The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR โรงเรียนน้ำปาดชนูปถัมภ์ ปี 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Jitrit, 2022-08-10 04:32:36

SAR โรงเรียนน้ำปาดชนูปถัมภ์ ปี 2564

SAR โรงเรียนน้ำปาดชนูปถัมภ์ ปี 2564

รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self – Assessment Report : SAR)
ปีการศึกษา 2564

โรงเรยี นนา้ ปาดชนูปถมั ภ์
อ้าเภอน้าปาด จงั หวัดอตุ รดิตถ์
สงั กดั สา้ นกั งานเขตพนื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาพษิ ณุโลก อตุ รดติ ถ์
ส้านักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขันพืนฐาน

กระทรวงศึกษาธกิ าร

ค้าน้า

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา 2564 โรงเรยี นนา้ ปาดชนูปถมั ภ์ ฉบบั นี จัดท้าขึน
ตามกฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาท่ีระบุให้สถานศกึ ษาจดั สง่ รายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หนว่ ยงาน
ต้นสงั กัดหรือหนว่ ยงานทก่ี า้ กบั ดแู ลสถานศึกษาเปน็ ประจ้าทุกปี เพือ่ รายงานผลการดา้ เนินงานตามมาตรฐานการศึกษา
ที่สะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งเป็นผลส้าเร็จจากการบริหารจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐาน
การศึกษาในระดับการศึกษาขันพืนฐาน 3 มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพของผู้เรียน กระบวนการบริหาร และการจัดการ
กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส้าคัญ เพ่ือน้าเสนรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีที่ผ่านมาต่อ
หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ตลอดจนเผยแพร่ตอ่ สาธารณชนไดร้ ับทราบและเตรียมความพร้อมในการรับ
การประเมินภายนอก โดยส้านกั งานรบั รองมาตรฐานการศึกษาและประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (องคก์ ารมหาชน) ตอ่ ไป

ขอขอบคุณคณะครู ผู้ปกครอง นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขันพืนฐาน และผู้ที่มีสว่ นเก่ียวข้องทุก
ฝา่ ยที่มสี ่วนร่วมในการจัดทา้ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาปีการศกึ ษา 2564 ฉบับนี คณะผจู้ ัดท้าหวงั เป็น
อย่างยิ่งว่าเอกสารรายงานฉบับนี จะเป็นประโยชน์ต่อการน้าไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนน้า
ปาดชนูปถมั ภ์ ในปีการศกึ ษาตอ่ ไป

(นายสังวาร เอบ็ มลู )
ผ้อู ้านวยการโรงเรียนน้าปาดชนูปถมั ภ์

สารบัญ หน้า

เร่อื ง ข
1
คา้ นา้
สารบญั 2
บนั ทึกการใหค้ วามเหน็ ชอบรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 5
ของคณะกรรมการสถานศกึ ษา 6
ส่วนท่ี 1 บทสรุปสา้ หรบั ผบู้ รหิ าร
9
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผูเ้ รยี น 10
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 12
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเป็นสา้ คญั 13
สว่ นที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 15
2.1 ข้อมูลทั่วไปของสถานศกึ ษา 16
20
การบรหิ ารจัดการแนวทางการจดั การศกึ ษา 22
โครงสร้างการบรหิ ารงาน 24
ข้อมูลบุคลากรของสถานศกึ ษา 39
ขอ้ มลู นักเรียน
ข้อมูลผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นระดบั สถานศกึ ษา 40
ผังอาคารเรยี นโรงเรยี นนา้ ปาดชนูปถมั ภ์ 43
ขอ้ มลู การใชแ้ หล่งเรยี นรภู้ ายในและภายนอกโรงเรยี น 45
2.2 ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาเปน็ รายมาตรฐาน 47
สรุปผลการประเมินในภาพรวม 51
ภาคผนวก 52
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผูเ้ รยี น 54
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ ส้าคญั
คา้ สง่ั โรงเรียนนา้ ปาดชนปู ถมั ภ์
ประกาศโรงเรียนนา้ ปาดชนูปถัมภ์
มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาขนั พนื ฐาน
เปา้ หมายการพัฒนาคุณภาพของมาตรฐานและประเด็นพจิ ารณา

บันทกึ การให้ความเหน็ ชอบรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
ของคณะกรรมการสถานศึกษา (๑)

คณะกรรมการสถานศึกษาขันพืนฐาน โรงเรียนน้าปาดชนูปถัมภ์ ได้พิจารณาผลการประเมินคุณภาพภายใน
สถานศึกษา ของโรงเรยี นน้าปาดชนูปถัมภ์ เม่ือวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 ได้พิจารณาให้ความเหน็ ชอบรายงาน
การประเมินตนเองของสถานศึกษาประจ้าปีการศึกษา 2564 ของโรงเรียนน้าปาดชนูปถัมภ์ โดยตรวจสอบพิจารณา
ความถูกต้องของรายงานเรียบร้อยแล้ว ด้วยมติเป็นเอกฉันท์ให้ใช้รายงานต่อหน่วยงานต้นสังกัดและเผยแพร่ต่อ
สาธารณชนได้

ลงชื่อ
( วบิ ูลย์ ผมปัน )

ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษา โรงเรยี นนา้ ปาดชนูปถมั ภ์
17 พฤษภาคม พ.ศ. 2565

ลงชือ่
(นายสงั วาร เอบ็ มลู )

ผ้อู า้ นวยการโรงเรียนน้าปาดชนูปถมั ภ์
กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการสถานศึกษา

17 พฤษภาคม พ.ศ. 2565

สว่ นที่ 1 บทสรปุ สา้ หรับผู้บรหิ าร

ชื่อโรงเรียนน้าปาดชนูปถัมภ์ ที่ตัง เลขที่ 330/12 ถนนเพชรานุรักษ์ หมู่ 4 ต้าบลแสนตอ อ้าเภอน้าปาด
จังหวัดอุตรดิตถ์ รหัสไปรษณีย์ 53110 โทรศัพท์ 055-481004 โทรสาร 055-481003 e-mail - Website :
www.npts.ac.th เนือที่ 86 ไร่ 2 งาน 40 ตารางวา เขตพืนท่ีบริการทุกหมู่บ้านในอ้าเภอน้าปาด จังหวัดอุตรดิตถ์
สังกัดส้านักงานเขตพืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ เปิดสอนระดับชันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ถึงระดับชัน
มัธยมศึกษาปีที่ 6 มีจ้านวนนักเรียนทังสิน 789 คน มีข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา จ้านวน 62 คน
ประกอบดว้ ย

จ้านวน (คน)

ปกี ารศึกษา ผบู้ รหิ าร ครผู ู้สอน พนกั งาน อตั ราจา้ ง เจา้ หนา้ ทอ่ี ืน่ ๆ รวม
2564 3 41 ราชการ 10 62

44

ผลการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ประจ้าปีการศึกษา 2564
สรปุ ผลได้ดงั นี

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผู้เรยี น ระดบั คณุ ภาพ : ดีเลิศ

ผลการประเมินตนเองในภาพรวม มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 90.82 โดยแยกออกเป็นด้านผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของ

ผเู้ รียน มีคา่ เฉลย่ี รอ้ ยละ 72.47 อยู่ในระดับคุณภาพ ดีเลิศ ตามประเด็นพิจารณาดงั นี

ร้อยละของนกั เรียนทมี่ เี กรดเฉลย่ี ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนแตล่ ะกลุม่ สาระการเรียนรู้

ระดับชนั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 - 6 ปกี ารศกึ ษา 2564

กลุ่มสาระการเรียนรู้ คะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละ

ภาษาไทย 63.75

คณติ ศาสตร์ 73.80

วิทยาศาสตร์ 69.89

สงั คมศึกษา 73.59

สขุ ศกึ ษา 79.71

ศิลปะ 74.98

การงานฯ 72.68

ภาษาองั กฤษ 71.35

เฉลี่ย 72.47

ด้านความสามารถในการอา่ น การเขียน การสือ่ สารและการคดิ ค้านวณ อยู่ในระดับดีขึนไป
มีคา่ เฉลี่ยร้อยละ 100 โดยแยกตามรายละเอยี ดดงั นี

สมรรถนะผู้เรียน รอ้ ยละของนักเรียนตามระดบั คุณภาพ
ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไมผ่ า่ น

สมรรถนะดา้ นความสามารถ 89.35 10.64
ในการสือ่ สาร

สมรรถนะดา้ นความสามารถในการคิด 88.84 11.15

สมรรถนะดา้ นความสามารถ 86.69 13.30
ในการแกป้ ญั หา

สมรรถนะดา้ นความสามารถ 89.10 10.89
ในการใชท้ ักษะชวี ติ

ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 100.00 0.00
สารสนเทศและการสอ่ื สาร

ส่วนของดา้ นคณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงคข์ องผเู้ รียน อยใู่ นระดับดีขนึ ไป มีคา่ เฉลี่ยรอ้ ยละ 100

ตามประเด็นพิจารณาดงั นี

รอ้ ยละของนักเรียนตามระดบั

คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คณุ ภาพ

ดีเยีย่ ม ดี ผา่ น ไมผ่ า่ น

รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 90.56 9.44

ชื่อสัตย์ สุจรติ 79.31 20.38

มวี ินยั 89.86 10.14

ใฝเ่ รยี นรู้ 86.08 12.91

อยู่อยา่ งพอเพียง 82.47 17.49

มุ่งม่ันในการท้างาน 81.79 17.50

รักความเป็นไทย 80.50 19.27

มจี ติ สาธารณะ 88.96 10.67

จดุ เด่น จุดควรพฒั นา

ดา้ นคณุ ภาพผู้เรยี น ผู้เรียนในระดบั ชนั ม.1 – ม.3 ยังตอ้ งเรง่ พัฒนาด้าน

1) ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึน และ การน้าเสนอการอภิปราย และแลกเปล่ียนเรียนรู้

นักเรียนกล้าแสดงออกร่าเริงแจ่มใสสุขภาพกาย จากนวัตกรรมที่สร้างขึนอย่างสมเหตุสมผล และ

แข็งแรงและเป็นผู้มีคุณธรรมจริยธรรมตามท่ี ต้องพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาให้ได้อย่างเหมาะสม

สถานศกึ ษาก้าหนด ตามสถานการณ์ต่างๆ ทีเ่ กดิ ขึน

2) ผู้เรียนอ่านหนังสือออกและอ่านคล่อง รวมทัง

สามารถเขียนเพื่อการสื่อสารได้ทุกคน สามารถใช้

เทคโนโลยีในการแสวงหาความ รู้ได้ด้วยตนเอง

ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนอยู่ใน

ระดับดี

3) ผ้เู รยี นสว่ นใหญ่มีสขุ ภาพร่างกายแขง็ แรง มี

สมรรถภาพทางกายและนา้ หนกั สว่ นสูงตามเกณฑ์

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ระดบั คณุ ภาพ : ดเี ลศิ

จากการประเมนิ ตนเองในภาพรวมอยใู่ นระดบั คุณภาพ ดเี ลศิ โดยพจิ ารณาจากการพฒั นาการบริหารงานตาม

บทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธภิ าพและเกิดประสทิ ธิผลนัน มีผลท้าให้การบริหารงานของโรงเรียน อยู่ในระดับคุณภาพ

ดีเยี่ยม ด้วยการด้าเนินการตามวงจรคุณภาพของเดมมิ่ง (PDCA) มีนวัตกรรมกรรมการบริหารงานท่ีเป็นรูปธรรม

LIKE & LOVE School “คุณภาพครู คุณภาพนักเรียน” ท้าให้มีการจัดแบ่งงานให้บุคลากรทุกคนในโรงเรียนได้ปฏิบัติ

หน้าท่ีทัง 5 ฝ่าย ตามโครงสร้างการบริหารงาน ท้าให้การปฏิบัติงานมีความรวดเร็ว โปร่งใสสามารถตรวจสอบได้

บุคลากรทุกคนในโรงเรียนให้ความเคารพต่อผู้บริหารในการพัฒนาโรงเรียน การจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมเปน็

ห้องเรียนน่าอยู่สู่การเรียนรู้ก้าวไกล มีสภาพแวดล้อมทั่วไปท่ีสะอาด ร่มร่ืน จัดระเบียบโรงอาหาร ห้องสุขา ได้ถูก

สุขลักษณะ การจัดบริเวณโดยรอบโรงเรียนมีความสวยงามน่าอยู่ เนื่องจากการด้าเนินงานตามโครงการ/กิจกรรมของ

โรงเรียนนันได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคน รวมไปถึงได้รับการสนับสนุนจาก

ผู้ปกครอง ชมรมศิษย์เก่า คณะกรรมการสถานศึกษาขันพืนฐานของโรงเรียน วัด วิทยากรภูมิปัญญาท้องถ่ินและชุมชน

ในการเข้าร่วมกจิ กรรมอย่างสม้่าเสมอ และได้รบั รางวัลสถานศกึ ษาสีขาวระดับเพชร

จดุ เด่น จดุ ควรพฒั นา

ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ด้านกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

1) ผบู้ รหิ ารมคี วามตังใจ มีความมุ่งมั่น มีหลักการ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการ

บรหิ าร และมีวิสัยทัศน์ท่ีดี ในการบริหารงาน บริหารจดั การและการจัดการเรียนรแู้ บบออนไลน์

สามารถเป็นแบบ อย่างที่ดีในการท้างานและคณะ

กรรมการสถานศึกษามคี วามตงั ใจ แ ล ะ มี ค ว า ม

พรอ้ มในการปฏิบัตหิ น้าทตี่ าม บทบาท
2) สถานศึกษามีการพัฒนาการบริหารงานตาม
บทบาทหน้าท่ีอย่างมีประสิท ธิภาพและเกิด

ประสิทธิผลนัน ด้วยการด้าเนินการตามวงจร

คุ ณ ภ า พ ข อ ง เ ด ม มิ่ ง ( PDCA) มี น วั ต ก ร ร ม

กรรมการบริหารงานที่เป็นรูปธรรม LIKE & LOVE

School “ คุ ณ ภ า พ ค รู คุ ณ ภ า พ นั ก เ รี ย น ”

ครูผู้สอนสามารถจัดการ เรียนรู้ได้อย่างมี

คุณภาพ มีการด้าเนินการ นิเทศกก้ากับติดตาม

ประเมินผล การด้าเนินงานและจัดท้ารายงานผล
การจัดการศึกษาและโรงเรียนได้ใช้ กระบวนวิจัยใน

การรวบรวมข้อมูลมาใช้ เป็นฐานในการวางแผน

พฒั นาคุณภาพ สถานศกึ ษา

3) โรงเรียนได้รบั รางวลั สถานศกึ ษาสีขาวระดบั เพชร

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ ส้าคญั ระดบั คุณภาพ : ดีเลศิ
จากการประเมินตนเองในภาพรวม อยูใ่ นระดับคณุ ภาพ ดเี ลศิ ตามประเด็นพิจารณา ดังนี สถานศกึ ษามกี าร
จัดหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้าน สอดคล้องกับสภาพบริบทของ
โรงเรียน ตามความต้องการและความสนใจของนักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนด้วยการจัดโครงสร้างหลักสูตรวิชา
เพ่ิมเติมที่หลากหลายให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พ.ศ.2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560)
เน้นการตอบสนองความต้องการของผู้เรียนเป็นรายบุคคล บูรณาการกิจกรรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สถานศึกษาได้รบั การพัฒนาใหเ้ ป็นสังคมแหง่ การเรียนรู้ โดยการส่งเสรมิ ความร่วมมือกับหน่วยงานตา่ งๆ สนับสนุนครู
และบุคลากรเป็นวิทยากรให้แก่หน่วยงานต่างๆ สร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน กิจกรรมแข่งขันทักษะ
วิชาการ กิจกรรมจัดนิทรรศการวิชาการ กิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียน กิจกรรมประชุมผู้ปกครอง กิจกรรมทอดผ้าป่า
สามัคคี เพือ่ พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
นอกจากนี โรงเรียนยังพัฒนาและส่งเสริมสถานศึกษาให้ยกระดับคุณภาพตามแนวปฏิรูปการศึกษาและตาม
นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการในยุคการแพร่ระบาดของไวรัสโควิค 19 โดยการจัดการเรียนการสอน On-site
เรียนที่โรงเรียน โดยมีมาตรการเฝ้าระวังตามประกาศของ ศบค. On-air เรียนผ่าน DLTV และ On-line เรียนผ่าน
อินเตอร์เน็ต ซ่ึงครูมีการใช้โปรแกรมต่างๆ เช่น Google Classroom Google Site Google Meet Google Zoom
Facebook Line เป็นต้น ในการจัดการเรียนรู้ และมี การเผยแพร่ผลงาน ใน website โรงเรียน Facebook Line
พร้อมทังผลิตส่ือที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มสูงขึน มีคุณภาพและ
ประสิทธภิ าพตามมาตรฐานการเรียนที่หลักสูตรก้าหนด ให้การสนับสนุนและสง่ เสริมครูและบุคลากรทางการศึกษาเขา้
รับการอบรมสัมมนาและศึกษาดูงานอยู่เสมอเพอื่ น้าเทคนคิ และวธิ กี ารจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนมาพัฒนาผูเ้ รยี นให้
มีคุณภาพ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ จัดกิจกรรมส่งเสริมสมรรถนะอาชีพ การเรียนรู้บูรณาการศตวรรษที่ 21
จัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ ส่งเสริมการใช้ภูมิปัญญาท้องถ่ินในการจัดการเรียนการสอน ส่งเสริมให้ครูใช้
ห้องสมุด ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษาค้นคว้า ส่งเสริมให้ครูผลิตส่ือและใช้สื่อการสอนที่
ผลิตขึนเอง ส่งเสริมให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ด้วยกิจกรรม บูรณาการท่ีมีตลอดทังปีการศึกษา และมีระบบบริหาร
จัดการแบบ PDCA ในทุกกระบวนการ มีการจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมการประสานการท้างานระหว่างโรงเรียน ชุมชน
องค์กรที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริมให้ครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีการจัด PLC ในกลุ่มสาระเพื่อศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตร
เพื่อจัดท้าแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นส้าคัญ แก้ปัญหาการเรียนการสอนและแก้ปัญหาผู้เรียน
อย่างสม่้าเสมอ มกี ารจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ สมรรถนะอาชีพ การเรยี นรู้บูรณาการศตวรรษที่ 21 โครงการพัฒนาอตั ลักษณ์
น.ป.ถ. และค่านิยม 12 ประการ เพื่อเกิดประโยชน์แก่ผู้เรียน ผู้ปกครองและชุมชนสนับสนุนการด้าเนินกิจกรรมต่างๆ
ท่ีโรงเรียนจัดขึนอย่างเต็มใจ มจี ุดมุ่งหมายเดียวกันกบั โรงเรยี นเพ่อื ชว่ ยแก้ปัญหานักเรียนในด้านตา่ งๆ

จดุ เดน่ จดุ ควรพฒั นา

ดา้ นกระบวนการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียน ดา้ นกระบวนการเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รียน

เป็นส้าคญั เปน็ สา้ คัญ

1) ครสู ว่ นใหญ่มีความรู้ ความสามารถ มีความมุง่ ม่ัน พัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตร ให้ผลการทดสอบ

ในการทา้ งาน ระดับชาติของนักเรียนชันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ในบาง

2) ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ เป็นผู้น้าด้านวิชาการมี กลมุ่ สาระทีย่ งั มผี ลการทดสอบระดบั ชาติตา้่ อยู่

ความสามารถในการบรหิ ารจดั การตามวงจรคณุ ภาพ

ของเดมมง่ิ (PDCA)

3) ครูทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ มีการจดั PLC ในกลุ่ม

สาระเพื่อศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตร เพื่อจัดท้า

แ ผ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ท่ี เ น้ น ผู้ เ รี ย น เ ป็ น ส้ า คั ญ

แก้ปัญหาการเรียนการสอนและแก้ปัญหาผู้เรียน

อย่างสม้่าเสมอ

4) ครูมีการปรับวิธีการสอนยุคการแพร่ระบาดของ

ไวรัสโควิค 19 มีการใช้ส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ

มีการใช้โปรแกรมต่างๆ เช่น Google Classroom

Google Site Google Meet Google Zoom

Facebook Line เป็นต้น พร้อมทังผลิตส่ือท่ีใช้ใน

การจัดการเรียนการสอน ส่งผลให้นักเรียนมี

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพ่ิมสูงขึน มีคุณภาพและ

ประสิทธิภาพตามมาตรฐานการเรีย นที่ หลั ก สู ตร

ก้าหนด

แผนพฒั นาคุณภาพเพือ่ ให้ไดม้ าตรฐานที่สงู ขึนในปถี ดั ไป
จากผลการด้าเนินงานตลอดปีที่ผ่านมา พบวา่ จดุ ทีค่ วรพฒั นาตอ่ ไปในอนาคต มีดงั นี
1) จัดท้าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนาผู้เรยี นและยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการ

เรียน O-NET ของนกั เรยี นทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ใหม้ คี ่าเฉล่ียเพิ่มขนึ ร้อยละ 5
2) สนับสนุนส่งเสริมให้ครูทุกคนมีการศึกษาค้นคว้าวิจัยเพ่ือพัฒนาสื่อและกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้น

ผู้เรียนเป็นส้าคัญ โดยส่งเสริมให้ครูเข้ารับการอบรม ศึกษาดูงาน และน้าความรู้ที่ได้ไปปรับปรุงการการเรียนการสอน
อย่างต่อเนอ่ื ง

3) จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการบริหารจดั การและการจดั การเรียนรู้มากขึน

ความตอ้ งการและการชว่ ยเหลอื

1) ขอการสนับสนุนระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื สนับสนุนการบรหิ ารจดั การและการจดั การเรยี นรู้
2) ขอความร่วมมือจากหน่วยงาน องค์กรภายนอก ชมุ ชนและบุคคลตา่ งๆในการสนับสนุนสง่ เสริม
การจัดการเรยี นรู้ส้าหรับผู้เรยี นนอกสถานท่ี
3) การจัดสรรครผู ้สู อนใหต้ รงตามวชิ าเอกทโ่ี รงเรียนมีความต้องการและจา้ เป็น

ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

2.1 ขอ้ มลู ทว่ั ไปของสถานศกึ ษา

ขอ้ มูลพืนฐาน
ช่ือโรงเรียนน้าปาดชนูปถัมภ์ ท่ีตัง เลขท่ี 330/12 ถนนเพชรานุรักษ์ หมู่ 4 ต้าบลแสนตอ อ้าเภอน้าปาด

จังหวัดอุตรดิตถ์ รหัสไปรษณีย์ 53110 โทรศัพท์ 055-481004 โทรสาร 055-481003 e-mail - Website :
www.npts.ac.th เปิดสอนระดบั ชนั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ถึงระดับชนั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 เนือท่ี 86 ไร่ 2 งาน 40 ตารางวา
เขตพืนทีบ่ ริการทุกหมู่บา้ นในอ้าเภอน้าปาด จังหวดั อุตรดิตถ์

ประวัติโรงเรียนโดยย่อโรงเรียนน้าปาดชนูปถัมภ์ เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา ระดับอ้าเภอ ตามประกาศการ
จัดตังโรงเรียนของกระทรวงศึกษาธิการลงวันท่ี 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2502 ให้เปิดโรงเรียนมัธยมศึกษาขึนที่อ้าเภอ
น้าปาด ตังแต่ปีการศึกษา 2503 เป็นต้นไปโดยโรงเรียนได้เปิดท้าการเป็นครังแรกเม่ือวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2503
ในชันมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีนักเรียนชาย จ้านวน 24 คน นักเรียนหญิง จ้านวน 33 คน อาคารเรียนอยู่ระหว่างการ
ก่อสร้างยังไม่พร้อมที่จะใช้เป็นสถานท่ีเรียนได้จึงไปขออาศัยห้องเรียนโรงเรียนน้าปาดเป็นสถานที่เรียนชั่วคราว ส่วน
ครผู ู้สอนนันจังหวดั ยังไม่ได้จดั สรรอัตรามาให้ อ้าเภอจึงให้นายอนิ ปัน กองมา ครูใหญ่โรงเรียนน้าปาดมาทา้ การสอนเปน็
การช่ัวคราว โดยมีศึกษาธิการอ้าเภอสมัยนันท้าหน้าท่ีเป็นครูใหญ่ชั่วคราว อาคารเรียนโรงเรียนน้าปาดชนูปถัมภ์หลัง
แรกปลูกสร้างขึนโดยประชาชนชาวอ้าเภอน้าปาด ซ่ึงได้สละทรัพย์สร้างขึนและมอบให้สภาต้าบลแสนตอด้าเนินการ
ก่อสร้างตามแปลน ป.1 ของกระทรวง ศึกษาธิการ เป็นอาคารไม้ชันเดียว กว้าง 9 เมตร ยาว 27 เมตร มีมุขย่ืนกลาง
หลังคามุงสังกะสีไม่มีฝา ปลูกสร้างที่ดินอันเป็นท่ีตังโรงเรียนแห่งแรกบนเนือที่ 12 ไร่ วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2514
นายพัฒน์ ชนะดี ได้ติดต่อขออนุญาตยา้ ยโรงเรยี นเดิมไปปลูกสร้างในที่แห่งใหม่ในท่ีดินสาธารณประโยชน์หรือบรเิ วณ
หนองชะโด (ท่ตี ังโรงเรียนปัจจบุ ัน) ห่างจากทต่ี งั โรงเรยี นเดิมไปทางทิศตะวันตกประมาณ 1 กิโลเมตร เพราะทต่ี งั เดมิ คับ
แคบ และไดร้ ับอนุมตั ิจากราชการให้ใชเ้ ป็นที่ตังโรงเรียนแห่งใหม่ บนเนอื ที่ 86 ไร่ 2 งาน 40 ตารางวา

ปัจจุบันมี นายสังวาร เอ็บมูล ด้ารงต้าแหน่งท่ีผู้อ้านวยการโรงเรียนน้าปาดชนปู ถัมภ์ ตังแต่วันที่ 1 ตุลาคม
2564 จนถึงปจั จบุ นั

การบรหิ ารจัดการแนวทางการจัดการศึกษา
วิสยั ทัศน์

“โรงเรยี นนา้ ปาดชนูปถัมภ์ มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานสากล บนวถิ ีพอเพยี ง”
พนั ธกจิ

1. จดั การศกึ ษาแบบมสี ว่ นรว่ มโดยใชห้ ลักธรรมาภบิ าล
2. จัดการศึกษาขันพืนฐานตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขันพนื ฐาน พ.ศ. 2551
3. พัฒนานักเรยี นใหเ้ ป็นคนเกง่ คนดี มคี วามสขุ ตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาทกี่ ้าหนด
4. ส่งเสริมการเรยี นร้ดู ้วยกจิ กรรมสรา้ งสรรคท์ ่ีหลากหลาย
5. จดั กจิ กรรมส่งเสริมใหน้ กั เรยี นมีจิตอาสา
6. สง่ เสริมครใู ห้จดั กิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ีเนน้ ผู้เรยี นเป็นส้าคญั
7. พฒั นาแหล่งเรยี นรภู้ ายในโรงเรียนให้เอือตอ่ การเรยี นรู้ อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
เป้าประสงค์
1. การบริหารจัดการศึกษามปี ระสิทธิภาพและเกดิ ประสทิ ธผิ ล
2. นกั เรยี นมีความรู้ และทกั ษะ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขันพนื ฐาน พ.ศ. 2551
3. นกั เรยี นมคี ุณลกั ษณะตามเกณฑม์ าตรฐานการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
4. นักเรยี นมสี ่วนร่วมในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ทังดา้ นวชิ าการ และกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น
5. นกั เรยี นมจี ติ อาสา
6. ครสู ามารถจัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ เี่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ ส้าคญั อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
7. โรงเรียนมแี หลง่ เรยี นร้ทู เี่ ออื ต่อการเรียนรูอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
คตพิ จน์ : อาวธุ ปัญโญ หมายถึง ปัญญา ประดจุ ดงั อาวธุ
อัตลักษณ์ของนกั เรียนโรงเรยี นน้าปาดชนปู ถมั ภ์: “นา้ ใจงาม บริการด”ี
เอกลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา: “LIKE & LOVE School” “คุณภาพครู คณุ ภาพนกั เรียน”
อุดมการณ์ น.ป.ถ

น. น้าใจดี มีจิตอาสา
ป. ประพฤตดิ ี ปฏบิ ัตชิ อบ
ถ. ถ่องแท้ความรู้ คู่คุณธรรม

กลยทุ ธโ์ รงเรยี น พฒั นานักเรยี นใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานสากล
กลยุทธ์ท่ี 1 พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรยี นการสอนใหม้ ีคณุ ภาพเทยี บเคยี ง
กลยทุ ธท์ ี่ 2 มาตรฐานสากล
เพิม่ ประสิทธภิ าพการบริหารจดั การด้วยระบบคณุ ภาพ
กลยุทธท์ ี่ 3 พฒั นาประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การหอ้ งพเิ ศษ
กลยุทธ์ท่ี 4

โครงสรา้ งการบรหิ ารงาน

ขอ้ มูลบคุ ลากรของสถานศกึ ษา
1. จ้านวนบคุ ลากร ปีการศกึ ษา 2564

จา้ นวน (คน)

ปีการศึกษา ผ้บู รหิ าร ครผู สู้ อน พนกั งาน อตั ราจา้ ง เจา้ หนา้ ทอ่ี น่ื ๆ รวม
2564 3 41 ราชการ 10 62

44

2. จา้ นวนบคุ ลากรจ้าแนกตามวุฒิการศกึ ษาสูงสดุ
1) วฒุ กิ ารศึกษาสงู สุดของบุคลากร

ปกี ารศึกษา ต่า้ กวา่ จา้ นวน (คน) ปริญญาเอก รวม
2564 ปริญญาตรี ปริญญาตรี ปรญิ ญาโท - 62

8 21 33

วุฒิการศึกษา 8

ตา่้ กว่าปริญญาตรี

ปรญิ ญาตรี 21

ปริญญาโท 33

ปริญญาเอก 0

0 5 10 15 20 25 30 35

2) จา้ นวนบุคลากรครู แยกตามวทิ ยฐานะ

จา้ นวน (คน)

ปีการศึกษา อตั ราจา้ ง พนักงาน ครู ครชู ้านาญ ครูช้านาญ รวม
2564 4 ราชการ การ การพิเศษ 52

4 5 19 20

วิทยฐานะ 20
19
ครูช้านาญการพเิ ศษ
ครูชา้ นาญการ 5
ครู 4
4
พนกั งงานราชการ
อตั ราจ้าง

0 5 10 15 20 25

3) สาขาวชิ าที่จบการศกึ ษาและภาระงานสอน

สาขาวิชา จ้านวน(คน) ภาระงานสอนเฉลีย่ ของครู 1 คน
ในแต่ละสาขาวิชา(ชม./สปั ดาห)์
1. บริหารการศกึ ษา 3
2. คณิตศาสตร์ 8 -
3. วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 14 15
4. ภาษาไทย 6 17
5. สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 5 19
6. ศิลปศึกษาและดนตรีนาฏศลิ ป์ 3 19
7. สุฃศกึ ษา และพลศึกษา 2 17
8. การงานอาชพี 5 17
9. ภาษาองั กฤษ 6 17
52 19
รวม 18

ขอ้ มูลนักเรยี น

จา้ นวนนกั เรียนปีการศึกษา 2564 รวม 789 คน (ขอ้ มูล ณ 10 มิถนุ ายน 2564)

ชนั เรยี น จา้ นวนหอ้ งเรียน จ้านวนนกั เรยี น รวม
ชาย หญิง 106
ม.1 4 51 55 123
ม.2 4 66 57 118
ม.3 4 50 68 347
รวม 12 167 180 132
ม.4 5 61 71 157
ม.5 5 68 89 153
ม.6 5 76 77 442
รวม 15 205 237 789
รวมทังสนิ 27 372 417

เปรยี บเทียบจา้ นวนนักเรยี นระดับชนั ม.1 - ม.6 ปีการศกึ ษา 2562 – 2564

180 157 164 153 157 153
160 132 144 136 136
140
120 130 117 119 123 118 117 118
115

106

100

80

60

40

20

0

ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6

ปีการศึกษา 2562 ปกี ารศกึ ษา 2563 ปีการศึกษา 2564

ขอ้ มูลผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นระดบั สถานศึกษา

ร้อยละของนักเรียนทมี่ เี กรดเฉลีย่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นแต่ละกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ระดับชันมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 - 6 ปีการศึกษา 2564

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ
ภาษาไทย 63.75
คณิตศาสตร์ 73.80
วทิ ยาศาสตร์ 69.89
สงั คมศกึ ษา 73.59
สุขศกึ ษา 79.71
ศลิ ปะ 74.98
การงานฯ 72.68
ภาษาอังกฤษ 71.35
72.47
เฉลีย่

ร้อยละของนกั เรยี นที่มีเกรดเฉล่ียผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นแต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรู้
ในระดบั 3 ขึนไป ระดบั ชันมัธยมศึกษาปที ี่ 1 - 6 ปีการศกึ ษา 2564

กลุ่มสาระการเรียนรู้ คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละระดบั 3 ขนึ ไป
ภาษาไทย 63.37
คณติ ศาสตร์ 57.68
วทิ ยาศาสตร์ 55.83
สงั คมศึกษา 65.19
สุขศกึ ษา 86.07
ศลิ ปะ 68.24
การงานฯ 66.52
ภาษาองั กฤษ 56.48

รอ้ ยละของนกั เรียนท่มี ีเกรดเฉลีย่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น
แตล่ ะรายวชิ าในระดบั 3 ขนึ ไป ระดบั ชันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 - 6 ปกี ารศกึ ษา 2564

100

80 86.07

60 63.37 57.68 55.83 65.19 68.24 66.52
40 56.48

20

0

ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศึกษา สขุ ศึกษา ศลิ ปะ การงานฯ ภาษาอังกฤษ

รอ้ ยละ

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขันพืนฐาน (O-NET)

1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั พนื ฐาน (O-NET) ประจ้าปีการศกึ ษา 2564
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขันพืนฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2564 ชนั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3

คะแนนเฉลย่ี ของโรงเรียน

โรงเรยี น
ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
ภาษาต่างประเทศ

น้าปาดชนปู ถมั ภ์ 57.7 24.01 31.22 32.77
คะแนนเฉลี่ยระดบั จงั หวัด 54.05 22.06 31.65 31.34
คะแนนเฉลยี่ สังกัด สพฐ. ทังหมด 52.13 24.75 31.67 30.79
คะแนนเฉลยี่ ระดับประเทศ 51.19 24.47 31.45 31.11

คะแนนเฉล่ยี

70

60

50 57.7 54.05 52.13 51.19
40

30 31.22 31.65 31.67 31.45 32.77 31.34 30.79 31.11
20 24.01 22.06 24.75 24.47
10

0 คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ

ภาษาไทย

โรงเรียน ระดบั จังหวดั สงั กดั สพฐ. ระดับประเทศ

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ นั พืนฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2564 ชันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6
คะแนนเฉลี่ยของโรงเรยี น

โรงเรียน
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ฯ
ภาษาอังกฤษ

น้าปาดชนปู ถมั ภ์ 44.12 16.34 27.59 34.01 19.87

คะแนนเฉลยี่ ระดบั จงั หวัด 49.38 24.19 29.80 38.37 28.26

คะแนนเฉลย่ี สงั กัด สพฐ. ทงั หมด 47.74 21.83 29.04 37.45 25.83

คะแนนเฉลยี่ ระดับประเทศ 46.4 21.28 28.65 36.87 25.56

คะแนนเฉล่ีย

60

50

40 44.1249.3847.74 46.4

30 34.0138.3737.4536.87
27.59 29.8 29.0428.65
20 24.19 21.83 21.28 28.2625.83 25.56
19.87
10 16.34

0 คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ภาษาองั กฤษ

ภาษาไทย

โรงเรยี น ระดบั จงั หวัด สงั กัด สพฐ. ระดับประเทศ

431 432 ผังอาคารเรียน โรงเรยี นนา้ ปาดชนปู ถมั ภ์ 437 438
421 422 อาคารเฉลมิ พระเกยี รติ 427 428

หอ้ งผ้บู รหิ ารและกลุ่มงานงาน 433 434 435 436 หอ้ งนาฏศิลป์
บุคคล
423 424 425 426
เก็บของสาระ วา่ ง
หอ้ งประชา ไทย
สมั พนั ธ์
ห้องประชุมมเหสักข์

331 332 อาคารภกั ด์ิกมล 337 338
เกบ็ ของ เก็บของคณิต
สังคม 333 334 335 336

321 322 323 ห้อง 324 325 326 327 328
ห้องสภา เซรฟิ หอ้ งคอม 1 หอ้ งคอม 2 ห้องคอม 3

ห้องกล่มุ งาน หอ้ ง เวอร์ หอ้ งพัก อุโมง หอ้ งศูนย์สาระ หอ้ งดนตรไี ทย ว่าง หอ้ ง To Be
ห้องแนะแนว ครแู นะ ทางเดิน ภาษาไทย number one
แนว
กิจการนักเรยี น สอบสวน

อาคารวทิ ยาศาสตร์ (มพช.)

ห้องฟิสกิ ส์ ห้อง หอ้ งวทิ ยาศาสตร์ หอ้ งชวี วทิ ยา หอ้ งดาราศาสตร์
พักครู ม.ตน้
หอ้ ง ห้องวิทย์กายภาพ หอ้ งเก็บ หอ้ ง
ดา้ นหลัง ห้อง 3D สารเคมี พักครู
ห้องเคมี
3D

อาคารช่นื ชนก

221 222 323 324 325 326 327 328
เกบ็ ของ ห้องประวตั ศิ าสตร์ ว่าง เกบ็ ของพัฒนาผู้เรยี น เก็บของวัดผล

ลูกเสือ

หอ้ งกลุม่ งานงบประมาณ หอ้ งประชุม ห้องสา้ เนา หอ้ งกลมุ่ ห้อง ห้องรองผูอ้ ้านวยการและกลุ่ม
เอกสาร งานบริหาร ธนาคาร งานวิชาการ
โรงเรียน
ทัว่ ไป

2) เปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ันพืนฐาน (O-NET)
ประจา้ ปีการศกึ ษา 2563 – 2564

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั พนื ฐาน ปีการศกึ ษา 2563 – 2564 ระดับชนั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3

80

69.38

70

60 57.7

50 33.23 37.36 40.96 31.22 32.77
40
24.01
30
ปกี ารศกึ ษา 2564
20

10

0

ปกี ารศกึ ษา 2563

ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ันพนื ฐาน ปกี ารศึกษา 2563 - 2564 ระดบั ชันมธั ยมศึกษาปีที่ 6

50 44.12
34.01
45 40.97
27.59
40 35.25 19.87
35 30.3
30 16.34
23.33
25 21.97 ปีการศกึ ษา 2564

20

15

10

5

0

ปีการศึกษา 2563

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมฯ ภาษาอังกฤษ

ขอ้ มลู การใช้แหลง่ เรียนรภู้ ายในและภายนอกโรงเรยี น
จา้ นวนชวั่ โมงท่ีนักเรียนใช้แหลง่ เรียนรใู้ นโรงเรียน ปีการศึกษา 2564

แหลง่ เรียนรู้ สถติ กิ ารใช้ (ชวั่ โมง/ป)ี

1. ห้องปฏิบัตกิ ารวทิ ยาศาสตร์ 1200
2. หอ้ งปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอร์ 1200
3. ห้องปฏิบัติการทางภาษา 1200
4. หอ้ งโสตทัศนูปกรณ์ 1200
5. ห้องปฏบิ ัติการคณิตศาสตร์ 1200
6. หอ้ งปฏิบัตกิ ารสงั คมศกึ ษา 800
7. ห้องปฏบิ ตั ิการเกษตร 1200
8. หอ้ งปฏบิ ตั ิการคหกรรม 1100
9. ห้อง E-Classroom (3D) 400
10. หอ้ งสมุด 600

จ้านวนชวั่ โมงท่ีนักเรียนใชแ้ หลง่ เรยี นรใู้ นโรงเรยี น ปกี ารศึกษา 2564

1400 1200 1200 1200 1200 1200 1200 1100
1200
1000 800
800 600
600 400
400
200
0

สถติ ิการใช้ (ชวั่ โมง/ปี)

จ้านวนชวั่ โมงที่นกั เรยี นใช้แหล่งเรียนรนู้ อกโรงเรยี น ปีการศึกษา 2564
แหล่งเรียนรภู้ ายนอกโรงเรียนนา้ ปาดชนปู ถัมภ์

แหล่งเรียนรู้ สถติ กิ ารใช้ (ชว่ั โมง/ปี)

1. ธนาคารเพอื่ การเกษตรและสหกรณ์ 30
2. ธนาคารกรงุ ไทย 100
3. ธนาคารออมสนิ 100
4. อบต. แสนตอ 30
5. อบต. น้าไคร้ 30
6. อบต. บ้านฝาย 30
7. อบต. เดน่ เหลก็ 35
8. ท่วี า่ การอ้าเภอน้าปาด 70
9. เทศบาลต้าบลนา้ ปาด 30
10. โรงพยาบาลน้าปาด 50
11. สถานีตา้ รวจภูธรอ้าเภอนา้ ปาด 5
12. ส้านักงานขนส่งจังหวัดอตุ รดิตถ์ (สาขาน้าปาด) 50
13. สพป.อตุ รดติ ถ์ เขต 2 10
14. สหกรณก์ ารเกษตรอา้ เภอนา้ ปาด 10
15. ทที่ า้ การไปรษณยี ์อา้ เภอน้าปาด 40
16. วนอนุ ทยานสกั ใหญ่ทสี่ ดุ ในโลก 50
17. ศูนยถ์ ่ายทอดเทคโนโลยที างการเกษตรตา้ บลน้าไคร้ 20
18. เขอ่ื นสริ ิกติ ์ิ 100

120 100 100 100
100
80 70

60 30 30 30 35 50 50 40 50
40 30 30
20
20 5 10 10

0 1. ธนาคารเ ่พือการเกษตร…
2. ธนาคารก ุรงไทย
3. ธนาคารออมสิน
4. อบต. แสนตอ
5. อบต. ้นาไคร้
6. อบต. ้บานฝาย
7. อบต. เด่นเหล็ก

8. ่ทีว่าการอ้าเภอ ้นาปาด
9. เทศบาลต้าบล ้นาปาด
10. โรงพยาบาล ้นาปาด
11. สถา ีนต้ารวจภูธรอ้าเภอ…
12. ส้า ันกงานขนส่ง ัจงห ัวด…
13. สพป.อุตรดิต ์ถ เขต 9
14. สหกรณ์การเกษตร…

15. ที่ท้าการไปรษณี ์ย…
16. วนอุนทยานสักใหญ่…

17. ูศน ์ย ่ถายทอด…
18. เข่ือน ิสริ ิกติ์

สถิติการใช้ (ชั่วโมง/ปี)

2.2 ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาเปน็ รายมาตรฐาน

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี น
ระดบั คณุ ภาพ : ดเี ลศิ

1. กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนดา้ เนินการจดั โครงการ/กิจกรรมเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะทจ่ี ้าเปน็ ตามหลักสูตรได้แก่

โครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นโรงเรยี นน้าปาดชนูปถัมภ์ ประกอบด้วยกิจกรรมยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการ
เรียนทัง 8 กลุ่มสาระการเรียนร้กู ิจกรรมสอนเสริมเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรียนระดับชาติ โครงการพัฒนางาน
วิชาการ เช่น กิจกรรมจัดนิทรรศการและแข่งขันทักษะทางวิชาการและวิชาชีพ โครงการทัศนศึกษานอกสถานท่ี
โครงการกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โครงการศูนย์การเรียนรู้วิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โครงการส่งเสริม
นิสัยรกั การอา่ น โครงการพฒั นาห้องสมดุ โดยครูจดั การเรยี นรู้ทีห่ ลากหลายเหมาะสมกับความแตกตา่ งของผูเ้ รยี นแต่ละ
คน และจัดสภาพแวดล้อมท่ีเออื ต่อการเรียนรขู้ องนักเรยี นเพ่ือให้นกั เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน สมรรถนะที่สา้ คัญ
ตามหลักสูตร และผลการประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน เป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษาก้าหนด รวมไปถึงมี
ผลการทดสอบระดับชาตทิ ่ีสงู ขนึ

นอกจากนี โรงเรียนยังส่งเสริมผู้เรียนให้มีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจ
แก้ปัญหาได้อย่างมีสติ สมเหตุผล โดยจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมพัฒนาทักษะการคิด ด้วยกิจกรรมต่างๆ อย่าง
หลากหลาย อาทิ กิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ กิจกรรมพัฒนาการเรียนการสอนศิลปะ กิจกรรมพัฒนาความเป็น
เลิศทางด้านศิลปะ กิจกรรมการสอนแบบโครงงาน การจัดกิจกรรมการเรยี นรแู้ บบบูรณาการในวนั ส้าคัญต่างๆ เป็นต้น
เพื่อฝึกทักษะการคิดในทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ และทุกระดับชัน ช่วยพัฒนาทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์
คิดสร้างสรรค์ คิดอย่างเป็นระบบนักเรียนสามารถสรุปความมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้อย่างมี
เหตุผล เพื่อใหน้ ักเรียนสามารถสรา้ งผลงานอันเกดิ จากความคิด ออกมาในรูปของศิลปะ ดนตรี และผลงานทางวิชาการ
อื่นๆ ได้อยา่ งสรา้ งสรรค์
2. ผลการดา้ เนนิ งาน

ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ การพัฒนาความรู้และทักษะที่จ้าเป็นตามหลักสูตร เป็นผลมาจากการ
จัดกิจกรรมการเรียนการสอน และการด้าเนินงานตามโครงการ/กิจกรรมต่างๆ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ท้าให้ผู้เรียนส่วนใหญ่มีความรู้และทักษะที่จ้าเป็นตามหลักสูตรในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้และทุกระดับชัน ช่วยพัฒนา
ทักษะดา้ นการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดสรา้ งสรรค์ คดิ อย่างเปน็ ระบบ ส่งผลใหน้ ักเรยี นมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
ทัง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ มีสมรรถนะที่สา้ คัญตามหลกั สูตร มีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน รวมไป

ถึงผลการทดสอบระดับชาติของนักเรียน ชันมัธยมศึกษาปีที่ 3 และนักเรียนชันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ในบางกลุ่มสาระมี

พัฒนาการทส่ี งู ขึน ผู้เรยี นสามารถอา่ นออกและอา่ นคล่องตามมาตรฐานการอา่ นในแต่ละระดับชนั สามารถเขียนส่ือสาร

ได้ดี รู้จักการวางแผน สามารถท้างานร่วมกับผู้อื่นได้ดีตามหลักประชาธิปไตย กล้าแสดงออก และแสดงความคิดเห็น

หรือวิพากษ์ได้อย่างสร้างสรรค์ สืบค้นข้อมูลหรือแสวงหาความรู้จากสื่อเทคโนโลยีได้ด้วยตนเอง รวมทังสามารถ

วิเคราะห์จ้าแนกแยกแยะได้ว่าสิ่งไหนดี ส่ิงไหนส้าคัญ ส่ิงไหนจ้าเป็น รู้เท่าทันส่ือและสังคมที่เปลย่ี นแปลงอย่างรวดเร็ว

มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรมอันเกิดจากความคิด ออกมาในรูปของศิลปะ ดนตรี และผลงานทางวิชาการอืน่ ๆ

ได้ มีความรู้ ทักษะพืนฐาน และเจตคติท่ีดีต่องานอาชพี ตลอดจนการมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมอันพึงประสงค์

ซึ่งมีผลการดา้ เนินงานเชงิ ประจักษ์จากการประเมนิ ในด้านต่างๆ ดงั นี

ผลสัมฤทธทิ์ างวชิ าการของผ้เู รยี น

ประเดน็ ผลการประเมิน

1) มคี วามสามารถ ผลการประเมินสมรรถนะส้าคญั

ในการอา่ น การ สมรรถนะผูเ้ รียน รอ้ ยละของนกั เรียนตามระดบั คุณภาพ
เขียน การสือ่ สาร ดเี ยี่ยม ดี ผ่าน ไมผ่ ่าน

และการคิด สมรรถนะดา้ นความสามารถ 89.35 10.68
ค้านวณ ในการสอื่ สาร

สมรรถนะดา้ นความสามารถในการคดิ 88.84 11.15

สมรรถนะดา้ นความสามารถ 86.69 13.30
ในการแกป้ ัญหา

สมรรถนะดา้ นความสามารถ 89.10 10.89
ในการใชท้ กั ษะชีวติ

ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 100.00 0.00
สารสนเทศและการสื่อสาร

2) มคี วาม ผลการประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน

สามารถในการคดิ จา้ นวน ร้อยละของนกั เรียนตามระดบั คุณภาพ

วเิ คราะห์ คิดอยา่ ง นกั เรียน ดเี ย่ยี ม ดี ผ่าน ไมผ่ ่าน
มีวิจารณญาณ ทังหมด

อภปิ ราย 789 680 109

แลกเปล่ยี นความ รอ้ ยละ 86.19 13.81

คดิ เห็น และ

แก้ปัญหา

ประเด็น ผลการประเมนิ

3) มีความ ความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม

สามารถใน จา้ นวน ร้อยละของนกั เรียนตามระดบั คุณภาพ

การสร้าง นกั เรียน ดเี ย่ยี ม ดี ผา่ น ไม่ผา่ น
นวตั กรรม ทงั หมด

789 763 26

รอ้ ยละ 96.70 3.29

4) มีความ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร

สามารถใน จ้านวน รอ้ ยละของนักเรียนตามระดบั คุณภาพ

การใช้ นักเรียน ดเี ยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผา่ น
เทคโนโลยี ทงั หมด

สารสนเทศ 789 789

และการ รอ้ ยละ 100

ส่ือสาร

5) มี เปรียบเทียบผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนย้อนหลงั 3 ปี 8 กลุม่ สาระในระดบั 3 ขนึ ไป

ผลสัมฤทธิ์ รอ้ ยละนักเรยี นทีไ่ ด้ระดบั 3 ขึนไปแยกตามกลุม่ สาระฯ

ทางการ ปี ภาษาไทย เฉลีย่
เรียนตาม การศึกษา ค ิณตศาสตร์ รวม
หลกั สตู ร วิทยาศาสต ์ร
สังคม ึศกษาฯ
สถานศกึ ษา
สุข ึศกษาและ
พลศึกษา

ิศลปะ

การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี

ภาษาต่างประเทศ

2562 70.83 57.83 66.14 68.26 88.29 82.01 70.17 59.21 70.34
2563 63.37 57.68 55.83 65.19 86.07 68.24 66.52 56.48 64.92
2564 73.33 51.29 84.39 89.82 73.20 90.20 74.58 50.98 73.47

ประเดน็ ผลการประเมิน

ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น 8 กลุ่มสาระการเรียนรใู้ นระดบั 3 ขนึ ไป ปีการศึกษา 2564

ร้อยละของนกั เรยี นที่มเี กรดเฉลย่ี ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น
แต่ละรายวิชาในระดบั 3 ขนึ ไป ระดบั ชนั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 - 6 ปี

การศกึ ษา 2564

100

86.07

50 63.37 57.68 55.83 65.19 68.24 66.52 56.48

0

ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา สขุ ศึกษา ศิลปะ การงานฯ ภาษาอังกฤษ

ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศกึ ษา

สขุ ศกึ ษา ศลิ ปะ การงานฯ ภาษาองั กฤษ

รอ้ ยละของคะแนนเฉลีย่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขนั พืนฐาน (O-NET)
ชนั มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2564 จา้ แนกตามระดบั คุณภาพ

70

60

50 57.7 54.05 52.13 51.19
40

30 31.22 31.65 31.67 31.45 32.77 31.34 30.79 31.11
20 24.01 22.06 24.75 24.47
10

0

ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ

โรงเรยี น ระดับจงั หวัด สงั กัด สพฐ. ระดบั ประเทศ

ประเด็น ผลการประเมนิ

รอ้ ยละของคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ นั พนื ฐาน (O-NET)
ชนั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ปีการศึกษา 2564 จา้ แนกตามระดบั คุณภาพ

60

50

40 44.1249.3847.7446.4

30 34.0138.3737.4536.87
24.1921.8321.28 27.5929.829.0428.65
20 16.34 28.2625.8325.56
10 19.87

0

ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศึกษา ภาษาองั กฤษ

โรงเรยี น ระดับจังหวัด สังกดั สพฐ. ระดบั ประเทศ

6) มีความรู้ มคี วามรู้ ทักษะพนื ฐาน และเจตคติทดี่ ีตอ่ งานอาชีพ

ทักษะพนื ฐาน จา้ นวน ร้อยละของนักเรียนที่มคี วามรู้ ทกั ษะพืนฐาน

และเจตคติทด่ี ี นักเรยี น และเจตคติท่ดี ตี ่องานอาชพี

ตอ่ งานอาชพี ทงั หมด ดีเย่ียม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน

789 350 400 39

รอ้ ยละ 44.35 50.69 4.94

ประเดน็ ผลการประเมิน

2 คณุ ลกั ษณะ ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

ท่พี งึ ประสงค์ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ร้อยละของนกั เรียนตามระดบั
ของผูเ้ รยี น คณุ ภาพ
รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
1) การมี ชื่อสัตย์ สจุ ริต ดีเยีย่ ม ดี ผ่าน ไมผ่ า่ น
คณุ ลักษณะและ มีวนิ ยั 90.35 9.65
ค่านยิ มท่ดี ตี ามที่ ใฝเ่ รียนรู้ 87.42 12.58
สถานศึกษาก้าหนด อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง 79.00 21.00
มงุ่ มน่ั ในการทา้ งาน 77.29 22.71
2) ความภมู ใิ จ รกั ความเป็นไทย 83.82 16.18
ในท้องถ่ินและ มีจิตสาธารณะ 81.50 18.50
ความเปน็ ไทย 91.70 8.30
55.62 44.38
3) การยอมรับ
ทจ่ี ะอยรู่ ่วมกันบน
ความแตกต่าง

และหลากหลาย

4) สขุ ภาวะทาง
ร่างกายและจิตสังคม ผลการประเมินสขุ ภาวะทางรา่ งกาย

ร้อยละของนกั เรยี นตามระดบั คณุ ภาพ

สขุ ภาวะทางรา่ งกาย ตามเกณฑ์ ตา้่ กวา่ สูงกวา่
เกณฑ์ เกณฑ์

ม.1 81.13 6.60 12.26

ม.2 84.55 5.69 9.76

ม.3 83.90 4.24 11.86

ม.4 82.84 5.97 11.19

ม.5 84.08 5.10 10.83

ม.6 78.43 5.88 15.69

รวม 82.43 5.56 12.01

3. จดุ เดน่
จากการจัดกิจกรรมเรียนการสอน และจัดโครงการ/กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะที่

จา้ เป็นตามหลักสูตรในทุกกลมุ่ สาระการเรียนร้แู ละทุกระดบั ชัน ซงึ่ ผลการด้าเนินงานตามโครงการ/กิจกรรมดงั กล่าวท้า
ให้ผู้เรียนส่วนใหญ่ มีความรู้และทักษะท่ีจา้ เป็นตามหลักสตู ร ช่วยพัฒนาทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิด
สร้างสรรค์ คิดอย่างเป็นระบบ ส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนทัง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ มีสมรรถนะที่
ส้าคัญ ตามหลักสูตร มีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ส่งผลให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสร้าง
นวัตกรรมและมีความรู้ ทักษะการท้างานต่องานอาชีพ และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน ชันมัธยมศึกษาปีท่ี
1 - 6 มีพัฒนาการที่สูงขึน เนื่องจากในการด้าเนินงานตามโครงการ/กิจกรรม ของโรงเรียนได้รับการสนับสนุนจากพ่อ
แม่ ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขันพืนฐาน วัด วิทยากรภายนอกและชุมชนเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมอย่าง
สม่้าเสมอ

4. จุดควรพฒั นา
ผู้เรียนในระดับชัน ม.1 – ม.3 ยังต้องเร่งพัฒนาด้านการน้าเสนอการอภิปราย และแลกเปลี่ยนเรียนรู้จาก

นวัตกรรมทีส่ รา้ งขนึ อยา่ งสมเหตสุ มผล และตอ้ งพัฒนาทกั ษะการแกป้ ัญหาให้ได้อยา่ งเหมาะสมตามสถานการณ์ตา่ งๆ ที่
เกิดขึน

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
ระดบั คณุ ภาพ : ดีเลศิ
1. กระบวนการพฒั นา

โรงเรียนได้สง่ เสรมิ และพัฒนาการบริหารงานตามบทบาทหน้าท่ีอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล โดย
ผู้บริหารใช้นวตั กรรมการบริหารองค์กรตามรูปแบบ LIKE & LOVE School “คุณภาพครู คุณภาพนักเรียน” เพื่อการ
พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการโรงเรียน และพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นสถานศึกษาสีขาวระดับเพชร อีกทัง
คณะกรรมการสถานศึกษา ขันพนื ฐานทุกคนมีความตังใจในการชว่ ยพัฒนาโรงเรียน การจัดกิจกรรมต่างๆตลอดจนช่วย
เสนอแนะแนวทางการบริหารงานให้กับโรงเรียนอย่างต่อเน่ืองมีการนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบผลการด้าเนินงานของ
โรงเรียน เพ่ือให้ผู้บริหารมีคุณธรรมจริยธรรมปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ ด้วยความทุ่มเท เสียสละเวลาใน
การบริหารจัดการอย่างเต็มก้าลัง เต็มความสามารถมีการก้าหนดโครงสร้างการบรหิ ารงานและด้าเนินงานตามขันตอน
ผู้บริหารมีการนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบอย่างเป็นระบบ มีภาวะผู้น้าและมีความสามารถในการบริหารโรงเรียนอย่างมี
ประสิทธิภาพผู้ท่ีเก่ียวข้องมีความพึงพอใจสถานศึกษาเป็นท่ียอมรับและมีความน่าเชื่อถือในกา รจัดการศึกษาที่ได้
มาตรฐานมีคุณภาพ ซึ่งในการบริหารงานของโรงเรียนดังกล่าวนีเป็นการด้าเนินการตามวงจรคุณภาพของเดมม่ิง
(PDCA) มีการจัดแบ่งงานให้บุคลากรทุกคนในโรงเรียนได้ปฏิบัติหน้าที่ในงาน4 ฝ่าย ตามโครงสร้างการบริหารงาน ท้า
ให้การปฏิบัติงานมีความรวดเรว็ โปร่งใสสามารถตรวจสอบได้ บุคลากรทุกคนในโรงเรียนให้ความเคารพต่อผู้บรหิ ารใน
การพัฒนาโรงเรียน การจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมทั่วไป ผู้บริหารมีการบริหารงานด้านสภาพแวดล้อมของ
โรงเรียนท้าให้เกิดความสะอาด จัดโรงอาหาร ห้องสุขา ได้ถูกสุขลักษณะ การจัดบริเวณโดยรอบโรงเรียนมีการปลูกไม้
ดอกไม้ประดับรอบอาคารเรยี น ทา้ ใหบ้ ริเวณโรงเรียนมีความสวยงามน่าอยู่

2. ผลการด้าเนนิ งาน

วิธกี ารพฒั นา ผลการพฒั นา

2.1 มเี ปา้ หมายวสิ ยั ทศั น์และพนั ธกจิ ทส่ี ถานศึกษา สถานศึกษามีการก้าหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์

ก้าหนดชัดเจน และพันธกิจสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความ

ต้องการพัฒนาของสถานศึกษา นโยบายการปฏิรูป

การศึกษาความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น และ

สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปตามแผนการ

ศกึ ษาชาติ

วิธีการพฒั นา ผลการพฒั นา
2.2 มรี ะบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของ โรงเรียนจัดระบบบริหารจัดการคุณภาพของ
สถานศกึ ษา สถานศึกษา มีการจัดแบ่งงานให้บุคลากรทุกคนใน
โรงเรียนได้ปฏิบัติหน้าที่ในงานทัง 5 ฝ่าย ตาม
โครงสร้างการบริหารงาน และด้าเนินการประเมิน
คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา 8 ประการ ไดแ้ ก่
1) ก้าหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
2) จัดท้าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาที่มุ่งเน้น
คุณภาพตามมาตรฐาน
3) จัดการและบริหารขอ้ มูลสารสนเทศอยา่ งเป็น
ระบบโดยใชเ้ ทคโนโลยีช่วยในการเกบ็ ข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูลเป็นสารสนเทศท่ีเป็นประโยชน์
ในการพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศึกษาของโรงเรยี น
4) จัดท้าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ
โรงเรียน
5) ด้าเนินการ ติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ
การศกึ ษา
6) ประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานของ
สถานศกึ ษา
7) จัดท้ารายงานประจ้าปีเพื่อเสนอผลการ
ประเมินคุณภาพภายใน
8) โรงเรียนด้าเนินการพัฒนาคุณภาพอย่าง
ต่อเนื่อง
โรงเรียนให้ความส้าคัญกับการด้าเนินงานประกัน
คุณภาพภายในของสถานศึกษาเน้นการสร้างความ
เ ข้ า ใ จ แ ล ะ ใ ห้ ค ว า ม รู้ ด้ า น ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ
ก า ร ศึ ก ษ า กั บ ค ณ ะ ค รู แ ล ะ บุ ค ล า ก ร ทุ ก ฝ่ า ย ที่
เก่ียวข้องท่ีชัดเจนเป็นประโยชน์ในการพัฒนา
คุณภาพการศึกษาการด้าเนินงาน ประกันคุณภาพ
ภายในของโรงเรียนเน้นการมีสว่ นร่วมด้าเนนิ การใน
รูปของคณะกรรมการสร้างวัฒนธรรมการประกัน
คุณภาพภายในของสถานศึกษาให้กับบุคคลท่ี
เกย่ี วข้องทกุ ระดับ

วิธีการพฒั นา ผลการพฒั นา

2.3 ด้าเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพ - โรงเรียนได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ี

ผเู้ รยี นรอบด้านตามหลักสตู รสถานศกึ ษา สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตร

และทุกกลุ่มเปา้ หมาย แกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พ.ศ.2551

(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)

- มีการจัดการประชุมผู้ปกครองนักเรียนปีการศึกษา

ละ 2 ครัง รวมทังจัดตังเครือข่ายผ้ปู กครอง เพ่ือการ

ประสานงานและรับฟังข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะใน

การจัดการศึกษาจากผู้ปกครองน้ามาปรับใช้ในการ

จัดการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพและตรงตามความ

ต้องการของชุมชน

- มกี ารประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษาอย่างน้อย

ปีการศึกษาละ 2 ครัง เพื่อประสานความร่วมมือและ

ร่วมกันก้าหนดแนวทางในการจัดการศึกษาให้บรรลุ

ตามเปา้ หมายทท่ี างโรงเรยี นก้าหนดไว้

2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความ - ผู้บริหารได้ส่งเสริมให้คณะครูและบุคลากรทางการ

เชยี่ วชาญทางวชิ าชีพ ศึกษาได้เข้ารับการอบรม ประชุม สัมมนาตามความ

ถนัดแยกตามวิชาเอก งานท่ีรับผิดชอบ อย่างน้อยคน

ละ 12 -20 ชั่วโมงต่อปีการศึกษา เพื่อน้ามาพัฒนา

ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพมาก

ยง่ิ ขึน

2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและ โรงเรียนมีการจดั บรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ัวไป

สังคมที่เอือต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมี ให้มีความสะอาด จัดระเบียบโรงอาหาร ห้องสุขาได้

คุณภาพ ถูกสขุ ลกั ษณะ การจัดบรเิ วณโดยรอบโรงเรยี น

มคี วามสวยงามน่าอยู่

2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือ - จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการ

สนบั สนุนการบริหารจดั การและการจัด บริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ เช่น website

การเรียนรู้ Facebook โรงเรียน รวมทังสรา้ งกลุ่มไลน์ทงั นกั เรยี น

ผู้ปกครอง ศิษย์เก่า กรรมการสถานศึกษา เพ่ือ

ติดต่อส่ือสาร ประชาสัมพันธ์กิจกรรม งานของ

โรงเรียน

3. จุดเด่น
จากการพัฒนาการบริหารงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลนัน มีผลท้าให้การ

บริหารงานของโรงเรียน อยู่ในระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม ด้วยการด้าเนินการตามวงจรคุณภาพของเดมม่ิง (PDCA) มี
นวัตกรรมกรรมการบริหารงานที่เป็นรูปธรรม LIKE & LOVE School “คุณภาพครู คุณภาพนักเรียน” ท้าให้มีการ
จัดแบ่งงานให้บคุ ลากรทุกคนในโรงเรยี นไดป้ ฏิบัตหิ นา้ ท่ีทงั 5 ฝา่ ย ตามโครงสร้างการบรหิ ารงาน ทา้ ใหก้ ารปฏบิ ตั งิ านมี
ความรวดเร็ว โปร่งใสสามารถตรวจสอบได้ บุคลากรทุกคนในโรงเรียนใหค้ วามเคารพต่อผบู้ ริหารในการพัฒนาโรงเรยี น
การจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมเป็นห้องเรียนน่าอยู่สู่การเรียนรู้ก้าวไกล มีสภาพแวดล้อมท่ัวไปที่สะอาด ร่มรื่น
จัดระเบียบโรงอาหาร ห้องสุขา ได้ถูกสุขลักษณะ การจัดบริเวณโดยรอบโรงเรียนมีความสวยงามน่าอยู่ เนื่องจากการ
ด้าเนินงานตามโครงการ/กิจกรรมของโรงเรียนนันได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากครูและบุคลากรทางการศึกษาทุก
คน รวมไปถึงได้รับการสนับสนุนจากผู้ปกครอง ชมรมศิษย์เก่า คณะกรรมการสถานศึกษาขันพืนฐานของโรงเรียน
วัด วิทยากรภูมิปัญญาท้องถิ่นและชุมชนในการเข้าร่วมกิจกรรมอย่างสม่้าเสมอ และได้รับรางวัลสถานศึกษาสีขาว
ระดบั เพชร

4. จุดควรพฒั นา
จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการบริหารจดั การและการจดั การเรียนรู้ใหม้ ีประสทิ ธิภาพเพมิ่ ขึน

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเปน็ สา้ คญั
ระดับคณุ ภาพ : ดเี ลศิ

1. กระบวนการพฒั นา

สถานศกึ ษามกี ารจัดหลักสตู รกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี นอย่างรอบดา้ น สอดคลอ้ ง

กับสภาพบริบทของโรงเรยี น ตามความตอ้ งการและความสนใจของนกั เรียน ผู้ปกครองและชุมชน ดว้ ยการจัดโครงสรา้ ง

หลักสูตรวิชาเพ่ิมเติมที่หลากหลายให้สอดคล้องกับ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพนื ฐาน พ.ศ.2551 (ฉบับปรับปรงุ

พ.ศ.2560) เน้นการตอบสนองความต้องการของผู้เรียนเป็นรายบุคคล บูรณาการกิจกรรมตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง สถานศึกษาได้รบั การพัฒนาให้เป็นสังคมแหง่ การเรียนรู้ โดยการส่งเสรมิ ความรว่ มมือกับหนว่ ยงาน

ต่างๆ สนับสนุนครูและบุคลากรเป็นวิทยากรให้แก่หน่วยงานต่างๆ สร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน

กิจกรรมแข่งขันทักษะวิชาการ กิจกรรมจัดนิทรรศการวิชาการ กิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียน กิจกรรมประชุมผู้ปกครอง

กจิ กรรมทอดผา้ ปา่ สามัคคี เพอ่ื พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นสังคมแหง่ การเรยี นรู้

นอกจากนี โรงเรียนยังพัฒนาและส่งเสริมสถานศึกษาให้ยกระดับคุณภาพตามแนวปฏิรูปการศึกษาและตาม

นโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการในยคุ การแพรร่ ะบาดของไวรสั โควคิ 19 โดยการจัดการเรยี นการสอน On-site เรียนท่ี

โรงเรยี น โดยมมี าตรการเฝ้าระวังตามประกาศของ ศบค. On-air เรียนผ่าน DLTV และ On-line เรียนผ่านอินเตอรเ์ นต็

ซึ่งครูมีการใช้โปรแกรมต่างๆ เช่น Google Classroom Google Site Google Meet Google Zoom Facebook

Line เป็นตน้ ในการจดั การเรยี นรู้ และมี การเผยแพรผ่ ลงาน ใน website โรงเรยี น Facebook Line พรอ้ มทงั ผลติ ส่ือ

ท่ีใช้ในการจดั การเรยี นการสอน ส่งผลให้นักเรียนมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนเพ่ิมสงู ขึน มีคุณภาพและประสทิ ธิภาพตาม

มาตรฐานการเรียนท่ีหลักสูตรก้าหนด ให้การสนับสนุนและส่งเสริมครูและบุคลากรทางการศึกษาเข้ารับการอบรม

สัมมนาและศึกษาดูงานอยู่เสมอเพ่ือน้าเทคนิคและวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมาพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ

ตามมาตรฐานการเรียนรู้ จัดกิจกรรมสง่ เสรมิ สมรรถนะอาชพี การเรียนรู้บรู ณาการศตวรรษท่ี 21 จดั กิจกรรม

ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ส่งเสริมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการเรียนการสอน ส่งเสริมให้ครูใช้ห้องสมุด

ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ใช้อินเทอร์เน็ตเพ่ือการศึกษาค้นคว้า ส่งเสริมให้ครูผลิตสื่อและใช้สื่อการสอนที่ผลิตขึนเอง

ส่งเสริมให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ด้วยกิจกรรม บูรณาการท่ีมีตลอดทังปีการศึกษา และมีระบบบริหารจัดการแบบ

PDCA ในทุกกระบวนการมีการจัดกิจกรรมทีส่ ง่ เสริมการประสานการทา้ งานระหว่างโรงเรยี น ชมุ ชน องค์กรทีเ่ กย่ี วข้อง

ส่งเสริมให้ครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีการจัด PLC ในกลุ่มสาระเพื่อศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตร เพื่อจัดท้าแผนการ

จัดการเรยี นรูท้ ีเ่ น้นผ้เู รยี นเป็นส้าคัญแก้ปัญหาการเรยี นการสอนและแก้ปญั หาผเู้ รียน อย่างสมา้่ เสมอ มีการจดั กิจกรรม

ส่งเสรมิ สมรรถนะอาชีพ การเรยี นรบู้ รู ณาการศตวรรษท่ี 21 โครงการพัฒนาอัตลักษณ์ น.ป.ถ. และคา่ นยิ ม 12 ประการ

เพื่อเกิดประโยชน์แก่ผู้เรียน ผู้ปกครองและชุมชนสนับสนุนการด้าเนินกิจกรรมต่างๆ ท่ีโรงเรียนจัดขึนอย่างเต็มใจ มี

จดุ มงุ่ หมายเดยี วกนั กับโรงเรยี นเพื่อชว่ ยแกป้ ัญหานกั เรียนในด้านตา่ งๆ

2. ผลการดา้ เนินงาน

วิธกี ารพัฒนา ผลการพฒั นา

3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและ มีการด้าเนินงานตามโครงการ/กิจกรรมต่างๆ เพ่ือ

ปฏิบัตจิ รงิ และสามารถนา้ ไปประยกุ ตใ์ ช้ เสริมสร้าง กระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถ

ในชวี ติ ได้ น้าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ ท้าให้ผู้เรียนได้รับความรู้และ

การพัฒนาทักษะที่จ้าเป็นตามหลักสูตรในทุกกลุ่มสาระ

การเรียนรู้และทุกระดับชัน ช่วยพัฒนาทักษะด้านการคิด

วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ คิดอย่างเปน็ ระบบ
ส่งผลให้นักเรยี นมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนทัง 8 กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ มีสมรรถนะที่ส้าคัญตามหลักสูตร มีผลการ
ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน มีผลงานได้รับ

รางวัลการแขง่ ขนั ทักษะวชิ าการศลิ ปหัตถกรรม ระดบั เขต

ระดับภาค และระดับประเทศ

นักเรียนได้รับการฝึกทักษะในการแสดงศิลปะ ดนตรี

การแสดงพืนบ้าน ศึกษาวัฒนธรรมท้องถ่ิน การใช้ภาษา

และทักษะการวางแผนการแสดงออกทังการร้องและการ

ร้า
พ ร้ อ ม ทั ง จั ด กิ จ ก ร ร ม ส่ ง เ ส ริ ม ส ม ร ร ถ น ะ อ า ชี พ

การเรียนรู้บูรณาการศตวรรษที่ 21 เสริมสร้างอาชีพ

กิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ ซึ่งนักเรียนมีส่วนร่วมใน

การทา้ กจิ กรรมการเรยี นรู้

3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่ง ครจู ัดกิจกรรมเพื่อพฒั นาผเู้ รยี นอย่างหลากหลายโดย

เรียนร้ทู ี่เอือต่อการเรยี นรู้ มีการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการใช้โปรแกรมต่างๆ

เ ช่ น Google Classroom Google Site Google Meet

Google Zoom Facebook Line เป็นต้น ในการจัดการ

เรียนรู้ และมี การเผยแพร่ผลงาน ใน website โรงเรียน

Facebook Line พร้อมทังผลิตส่ือท่ีใช้ในการจัดการเรียน

การสอน ส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพ่ิม

สูงขึน มีคณุ ภาพและประสิทธภิ าพตามมาตรฐานการเรยี น

ทหี่ ลักสูตรกา้ หนด

วิธกี ารพัฒนา ผลการพฒั นา

3.3 มกี ารบริหารจัดการชนั เรียนเชงิ บวก ค รู ทุ ก ค น มี ใ บ ป ร ะ ก อ บ วิ ช า ชี พ แ ล ะ ส อ น ต ร ง ต า ม

วิชาเอก มีการบริหารจัดการชันเรียนเชิงบวกให้ก้าลังใจ

แนะน้า สอดแทรกคณุ ธรรมจริยธรรมในการสอน มีการท้า

วิจัยในชันเรียน ท้าให้ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงานท่ี

เก่ียวข้องให้การยอมรับ เชื่อถือ และม่ันใจในการจัด

การศึกษาของสถานศึกษา

3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็น สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้และ

ระบบและนา้ ผลมาพฒั นาผูเ้ รยี น กิจกรรมพัฒนาคุณภาพนักเรียนอย่างรอบด้าน และครูได้

ท้าแผนการจัดการเรียนรู้ทุกคน คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่ง

ผลการจัดท้าแผนการจัดการเรียนรู้ และตามกิจกรรมใน

แผนการจัดการเรียนรู้และทักษาที่ได้ดังกล่าวนี ท้าให้

โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษาที่เหมาะสมกับท้องถ่ินและ

ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการสถานศึกษาขันพืนฐาน

ครูมีความรู้ความเข้าใจหลักสูตรการศึกษาขันพืนฐาน ครู

ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีการจัด PLC ในกลุ่มสาระเพื่อ

ศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตร เพื่อจัดท้าแผนการจัดการ

เรียนรู้ท่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สา้ คัญ แก้ปัญหาการเรยี นการสอน

และแกป้ ญั หาผู้เรยี น อย่างสมา้่ เสมอ

3.5 มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้ข้อมูล จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การด้าเนินโครงการ/

สะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและปรับปรุงการ กิจกรรมอย่างหลากหลาย เพ่ือให้โรงเรียนมีกิจกรรม

จัดการเรียนรู้ พั ฒ น า ผู้ เ รี ย น อ ย่ า ง ห ล า ก ห ล า ย ส่ ง ผ ล ใ ห้ นั ก เ รี ย น มี

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเพ่ิมสูงขึน มีคุณภาพและ

ประสิทธิภาพ ตามมาตรฐานการเรียนท่ีหลักสูตรก้าหนด

ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องให้การยอมรับ

เชื่อถือ และม่ันใจในการจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

อยา่ งมีประสิทธิภาพและครอบคลมุ ถงึ นักเรียนทกุ คน

มีการจัดการประชุมผู้ปกครองนักเรียนปีการศึกษา

ละ 2 ครัง รวมทังจัดตังเครือข่ายผู้ปกครอง เพื่อการ

ประสานงานและรับฟังข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะในการจัด

การศึกษาจากผู้ปกครองน้ามาปรับใช้ในการจัดการศึกษา

ให้เกิดประสิทธิภาพและสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและ

ปรับปรุงการจดั การเรียนรู้

3. จุดเดน่
ครูมีทักษะและความสามารถในการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเปน็ ส้าคัญ มีการปรับวิธีการสอนยุคการ

แพร่ระบาดของไวรัสโควิค 19 มีการใช้ส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการใช้โปรแกรมต่างๆ เช่น Google Classroom
Google Site Google Meet Google Zoom Facebook Line เป็นต้น พร้อมทังผลิตสื่อท่ีใช้ในการจัดการเรียนการ
สอน ส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มสูงขึน มีคุณภาพและประสิทธิภาพตามมาตรฐานการเรียนที่
หลักสูตรก้าหนด และการวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง ครูจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาผู้เรียนอย่างหลากหลายส่งผลให้
นกั เรยี นมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นเพ่ิมสูงขึน มีคุณภาพและประสิทธภิ าพตามมาตรฐานการเรยี นท่ีหลักสตู รก้าหนด ครู
ทุกคนมีใบประกอบวิชาชีพและสอนตรงตามวิชาเอก มีการท้าวิจัยในชันเรียน ท้าให้ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงานที่
เกีย่ วข้องใหก้ ารยอมรับ เชือ่ ถอื และมั่นใจในการจดั การศึกษาของสถานศึกษา

ผลการด้าเนนิ งานตามโครงการ/กิจกรรมดงั กลา่ วนที ้าให้ผเู้ รยี นได้รบั ความรูแ้ ละการพฒั นาทักษะที่จ้าเป็นตาม
หลกั สูตรในทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้และทุกระดับชนั ช่วยพฒั นาทักษะดา้ นการคิดวเิ คราะห์ คิดสงั เคราะห์ คิสรา้ งสรรค์
คิดอย่างเป็นระบบ ส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนทัง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ มีสมรรถนะที่ส้าคัญตาม
หลกั สตู ร มีผลการประเมนิ การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน ส่งผลให้นักเรยี นมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นเพิ่มสูงขึน มี
คณุ ภาพและประสิทธิภาพตามมาตรฐานการเรยี นทห่ี ลกั สตู รกา้ หนด มีผลงานและได้รับรางวัลการแข่งขันทักษะ
วิชาการศลิ ปหัตถกรรม ระดบั เขต ระดับภาคและระดับประเทศ

มกี ารนา้ ภมู ิปัญญาท้องถิน่ ใหเ้ ขา้ มามีสว่ นร่วมในการจดั กิจกรรมให้นักเรียนได้เรียนรู้ และการใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลับ
แก่นกั เรียนทันทเี พอ่ื ใหน้ ักเรยี นนา้ ไปใชพ้ ัฒนาตนเองตอ่ ไป

4. จุดควรพัฒนา
พัฒนาผ้เู รียนตามหลักสูตร ให้ผลการทดสอบระดบั ชาติของนักเรยี นชันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ในบางกล่มุ สาระทย่ี งั มีผล

การทดสอบระดบั ชาตติ า่้ อยู่

สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวม
ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาอยู่ในระดบั คุณภาพ ดีเลศิ

จากผลการด้าเนินงานโครงการและกิจกรรมต่างๆ ส่งผลให้สถานศึกษาด้าเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ประสบผลสา้ เรจ็ ตามเป้าหมายท่ีตงั ไว้ในแตล่ ะมาตรฐาน จากผลการประเมนิ ในภาพรวมสรุปได้ว่า การจดั การศกึ ษาของ
โรงเรียนอยู่ในระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม ทังนี เพราะมาตรฐานท่ี 1 ผลการจัดการศึกษาอยู่ในระดับดีเลิศ มาตรฐานที่ 2
กระบวนการบริหารและการจัดการศึกษา อยู่ในระดับดีเลิศ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้น
ผู้เรียนเป็นส้าคัญ อยู่ในระดับดีเลิศ ทังนีสถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลายท่ีเป็นไป
ตามปัญหาและความต้องการพัฒนาตามสภาพ
ของผเู้ รยี นสอดคล้องกบั จดุ เน้นของสถานศกึ ษาและสภาพของชมุ ชนท้องถิ่น จนมีผลการพัฒนาดงั นี

ด้านคุณภาพของผู้เรียนอยู่ในระดับดีเลิศ พัฒนาการของค่าเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติสูงขึน ผู้เรียนมี
ความสามารถในการอ่านและเขียน มีความรู้และทักษะท่ีจ้าเป็นตามหลักสูตร ช่วยพัฒนาทักษะ ด้านการคิดวิเคราะห์
คิดสงั เคราะห์ คดิ สร้างสรรค์ คดิ อย่างเป็นระบบ ส่งผลให้นักเรยี นมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนทัง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ มี
สมรรถนะท่ีส้าคัญ ตามหลักสูตร มีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ส่งผลให้ผู้เรียนมีความสามารถใน
การสร้างนวัตกรรมและมีความรู้ ทักษะการท้างานต่องานอาชีพ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ชัน
มัธยมศึกษาปที ี่ 1 - 6 มีพัฒนาการที่สูงขนึ และมีความประพฤติดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะตามที่
สถานศึกษาก้าหนดอย่างชดั เจน

ด้านกระบวนการบริหารจัดการ มีผลประเมินในรายมาตรฐานอยู่ในระดับดีเลิศ สถานศึกษา มีการวางแผน
ออกแบบกิจกรรม และมีนวัตกรรมการบริหารที่ชัดเจน ด้าเนินงานตามแผนที่เกิดจากการมีส่วนร่วมใช้ผลการประเมิน
และการด้าเนินงานในปีท่ีผ่านมาเป็นฐานในการพัฒนาและสอดคล้องกั บเป้าหมายการพัฒนาตรวจสอบผลการ
ดา้ เนินงานและการปรับปรุงแก้ไขงานใหด้ ขี ึนอย่างต่อเนอื่ ง

ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นส้าคัญ มีผลประเมินอยู่ในระดับดีเลิศ มีการวิเคราะห์
ออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่เป็นไปตามความต้องการของหลักสูตร และบริบทสถานศึกษา พัฒนากิจกรรมการเรยี นรู้
การใช้สื่อการเรียนรู้ การติดตาม ตรวจสอบและช่วยเหลือนักเรียนเพ่ือพัฒนาและแก้ปัญหารายบุคคล และการ
ประเมินผลจาก สภาพจริงในทุกขันตอน มีการปรับวิธีการสอนยุคการแพร่ระบาดของไวรัสโควิค 19 มีการใช้ส่ือ
เทคโนโลยีสารสนเทศ มกี ารใชโ้ ปรแกรมต่างๆ เช่น Google Classroom Google Site Google Meet Google Zoom
Facebook Line เป็นต้น พร้อมทังผลิตส่ือที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
เพม่ิ สูงขนึ มีคณุ ภาพและประสทิ ธิภาพตามมาตรฐานการเรยี นทีห่ ลกั สตู รกา้ หนด

ภาคผนวก

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผ้เู รียน





มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ



มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสา้ คญั


Click to View FlipBook Version