงขันของประเทศ
นโยบายที่ 3 ดา นการพัฒนาและสรางเสริมศกั ยภาพของทรพั ยากรมนษุ ย
นโยบายดานการพัฒนาและสรางเสรมิ ศักยภาพของทรัพยากรมนษุ ย มุงเนนการพัฒนาทรัพยากร มนุษย
เร่มิ ตั้งแตป ระชากรวัยเรยี นทกุ ชวงวัย ตลอดจนการพฒั นา ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ดงั นี้ พัฒนาประชากรวัย
เรียนทุกคน ทกุ ชวงวัย ตั้งแตช ว งปฐมวยั ประถมศกึ ษาและมัธยมศึกษา ผเู รยี นทม่ี ี ความตอ งการดูแลเปนพิเศษ ให
มีความพรอมท้งั ทางดานรางกายจิตใจ อารมณสังคม และสติปญญา มีศักยภาพ มีทักษะความรูเปนคนดีมีวินัย
เรยี นรูไ ดดว ยตนเองมีความสามารถในการวางแผนชวี ติ และการวางแผนทางการเงนิ ที่ เหมาะสม สามารถดาํ รงชวี ิต
อยา งมีคณุ คา โดยการพัฒนาระบบการเรียนรูท่ีตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 มีการออกแบบ
ระบบการเรยี นรูใ หม พัฒนาระบบการเรยี นรูตลอดชวี ิต ผเู รยี นสามารถกํากบั การ เรียนรูท่ีเหมาะสมกับตนเองได
อยางตอเน่อื งแมจ ะออกจากระบบการศึกษาแลว รวมถึงความตระหนักถึงพหุปญ ญา ของมนุษยท ่ีหลากหลาย และ
การพฒั นาและรกั ษากลุมผูม คี วามสามารถพเิ ศษของพหุปญญาแตล ะประเภท เสรมิ สรางใหผูเรียนมีลักษณะนิสัย
มีความรักในสุขภาพและพลานามัย และพัฒนาทักษะดานกีฬาสูความเปนเลิศ และกีฬาเพ่ือการอาชีพ ครูและ
บุคลากรทางการศึกษา เปนผูท่ีมีบทบาทสําคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหคนไทยเปนคน ดี คนเกง
มีคุณภาพ พรอมสําหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ 21ครู และบุคลากรทางการศึกษาตองตระหนักถึง ความสําคัญ
ในอาชีพและหนาท่ขี องตน โดย ครูตองมีจิตวิญญาณของความเปนครู มีความรูความสามารถอยางแทจริง และ
เปนตนแบบดานคุณธรรมและจริยธรรมพัฒนาตนเองทางวิชาชพี อยา งตอเน่ือง เพ่อื ประโยชนในการ พัฒนาผูเรยี น
เปล่ยี นโฉมบทบาท “คร”ู ใหเปนครูยคุ ใหม โดยปรบั บทบาทจาก “ครูผูสอน” เปน “Coach” หรือ ผูอํานวยการ
การเรียนรูทําหนาท่ีกระตุน สรางแรงบันดาลใจ แนะนําวิธีเรียนรูและวิธีจัดระเบียบการสรางความรู ออกแบบ
กิจกรรมและสรางนวัตกรรมการเรียนรูใหผูเรียน และมีบทบาทเปนนักวิจัยพัฒนากระบวนการเรียนรูเพื่อ
ผลสัมฤทธ์ิของผูเ รยี น

35

เปาประสงค
1. หลกั สูตรปฐมวัยและหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน มีการพฒั นาทสี่ อดคลอ งกับแนวโนมการ
พัฒนาของประเทศ
2. ผูเ รยี นไดร ับการพัฒนาตามจดุ มงุ หมายของหลกั สตู ร และมที กั ษะความสามารถทส่ี อดคลองกบั ทกั ษะที่
จําเปน ในศตวรรษที่ 21 มีความยืดหยุนทางดานความคิด สามารถทํางานรวมกับผูอื่นได ภายใตสังคมที่เปนพหุ
วฒั นธรรม รวมถงึ การวางพื้นฐานการเรียนรูเ พื่อการวางแผนชวี ิตทเี่ หมาะสมในแตล ะชว งวัยและนาํ ไปปฏิบัติได
3. ผูเ รยี นไดร ับการพัฒนาใหม คี วามรแู ละทักษะนาํ ไปสูการพฒั นานวัตกรรม
4. ผูเ รียนไดร บั การพัฒนาเต็มตามศกั ยภาพ เชอื่ มโยงสอู าชพี และการมีงานทาํ มที ักษะอาชีพที่ สอดคลอง
กบั ความตองการของประเทศ
5. ผูเรยี นไดรับการพฒั นาใหมีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะของตนเองใหมีสุขภาวะท่ีดีสามารถ ดํารง
ชีวติ อยางมคี วามสุขทงั้ ดา นรา งกายและจติ ใจ
6. ครู เปลี่ยนบทบาทจาก “ครูผูสอน” เปน “Coach” ผูใหคําปรึกษาขอเสนอแนะการเรียนรูหรือ
ผูอ าํ นวยการการเรียนรู
7. ครู มีความรคู วามสามารถในการจัดการเรยี นการสอน และเปนแบบอยางดา นคุณธรรมและ จรยิ ธรรม
ตวั ชว้ี ดั
1. ผูเรียนทกุ ระดับมสี มรรถนะสาํ คัญตามหลกั สูตร มีทักษะการเรยี นรูในศตวรรษท่ี 31(3R8C)
2. รอยละของผูเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 3 ท่ีมีคะแนนผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานระดับชาติ
(NT) ผานเกณฑทก่ี าํ หนด
3. รอยละของผูเรียนท่ีมีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน(O-NET) มากกวา
รอยละ 50 ในแตล ะวิชาเพิม่ ขน้ึ จากปก ารศกึ ษาที่ผา นมา
4. รอยละผูเรียนท่ีจบการศึกษาช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6
มีทักษะการเรียนรูท เี่ ชอ่ื มโยงสูอ าชพี และการมีงานทํา ตามความถนดั และความตอ งการของตนเอง มีทกั ษะอาชีพที่
สอดคลอ งกบั ความตองการของประเทศ วางแผนชวี ติ และวางแผนทางการเงนิ ที่เหมาะสมและนําไปปฏบิ ตั ไิ ด
5. ผูเรยี นทุกคนมีทักษะพ้ืนฐานในการดาํ รงชีวิต สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุขมีความ
ยดื หยนุ ทางดา นความคดิ สามารถทํางานรวมกบั ผูอื่นไดภายใตสงั คมท่ีเปนพหวุ ัฒนธรรม
6. ผูเ รียนทกุ คนมีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะของตนเองใหมีสุขภาวะที่ดี สามารถดํารงชีวิตอยางมี
ความสุขทงั้ ดา นรา งกายและจติ ใจ
7. ครู มีการเปล่ียนบทบาทจาก “ครผู สู อน” เปน “ Coach” ผูใหค าํ ปรึกษาขอ เสนอแนะการเรียนรู หรือ
ผูอ าํ นวยการการเรียนรู
นโยบายท่ี 4 ดา นการสรา งโอกาสในการเขาถึงบริการการศึกษาท่ีมีคุณภาพ มีมาตรฐานและการลด
ความเหลือ่ มลาํ้ ทางการศึกษา
นโยบายการสรางโอกาสในการเขาถึงบริการการศึกษาท่ีมีคุณภาพและมีมารตฐานและการลดความ
เหลอ่ื มลํ้าทางการศกึ ษา เนน การสรางโอกาสใหเ ด็กวยั เรียน และผเู รียนทุกคนเขาถึงบริการการศึกษาท่ีมีคุณภาพ

36

ทเ่ี ปน มาตรฐานเสมอกนั ไมวาผเู รยี นจะยากดี มจี น จะอยูในพืน้ ท่ใี ดของประเทศ อยูในชุมชนเมือง พื้นท่ีหางไกล
ทรุ กนั ดาร หรอื กลุม เปาหมายทตี่ องการการดแู ลเปน พิเศษเพื่อลดความเหลอ่ื มลาทางการศึกษาของประเทศ โดย
สนับสนนุ ใหส ถานศึกษาจดั การศึกษาเพื่อใหบรรลุเปาหมายโลกเพื่อการพัฒนาอยางย่ังยืน ( Global Goals for
Sustainable Development)สรา งกลไกความรว มมอื ของภาคสว นตา งๆ ในทกุ ระดับต้ังแตร ะดบั องคกรปกครอง
ทองถน่ิ หรอื ตําบลระดับอาํ เภอ ระดบั จงั หวดั ระดบั ภูมิภาค และสวนกลาง สรางมาตรฐานสถานศึกษาตามบริบท
ของพ้ืนที่จัดสรรงบประมาณแผนดินเพ่ือสนับสนุนใหเด็กวัยเรียนทุกคนตั้งแตระดับปฐมวัย ประถมศึกษาและ
มธั ยมศึกษาอยา งเพยี งพอ และเหมาะสม สอดคลองกบั สภาพขอ เทจ็ จรงิ โดยคํานงึ ถึงความจําเปน ตามสภาพพื้นท่ี
ภมู ศิ าสตร สภาพทางเศรษฐกิจ และทีต่ ้งั ของสถานศกึ ษา จดั หาทุนการศกึ ษาเพม่ิ เติมเพอ่ื ชวยเหลือผูขาดแคลนทุน
ทรัพย เพ่ือลดความเหล่ือมลาทางการศึกษา จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษาอื่นเปนพิเศษให
เหมาะสม สอดคลองกับความตอ งการจาํ เปนในการจดั การศกึ ษาสําหรบั ผูเ รยี นท่ีมีความตองการจาํ เปน พเิ ศษ และ
จัดสรรงบประมาณเปนคาใชจายในการดําเนินการและงบลงทุนใหสถานศึกษาตามความจําเปน ตลอดจนนํา
เทคโนโลยีดจิ ิทลั (Digital Technology)มาใชเ ปนเคร่ืองมือในการเรยี นรูข องผูเ รยี น เพอื่ ใหผูเรียนสามารถใชเปน
เคร่ืองมอื ในการพฒั นาตนเองอยา งตอ เนือ่ งตลอดชีวิต รวมถึงพัฒนาระบบการติดตาม สนับสนุนและประเมินผล
เพ่อื สรา งหลกั ประกันสิทธิการไดรบั การศกึ ษาทม่ี คี ุณภาพของประชาชน

เปาประสงค
1. สถานศึกษาจัดการศึกษาเพื่อใหบรรลุเปาหมายโลกเพ่ือการพัฒนาอยางย่ังยืน(Global Goals for
Sustainable Development)
2. สถานศึกษากับองคกรปกครองทองถ่ิน ภาคเอกชน และหนวยงานท่ีเก่ียวของในระดับพ้ืนที่รวมมือ
ในการจัดการศึกษา
3. สถานศึกษามคี ุณภาพ และมมี าตรฐานตามบรบิ ทของพืน้ ท่ี
4. งบประมาณ และทรพั ยากรทางการศึกษามเี พยี งพอ และเหมาะสม สอดคลอ งกับสภาพขอเทจ็ จริง โดย
คาํ นงึ ถงึ ความจําเปน ตามสภาพพื้นทีภ่ มู ิศาสตร สภาพทางเศรษฐกิจ และทต่ี ง้ั ของสถานศกึ ษา
5. งบประมาณเพ่ือเปนคาใชจาย และงบลงทุนแกสถานศึกษาอยางเหมาะสมเพื่อใหสถานศึกษา
บรหิ ารงานจดั การศึกษาอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ
6. นําเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาเปนเคร่ืองมือใหผูเรียนไดมีโอกาสเขาถึงบริการดาน
การศกึ ษาไดอ ยา งมีประสิทธิภาพ
7. พฒั นาระบบการติดตาม สนบั สนนุ และประเมินผลเพ่ือสรางหลักประกันสิทธิการไดรับการศึกษาที่มี
คณุ ภาพของประชาชน
ตวั ชีว้ ัด
1. ผูเรยี นทกุ คนสามารถเขาเรียนในสถานศกึ ษาทีม่ คี ณุ ภาพเปนมาตรฐานเสมอกนั
2. ผูเรียนทุกคนไดรับจัดสรรงบประมาณอุดหนุน อยางเพียงพอ และเหมาะสมสอดคลองกับสภาพ
ขอเทจ็ จรงิ โดยคํานงึ ถึงความจําเปนตามสภาพพ้นื ทภ่ี ูมศิ าสตร สภาพทางเศรษฐกิจและท่ีตั้งของสถานศึกษาและ
ความตอ งการจําเปนพิเศษสําหรบั ผูพ ิการ

37

3. ผูเรียนไดร บั การสนับสนนุ วัสดุ อุปกรณ และอุปกรณดิจิทัล (Digital Device)เพ่ือใชเปนเครื่องมือใน
การเรียนรูอยางเหมาะสม เพียงพอ

4. ครไู ดรบั การสนบั สนุน วัสดุ อปุ กรณ และอปุ กรณด จิ ทิ ลั (Digital Device) เพ่ือใชเปนเครื่องมือในการ
จัดกิจกรรมการเรยี นรูใหแ กผูเ รยี น

5. สถานศึกษาไดร บั การพัฒนาใหมีมาตรฐานอยางเหมาะสมตามบรบิ ทดา นประเภทขนาดและพืน้ ท่ี
6. สถานศึกษานําเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใชเปนเครื่องมือในการจัดกิจกรรมการ
เรียนรูใหแ กผูเ รียนไดอ ยา งมปี ระสทิ ธิภาพ
7. สถานศกึ ษามีระบบการดแู ลชว ยเหลอื และคมุ ครองนักเรียนและการแนะแนวทีม่ ปี ระสิทธิภาพ
8. สถานศึกษาท่มี ีระบบฐานขอ มลู ประชากรวัยเรียนและสามารถนาํ มาใชในการวางแผนจัดการเรียนรู ให
แกผ ูเ รยี นไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ
นโยบายท่ี 5 ดา นการจดั การศึกษาเพื่อพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ทีเ่ ปนมิตรกบั ส่งิ แวดลอม
ยทุ ธศาสตรชาตดิ า นการสรางการเติบโตบนคณุ ภาพชีวิตท่เี ปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ไดนอมนําศาสตรของ
พระราชาสูการพัฒนาทยี่ ่ังยืน โดยยดึ หลัก 3 ประการคือ “มคี วามพอประมาณ มเี หตผุ ล มภี ูมิคมุ กนั ” มาเปนหลัก
ในการจัดทํายุทธศาสตรชาติควบคูกับการนําเปาหมายของการพัฒนาที่ย่ังยืนทั้ง 17 เปาหมาย มาเปน กรอบ
แนวคิดท่ีจะผลักดันดําเนินการเพื่อนําไปสูการบรรลุเปาหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนในทุกมิติทั้งมิติดานสังคม
เศรษฐกจิ สิ่งแวดลอม ธรรมาภบิ าล และความเปน หุนสวนความรว มมอื ระหวางกันทงั้ ภายในและภายนอกประเทศ
อยางบูรณาการ โดยมวี สิ ยั ทศั นเพ่อื ใหประเทศไทย“เปนประเทศพฒั นาแลว มีคณุ ภาพชวี ิตและส่งิ แวดลอมท่ีดีที่สุด
ในอาเซยี นภายในปพ .ศ. 2580”
เปา ประสงค
1. สถานศึกษา นักเรียนไดรับการสงเสริมดานความรู การสรางจิตสํานึกดานการผลิตและบริโภค
ที่เปนมิตรกบั สิง่ แวดลอ ม
2. สถานศกึ ษาสามารถนาํ เทคโนโลยีมาจัดทําระบบสารสนเทศการเก็บขอมูลดานความรู เร่ือง ฉลาก สี
เขยี วเพือ่ ส่งิ แวดลอ ม ฯลฯ และสามารถนาํ มาประยุกตใชใ นทุกโรงเรยี นตามแนวทาง Thailand 4.0
3. สถานศึกษามีการจัดทาํ นโยบายจดั ซื้อจัดจางที่เปนมติ รกบั ส่ิงแวดลอม
4. สถานศึกษามกี ารบรู ณาการหลกั สูตร กจิ กรรมเรื่องวงจรชีวติ ของผลิตภัณฑการผลติ และบริโภค สูการ
ลดปริมาณคารบอนในโรงเรียนคารบ อนตํา่ สชู มุ ชนคารบ อนต่ํา
5. สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน และสาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาโรงเรียน ทุกโรงเรียน
ในสังกัดมีการปรับปรุงและพัฒนาเปนหนวยงานตนแบบสํานักงานสีเขียว (GREEN OFFICE) เพื่อใหมีบริบทท่ี
เปนแบบอยา งเอ้อื หรอื สนับสนนุ การเรียนรูข องนกั เรยี นและชุมชน
6. สถานศกึ ษาในสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน จาก 225 เขต มีนโยบายสงเสริม ความรู
และสรางจติ สาํ นกึ และจดั การเรียนรกู ารผลติ และบรโิ ภคทเ่ี ปนมติ รกบั สิง่ แวดลอม
7. สถานศกึ ษาตน แบบนาํ ขยะมาใชประโยชนเพ่ือลดปรมิ าณขยะ จาํ นวน 15,000 โรงเรยี น

38

8. มีสถานศึกษานวัตกรรมตนแบบในการนํา 3RS มาประยุกตใชในการผลิตและบริโภคท่ีเปนมิตรกับ
ส่งิ แวดลอ ม จํานวน 6,000โรงเรียน

9. สํานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา 225 เขต มกี ารทาํ นโยบายการจัดซอ้ื จัดจา งทเ่ี ปน มติ รกับสงิ่ แวดลอม
ตัวช้ีวัด
1. สถานศึกษาในสังกัดมนี โยบายและจัดกิจกรรมใหความรู ท่ีถูกตองและสรางจิตสํานกึ ดานการผลติ และ
บรโิ ภคทเี่ ปน มติ รกบั สง่ิ แวดลอ มนําไปปฏบิ ตั ใิ ชท บ่ี านและชุมชน เชน การสงเสรมิ อาชพี ทีเ่ ปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม
การลดใชส ารเคมจี ากปุยและยาฆาแมลง ฯลฯ
2. สถานศึกษามีการนําขยะมาใชประโยชนในรูปผลิตภัณฑและพลังงานเพ่ือลดปริมาณขยะและมีการ
สง เสริมการคัดแยกขยะในชุมชนเพื่อลดปริมาณคารบอนท่โี รงเรียนและชุมชน
3. สถานศึกษามีการบรู ณาการเรอ่ื งการจดั การขยะแบบมสี วนรวมและการนําขยะมาใชป ระโยชน รวมท้ัง
สอดแทรกในสาระการเรียนรูท่เี กย่ี วขอ ง
4. นกั เรยี นเรียนรูจากแหลงเรียนรู มกี ารขยายผลแหลง เรยี นรู นักเรยี น โรงเรียน ชุมชน เรียนรูดาน การ
ลดใชพ ลงั งาน การจดั การขยะและอนรุ ักษสิง่ แวดลอมเพ่ือเปนแหลงเรียนรูและตัวอยางรูปแบบผลิตภัณฑท่ีเปน
มิตรกบั สิง่ แวดลอม เชน โรงงานอตุ สาหกรรมสเี ขียวฯลฯ
5. นักเรียน สถานศึกษามีการเก็บขอมูลเปรียบเทียบการลดปริมาณคารบอนไดออกไซตในการดําเนิน
กิจกรรมประจําวันในสถานศึกษาและท่ีบาน และขอมูลของ Carbon Footprint ในรูปแบบ QR CODE และ
Paper less
6. ครู มีความคิดสรางสรรค สามารถพัฒนาส่ือ นวัตกรรม และดําเนินการจัดทํางานวิจัยดานการสราง
สาํ นกึ ดา นการผลิตและบริโภคท่เี ปน มิตรกบั สงิ่ แวดลอ มได
7. ครู และนกั เรียนสามารถนาํ สอื่ นวัตกรรมที่ผานกระบวนการคิดมาประยุกตใชในโรงเรียนการจัดการ
เรยี นรู และประยุกตใชในชีวิตประจําวันและชมุ ชนไดต ามแนวทางThailand 4.0
8. สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา สถานศึกษามีการปรับปรุงและพัฒนาบุคลากร และสถานท่ีใหเปน
สาํ นักงานสเี ขยี วตนแบบมนี โยบายการจัดซอื้ จดั จางท่เี ปน มติ รกับสง่ิ แวดลอมทีเ่ ออื้ ตอ การเรียนรูของนักเรียนและ
ชมุ ชน
นโยบายท่ี 6 ดา นการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การศกึ ษา
นโยบายดา นการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการศึกษา เปนนโยบายจุดเนนที่สําคัญ เน่ืองจาก
เปนนโยบายท่ีกระจายอํานาจการจัดการศึกษาใหสถานศึกษา หรือกลุมสถานศึกษามีความเปนอิสระในการ
บริหารและจดั การศกึ ษา ครอบคลุมทัง้ ดา นการบรหิ ารวิชาการ ดานการบริหาร งบประมาณ ดานการบริหารงาน
บคุ คล และดา นการบริหารงานท่ัวไป และปรับบทบาทภารกิจ ของหนวยงานท้ังระดับสาํ นกั งานท้ังสว นกลาง และ
ระดับภูมิภาค โดยปรับโครงสรางของหนวยงานทุกระดับต้ังแตสถานศึกษา สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา และ
สาํ นกั งานสว นกลาง ใหม ีความทันสมยั พรอ มท่จี ะปรับตัวใหทันตอ การเปลย่ี นแปลงของโลกอยูตลอดเวลา หนวย
งานสํานักงานเปนหนวยงาน ที่มีหนาท่ีสนับสนุน สงเสริม ตรวจสอบ ติดตาม เพ่ือใหสถานศึกษาสามารถจัด
การศกึ ษาไดอยา งมีประสิทธภิ าพ นําเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล Digital Technology เชน Cloud Technology Big Data

39

Technology และ Communication Technology เปนตน มาใชในการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารงาน
ทง้ั ระบบ มีความโปรง ใส ตรวจสอบได พรอ มท้ังปลูกฝงคานิยมความซ่ือสัตยสุจริต ความมัธยัสถและเปดโอกาส
ใหท ุกภาคสวนเขามามสี วนรวมเพ่อื ตอบสนองความตอ งการของประชาชนไดอ ยา งสะดวกรวดเรว็

เปา ประสงค
1. สถานศกึ ษา หรอื กลุม สถานศึกษา มีความเปนอิสระในการบรหิ ารและจดั การศกึ ษาครอบคลมุ ดา นการ
บริหารวิชาการ ดา นการบรหิ ารงบประมาณ ดา นการบรหิ ารงานบคุ คล และดานการบริหารงานท่ัวไป
2. หนวยงานสวนกลาง และสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ตองปรับเปล่ียนใหเปนหนวยงานใหมีความ
ทันสมัย พรอมที่จะปรับตัวใหทันตอการเปล่ียนแปลงของโลกอยูตลอดเวลาเปนหนวยงานท่ีมีหนาที่สนับสนุน
สงเสรมิ ตรวจสอบ ตดิ ตาม เพอื่ ใหส ถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาไดอ ยา งมีประสทิ ธภิ าพ
3. หนวยงานทุกระดับ มีความโปรงใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ บริหารจัดการตามหลัก
ธรรมาภิบาล
4. หนวยงานทุกระดับมีกระบวนการ และการวิธีงบประมาณดานการศึกษา เพื่อเพิ่มคุณภาพและ
ประสิทธิภาพการจัดการศกึ ษา โดยการจัดสรรงบประมาณตรงสูผูเรยี น
5. หนว ยงานทุกระดับ พัฒนานวัตกรรม และเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology) มาใชในการ เพิ่ม
ประสทิ ธภิ าพการบริหารและการจดั การเรยี นการสอนอยางเปน ระบบ
ตัวชว้ี ัด
1. สถานศึกษาไดร บั การกระจายอํานาจการบรหิ ารจดั การศกึ ษาอยางเปนอสิ ระ
2. สถานศกึ ษา สํานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา และสาํ นกั งานสวนกลาง ไดรับการพัฒนาใหเปน หนวยงาน
ท่มี คี วามทันสมยั ยืดหยุน คลองตัวสูง พรอมท่ีจะปรับตัวใหทันตอการเปล่ียนแปลงของโลกอยูตลอดเวลา เปน
หนวยงานที่มีหนาท่ีสนับสนุน สงเสริม ตรวจสอบ ติดตาม เพื่อใหสถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาไดอยาง
มีประสิทธภิ าพครอบคลมุ ทุกตําบล
3. สถานศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา และสํานักงานสวนกลาง นํานวัตกรรม และเทคโนโลยี
ดจิ ิทัล (Digital Technology) มาใชในการบริหารจัดการและตดั สนิ ใจ ทัง้ ระบบ
4. สถานศึกษา และหนวยงานในสังกัดทุกระดับมีความโปรงใส ปลอดการทุจริต และประพฤติมิชอบ
บรหิ ารจัดการตามหลกั ธรรมาภบิ าล
5. สถานศึกษา หนวยงานในสังกัด ทุกระดับ ผานการประเมินคุณธรรมและความโปรงใส ในการ
ดําเนนิ งานของหนว ยงานภาครฐั (Integrity & Transparency Assessment : ITA)
6. สถานศึกษาทุกแหงและหนว ยงานในสังกัดมรี ะบบฐานขอ มูลสารสนเทศวิชาการ ผูเรียน ครู บุคลากร
ทางการศกึ ษา สถานศกึ ษา หนวยงานในสังกัด
7. สถานศึกษาทุกแหงมีขอมูลผูเรียนรายบุคคลที่สามารถเช่ือมโยงกับขอมูลตางๆ นําไปสูการวิเคราะห
เพอ่ื วางแผนการจัดการเรยี นรูสูผูเ รยี นไดอ ยา งมีประสิทธิภาพ (Big DataTechnology)
8. สถานศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา และสํานักงานสวนกลาง มีแพลตฟอรมดิจิทัล (Digital
Platform) เพื่อสนบั สนุนภารกิจดา นบรหิ ารจดั การศึกษา

40

9. สถานศกึ ษาทุกแหงมีระบบขอมูลสารสนเทศที่สามารถใชในการวางแผนการจัดการศึกษาไดอยางมี
ประสิทธภิ าพ

8. นโยบายสาํ นกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ าษฎรธ านี เขต 1 เพอื่ พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา
ประจําปการศกึ ษา 2562

1. สถานศึกษามีการจัดการอาคารสถานที่ใหใชประโยชนสูงสุด เหมาะสม กับบริบท สภาพแวดลอม
ทางดานกายภาพ และวิชาการ ปลอดภัย ถูกตองตามหลักสุขลักษณะ เสริมสรางบรรยากาศให ผูเรียน และ
บุคลากรอยอู ยา งมีความสขุ และเออ้ื ตอการเรยี นรู

2. สถานศึกษามีการวิเคราะหหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด/ตัวบงชี้ ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 และหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 เพื่อพัฒนา
และประยุกตใ ชห ลักสตู รใหส อดคลอ งกับความตอ งการจาํ เปนของสถานศกึ ษา และสํานักงานเขต พ้ืนที่การศึกษา
มกี ารประเมนิ ผล และปรับปรุงหลกั สตู รสถานศึกษาทุกปการศกึ ษา

3. สถานศึกษามีการวิเคราะห คัดกรองผูเรียน และจัดทําแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
(Individualized Education Program : IEP) บนพ้ืนฐานความสามารถตามศักยภาพความแตกตางระหวาง
บคุ คลของผเู รยี นท่ีมีความจาํ เปนพเิ ศษ ตามกระบวนการจัดการเรยี นรวม กอ นนาํ ขอ มลู ลงในระบบบริหาร จดั การ
เรียนรวม (Special Education Technology : SET) และระบบการจัดสอบทุกประเภท

4. สถานศึกษามกี ารจดั สภาพแวดลอม และกจิ กรรมใหสอดคลองกับแนวคิดโรงเรียนปลอดขยะ (Zero
Waste School) และมาตรฐานส่ิงแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืน (Environmental Education
Sustainable Development: EESD)

5. สถานศึกษามีการจดั ทาํ และดาํ เนินการตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ตาม กฎกระทรวง
การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561 ใหเปนระบบ เหมาะสมกับบริบท และนําผลการ ประเมินมาปรับปรุง
พัฒนาอยางตอเนือ่ ง

6. สถานศึกษาใชระบบการบริหารจัดการท่ีมุงเนนคุณธรรม และความโปรงใสในการทํางาน ตาม
หลกั การประเมนิ คุณธรรม และความโปรง ใสในการดาํ เนนิ งานของหนวยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency
Assessment : ITA)

7. สถานศึกษามกี ารศกึ ษา วิเคราะห วิจัย และนําผลไปใชในการพัฒนางาน สถานศึกษา และ พัฒนา
คุณภาพการศึกษา

8. สถานศกึ ษามีแผนยกระดับคุณภาพการศึกษาที่สอดคลองกับบริบทของสถานศึกษา สํานักงานเขต
พื้นทก่ี ารศกึ ษา และสนองนโยบายของหนว ยงานตน สงั กัด

9. การประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัย เปนไปตามสภาพท่ีพึงประสงค ไดมาตรฐานตามหลักสูตร
การศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศักราช 2560

9.1 รอ ยละ 90 ของผูเ รยี นระดับปฐมวยั มพี ฒั นาการดา นรางกาย อารมณ จิตใจ สังคม และสติ
ปญ ญา ตามมาตรฐาน และสภาพทีพ่ งึ ประสงคในระดับพอใชข น้ึ ไป

แนวทางการดาํ เนินการ
1. สถานศกึ ษาวิเคราะหห ลกั สูตร ตัวบงช้ี ตามหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศักราช 2560
2. สถานศึกษาพัฒนา ปรับปรุง หลักสูตรปฐมวัยเพื่อใหเด็กไดรับการพัฒนาทั้ง 4 ดาน
ปรบั เปลย่ี นการจัดการเรยี นการเรียนรูใหตอบสนองความตองการผูเรียน บริบทพื้นท่ี และสอดคลองทักษะการ
เรียนรูในศตวรรษท่ี 21

41

3. สถานศกึ ษาพัฒนาผเู รยี นระดับปฐมวัยใหม ีความพรอมดานรางกาย อารมณ จิตใจ สงั คม และ
สตปิ ญญา เพอื่ ที่จะเขารับการพัฒนาการเรียนรูในระดับท่ีสงู ขน้ึ

4. สถานศกึ ษาจัดบรรยากาศสภาพแวดลอมทั้งใน และนอกหองเรียนใหเอ้ือตอการ พัฒนาการ
เรยี นรูข องเด็กปฐมวัย

5. สถานศกึ ษาจดั การเรียนรรู ะดับปฐมวัยในรูปแบบที่หลากหลาย เชน แนวคิดไฮสโคป สะเต็ม
ศกึ ษา บานนกั วิทยาศาสตรนอ ย ฯลฯ

6. สถานศกึ ษาสรางความรคู วามเขาใจแกพอแมผ ูป กครองเก่ียวกบั การเลย้ี งดเู ดก็ ปฐมวัยทถ่ี กู ตอ ง
ตามหลักจิตวทิ ยาพฒั นาการ

7. สถานศกึ ษาจดั การศึกษาปฐมวยั ท่ีสามารถพัฒนาเดก็ ปฐมวัยใหม คี วามพรอ ม เพ่ือ เตรียมตัวสู
การเรียนรูในศตวรรษที่ 21

10. การประเมนิ ความสามารถดา นการอา นของผเู รียน (Reading Test : RT) ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 1
10.1 คะแนนเฉล่ียผลการทดสอบความสามารถดานการอานของผูเรียน (Reading Test) ชั้น

ประถมศึกษาศึกษาปท ่ี 1 เพมิ่ ข้ึนกวาปท ผ่ี านมา หรือสงู กวา ระดับประเทศ
แนวทางการดําเนนิ การ
1. สถานศึกษาวเิ คราะหม าตรฐานการเรียนรู และตวั ชวี้ ัดกลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย
2. ครวู เิ คราะหผูเ รยี นเปน รายบุคคลตามผลการประเมินความสามารถในการอาน และการ เขียน

เพื่อวางแผนและพฒั นาผูเ รยี น
3. ครูใชสอ่ื เทคนิค วิธีการ จัดการเรียนรูที่เหมาะสมกับผูเรียน เชน การใชคําศัพทในบัญชีคํา

พ้ืนฐาน ชดุ ฝก การสอนแบบแจกลกู สะกดคํา การจดั การเรียนรทู ส่ี อดคลองกบั การพฒั นาสมอง (BBL) หรือ การใช
สอ่ื DLTV, DLIT เปน ตน

11. การทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผูเรียนระดับชาติ (National Test : NT) ช้ันประถมศึกษา
ปที่ 3

11.1 คะแนนเฉลี่ยของผูเรียนท่ีมีคะแนนผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผูเรียน
ระดับชาติ (NT) เพมิ่ ขึน้ กวาปท่ีผา นมา หรอื สูงกวา ระดบั ประเทศ

แนวทางการดาํ เนนิ การ
1. สถานศึกษาวเิ คราะหมาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551
2. สถานศึกษามี/ใชคลังขอสอบมาตรฐานตามแนวทางของสํานักทดสอบทางการศึกษา
สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน หรือขอ สอบท่มี ีมาตรฐานของหนว ยงานอืน่ ๆ
3. ครูวิเคราะหผูเ รียนเปนรายบุคคลตามผลการประเมนิ เพื่อวางแผน และพัฒนาผูเ รียน
4. ครูใชส่ือ เทคนิค วิธีการ จัดการเรียนรูท่ีเหมาะสมกับผูเรียน เชน การใชคําศัพทในบัญชีคํา
พนื้ ฐาน ชดุ ฝก การสอนแบบแจกลูกสะกดคํา การจัดการเรียนรูท่ีสอดคลองกับการพัฒนาสมอง (BBL) การ จัด
กิจกรรมที่สอดแทรกการพฒั นาทักษะการคดิ วเิ คราะหใ หนกั เรยี น บรู ณาการการจัดกิจกรรมการเรยี นการ สอนโดย
ใชส ่ือ DLTV, DLIT เปนตน
12. การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O–NET) ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 และช้ัน
มธั ยมศึกษาปท ี่ 3
12.1 คะแนนเฉลี่ยของผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขัน้ พน้ื ฐาน (O-NET) เพ่มิ ขึ้นกวาป
ท่ีผา นมา หรือสูงกวา ระดับประเทศ

42

แนวทางการดาํ เนินการ
1. สถานศกึ ษาวิเคราะหผ ลการประเมนิ คณุ ภาพผูเ รียนเพอ่ื จดั ทาํ แผนยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา

1.1 ผลการทดสอบ O-NET 3 ปยอ นหลัง
1.2 ผลการประเมินคุณภาพผูเ รยี นโดยใชขอสอบมาตรฐานปลายปของผูเรียนท่ีพัฒนา
โดย สพฐ. หรอื จากหนว ยงานอื่นๆ ทีไ่ ดม าตรฐาน
1.3 ผลการประเมนิ คุณภาพผูเ รยี นของสถานศกึ ษา
2. ครูพฒั นาการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนตามมาตรฐานการเรยี นรู และตัวชว้ี ัดที่ ตองพัฒนา
3. สถานศกึ ษา ศกึ ษารูปแบบและจาํ นวนขอสอบ (Test Blueprint) ตามท่ีสถาบัน ทดสอบทาง
การศกึ ษาแหงชาติ (องคการมหาชน) กําหนด พรอมท้งั จดั สอบ Pre O-NET และนาํ ผลมาจัด กิจกรรมพัฒนาอยา ง
เขม เพอ่ื เตรยี มความพรอมในการสอบ O-NET
13. การวัดและประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนทุกระดับช้ัน ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ัน
พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551
13.1 รอ ยละ 60 ของผูเรียนระดบั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลุมสาระ
การเรยี นรูระดบั คุณภาพ 3 ข้นึ ไป
13.2 รอ ยละ 80 ของผูเ รยี นมผี ลการประเมินคณุ ลักษณอันพึงประสงค ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ระดับดีขึน้ ไป
13.3 รอยละ 80 ของผูเ รยี นมีผลการประเมินความสามารถในการอาน คิดวิเคราะห และเขียน
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 ในระดับดีข้นึ ไป
13.4 รอยละ 80 ของผูเรียนมีผลการประเมินสมรรถนะสําคัญในการเรียนรูตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ผา นเกณฑข องแตล ะสมรรถนะ
แนวทางการดาํ เนินการ
1. สถานศึกษาพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา สอดคลองกับหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กรอบหลกั สตู รระดบั ทอ งถ่นิ การเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 โดยเนนพัฒนา
สมรรถนะผูเรียนเปนรายบคุ คล และปรบั เปลยี่ นการจัดการเรียนรูใหตอบสนองความตองการ ผูเรียนและบริบท
พ้ืนที่
2. สถานศึกษาวิเคราะหสภาพปจจุบัน จุดเดน จุดดอย จากผลการประเมินตางๆเพ่ือกําหนด
เปา หมายและแนวทางการพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษา เชน
2.1 ผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผูเรียนระดับชาติ (National Test : NT)
ระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี 3
2.2 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O–NET) ระดับชั้น
ประถมศกึ ษาปท่ี 6 และชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี 3
2.3 ผลการประเมนิ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นทุกระดับช้นั
2.4 ผลการประเมินสมรรถนะสาํ คญั ในการเรียนรู
2.5 ผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค
2.6 ผลการประเมนิ ความสามารถในการอา น คดิ วิเคราะห และเขียน
3. ครูผูสอนวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด ระดับพฤติกรรมดานความรู (K) ทักษะ
กระบวนการ (P) เจตคติ (A) และสมรรถนะ (C)
4. ครผู สู อนจดั กจิ กรรมการเรียนรผู านกจิ กรรมการปฏบิ ตั ิจริง (Active Learning) และสอดคลอ ง
กับระดับพฤติกรรมตามหลักสตู ร

43

5. สถานศึกษาผลติ จดั หา พัฒนาสื่อ เคร่ืองมือ อุปกรณในการเรียนรูที่หลากหลายของผูเรียน
และทนั ตอ การเปลีย่ นแปลง

6. สถานศกึ ษาวัดผล ประเมินผล และนําผลไปใชในการพฒั นาคณุ ภาพการจัด การศึกษา
7. สถานศึกษาทาํ วิจยั และนําผลการวิจัยไปใชพ ัฒนางานวชิ าการ
8. สถานศกึ ษากาํ กับ ติดตาม และตรวจสอบคุณภาพการศึกษาตามระบบการประกัน คุณภาพ
การศึกษา
9. สถานศึกษาตองประสาน สงเสริมใหบุคคล ครอบครัว เอกชน องคกรชุมชน องคกรเอกชน
องคกรปกครองทองถน่ิ องคกรวชิ าชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สังคมอื่น มีสวนรวมในการ
จดั การศกึ ษา รวมท้ังเปน เครือขา ย และแหลง เรยี นรูเ พ่ือพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา
10. สถานศึกษามีการประเมินและรายงานการใชหลักสูตรตามแนวทางการบริหาร จัดการ
หลักสูตรและนําผลการประเมนิ ไปปรบั ปรงุ พัฒนา
14. จาํ นวนนักเรยี น ครู และสถานศึกษา ไดร ับการยกยองเชิดชเู กียรตใิ นดา นตางๆ
14.1 นักเรียนรอยละ 3 ไดรับการยกยองเชิดชูเกียรติในดานตางๆ ระดับสํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาขึ้นไป
14.2 ครูรอ ยละ 25 ในโรงเรียนไดรับการยกยอง เชดิ ชูเกยี รติ ในดานตาง ๆ ระดบั สาํ นักงานเขต
พนื้ ท่กี ารศึกษาข้นึ ไป
14.3 สถานศึกษาไดรับการยกยองเชิดชูเกียรติประเภทตางๆ อยางนอย 1 รายการจากหนวย
งานตนสังกดั หรือหนวยงานอ่นื แนวทางการดําเนนิ การ สถานศึกษาสนับสนนุ สงเสริม ความเปนเลิศทางวิชาการ
ของนักเรียน ครู และการ บริหารจดั การของสถานศกึ ษา เพอ่ื ขอรับรางวัลตางๆ จากหนวยงานตน สงั กัดหรือหนว ย
งานอื่น เชน
ผลท่เี กดิ กบั นกั เรียน เชน

- รางวลั พระราชทาน ประเภทนักเรยี น
- เกียรติบัตรนักเรียนที่ไดคะแนนเต็ม 100 จากการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน
(ONET) ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 และช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 และการสอบวัดความสามารถพื้นฐานของผูเรียน
ระดับชาติ (National Test : NT) ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี 3
- รางวลั สวดมนตห มูสรรเสริญพระรตั นตรยั ทํานองสรภัญญะ
- เกยี รติบัตรนกั เรยี นท่ีไดร บั รางวัลจากการแขง ขันงานศลิ ปหัตถกรรมระดับชาติ
- ฯลฯ
ผลทเ่ี กิดกับครูและบคุ ลากรทางการศึกษา เชน
- รางวัลครุ ุสดดุ ี
- รางวลั ทรงคุณคา สพฐ. OBEC AWARDS
- รางวัล MOE AWARDS
- รางวัลเจาหนา ทผ่ี ูป ฏบิ ตั ิงานสง เสริมความประพฤตินกั เรียนดเี ดน
- รางวลั ผูบงั คับบัญชาลกู เสือดเี ดน
- การยกยองเชิดชเู กียรติใหเปนแบบอยา งทีด่ ีแกสังคม ดา นครุ ชุ นคนคณุ ธรรม
- คุรุชนคนคณุ ธรรม
- รางวลั เจาหนาท่ผี ูป ฏบิ ัตงิ านสง เสรมิ ความประพฤตนิ ักเรียนดีเดน
- ครูผสู อนดีเดน จากหนว ยงานตา งๆ
- รางวัลครูดีในดวงใจ
- ฯลฯ

44

ผลท่เี กดิ กับสถานศึกษา เชน
- รางวัลพระราชทาน ประเภทสถานศึกษา
- รางวัลดเี ดน ประเภทโรงเรยี นขนาดเล็ก ระบบการดูแลชว ยเหลอื นกั เรียน
- รางวัลโรงเรยี นตนแบบสภานกั เรยี น
- รางวัลโรงเรยี นตนแบบอาหารกลางวัน
- รางวลั เชิดชูเกยี รติ MOE AWARDS ประเภทสถานศกึ ษา
- รางวัลเชิดชเู กียรติเสมา ป.ป.ส.
- รางวลั โรงเรียนขนาดเล็กทม่ี ีวิธีปฏิบัตทิ ่ีเปน เลิศ
- รางวัลโรงเรียนตน แบบสถานศึกษารักษาศีล 5
- รางวลั การประกวดศาสนพธิ กี รนอย
- รางวัลสถานศกึ ษาปลอดภยั และสขุ ภาพอนามยั ดี
- รางวัลโรงเรยี นตนแบบโครงการนกั เรียนไทยสุขภาพดี
- รางวัล อย.นอย
– รางวลั โรงเรียนที่มวี ิธีปฏิบัตทิ ด่ี ีหรอื เปนแบบอยา ง
- รางวลั สถานศกึ ษาปลอดภยั และสุขภาพ อนามัยดี
- รางวลั สถานศกึ ษาพอเพยี ง
- รางวัลบานนกั วทิ ยาศาสตรน อย
- รางวัลโรงเรยี น สพฐ. ใสสะอาดปราศจากคอรัปชัน่
- ฯลฯ

15. ความพึงพอใจของผูรับบริการและผูมีสวนไดเสียในการบริหารจัดการ และการใหบริการของ
สถานศึกษา ดา นวิชาการ งบประมาณ การบรหิ ารงานบคุ คล และการบริหารทั่วไป

15.1 รอ ยละ 80 ของครู กรรมการสถานศึกษา และผูปกครอง มีความพึงพอใจตอการ บริหาร
จัดการ และการใหบรกิ ารของสถานศึกษาในระดบั ดขี ้นึ ไป

แนวทางการดําเนินการ
สถานศกึ ษาประเมนิ ความพงึ พอใจผูร บั บรกิ ารและผูม ีสวนไดสว นเสียในการบริหาร จัดการ และ
การใหบริการของสถานศึกษา ประกอบดวย ครู คณะกรรมการสถานศึกษาและผปู กครอง

45

สว นที่ 3
ทิศทางการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน โรงเรียนบา นดอนธูป

1. วิสยั ทัศน
โรงเรยี นบานดอนธูป มงุ มั่นพฒั นาสงิ่ แวดลอ มใหดีเดน เนนหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาแหลง

เรียนรูสชู ุมชน สขุ ภาพสมบรู ณ เพ่ิมพนู คณุ ธรรม เลศิ ลา้ํ วชิ าการ สงเสรมิ ประชาธิปไตย ปลอดภัยจากยาเสพติด มี
จติ สาธารณะ รกั ษาความเปน ไทย

2. พนั ธกิจ
1. สง เสรมิ การพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา
2. เพ่มิ โอกาสประชากรวยั เรยี นใหไ ดร ับการศกึ ษาข้ันพื้นฐานอยา งท่ัวถึง
3. สง เสรมิ และยกระดับคุณภาพสถานศกึ ษาสมู าตรฐานการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
4. สงเสริมพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาใหม คี วามรูค วามสามารถอยางเต็มศักยภาพ
5. พฒั นาและสงเสรมิ การใชส ื่อแหลง เรียนรู ภูมปิ ญ ญาทอ งถิ่น นวัตกรรมทางการศึกษา และเทคโนโลยี

สารสนเทศ
6. สง เสริมและพัฒนาการบริหารจัดการใหเ อ้ือตอ การจดั การศกึ ษาใหม ีประสทิ ธิภาพ
7. สง เสรมิ และสรางการมสี ว นรว มในการบรหิ ารจัดการศกึ ษาของทุกสว นเกยี่ วขอ ง

3. เปา ประสงค
1. สถานศกึ ษามหี ลักสูตร และมรี ะบบบรหิ ารจดั การทมี่ ปี ระสิทธิภาพ
2. ประชากรทุกคนทกุ วยั ในเขตพื้นทบี่ รกิ ารไดร บั โอกาสในการศกึ ษาอยางท่ัวถงึ และมีคุณภาพ
3. สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
4. ครูและบคุ ลากร มคี วามรคู วามสามารถตามมาตรฐานวิชาชีพ
5. สถานศกึ ษาใชสอ่ื แหลง เรยี นรู ภมู ปิ ญ ญาทองถ่นิ นวัตกรรมทางการศึกษา และเทคโนโลยสี ารสนเทศ

มกี ารบรหิ ารจัดการใหเอื้อตอ การจัดการศึกษาใหมปี ระสทิ ธภิ าพ
6. ชุมชนเขามามสี ว นรวมในการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา

4. ตัวช้ีวดั ความสาํ เรจ็
ตวั ช้ีวดั เชงิ ปริมาณ : จาํ นวนนักเรียนเขา เรียนระดบั ปฐมวัย
: จาํ นวนนกั เรียนเขา เรยี นระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ 1 - 6
ตัวชวี้ ดั เชิงคณุ ภาพ : รอยละของนกั เรียนทมี่ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรูของทุกกลมุ สาระ
: รอ ยละของนกั เรยี นผา นเกณฑการประเมนิ ผลระดบั ชาติ
: รอยละของนกั เรียนผานเกณฑก ารประเมนิ คณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค
: รอยละของผปู กครองทม่ี ีความพึงพอใจตอ คุณภาพนกั เรียน

46

: รอ ยละของครูและบุคลากรทางการศกึ ษาทไี่ ดรบั การพฒั นาใหมคี วามรทู ักษะ
สมรรถนะ ตาม มาตรฐานวชิ าชพี และสามารถปฏบิ ตั งิ านไดอยางมปี ระสิทธภิ าพ

: จํานวนงานวจิ ัยเพ่อื สรางองคความร/ู นวตั กรรมที่ นําไปใชป ระโยชนใ นการพฒั นา
การศึกษาเพมิ่ ขน้ึ

: รอ ยละการจัดหาและผลติ ส่อื นวัตกรรมและสง เสรมิ การใชเ ทคโนโลยพี ฒั นางาน
ทกุ ฝาย

: รอ ยละของบคุ ลากรท่ีใชสอื่ นวัตกรรมและเทคโนโลยี จัดการสถานทแ่ี ละส่ิงแวดลอม
ในการพฒั นางานตนเองและเพอ่ื สวนรวม

: รอยละของผรู บั บรกิ ารและผมู สี ว นไดสว นเสีย มีความพึงพอใจตอการใหบ ริการและ
การบรหิ ารจัด การศึกษาของสํานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา และ สถานศกึ ษาในระดบั ดมี ากข้นึ ไป

5. กลยุทธ
กลยุทธที่ 1 พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรูเชิงบูรณาการใหผูเรียนไดพัฒนาความรู

ความสามารถ คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค คา นยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ เสริมสรางคุณธรรม จริยธรรม
ธรรมาภบิ าล และทกั ษะการดาํ รงชีวิต ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

แนวทาง/มาตรการ
1. พัฒนาหลักสตู รและกระบวนการจดั การเรยี นรูเชิงบูรณาการใหผูเรียนไดพัฒนาความรูความสามารถ
คุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค
2. กําหนดหลักสูตรและสงเสรมิ ใหมีการจัดการเรียนรูท่ีมกี ารปลูกฝงคานยิ มหลักของคนไทย 12 ประการ
และบรู ณาการทักษะการดํารงชวี ติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
3. พฒั นาผเู รียนใหมที ักษะความรูความสามารถสมรรถนะตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551
4. โรงเรียนจัดทําแผนระยะกลางและจัดทําแผนปฏิบัติการ และดําเนินการตามแผน มีการกํากับติดตาม
ประเมนิ คุณภาพ ประสานงานกบั หนว ยงานทเ่ี กี่ยวของ เพื่อใหประสบผลสาํ เรจ็ ตามที่มงุ หวังไว

กลยทุ ธท ่ี 2 ประชาสมั พนั ธ ใหคาํ ปรกึ ษาแกป ระชากรในเขตพ้ืนท่ีบรกิ ารและชมุ ชนใกลเคียงในการจัด
การศกึ ษาและโอกาสในการศึกษาอยา งทว่ั ถึงและมคี ณุ ภาพ

แนวทาง/มาตรการ
1. สงเสริม สนบั สนุน จัดทาํ สํามะโนประชากรวัยเรียนในเขตพืน้ ทีบ่ รกิ ารและบริเวณใกลเ คยี งและตดิ ตาม
ชว ยเหลือนกั เรยี น
2. สง เสรมิ สนบั สนนุ ผเู รยี นโดยใหอ งคก รตา งๆและผูปกครองมสี ว นรวมทําใหผูเ รียนไดร ับการพัฒนาอยา ง
มคี ณุ ภาพ

47

กลยุทธที่ 3 สงเสริมใหโรงเรียนมีระบบการบริหารจัดการที่ดี คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้น
พ้ืนฐานสง ผลใหนักเรียนพฒั นาศกั ยภาพ มีคุณภาพเปน ทยี่ อมรับของสังคมและสากล

แนวทาง/มาตรการ
1. พฒั นาระบบการวางแผน นําแผนสกู ารปฏิบตั ิ กํากับ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลเพื่อการบรหิ าร
จดั การทมี่ ีประสทิ ธภิ าพ
2. พัฒนาประสิทธภิ าพการบริหารจัดการงานขององคกรทง้ั 4 ฝาย
3. พัฒนาระบบเทคโนโลยีดจิ ิทัลเพ่ือการจัดการศกึ ษาท่มี มี าตรฐานเชอื่ มโยงและเขา ถงึ ได
4. พฒั นาระบบการกํากบั ติดตาม และการประเมินผล ทีม่ ุง เนนประเมินเพ่ือการพัฒนาและปรับปรุงการ
ดาํ เนินงาน โดยมกี ารพฒั นาตัวชีว้ ดั ผลสาํ เร็จการดําเนินงานทั้งในดานปริมาณ คุณภาพระยะเวลาในการประเมิน
ผูประเมนิ และแนวทางในการเก็บรวบรวมขอ มลู

กลยุทธท่ี 4 สรางเสริมศักยภาพของบุคลากรทุกระดับใหเปนมืออาชีพ มีทักษะในการปฏิบัติงาน
สามารถจดั กระบวนการเรียนรูแ ละพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา

แนวทาง/มาตรการ
1. สนับสนนุ ใหบคุ ลากรวางแผนและเขา รับการพัฒนาตามหลกั สูตรทีก่ าํ หนดที่เชื่อมโยงกับความกาวหนา
ทางวชิ าชพี
2. สงสรมิ ใหบ คุ ลากรศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรูและแลกเปลี่ยนประสบการณเพื่อพัฒนาตนเองเพื่อ
การปฏบิ ัตทิ ่ีเปนเลิศ
3. พฒั นาระบบเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพ่อื การจัดการศกึ ษาที่มมี าตรฐานเชือ่ มโยงและเขาถึงได
4. พัฒนาระบบนเิ ทศติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน
5. มกี ารกาํ หนดภารกิจความรับผิดชอบใหชัดเจนเพื่อความสอดคลองกับแผนงาน และแผนอัตรากําลัง
และขจดั ความซ้ําซอนของงาน

กลยุทธท ี่ 5 เพ่ิมสมรรถนะของโรงเรียนในการใชแ หลง เรียนรู การใชน วตั กรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสือ่ สาร เพ่ือจัดกระบวนการเรียนรูและบริหารจดั การใหเกิดประโยชนส ูงสดุ แกผ เู รียน

แนวทาง/มาตรการ
1. เพิ่มสมรรถนะของโรงเรียนในการใชแหลง เรยี นรู การใชน วัตกรรม เทคโนโลยสี ารสนเทศและการ
สอื่ สาร เพ่ือจัดกระบวนการเรียนรูและบรหิ ารจัดการใหเ กิดประโยชนส งู สดุ แกผเู รยี น
2. บรหิ ารจัดการสถานที่ สภาพแวดลอม จัดหาวสั ดุอปุ กรณใหเ พียงพอเพอื่ ใหเ ออ้ื ตอ การจดั การศกึ ษาใหม ี
ประสิทธิภาพ ระดมสรรพกําลังสรา งภาคเี ครอื ขายอปุ ถมั ภท่เี ขม แขง็ อันเกิดจากการรวมมือของชุมชนและองคกร
ตา งๆ


Click to View FlipBook Version