The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yimma.yo, 2022-06-04 05:24:32

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา64-66

รวมแผนพัฒ

1



แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564-2566 : ก

คำนำ

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564-2566 โรงเรียนนกิ รราษฎร์บารุงวทิ ย์ จดั ทา
ขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นเคร่ืองมือประกอบในการวางแผนการจัดการศึกษา ตามบทบาท
หน้าท่ีของโรงเรียนเพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้ได้รับการพัฒนาความสามารถเต็มศักยภาพ และ
เป็นไปตามนโยบายการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยได้กาหนดกลยุทธ์การพัฒนาเป็นระยะเวลา 3 ปี
(ปกี ารศกึ ษา 2564-2566) ทัง้ นโี้ ดยความรว่ มมอื รว่ มใจของทกุ ฝ่าย อันไดแ้ ก่ ฝ่ายบริหาร หวั หน้างาน
และหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ คณะครู นักเรียน และผู้ปกครอง ตลอดจนคณะกรรมการ
สถานศึกษาท่ีร่วมแสดงความคิดเห็น ให้ข้อมูลและข้อเสนอแนะเพ่ือใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการ
วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา และร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือ
กาหนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กลยุทธ์นโยบาย ของโรงเรียน
โรงเรียนนิกรราษฎร์บารุงวิทย์ จนทาให้แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาบรรลุผลสาเร็จเป็นไปตาม
พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษา พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ.2553
สอดคล้องกับนโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน อันนาไปสู่การจัดทา
แผนปฏิบัติการประจาปี กาหนดทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในอนาคตอย่าง
ชดั เจน และการกาหนดควบคุม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาฉบับนี้ หวังเป็นอย่างย่ิงว่าจะเป็นเคร่ืองมือช่วยให้การบรหิ าร
จัดการศึกษาของโรงเรียนดาเนินไปอย่างมีทิศทางและมีประสิทธิภาพ และขอขอบคุณคณะครู
บุคลากรทุกท่าน คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองและนักเรียน ที่ให้ความร่วมมือในการ
ดาเนนิ งานคร้งั นจี้ นประสบผลสาเรจ็ ลลุ ว่ งไปไดด้ ว้ ยดี

โรงเรยี นนกิ รราษฎรบ์ ารงุ วิทย์

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564-2566 : ข

สำรบญั

ส่วนท่ี 1 ข้อมลู พืน้ ฐำนของโรงเรียน หน้ำ
ขอ้ มูลทวั่ ไป 1
ประวัติโรงเรียนโดยย่อ 1
ข้อมูลผู้บรหิ าร 1
ข้อมลู ครูและบคุ ลากร 7
ข้อมูลนักเรยี น 7
ข้อมลู อาคารสถานที่ 8
ขอ้ มูลสภาพชุมชนโดยรวม 8
แหล่งเรยี นรู้ ภูมิปญั ญาท้องถนิ่ 8
นโยบายการศกึ ษาของหนว่ ยงานตน้ สังกัด 10
11
ส่วนที่ 2 กำรวิเครำะห์ปจั จยั 29
การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน โดยใชร้ ปู แบบ 2S 4M 29
32
ผลการวิเคราะหป์ จั จัยภายนอก (External Environment) โดยใช้รูปแบบ C – PEST 35
38
สรุปผลการวิเคราะห์สภาพของโรงเรยี น 38
สว่ นที่ 3 ทศิ ทำงกำรจัดกำรศกึ ษำ 39
42
วสิ ยั ทศั น์ อัตลักษณ์ เอกลกั ษณ์ พนั ธกิจ เป้าประสงค์ 44
การกาหนดกลยทุ ธข์ องโรงเรยี น 44
กลยทุ ธแ์ ละจดุ เน้น 47
ส่วนที่ 4 กรอบกลยทุ ธ์ 49
กลยทุ ธ์ท่ี 1 50
กลยุทธท์ ี่ 2 51
กลยุทธ์ท่ี 3 54
กลยทุ ธ์ท่ี 4 55
กลยทุ ธ์ที่ 5 55
กลยทุ ธ์ท่ี 6 57
ส่วนท่ี 5 โครงกำร/กิจกรรม ระยะ 3 ปี
ระดับการศกึ ษาปฐมวัย
ระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปีการศกึ ษา 2564-2566 : ค

สำรบญั (ต่อ) หน้ำ
62
สว่ นท่ี 6 แนวทำงกำรนำแผนสู่กำรปฏบิ ัติ 62
ปจั จัยแหง่ ความสาเรจ็ 63
การนาแผนส่กู ารปฏบิ ัติ 64
การจดั ระบบติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดาเนนิ งาน 68

ภำคผนวก

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปกี ารศึกษา 2564-2566 : 1

สว่ นท่ี 1

ขอ้ มลู พ้นื ฐำนของโรงเรยี น

1. ข้อมูลทัว่ ไป

ชอ่ื โรงเรยี นนกิ รราษฎร์บารงุ วิทย์ ที่ต้ังเลขที่ 1 / 1 หมู่ 4 ตาบลบึงบอน อาเภอหนองเสือ
จังหวัดปทุมธานี 12170 สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ติดต่อผ่านทางอีเมล์
[email protected] และทางเวบ็ ไซต์ของโรงเรยี น http://www.nikornwit.com

- เปดิ สอนระดบั ช้ันอนุบาล 2 ถึงระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6
- พื้นที่บรกิ าร หมู่ที่ 3 , 4 , 9 ตาบลบงึ บอน

2. ประวัตโิ รงเรียนโดยยอ่

โรงเรียนนิกรราษฎร์บารงุ วิทยจ์ ัดตั้งขึ้นเมื่อวนั ท่ี 1 มิถุนายน พ.ศ. 2477 โดย นายชม ชาติ
นนท์ นายอาเภอ หนองเสือเป็นผู้ริเรม่ิ จัดต้ังและมอบให้นายเฉลียว ทยานศิลป์ ศึกษาธิการอาเภอ
นายสุบรรณ ปลัดอาเภอ เป็นผู้ทาพิธีเปิดใช้ช่ือว่า โรงเรียนประชำบำล ตำบลบึงบอน 2 (วัดบึง
บอน) สถานท่เี รียนใช้ศาลาการเปรียญของวัดบึงบอน

พ.ศ. 2485 เดือนมิถุนายน ได้ปลูกสร้างโรงเรียนแบบ ป.1 ก กว้าง 8 เมตร ยาว 24
เมตร ยกพ้ืนสูง 2 เมตร หลังคากระเบื้องปลูกในท่ีดินของวดั ส้ินค่าก่อสร้าง 1,800 บาท เป็น
เงินงบประมาณ 1,000 บาท เงนิ ราษฎรบริจาค 800 บาท โดยนายอาเภอหนองเสอื ขุนนิกร พวั
ไพโรจน์และครูใหญ่ นายเช้ือ มว่ งเจก๊ ประสานงานขอต้งั ชอื่ โรงเรียนประชาบาล ตาบล บงึ บอน 2
(วัดบึงบอน) ให้ช่ือใหม่ว่า โรงเรียนนิกรรำษฎร์บำรุงวิทย์ นายฟู สถานนท์ ศึกษาธิการอาเภอ
หนองเสอื ผู้มาตรวจรบั และเปดิ ปา้ ยช่ือโรงเรยี นในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2485

พ.ศ. 2504 อาคารชารุด หักพัง ได้อาศัยศาลาการเปรียญของวัดบึงบอนเป็นที่เรียนและ
ดาเนนิ การขอบริจาคท่ีดนิ จากหลวงประสิทธิ์ กลมัย ไดม้ อบท่ดี ินให้ประมาณ 200 ตารางวา โดย
ทาหนงั สือมอบกรรมสทิ ธิ์ไว้ให้โรงเรยี นเปน็ หลักฐาน แตย่ งั ไมแ่ ยกโฉนด

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ปีการศกึ ษา 2564-2566 : 2

พ.ศ. 2505 ได้รับงบประมาณจากทางราชการ 30,000 บาท และเงินราษฎรบริจาค
สมทบ 16,000 บาท รวม 46,000 บาท เดือนมีนาคมขอเงินจากราษฎรขุดดินถมท่ีปลูกสร้าง
อาคารเรียนรวม 7 วัน เดือนกรกฎาคมดาเนินการปลูกสร้างอาคารเรียนแบบ ป.1 ขนาด 3
ห้องเรียน 8 × 27 เมตร ยกพื้นสูง 0.90 เมตร หลังคาสังกะสี ไม่มีประตู หน้าต่าง ฝ้าเพดาน
และได้ติดต่อขอท่ีดินเพ่ิมเติมพร้อมกบั ทาการแบ่งแยกโฉนดให้เป็นของโรงเรียน โฉนดเลขที่ 5149
เลม่ ท่ี 56 หน้า 49 และเลขท่ี 2394 เล่มที่ 24 หน้า 94 รวมเนอ้ื ทที่ ัง้ สองโฉนด 1 ไร่ 82 ตารางวา

พ.ศ. 2523 ได้ดาเนินการถมท่ีเตรียมไว้ปลูกสร้างอาคารเรียนหลังใหม่ขนาด 35 × 85
เมตร ในทขี่ องวดั

พ.ศ. 2535 ได้รบั เงินงบประมาณสร้างอาคารเรียน แบบ สปช.101/26 จานวน 1 หลงั
ขนาด 3 ห้องเรียน งบประมาณ 910,000 บาท

พ.ศ. 2536 ได้งบประมาณสร้างอาคารอเนกประสงค์ แบบ สปช.202/26 จานวน 1 หลงั
งบประมาณ 289,000 บาท

พ.ศ. 2537 ได้รับมอบสนามเด็กเล่นจากผู้ปกครอง มูลค่า 8,000 บาท ได้รับมอบเครื่อง
โรเนียวไฟฟ้า จากบุตร-ธิดา ของนายเย้ือน สายเงิน จานวน 1 เคร่ือง 25 ธันวาคม พระครูโสภณ
กจิ จารักษ์ บริจาคเครือ่ งพิมพ์ดีด จานวน 1 เครอื่ ง มูลคา่ 9,500 บาท

พ.ศ. 2539 ได้รับเคร่ืองโทรทัศน์สี National ขนาด 20 น้ิว มูลค่า 9,000 บาท เคร่ืองเล่น
VDO มูลค่า 8,500 บาท ได้รับหม้อหุงข้าวแก๊ส 1 ใบ พร้อมถัง ราคา 4,500 บาท จากนางทองมว้ น
แย้มผกา

พ.ศ. 2540 ศษิ ยเ์ กา่ บริจาคเครือ่ งถ่ายเอกสาร จานวน 1 เคร่ือง มูลค่า 26,000 บาทผูใ้ หญ่
สมศักดิ์ หอมเกษร บริจาคโทรทัศน์สี SHARP ขนาด 20 น้ิว จานวน 1 เคร่ือง มูลค่า 6,990 บาท
นางสมบัติ ย้ิมใหญ่ บริจาคเครื่องคอมพิวเตอร์ จานวน 1 เครื่อง มูลค่า 7,500 บาท พร้อมเครอื่ ง
สารองไฟฟ้า 3,770 บาท

พ.ศ. 2541 ได้รับงบประมาณสร้างส้วม แบบ สปช. 601/26 จานวน 1 หลัง 4 ท่ี มูลค่า
110,836 บาท

พ.ศ. 2543 ได้รับงบประมาณเปลี่ยนประตเู ล่อื น 20,000 บาท

พ.ศ. 2546 ไดร้ บั การสนบั สนนุ จากชุมชน บริจาคตเู้ ยน็ ใชใ้ นกจิ การสหกรณ์ จานวน 1 เครื่อง
มูลค่า 7,200 บาท กรกฎาคม นักศึกษามหาวิทยาลัยหอการค้าไทย บริจาคเงิน 13,000 บาทและ
เงินผ้าปา่ การศึกษา14,600 บาท สร้างโรงจอดจักรยานของนกั เรยี น สิงหาคมไดร้ ับบริจาคเหลก็ ดัดติด
ประตู หนา้ ตา่ ง อาคาร สปช.101/26 มูลค่า 5,800 บาท

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564-2566 : 3

พ.ศ. 2547 ได้รับงบประมาณเปล่ียนหลังคากระเบื้องอาคารเรียนแบบ ป 1 ก 56,000
บาท เงินผ้าป่าอีก 8,000 บาท เดือนตุลาคม ได้รับงบประมาณเปล่ียนหลังคากระเบื้อง อีก 30,000
บาท เปล่ียนสายไฟฟ้า อาคารเรียนแบบ ป 1 ก และส้วม สปช.601/26 มูลค่า 35,900 บาท 18
พฤศจกิ ายน 2547 ไดร้ บั เคร่อื งคอมพิวเตอร์ เคร่ืองปรน้ิ ท์ พร้อมโต๊ะ เก้าอี้ และเคร่อื งสารองไฟฟ้า 1
ชดุ

พ.ศ. 2548 วันที่ 3 พฤษภาคม ได้รับเครื่องคอมพิวเตอร์ เคร่ืองปริ้นท์และเคร่ืองสารอง
ไฟฟ้า 1 ชุด , มูลค่า รวม 89,800 บาท นอ.สมบูรณ์ นอ.ระเบียบ รวงผ้ึงหลวง มอบพระพทุ ธรปู
มูลคา่ 9,000 บาท

พ.ศ. 2549 ได้รับงบประมาณเปลี่ยนตอม่อเสาอาคารเรียน แบบ ป 1 ก จานวน 111,000
บาท พระครูโสภณกิจจารักษ์ เจ้าอาวาสวัดบึงบอน บริจาคอังกะลุง 15,000 บาท อิเล็คโทน
12,000 บาท

พ.ศ. 2551 เดือนสิงหาคม องค์การบริหารส่วนตาบลบึงบอน ได้ก่อสร้างโครงหลังคาสนาม
เดก็ เลน่ ขนาด 6 X 16 เมตร มลู ค่า 25,000 บาท เดอื นตลุ าคม ได้ตอ่ เตมิ ช้นั ลา่ ง อาคาร สปช.
101/26 เปน็ ศนู ย์พฒั นาเดก็ เลก็ (3 ขวบ) ขนาด 6 X 18 เมตร มลู ค่า 602,000 บาท

พ.ศ. 2552 เดอื นกรกฎาคม องค์การบรหิ ารส่วนตาบลบงึ บอน ได้ตอ่ เติมหลังคารอบอาคาร
สปช.101/26 มูลคา่ 100,000 บาท

พ.ศ. 2554 นางสุรดา อ่ิมพงษ์ ยา้ ยมาดารงตาแหนง่ ผูอ้ านวยการโรงเรียนนิกรราษฎร์บารุง
วิทย์ เมือ่ วนั ท่ี 3 กุมภาพนั ธ์ 2554

งานปรับปรุงหอ้ งสมดุ บึงบอนสามัคคี งบประมาณจากผ้บู ริจาครวมจานวน 48,100 บาท ,
พระครูโสภณกิจจารักษ์ เจ้าอาวาสวัดบึงบอน มอบเงินทอดผ้าป่าสามัคคีวันที่ 3 เมษายน 2554
จานวน 48,930 บาท และเงินถวายเทียนวันเข้าพรรษา จาวน 20,200 บาท รวมท้ังส้ิน
117,230 บาท

ไดร้ ับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียน แบบ สปช. 2/28 ปรับปรงุ 3 ชั้น 6 หอ้ งเรียน

ใต้ถนุ โล่ง งบประมาณ 5,000,000 บาท

ได้รับงบประมาณซ่อมแซมถนนหน้าโรงอาหาร เน่ืองจากประสบภัยน้าท่วม งบประมาณ
50,000 บาท

ในปี พ.ศ. 2559 นายสุทิน ย้ิมถนอม ดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนนิกรราษฎร์บารุง
วิทย์ เม่อื วนั ที่ 22 ธันวาคม 2559

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปีการศึกษา 2564-2566 : 4

ในปี พ.ศ. 2561 ได้รับงบสนับสนุนจากชุมชนจัดทาป้ายชื่อโรงเรียนทาด้วยหินอ่อน
งบประมาณ 35,000 บาท

ในปี พ.ศ. 2563 ได้รับงบปรับปรุงซ่อมแซม จานวน 192,000 บาท ปรับปรุงทางเช่ือม
ระหว่างโรงอาหารไปอาคารอนบุ าลเพอ่ื ป้องกนั แดดและฝน

ในปี พ.ศ. 2564 นางสาวณัฎฐิพร วงษ์ไทยดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนนิกรราษฎร์
บารุงวิทย์ เม่ือวันท่ี 1 กมุ ภาพันธ์ 2564

พล.ต.ท.คารณวิทย์ ธูปกระจ่าง นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี ได้สนับสนุน
งบประมาณสว่ นตวั กอ่ สร้างหลงั คาอาหารโดม “ธปู กระจา่ ง”

ปัจจุบันเปิดเรียนตั้งแต่ระดับช้ันอนุบาลปีท่ี 2 ถึงช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 มีอาคารเรียน 2
หลัง อาคารเอนกประสงค์ 1 หลงั สว้ ม 1 หลงั

การจดั การเรียนการสอน โรงเรยี นเปิดทาการสอนตงั้ แตช่ ั้นอนบุ าลปีท่ี 2 ถงึ ช้นั ประถมศึกษา
ปที ี่ 6

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2564-2566 : 5



อกั ษรยอ่ ของโรงเรยี น น.ว.

สีประจำโรงเรียน ม่วง – เหลอื ง

คติพจน์ สจั เจอัตเถจ ธมฺเมจ อหุสันโต ปติฏฐติ า สัตตบรุ ษุ

(บณั ฑิต) ย่อมม่ันคงอยู่ในสจั จะ

ปรชั ญำของโรงเรียน มคี วามสขุ ในการเรียนรู้ ม่งุ สกู่ ารพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื

ทต่ี ั้ง 1/1 หมทู่ ่ี 4 ตาบลบงึ บอน

อาเภอหนองเสือ จงั หวัดปทมุ ธานี 12170

ทต่ี ้ังทำงภูมิศำสตร์ ละติจูด 14.076191

ลองติจูด 100.777953

วสิ ยั ทัศน์ ผเู้ รียนมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา

บนพืน้ ฐานการบรหิ ารแบบมีสว่ น

ร่วมของชุมชน เพ่ือการพัฒนาคุณภาพอยา่ งย่งั ยืน

อตั ลกั ษณ์ ภูมทิ ศั น์เดน่ เนน้ วชิ าการ สานสมั พนั ธ์ชมุ ชน

เอกลักษณ์ ซอ่ื สัตย์ สามัคคี มีจิตอาสา

คณุ ธรรมอตั ลกั ษณ์ มีวนิ ัย ซ่ือสัตย์ จิตสาธารณะ

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2564-2566 : 6

แผนท่โี รงเรียนนิกรรำษฎร์บำรงุ วทิ ย์

หอ้ งนำ้ โรงอำหำร ลำน BBL อำคำรเรยี น สปช แปลง
2/28 เกษตร

ประตู

สนำมเดก็ เล่น อำคำรบงึ บอนสำมคั คี ลำนอเนกประสงค์
ทำงเขำ้
ห้องพยำบำล
อำคำรเรียน สปช

101/26

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ปีการศึกษา 2564-2566 : 7

3. ข้อมลู ผู้บรหิ ำร

1) ผ้อู านวยการโรงเรียน ชื่อ-สกลุ นางสาวณฎั ฐิพร วงษไ์ ทย
วุฒิการศกึ ษาสูงสุดปริญญาโท ศึกษาศาสตรม์ หาบัณฑิต (ศษ.ม.) โทรศพั ท์ 06-3246-1059
ดารงตาแหน่งท่ีโรงเรยี นนี้ตงั้ แต่ วันท่ี 1 กุมภาพันธ์ 2564 จนถงึ ปัจจุบัน
4. ข้อมูลครูและบคุ ลำกร

ตำแหน่ง สอนวิชำหลกั สอน

ที่ ชื่อ – สกลุ /อันดับ วุฒิ วิชำเอก (ระบุ 1 วิชำ) ประจำชั้น

1. นางสาวกนั ต์กมล สวุ ภาพภทั รพร ครูผชู้ ว่ ย ค.บ. การศกึ ษาปฐมวัย ปฐมวยั อนบุ าล 3
ป.1-ป.3
2. นางสาวกิง่ รกั เยาวภักดิ์ ครู คศ.2 ค.ม. วิจัยและประเมินผล ภาษาไทย ป.1-ป.6
การศกึ ษา ป.1-ป.3
ป.3-ป.6
3. นางสาวกานดา บวั ประดษิ ฐ์ ครู คศ.1 ค.บ. สังคมศึกษา สงั คมศึกษา ป.4-ป.6
ป.1-ป.6
4. นางประภาวรนิ ทร์ มุ่นเชย ครู คศ.1 ค.บ. วิทยาศาสตรท์ ่ัวไป วทิ ยาศาสตร์
ป.4-ป.6
5. นางสาวรชั นกี ร จารยิ ะมา ครู คศ.1 ค.บ. ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ
ป.1-ป.3
6. นางสาวนิตยา กาฬสุวรรณ ครู คศ.1 ศศ.บ. ภาษาไทย ภาษาไทย
ป.1-ป.3
7. นางสาวนนั ทวนั สร้อยปทมุ ครู คศ.1 บธ.บ. ระบบสารสนเทศ วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ป.1-ป.6
-
8. นางสาวศริ ิพร ขาวิไล นวัตกรรมหลกั สตู ร
ครู คศ.1 ศษ.ม. และการจัดการ วิทยาศาสตร์

เรียนการสอน

9. นางสาวโกศล อยภู่ กั ดี ครูอตั รา ค.บ. สังคมศึกษา สังคมศกึ ษา
จ้าง

10 นางสาวพชิ ชานันท์ คาภีระ ครูอตั รา ค.บ. ภาษาอังกฤษ ภาษาองั กฤษ
จ้าง

11 นายทศั นยั นอ้ ยภา ครูอตั รา ศษ.บ พลศึกษา พลศกึ ษา
จ้าง

12 นางสาวแสงเดอื น เดชสาคร ธรุ การ ม.6 - -

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564-2566 : 8

5. ขอ้ มูลนกั เรยี น (ข้อมลู ณ วันที่ 12 พฤษภาคม 2564 )

ระดบั ช้ัน จำนวนนักเรยี น รวม
อนุบาล 2
ชำย หญิง 21
18
12 9 39
23
อนบุ าล 3 12 6 24
10
รวม 24 15 15
20
ประถมศึกษาปีท่ี 1 15 8 15
107
ประถมศกึ ษาปีที่ 2 12 12
146
ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 55

ประถมศึกษาปที ่ี 4 78

ประถมศึกษาปที ี่ 5 9 11

ประถมศึกษาปีท่ี 6 96

รวม 57 50

รวมจำนวนนักเรยี นท้งั หมด 81 65

6. ขอ้ มลู อำคำรสถำนท่ี

อาคารเรยี นจานวน 2 หลงั อาคารอเนกประสงค์/โรงอาหาร จานวน 1 หลงั ส้วม 1
หลัง สนามเดก็ เลน่ 1 สนาม ศาลาพกั ผ่อน 1 หลงั

7. ข้อมูลสภำพชมุ ชนโดยรวม

1) สภาพชมุ ชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะ ชมุ ชนเกษตรกรรม ได้แก่ หมบู่ า้ น หมู่ 3 หมู่
4 หมู่ 9 มปี ระชากรประมาณ 2,000 คน บริเวณใกลเ้ คยี งโดยรอบโรงเรยี นได้แก่ วัดบงึ บอน อาชีพ
หลักของชุมชน คือ ทานา รับจา้ ง เน่อื งจาก มที ่นี าทากันเอง และเชา่ ทน่ี า รบั จ้างโรงงานที่มากอ่ ต้ัง

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2564-2566 : 9

ในเขต ประมาณ 13 โรงงาน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณี/ ศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ินที่รจู้ กั
โดยทั่วไปคอื ตรุษไทย สารท์ ไทย สงกรานต์ แหเ่ ทยี นพรรษา ตกั บาตรเทโว กฐิน ผ้าปา่ การบวช
นาค การเผาศพ

2) ผปู้ กครองสว่ นใหญ่ จบการศึกษาระดบั ประถมศึกษาปที ่ี 6 ประกอบอาชีพทานา ร้อยละ
20 รับจา้ งร้อยละ 80 นบั ถือศาสนาพุทธ รอ้ ยละ 98.15 อิสลามร้อยละ 1.85 ฐานะทางเศรษฐกิจ
รายได้โดยเฉลีย่ ต่อปีประมาณ 40,000 บาท

3) โอกาสและขอ้ จากดั ของโรงเรียน

3.1 โอกาส

1. โรงเรียนต้ังอยู่ในบริเวณวัดบึงบอน จึงใช้พื้นท่ีธรณีสงฆ์ปลูกสร้างอาคารเรียน
จานวน 1 หลงั ประมาณ 200 ตารางวา และใชพ้ น้ื ท่ีเพื่อเปน็ ประโยชนใ์ นการใช้สอยของโรงเรียน
อกี ประมาณ 200 ตารางวา การเดนิ ทางสัญจร ไฟฟ้า ประปาสะดวก องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน
องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลบึงบอน คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ผู้ปกครอง และผู้มอี ปุ การะ
ให้การชว่ ยเหลือทนุ การศึกษา อาหารกลางวัน สอ่ื การเรยี นการสอน สือ่ เทคโนโลยคี ่อนข้างทนั สมยั มี
แหล่งเรยี นรู้ดา้ นการเกษตร การขายพันธไ์ุ ม้

2. โรงเรียนมแี หล่งเรยี นรู้ ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่นที่หลากหลาย เชน่ ภูมปิ ัญญาชาวบ้าน
ขยายพันธ์ุไม้ใหญ่ ศลิ ปะงานปัน้ งานวาด อาหารไทย ขนมไทย สานปลาตะเพยี น ผลติ ภณั ฑ์จาก
กล้วย

3. ชมุ ชนสว่ นใหญ่เหน็ ความสาคัญของการจัดการศกึ ษา โรงเรียนได้รบั ความร่วมมอื
จากชุมชนและผู้ปกครองนักเรยี นในการพฒั นาการศกึ ษา

4. บุคลากรมีวิสัยทัศน์ มีคุณวุฒิ มีทักษะความสามารถในการปฏิบัติงานตรงกับ
ความรับผิดชอบตลอดจนมีความทุ่มเทให้กับการปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถ มีความสามารถ
ในการพัฒนานักเรียนเต็มศักยภาพ

3.2 ขอ้ จากดั

1. นกั เรียนร้อยละ 70 มาจากต่างจังหวัดเนือ่ งจากตดิ ตามผู้ปกครองมารบั จา้ ง
ทางานโรงงาน ซง่ึ มรี ายได้นอ้ ย ฐานะยากจน จึงมกี ารย้ายสถานทเ่ี รียนบอ่ ย ส่งผลต่อการเรยี นของ
นกั เรยี น

2. โรงเรียนมีพน้ื ที่เพียง 1 ไร่ 82 ตารางวา เป็นทรี่ าชพัสดุ บรเิ วณโรงเรยี นจงึ คับ
แคบไม่สะดวกในการจดั กจิ กรรม

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564-2566 : 10

3. ขาดการสนับสนนุ ดา้ นทรพั ยากรจากหนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วขอ้ ง โรงเรียนตอ้ งขอ ความ
ชว่ ยเหลือจากชุมชนเพือ่ พัฒนาโรงเรยี น

4. ไมม่ รี ถประจาทางต้องใชพ้ าหนะสว่ นตัว รถจกั รยานยนตห์ รอื จกั รยาน

8. แหล่งเรยี นรู้ ภมู ิปญั ญำทอ้ งถ่นิ

1. หอ้ งสมุดมขี นาด 54 ตารางเมตร(ขนาด 1 ห้องเรยี น) มหี นังสอื ทั้งหมด 2,000 เลม่

จานวนนักเรยี นท่ีใชห้ ้องสมดุ ในปกี ารศกึ ษาทรี่ ายงาน เฉลย่ี 80 คน ตอ่ วันคิดเปน็ รอ้ ยละ
64 ของนักเรียนทง้ั หมด

2. หอ้ งปฏิบัตกิ าร

หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารวิทยาศาสตร์ จานวน 1 หอ้ ง

หอ้ งปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอร์ จานวน 1 ห้อง

3. คอมพิวเตอร์ จานวน 26 เครื่อง

ใชเ้ พอ่ื การเรียนการสอน จานวน 20 เครื่อง

ใช้เพือ่ สืบคน้ ข้อมูลทางอินเทอรเ์ น็ต จานวน 5 เครื่อง

ใชเ้ พ่ือบรหิ ารจัดการ จานวน 3 เคร่ือง

4. แหลง่ เรยี นรภู้ ายในโรงเรยี น

แหลง่ เรยี นรภู้ ำยใน สถติ กิ ำรใช้จำนวนครัง้ /ปี
ช่อื แหล่งเรยี นรู้
200
1. หอ้ งปฏบิ ตั ิการวทิ ยาศาสตร์ 200
2. หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอร์ 200
3. ห้องสมุดโรงเรยี น

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2564-2566 : 11

5. แหลง่ เรียนรู้ภายนอกโรงเรียน สถติ ิกำรใชจ้ ำนวนครั้ง/ปี

แหลง่ เรียนรภู้ ำยนอก 50
ช่ือแหลง่ เรียนรู้ 1
20
1. วัดบึงบอน 30
2. วัดปัญญานนั ทาราม 1
3. องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลบงึ บอน 1
4. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลบงึ บอน 2
5. พิพธิ ภัณฑว์ ิทยาศาสตร์แห่งชาติ 1
6. พิพิธภัณฑพ์ ระรามเกา้
7. โรงพยาบาลหนองเสอื
8. อนุสรณ์สถานแห่งชาติ

9. นโยบำยกำรศึกษำหนว่ ยงำนตน้ สงั กดั

การบริหารจัดการศึกษา เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้มี
คณุ ภาพตามมาตรฐานนั้นจาเปน็ อย่างยงิ่ ท่ีจะตอ้ งวเิ คราะหภ์ ารกิจ วเิ คราะห์สภาพแวดล้อม เพ่อื นาไป
กาหนดทิศทางการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐานของสถานศึกษา และสนองความต้องการ
ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประโยชน์ในการจัดการศึกษา และคานึงถึงบริบทท่ีสาคัญท่ีส่งผลกระทบต่อ
การจัดการศึกษา และจากการศึกษาผลการวิเคราะห์ทิศทางการดาเนินการของหน่วยงานต้นสังกัด
เพือ่ ใช้เปน็ ขอ้ มลู ในการวางแผนพฒั นาการศึกษา ดังน้ี

1.รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้บัญญัติสาระสาคัญเก่ียวกับ
การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานไวใ้ น มาตรา 54 รฐั ตอ้ งดาเนินการใหเ้ ด็กทุกคนไดร้ ับการศึกษาเป็นเวลาสิบสอง
ปี ต้งั แตก่ อ่ นวัยเรียนจนจบการศกึ ษาภาคบังคับอยา่ งมคี ุณภาพโดยไม่เก็บคา่ ใช้จ่าย รฐั ต้องดาเนินการ
ให้เด็กเล็กได้รับการดูแล และพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาตามวรรคหน่ึง เพ่ือพัฒนาร่างกาย จิตใจ
วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุน ให้องค์กร ปกครองส่วน

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564-2566 : 12

ท้องถิ่นและภาคเอกชนเข้ามีส่วนร่วมในการดาเนินการด้วย รัฐต้องดาเนินการให้ประชาชนได้รับ
การศกึ ษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ รวมทั้งส่งเสรมิ ใหม้ กี ารเรียนรู้ตลอดชวี ิต และจดั ใหม้ ีการ
รว่ มมอื กันระหวา่ งรฐั องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และภาคเอกชน ในการจดั การศกึ ษาทกุ ระดับ โดย
รัฐมีหน้าท่ีดาเนินการ กากับ ส่งเสริม และสนับสนุนให้การจัดการศึกษา ดังกล่าวมีคุณภาพและได้
มาตรฐานสากล ทั้งน้ี ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติซึ่งอยา่ งน้อย ต้องมี บทบัญญัติเก่ียวกบั
การจัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติ และการดาเนินการและตรวจสอบการดาเนินการ ให้เป็นไปตาม
แผนการศกึ ษาแห่งชาติดว้ ย

การศึกษาท้ังปวงต้องมุ่งพฒั นาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถเชี่ยวชาญได้
ตามความถนัดของตน และมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ในการ
ดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาตามวรรคสอง หรือให้ประชาชนได้รับการศึกษาตาม
วรรคสาม รัฐต้องดาเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการศึกษา ตาม
ความถนัดของตน ให้จัดต้ังกองทุนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรพั ย์ เพ่ือลดความเหลื่อม
ล้าในการศึกษา และเพื่อเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู โดยให้รัฐจัดสรร
งบประมาณให้แก่กองทุน หรือใช้มาตรการหรือกลไกทางภาษีรวมท้ังการให้ผู้บริจาคทรัพย์สินเข้า
กองทุนได้รับประโยชน์ในการลดหย่อนภาษีด้วย ท้ังนี้ ตามท่ีกฎหมายบัญญัติ ซ่ึงกฎหมายดังกล่าว
อย่างน้อยต้องกาหนดให้การบริหารจัดการกองทุน เป็นอิสระและกาหนดให้มีการใช้จ่ายเงินกองทุน
เพ่อื บรรลวุ ัตถปุ ระสงคด์ งั กลา่ ว

โรงเรียนนิกรราษฎรบ์ ารุงวทิ ย์สานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 2 ได้
นายุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี
12 (พ.ศ. 2560-2564) แผนการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2560-2579 นโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยุทธ์
จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี) จุดเน้นนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ แผนพัฒนา
การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) แผนปฏิบัติราชการประจาปี
งบประมาณ พ.ศ.2564 ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และบริบทต่าง ๆ ท่ี
เกี่ยวข้องมาเช่ือมโยง และกาหนดเป็นกรอบแนวทางในการจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 ของโรงเรียนนิกรราษฎร์บารงุ วทิ ย์สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษา
ปทุมธานี เขต 2 โดยมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปกี ารศึกษา 2564-2566 : 13

2. ยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579)

ภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) รัฐบาลได้กาหนด วิสยั ทศั น์ เปา้ หมาย
และยุทธศาสตร์ เพื่อใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาประเทศในระยะ 20 ปี ดังนี้
วิสัยทัศน์

“ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งค่ัง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และเปน็ คติพจน์ประจำชาติว่า “มน่ั คง มัง่ คงั่ ยัง่ ยืน”
เป้ำหมำย

1. ควำมมัน่ คง
1.1 การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการเปลี่ยนแปลงท้ังภายในประเทศและ

ภายนอก ประเทศในทุกระดับ ทั้งระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปัจเจกบุคคล และมี
ความม่นั คงในทุกมติ ิ ทงั้ มติ เิ ศรษฐกิจ สงั คม ส่ิงแวดลอ้ ม และการเมือง

1.2 ประเทศมีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย มีสถาบันชาติ ศาสนาและ
พระมหากษตั รยิ ์ ทเี่ ขม้ แข็ง เป็นศูนย์กลางและทยี่ ึดเหนย่ี วจิตใจของประชาชน ระบบการเมืองมีความ
ม่นั คง เปน็ กลไกทนี่ าไปสู่การบรหิ ารประเทศทีต่ อ่ เนือ่ งและโปรง่ ใสตามหลักธรรมาภบิ าล

1.3 สังคมมคี วามปรองดองและความสามัคคี สามารถผนกึ กำลังเพ่อื พัฒนาประเทศชุมชน
มีความเข้มแขง็ ครอบครวั มีความอบอ่นุ

1.4 ประชาชนมีความมั่นคงในชีวิต มีงานและรายได้ท่ีม่ันคงพอเพยี งกับการดารงชีวิตมที ่ี
อยู่อาศัย และความปลอดภยั ในชีวติ ทรัพยส์ นิ

1.5 ฐานทรัพยากรและส่ิงแวดลอ้ ม มคี วามม่นั คงของอาหาร พลงั งาน และน้า
2. ควำมมั่งค่งั

2.1 ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอยา่ งต่อเน่ือง ยกระดับเป็นประเทศในกลุ่ม
รายได้สูง ความเหล่ือมล้าของการพัฒนาลดลง ประชากรได้รับผลประโยชน์จากการพัฒนาอย่างเท่า
เทียมกนั มากขึ้น

2.2 เศรษฐกิจมีความสามารถในการแข่งขันสูง สามารถสร้างรายได้ทั้งภายใน และ
ภายนอกประเทศ สร้างฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคต และเป็นจุดสาคัญของการเช่ือมโยงใน
ภูมิภาค ท้ังการคมนาคมขนส่ง การผลิต การค้าการลงทุนและการทาธุรกจิ มีบทบาทสาคัญในระดับ
ภมู ภิ าคและระดบั โลก เกิดสายสมั พนั ธ์ ทางเศรษฐกจิ และการค้าอย่างมพี ลงั

2.3 ความสมบูรณ์ในทุนที่จะสามารถสร้างการพัฒนาคนอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ทุนมนุษย์
ทุนทางปัญญา ทุนทางการเงิน ทุนท่ีเป็นเครื่องมือเครื่องจักร ทุนทางสังคม และทุน
ทรพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ ม

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564-2566 : 14

3. ควำมย่งั ยืน
3.1 การพัฒนาที่สามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิตของประชาชนให้

เพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจท่ีไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติเกินพอดี ไม่
สร้างมลภาวะ ตอ่ ส่งิ แวดลอ้ มจนเกินความสามารถในการรองรับและเยยี วยาของระบบนเิ วศน์

3.2 การผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และสอดคล้องกับกฎระเบียบของ
ประชาคมโลก ซ่ึงเป็นท่ียอมรับร่วมกัน ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมี
คณุ ภาพดีข้ึน คนมคี วามรับผดิ ชอบต่อสังคม มคี วามเอ้อื อาทร เสียสละเพือ่ ผลประโยชนส์ ว่ นรวม

3.3 ประชาชนทุกภาคส่วนในสงั คมยึดถอื และปฏิบตั ิตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
วตั ถุประสงค์

1. เพ่ือสร้างความปรองดองสมานฉันท์
2. เพ่ือเพิ่มกระจายโอกาสและคุณภาพการให้บริการของรัฐอย่างท่ัวถึง เท่าเทียม เป็น
ธรรม
3. เพ่ือลดต้นทนุ ให้ภาคการผลิตและบริการ
4. เพอ่ื เพม่ิ มูลคา่ สนิ ค้าเกษตร อุตสาหกรรม และบริการด้วยนวตั กรรม

ยทุ ธศำสตรช์ ำติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) มี 6 ยทุ ธศำสตร์ ในกำรดำเนินงำน ดังนี้
ยุทธศำสตรท์ ่ี 1 กำรสรำ้ งควำมมนั่ คง

1.1 เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักและการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมี
พระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ

1.2 ปฏิรูปกลไกการบริหารประเทศและพัฒนาความมั่นคงทางการเมือง ขจัดคอร์รัปชั่น
สร้างความเช่อื มั่นในกระบวนการยตุ ธิ รรม

1.3 การรักษาความมั่นคงภายในและความสงบเรียบร้อยภายในตลอดจนการบริหารจัดการ
ความมนั่ คงชายแดนและชายฝ่งั ทะเล

1.4 การพัฒนาระบบ กลไก มาตรการและความรว่ มมอื ระหว่างประเทศทุกระดับและรกั ษา
ดลุ ภาพความสัมพนั ธก์ บั ประเทศมหาอานาจ เพื่อปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาความม่นั คงรูปแบบใหม่

1.5 การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพผนึกกาลังปอ้ งกันประเทศ การรักษาความสงบเรียบร้อย
ภายในประเทศ สรา้ งความร่วมมือกบั ประเทศเพื่อบา้ นและมติ รประเทศ

1.6 การพัฒนาระบบการเตรยี มความพรอ้ มแห่งชาติและระบบบริหารจัดการภยั พิบัติรักษา
ความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

1.7 การปรบั กระบวนการทางานของกลไกที่เกีย่ วขอ้ งจากแนวดง่ิ สูแ่ นวระนาบมากข้นึ
ยทุ ธศำสตร์ท่ี 2 กำรสรำ้ งควำมสำมำรถในกำรแขง่ ขัน

2.1 การพฒั นาสมรรถนะทางเศรษฐกจิ สง่ เสรมิ การคา้ การลงทุน พัฒนาสชู่ าตกิ ารคา้
2.2 การพัฒนาภาคการผลิตและบรกิ าร เสริมสร้างฐานการผลิตเข้มแข็งย่ังยืน และส่งเสริม
เกษตรกรรายย่อยสเู่ กษตรยงั่ ยืนเปน็ มติ รกับสิ่งแวดล้อม

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564-2566 : 15

2.3 การพัฒนาผู้ประกอบการและเศรษฐกิจชุมชน พัฒนาทักษะผู้ประกอบการ ยกระดับ
ผลิตภาพแรงงานและพัฒนา SMEs ส่สู ากล

2.4 การพัฒนาพ้นื ทีเ่ ศรษฐกิจและเมอื ง พฒั นาเขตเศรษฐกจิ ชายแดน และพัฒนาระบบเมือง
ศนู ย์กลางความเจริญ

2.5 การลงทุนพฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐาน ด้านการขนสง่
2.6 การเช่ือมโยงกับภูมิภาคและเศรษฐกิจโลก สร้างความเป็นหุ้นส่วนการพัฒนากับนานา
ประเทศ สง่ เสรมิ ให้ไทยเปน็ ฐานของการประกอบธรุ กิจ ฯลฯ
ยุทธศำสตรท์ ี่ 3 กำรพฒั นำและเสริมสรำ้ งศกั ยภำพศกั ยภำพคน
3.1 พัฒนาศักยภาพคนตลอดชว่ งชวี ติ
3.2 การยกระดบั การศึกษาและการเรียนรู้ให้มคี ณุ ภาพเทา่ เทียมและท่ัวถงึ
3.3 ปลูกฝังระเบยี บวินยั คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มที่พึงประสงค์
3.4 การเสรมิ สรา้ งให้คนมีสุขภาวะท่ีดี
3.5 การสรา้ งความอยูด่ ีมีสุขของครอบครัวไทย
ยทุ ธศำสตร์ท่ี 4 ดำ้ นกำรสรำ้ งโอกำสบนควำมเสมอภำคและควำมเทำ่ เทยี มกนั ทำงสังคม
4.1 สรา้ งความมั่นคงและลดความเหลือ่ มลา้ ทางเศรษฐกจิ และสงั คม
4.2 พัฒนาระบบบริการและระบบบริหารจดั การสขุ ภาพ
4.3 มีสภาพแวดล้อมและนวตั กรรมที่เอื้อตอ่ การดารงชีวติ ในสงั คมสูงวัย
4.4 สรา้ งความเขม้ แขง็ ของสถาบันทางสงั คม ทุนทางวฒั นธรรมและความเข้มแข็งของชมุ ชน
4.5 พฒั นาการส่อื สารมวลชนใหเ้ ปน็ กลไกลในการสนบั สนุนการพัฒนา
ยุทธศำสตร์ท่ี 5 ดำ้ นกำรสร้ำงกำรเติบโตบนคณุ ภำพชวี ิตท่เี ป็นมิตรตอ่ สิง่ แวดล้อม
1. จดั ระบบอนุรกั ษ์ ฟื้นฟูและปอ้ งกนั การทาลายทรัพยากรธรรมชาติ
2. วางระบบบรหิ ารจัดการน้าให้มีประสิทธิภาพท้ัง 25 ลุ่มนา้ เนน้ การปรับระบบการ
บรหิ ารจัดการอทุ กภัยอยา่ งบรู ณาการ
3. การพัฒนาและใชพ้ ลังงานทีเ่ ป็นมติ รกบั ส่งิ แวดล้อม
4. การพัฒนาเมอื งอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศและเมืองทีเ่ ป็นมิตรกบั สิง่ แวดลอ้ ม
5. การร่วมลดปัญหาโลกร้อนและปรับตวั ให้พร้อมกับการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ
6. การใชเ้ คร่อื งมอื ทางเศรษฐศาสตร์และนโยบายการคลังเพื่อส่งิ แวดลอ้ ม
ยุทธศำสตร์ท่ี 6 ด้ำนกำรปรับสมดลุ และพัฒนำระบบกำรบริหำรจัดกำรภำครัฐ
6.1 การปรบั ปรงุ โครงสรา้ ง บทบาท ภารกิจของหนว่ ยงานภาครัฐ ให้มขี นาดที่เหมาะสม
6.2 การวางระบบบริหารราชการแบบบรู ณาการ
6.3 การพฒั นาระบบบริหารจัดการกาลงั คนและพัฒนาบคุ ลากรภาครัฐ
6.4 การตอ่ ต้านการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ
6.5 การปรับปรุงกฎหมายและระเบยี บตา่ งๆ

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปีการศกึ ษา 2564-2566 : 16

6.6 ให้ทันสมัย เป็นธรรมและเป็นสากล
6.7 พัฒนาระบบการให้บรกิ ารประชาชนของหนว่ ยงานภาครฐั
6.8 ปรบั ปรงุ การบริหารจัดการรายได้และรายจ่ายของภาครฐั

3. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564)

หลกั กำรพัฒนำประเทศท่ีสำคญั ในระยะแผนพฒั นำฯ ฉบบั ที่ 12 ยดึ หลกั
“ปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง” “การพัฒนาทีย่ ั่งยืน” และ “คนเป็นศนู ย์กลางการพัฒนา

จุดเปล่ียนสำคัญในแผนพัฒนำเศรษฐกจิ และสงั คมฉบับท่ี 12
การเตรียมพรอ้ มดา้ นกาลงั คนและการเสรมิ สรา้ งศักยภาพของประชากร ในทุกช่วงวัย มุง่ เนน้

การยกระดบั คุณภาพทุนมนุษยข์ องประเทศ โดยพัฒนาคนใหเ้ หมาะสมตามชว่ งวัย เพอื่ ให้ เติบโตอยา่ ง
มีคุณภาพ การหล่อหลอมให้คนไทยมีค่านยิ มตามบรรทัดฐานที่ดีทางสังคม เป็นคนดี มีสุขภาวะที่ดี มี
คุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวนิ ยั และมีจิตสานึกที่ดีต่อสังคมส่วนรวม การพัฒนาทักษะท่ีสอดคลอ้ ง
กับความต้องการในตลาดแรงงานและทักษะที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตในศตวรรษท่ี 21 ของคนในแต่
ละช่วงวัยตามความเหมาะสม การเตรียมความพร้อมของกาลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยที ี่
จะเปล่ยี นแปลงโลกในอนาคต ตลอดจนการยกระดับคุณภาพการศึกษาสูค่ วามเปน็ เลิศ การสร้างเสริม
ให้คนมีสุขภาพดีที่เน้น การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางการสุขภาพและการลดปัจจัยเส่ียงด้าน
สภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่อสุภาพ การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้า ให้ความสาคัญกับ
การ จัดบริการของรัฐท่ีมีคุณภาพท้ังด้านการศึกษาสาธารณสุข ให้กับผู้ด้อยโอกาส และ ผู้ท่ีอาศัยใน
พื้นที่ห่างไกล การจัดสรรที่ดินทากิน สนับสนุนในเรื่องการสร้างอาชีพ รายได้ และสนับสนุนการเพม่ิ
ผลิตภาพ ผู้ด้อยโอกาส สตรี และผู้สูงอายุ รวมทั้งกระจายการจัดบริการภาครัฐให้มีความครอบคลมุ
และทวั่ ถึงทงั้ ในเชิงปรมิ าณและคุณภาพ

กำรประเมนิ สภำพแวดลอ้ มกำรพฒั นำประเทศ
สถานการณ์และแนวโนม้ ของสังคมไทย โครงสร้างประชากรไทย เปล่ียนแปลงเข้าสู่สังคมสงู

วัยอย่างสมบูรณ์เม่ือส้ินสุดแผนพฒั นาฯ ฉบับท่ี 12 โดยปี 2557 ประชากรวัยแรงงานมีจานวนสูงสุด
และเริ่มลดลงอยา่ งต่อเน่ือง คุณภาพคนไทยทุกกลุ่มวัยยังมีปญั หา คุณภาพการศึกษา และการเรียนรู้
ของคนไทยยังอยู่ในระดับค่อนข้างต่านอกจากนี้ คนไทยส่วนใหญ่ยังมีปัญหาด้านคุณธรรมจริยธรรม
และไม่ตระหนกั ถึงความสาคัญของระเบียบวินัย ความซือ่ สัตย์ และการมจี ติ สาธารณะ

วัตถปุ ระสงคแ์ ละเปำ้ หมำยกำรพัฒนำในชว่ งแผนพฒั นำฯ ฉบับที่ 12
เพื่อวางรากฐานให้คนไทยเป็นคนที่สมบูรณ์ มีคุณธรรม มีระเบียบ วินัย ค่านิยมที่ดี มีจิต

สาธารณะ และมีความสุข โดยมีสุขภาวะสุขภาพที่ดี ครอบครัวอบอุ่น ตลอดจน ท่ีมีทักษะ ความรู้
ความสามารถและพฒั นาตนเองไดต้ ่อเนอื่ งตลอดชวี ติ

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปกี ารศึกษา 2564-2566 : 17

การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ของประเทศไทยยังมีปัญหาในด้านคุณภาพคน
ในแต่ละช่วงวัย โดยผลลัพธ์ทางการศึกษาของเด็กวัยเรียนค่อนข้างต่า การพัฒนาความรู้และทักษะ
ของแรงงานไม่ตรงกับตลาดงาน ในขณะทีค่ นไทยจานวนไมน่ ้อยยงั ไม่สามารถคดั กรองและเลือกรับ 12
วฒั นธรรมได้ อยา่ งเหมาะสม ซึ่งส่งผลตอ่ วิกฤตค่านิยม ทศั นคติ และพฤติกรรมในการดาเนินชวี ติ การ
พัฒนาในระยะต่อไป จึงต้องให้ความสาคัญกับวงการวางรากฐานการพัฒนาคนให้มีความสมบูรณ์
เพ่ือให้คนไทยมีทัศนคติ และพฤติกรรมตามบรรทัดฐานที่ดีของสังคม ได้รับการศึกษาท่ีมีคุณภาพสูง
ตามมาตรฐานสากล และสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง มีสุขภาวะที่ดีขึ้น คนทุกช่วงวัยมี
ทักษะความรู้ และความสามารถเพิ่มขนึ้ รวมทงั้ สถาบันทางสังคมมคี วามเขม้ แข็งและมีส่วนร่วมในการ
พัฒนาประเทศเพมิ่ ขึ้น แนวทางการพัฒนาที่สาคัญ ประกอบด้วย (1) ปรับเปล่ียนค่านิยมคนไทยใหม้ ี
คุณธรรม จริยธรรม มีวินัย จิตสาธารณะ และพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ อาทิ ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการ
เรียนการสอนท้ังใน และนอกห้องเรียนท่ีสอดแทรกคุณธรรม ความมีระเบียบวินัย และจิตสาธารณะ
(2) พัฒนาศักยภาพคนให้มีทักษะทางสมองและทางสังคมท่ีเหมาะสม เด็กวัยเรียนและวยั รุ่นมีทกั ษะ
การคิดวิเคราะห์อยา่ งเป็นระบบ (3) ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรตู้ ลอดชีวิต อาทิ ปรับ
ร ะ บบบริ หารจั ดการสถานศึ กษาขน าดเล็ กให้มีการจั ดทรัพย ากรร่ วมกั นให้มีขนาดและจานวนที่
เหมาะสม ปรับปรุงแหล่งเรยี นรใู้ นชุมชนให้เป็นแหล่งเรยี นรเู้ ชงิ สร้างสรรคแ์ ละมีชีวติ

เปา้ หมายที่ 1 คนไทยส่วนใหญม่ ีทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐานท่ีดีของสังคม
ตัวช้ีวัด 1.1 ประชากรอายุ 13 ปีข้ึนไปมีกิจกรรมการปฏบิ ัติตนที่สะท้อนการมคี ุณธรรม

จริยธรรมเพม่ิ ขึน้
ตัวชี้วัด 1.2 คดีอาญามีสัดสว่ นลดลง

เป้าหมายที่ 2 คนในสังคมไทยทกุ ชว่ งวยั มีทกั ษะ ความรู้ และความสามารถเพิม่ ข้นึ 2.1 เด็ก
ปฐมวัยมพี ฒั นาการเต็มตามศักยภาพ

ตวั ชี้วัด 2.1 เด็กมีพัฒนาการสมวัยไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 85
ตวั ชว้ี ดั 2.2 เดก็ วันเรียนและวัยรุน่ มสี ติปัญญาและความฉลาดทางอารมณเ์ พิ่มข้นึ
ตัวชี้วัด 2.3 คะแนน IQ เฉลีย่ ไมต่ ่ากว่าเกณฑม์ าตรฐาน
ตวั ชว้ี ดั 2.4 เด็กรอ้ ยละ 70 มคี ะแนน EQ ไม่ตา่ กวา่ เกณฑม์ าตรฐาน
ตวั ช้วี ัด 2.5 ผเู้ รยี นในระบบทวิภาคเี พ่มิ ขนึ้ เฉลี่ยร้อยละ 30 ต่อปี
เปา้ หมายท่ี 3 คนไทยมกี ารศึกษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลและมีความสามารถ เรยี นรู้
ด้วยตนเองอยา่ งต่อเน่ือง
ตวั ชว้ี ัด 3.1 ผลคะแนนสอบ PISA ในแต่ละวิชาไมต่ ่ากว่า 500
ตัวชวี้ ัด 3.2 การใชอ้ นิ เตอร์เนต็ เพือ่ การอ่านหาความรูเ้ พ่ิมข้นึ
ตวั ชี้วดั 3.3 การอา่ นของคนไทยเพมิ่ ขึน้ เปน็ ร้อยละ 85 ตวั ชีว้ ัด

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2564-2566 : 18

แนวทำงกำรพฒั นำ
1. ปรบั เปลี่ยนคา่ นิยมคนไทยให้มคี ุณธรรม จริยธรรม มวี ินยั จิตสาธารณะ และพฤติกรรมที่

พึงประสงค์
1.1 ส่งเสริมการเล้ียงดูในครอบครัวที่เน้นการฝึกเด็กให้รู้จักการพึ่งพาตัวเอง มีความ

ซื่อสัตย์ มีวนิ ัย มีศลี ธรรม คุณธรรม จรยิ ธรรม มีความรับผิดชอบ ในรปู แบบของกจิ กรรมทเี่ ปน็ กิจวัตร
ประจาวัน และ ใหพ้ ่อแม่หรือผปู้ กครองเป็นแบบอย่างท่ีดใี ห้เด็กสามารถเรียนรแู้ ละยดึ ถอื เป็นต้นแบบ
ในการดาเนนิ ชวี ิต

1.2 สง่ เสรมิ ให้มีกจิ กรรมการเรียนการสอนทง้ั ในและนอกห้องเรียนที่สอดแทรกคุณธรรม
จรยิ ธรรม ความมวี ินยั จติ สาธารณะ รวมท้งั เร่งสร้างสภาพแวดลอ้ มภายในและโดยรอบสถานศึกษาให้
ปลอดจากอบายมุขอยา่ งจิงจงั

2. พัฒนาศักยภาพคนใหม้ ีทักษะความร้แู ละความสามารถในการดารงชีวิตอยา่ งมีคุณค่า
2.1 ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีการพัฒนาทักษะทางสมองและทักษะทางสังคมท่ีเหมาะสม

พัฒนาหลักสูตรการสอนที่อิงผลงานวิจัยทางวิชาการและปรับปรุงสถานพัฒนาเด็ก ปฐมวัยให้มี
คุณภาพตามมาตรฐาน ที่เน้นการพัฒนาทักษะสาคัญด้านต่าง ๆ อาทิ ทักษะทางสมอง ทักษะด้าน
ความคิดความจำ ทักษะการควบคุมอารมณ์ ทักษะการวางแผนและการจัดระบบ ทักษะการรู้จัก
ประเมินตนเอง ควบคู่กับการยกระดับบุคลากร ในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีความพร้อมทั้งทกั ษะ
ความรู้ จริยธรรม และความเปน็ มอื อาชีพ สนบั สนนุ การผลติ สือ่ สร้างสรรค์ที่มีรูปแบบหลากหลายท่ีให้
ความรู้ในการเล้ียงดู และพัฒนาเด็กปฐมวัย อาทิ ครอบครัวศึกษา อนามัยแม่และเด็ก วิธีการพัฒนา
ทักษะทางสมองและทักษะทางสังคม ผลกั ดันใหม้ กี ฎหมายการพฒั นาเด็กปฐมวยั ให้ครอบคลุมทั้งการ
พัฒนาทกั ษะ การเรยี นรู้เนน้ การเตรยี มความพร้อมเขา้ สู่ระบบการศึกษา การพัฒนาสุขภาพอนามัยให้
มพี ัฒนาการทส่ี มวัย และการเตรยี มทกั ษะการอยู่ในสงั คมให้มีพัฒนาการอยา่ งรอบด้าน

2.2 พัฒนาเด็กวัยเรียนและวัยรนุ่ ให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ มีความคิด
สร้างสรรค์ มีทักษะการทางานและการใช้ชีวิตท่ีพร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงาน ปรับกระบวนการเรียนรทู้ ่ี
ส่งเสรมิ ให้เด็กมกี ารเรยี นรู้จากการปฏบิ ตั ิจริง สอดคล้องกบั การพฒั นาการของสมองแต่ละช่วงวยั เนน้
พัฒนาทักษะพืน้ ฐานด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ด้านวิศวกรรมศาสตร์ ด้านคณิตศาสตร์ ด้านศิลปะ
และด้านภาษาต่างประเทศ สนับสนุนให้เด็ก เข้าร่วมกิจกรรมท้ังในและนอกห้องเรียนท่ีเอ้ือต่อการ
พัฒนา ทักษะชีวิตและทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง อาทิ การอ่าน การบาเพ็ญประโยชน์ทางสงั คม
การดูแลสุขภาพ การทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม การวางแผนชีวิตสรา้ งแรงจูงใจให้เด็กเข้าสู่การศึกษาใน
ระบบทวภิ าคี และสหกิจศึกษาท่มี ่งุ การฝกึ ทกั ษะอาชีพใหพ้ ร้อมเข้าสตู่ ลาดงาน

3. ยกระดับคุณภาพการศกึ ษาและการเรียนรูต้ ลอดชวี ิต
3.1 ปรับระบบบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กที่มีขนาดและจานวนผู้เรียนต่ากว่า

เกณฑ์มาตรฐานให้มีการจัดทรัพยากรร่วมกันให้มีขนาดและจานวนที่เหมาะสมตามความจาเป็นของ
พืน้ ที่ และโครงสร้างประชากรท่ีมีสัดสว่ นวัยเดก็ ลดลงอย่างต่อเนื่อง

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564-2566 : 19

3.2 ปรับหลักสูตรการผลิตครูที่เน้นสมรรถนะ มีจิตวิญญาณความเป็นครู เป็นผู้นา และ
สามารถกระตุ้นการเรียนรู้ของผู้เรียน สร้างสารทการจูงใจให้ผู้มีศักยภาพเข้ามาเป็นครูปรับระบบ
ประเมนิ วทิ ยฐานะทางวิชาชีพให้เชื่อมโยงกับพฒั นาการและผลสัมฤทธิ์ของผ้เู รียน และสรา้ งเครือข่าย
แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ในการจัดการเรียนการสอนทเ่ี ป็นการพฒั นาสมรรถนะของครูอยา่ งต่อเนื่อง

3.3 พฒั นาระบบประเมนิ คุณภาพมาตรฐานที่สามารถวดั และประเมนิ ผลคุณภาพผู้เรียน
ท้งั ดา้ นทกั ษะความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ต่ละระดับการศกึ ษา

3.4 ส่งเสริมมาตรการสร้างแรงจูงใจให้สถานประกอบการขนาดกลางท่ีมีศักยภาพ เข้า
ร่วมระบบทวิภาคีหรอื สหกิจศึกษา สร้างความรู้ความเข้าใจให้กับผู้ประกอบการ ครูฝึกหรือครูพเ่ี ลี้ยง
ใหร้ ว่ มวางแผน การจัดการเรียนการสอน การฝกึ ปฏิบัติ และการติดตามประเมนิ ผลผเู้ รียน

3.5 ขยายความร่วมมือระหว่างสถาบันอาชีวศึกษา สถาบันอุดมศึกษา ภาคเอกชน และ
ผ้เู ช่ียวชาญทั้งในและต่างประเทศ พัฒนาสาขาวชิ าที่มีความเช่ียวชาญเฉพาะด้านสู่ความเปน็ เลิศ การ
พฒั นางานวิจัยไปสนู่ วตั กรรมรวมทัง้ ขยายการจัดทาและการใชห้ ลักสตู รมาตรฐานสมรรถนะให้มากข้ึน
รอ้ ยละ 70

3.6 จัดทาสื่อการเรียนรู้ที่เป็นส่ืออิเล็กทรอนิกส์และสามารถใช้งานผ่านอุปกรณ์ส่ือสาร
เคลือ่ นทใ่ี ห้คนทุกกลุ่มสามารถเข้าถงึ ได้ง่าย สะดวก ทั่วถึง ไม่จากัดเวลาและสถานท่ี และใช้มาตรการ
ทางภาษจี งู ใจ ให้ภาคเอกชนผลติ หนังสือ สื่อการอ่านและการเรียนรู้ทีม่ คี ณุ ภาพและราคาถกู

4. การสรา้ งความเปน็ ธรรมและลดความเหลอ่ื มล้าในสงั คม
4.1 เพ่มิ โอกาสการเขา้ ถึงบริการพ้ืนฐานทางสงั คมของภาครัฐ
ตัวชี้วัด 2.1 อัตราการเข้าเรียนสุทธิ (ที่ปรับปรุง) ในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

เท่ากับ ร้อยละ 90 โดยไม่มีความแตกต่างระหว่างกลุ่มนักเรียน/นักศึกษาที่ครอบครัวมีฐานะทาง
เศรษฐกิจสงั คม และระหวา่ งพืน้ ที่

ตัวช้ีวัด 2.2 สัดส่วนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาทุกระดับช้ันผ่านเกณฑ์
คะแนน ร้อยละ 50 มีจานวนเพ่ิมขึ้น และความแตกต่างของคะแนนแตกต่างของคะแนนผลสัมฤทธ์ิ
ระหว่างพ้นื ท่ี และภมู ภิ าคลดลง

4.2 ขยายโอกาสการเขา้ ถงึ การศกึ ษาทมี่ ีคุณภาพให้แกเ่ ด็กและเยาวชนท่ีดอ้ ยโอกาส ทาง
การศึกษาอย่างต่อเน่ืองโดยไม่ถูกจำกัดศักยภาพจากสภาพครอบครัว พื้นท่ี และสภาพร่างกาย การ
ดูแลนักเรียนยากจน ท่ีอาศัยในพ้ืนท่ีห่างไกลที่ครอบคลุมตั้งแต่การสร้างรายได้ของครัวเรือน การ
สนับสนุนค่าเดินทางไปยังสถานศึกษา การปรับปรุงระบบคัดกรองและการให้เงินอุดหนุน
ปัจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจน ของ สพฐ. ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และการให้ทุนการศึกษาต่อ
ระดับสงู เพ่ือปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ ดก็ นักเรยี นออกจากโรงเรยี นกลางคัน

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2564-2566 : 20

4. แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2560 – 2579 (สภำกำรศกึ ษำ)

สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษาได้จัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579 เพ่ือใช้
เป็นแผนยุทธศาสตร์ระยาวสาหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาของประเทศ ได้นาไปใช้เป็น
กรอบและแนวทางการพัฒนาการศึกษาและเรียนรู้สาหรับพลเมืองทุกช่วงวัยตั้งแต่แรกเกดจนตลอด
ชวี ิต ประกอบด้วย หลกั การจัดการศึกษาเพ่อื ปวงชน (Education for All) หลักการจดั การศึกษาเพ่ือ
ความเท่าเทียมและท่ัวถึง (Inclusive Education) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency
Economy) และหลักการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคม (All for Education) อีกท้ังยึดตาม
เป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs 2030) ประเด็น
ภายในประเทศ (Local Issues) โดยนายุทธศาสตร์ชาติ (National Strategy) มาเป็นกรอบความคดิ
สาคัญในการจัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติ วิสัยทัศน์ จุดมุ่งหมาย เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ และตัวชีว้ ัด
ดงั น้ี

วิสยั ทศั น์
“คนไทยทุกคนได้รบั การศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมคี ุณภาพ ดารงชีวิต อย่างเป็นสุข

สอดคลอ้ งกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษท่ี 21”

พนั ธกจิ
1. พฒั นาระบบและกระบวนการจดั การศกึ ษาที่คนไทยทกุ คนเข้าถงึ โอกาสในการศึกษาและ

เรียนรู้ตลอดชีวิต สร้างความเสมอภาคด้านการศึกษาแก่ผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย ยกระดับคุณภาพ
และประสิทธิภาพของการจัดการศึกษาทุกระดับ และประสิทธิภาพของการจัดการศึกษาทุกระดับ
และจัดการศกึ ษาทสี่ อดคล้องและรองรับกระแสการเปล่ียนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21

2. พฒั นาคุณภาพของคนไทยใหเ้ ปน็ ผมู้ คี วามรู้ คณุ ลกั ษณะ และทกั ษะการเรียนร้ใู นศตวรรษ
ท่ี 21 สามารถพัฒนาศักยภาพและเรยี นรู้ได้ด้วยตนเองอย่างต่อเน่อื งตลอดชวี ิต

3. สร้างความม่ันคงแก่ประเทศชาติ โดยสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และ
สงั คมคุณธรรม จริยธรรมทคี่ นไทยทุกคนอย่รู ่วมกนั อยา่ งปลอดภัย สงบสุข และพอเพยี ง

4. พฒั นาศกั ยภาพ และความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศไทย เพอื่ การกา้ วขา้ มกับดัก
ประเทศรายไดป้ านกลาง สู่การเปน็ ประเทศในโลกท่ีหน่งึ และลดความเหล่ือมล้าในสงั คมดว้ ยการเพ่ิม
ผลิตภาพของกาลังแรงงาน (productivity) ให้มีทักษะ และสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการ
ของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศพรอ้ มกบั การเปลย่ี นแปลงที่เป็นพลวัตของโลกศตวรรษท่ี 21
ภายใตย้ คุ เศรษฐกิจและสงั คม 4.0

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564-2566 : 21

วัตถุประสงค์
1. เพ่อื พฒั นาระบบและกระบวนการจัดการศกึ ษาท่มี ีคณุ ภาพและมปี ระสทิ ธภิ าพ
2. เพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะและสมรรถนะท่ีสอดคล้องกับ

บทบัญญตั ิ ของรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ และยทุ ธศาสตร์
ชาติ

3. เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี
และร่วมมือผนึกกาลงั มุ่งสู่การพัฒนาระเทศอยา่ งยงั่ ยืน ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

4. เพ่ือนาประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง และความเหลื่อมล้า
ภายในประเทศลดลง

เปำ้ หมำยของกำรจดั กำรศึกษำ 5 ประการ ดงั นี้
1. ประชากรทุกคนเข้าถงึ การศึกษาทมี่ ีคุณภาพและมมี าตรฐานอย่างทวั่ ถึง (Access) ตวั ชี้วัด

ท่ีสาคัญ เช่น ประชากรกลุ่มอายุ 6-14 ปี ทุกคนได้เข้าเรียนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
ตอนตน้ หรอื เทียบเท่าทีร่ ฐั ต้องจดั ใหฟ้ รี โดยไม่เก็บคา่ ใช้จา่ ย ผู้เรียนพิการได้รับการพฒั นาสมรรถภาพ
หรอื บริการทางการศึกษาท่เี หมาะสมทุกคน และประชากรวัยแรงงานมกี ารศกึ ษาเฉลยี่ เพ่ิมขนึ้ เป็นต้น

2. ผู้เรียนทุกคน ทุกกลุ่มเป้าหมายได้รบั บรกิ ารด้านการศึกษาท่ีมีคุณภาพตามาตรฐานอยา่ ง
เท่าเทียม (Equity) มตี วั ชีว้ ัดท่ีสาคญั เช่น ผู้เรยี นระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานทุกคนได้รบั การสนับสนุน
ค่าใชจ้ า่ ยในการศึกษา 15 ปี เป็นต้น

3. ระบบการศึกษาท่ีมีคุณภาพ สามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุขีดความสามารถเต็มตาม
ศักยภาพ (Quality) มีตัวชี้วัดท่ีสาคัญ เช่น นักเรียนมีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ
ข้ันพื้นฐาน ( O-NET) แต่ละวิชาผา่ นเกณฑ์คะแนนรอ้ ยละ 50 ขึน้ ไปเพม่ิ ขน้ึ และคะแนนเฉล่ยี ผลการ
ทดสอบโครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกับนานาชาติ (Programme for International Student
Assessment : PISA) ของนักเรยี นอายุ 15 ปีสูงขึน้ เปน็ ตน้

4. ระบบการบริหารจดั การศึกษาท่มี ปี ระสทิ ธิภาพ เพ่อื การลงทุนทางการศกึ ษาทค่ี ุ้มคา่ และ
บรรลุเป้าหมาย (Efficiency) มีตัวช้ีวัดท่ีสาคัญ เช่น ร้อยละของสถานศึกษาขนาดเล็กท่ีไม่ผ่านเกณฑ์
การประเมนิ คณุ ภาพภายนอกลดลง มีระบบการบริหารงานบุคคล ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาท่ีมี
ประสิทธิภาพและเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน รวมทั้งมีกลไกส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนสนับสนุน
ทรพั ยากรเพอื่ จัดการศึกษา เปน็ ตน้

5. ระบบการศึกษาที่สนองตอบและก้าวทันการเปล่ยี นแปลงของโลกท่เี ป็นพลวัตและบริบทท่ี
เปล่ียนแปลง (Relevancy) ตัวชี้วัดที่สาคัญ เช่น อันดับความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศดา้ น
การศึกษาดีขึ้น สัดส่วนผู้เรียนอาชีวศึกษาสูงข้ึน เม่ือเทียบกับผู้เรียนสามัญศึกษา และจานวน
สถาบนั อุดมศกึ ษาทตี่ ิดอันดับ 200 อันดบั แรกของโลกเพ่ิมขน้ึ เป็นตน้

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ปีการศกึ ษา 2564-2566 : 22

ยทุ ธศำสตร์ เปำ้ หมำย และตัวช้วี ัด
ยทุ ธศำสตร์ที่ 1 : การจดั การศึกษาเพอื่ ความมน่ั คงของสงั คมและประเทศชาติ มเี ป้าหมาย ดงั นี้

1.1 คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข

1.2 คนทุกช่วงวัยในเขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกิจจังหวดั ชายแดนภาคใต้และพน้ื ที่พเิ ศษ ได้รับ
การศกึ ษาและเรยี นรู้อยา่ งมคี ณุ ภาพ

1.3 คนทกุ ช่วงวัยไดร้ ับการศกึ ษา การดูแลและปอ้ งกันจากภยั คุกคามในชวี ิตรูปแบบใหม่
ยุทธศำสตร์ที่ 2 : การผลติ และพัฒนากาลังคน การวจิ ยั และนวตั กรรม เพอื่ สรา้ งขดี ความสามารถใน
การแขง่ ขนั ของประเทศ มีเปา้ หมาย ดงั น้ี

2.1 กำลังคนมีทักษะที่สาคัญจาเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงาน
และการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ

2.2 สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่จัดการศึกษาผลิตบัณฑิตท่ีมีความเชี่ยวชาญและเปน็
เลศิ เฉพาะด้าน

2.3 การวจิ ยั และพัฒนาเพื่อสร้างองคค์ วามรู้ และนวตั กรรมท่สี ร้างผลผลิตและมูลคา่ เพ่ิมทาง
เศรษฐกจิ
ยุทธศำสตรท์ ่ี 3 : การพัฒนาศักยภาพคนทกุ ชว่ งวัย และการสร้างสังคมแหง่ การเรียนรู้ มเี ป้าหมาย ดังน้ี

3.1 ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพ้ืนฐานของพลเมืองไทย และทักษะ และคุณลักษณะท่ี
จำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21

3.2 คนทกุ ชว่ งวัยมีทักษะ ความรคู้ วามสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและ
มาตรฐานวิชาชีพ และพฒั นาคุณภาพชวี ิตไดต้ ามศักยภาพ

3.3 สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตร
อยา่ งมีคณุ ภาพและมาตรฐาน

3.4 แหล่งเรียนรู้ ส่ือตาราเรียน นวัตกรรม และสื่อการเรียนรู้มีคุณภาพและมาตรฐานและ
ประชาชนสามารถเข้าถงึ ได้โดยไมจ่ ากดั เวลาสถานที่

3.5 ระบบและกลไกการวัด การติดตาม และประเมินผลมีประสทิ ธิภาพ
3.6 ระบบการผลิตครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการพัฒนาสมรรถนะตาม
มาตรฐาน
ยุทธศำสตรท์ ่ี 4 : การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทยี มทางการศึกษามเี ป้าหมาย ดังนี้
4.1 ผู้เรียนทกุ คนได้รับโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถงึ การศึกษาทีม่ ีคณุ ภาพ
4.2 การเพมิ่ โอกาสทางการศกึ ษาผา่ นเทคโนโลยดี จิ ิทัลเพ่อื การศึกษาสาหรับคนทกุ ช่วงวยั
4.3 ระบบรายงานข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุม ถูกต้อง เป็น
ปัจจุบนั เพือ่ การวางแผนการบริหารจัดการศกึ ษา การตดิ ตามประเมนิ ผล และรายงานผล

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ปีการศกึ ษา 2564-2566 : 23

ยทุ ธศำสตรท์ ี่ 5 : การจดั การศึกษาเพือ่ เสริมสร้างคุณภาพชวี ิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมีเป้าหมาย ดังนี้
5.1 คนทกุ ชว่ งวัย มีจติ สานกึ รักษส์ ่งิ แวดลอ้ ม มคี ุณธรรม จริยธรรม และนาแนวคดิ ตามหลัก

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารปฏิบตั ิ
5.2 หลักสตู ร แหล่งเรยี นรู้ และส่ือการเรยี นร้ทู ่ีสง่ เสรมิ คุณภาพชวี ิตทีเ่ ป็นมติ รกบั สิ่งแวดล้อม

คุณธรรม จริยธรรม และการนาแนวคิดตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งส่กู ารปฏบิ ตั ิ
5.3 การวิขัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการสร้างเสรมิ คุณภาพชีวิตที่เป็นมติ ร

กบั สง่ิ แวดล้อม
ยุทธศำสตรท์ ่ี 6 : การพัฒนาประสทิ ธภิ าพของระบบบรหิ ารจัดการศึกษา มีเป้าหมาย ดังนี้

6.1 โครงสร้าง บทบาท และระบบการบริหารจัดการการศึกษามคี วามคลอ่ งตัว ชดั เจน และ
สามารถตรวจสอบได้

6.2 ระบบการบริหารจัดการศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลส่งผลต่อคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษา

6.3 ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความต้องการของ
ประชาชนและพ้ืนที่

6.4 กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษารองรับลักษณะท่ี
แตกตา่ งกนั ของผู้เรียน สถานศึกษา และความต้องการกาลังแรงงานของประเทศ

6.5 ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามีความเป็นธรรม
สรา้ งขวัญกำลงั ใจ และส่งเสริมให้ปฏบิ ัติงานไดอ้ ย่างเตม็ ศกั ยภาพ

5. นโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร ประจาปีงบประมาณ 2564

1. ปรับร้ือและเปล่ียนแปลงระบบการบริหารจัดการ โดยมุ่งปฏิรูปองค์การเพ่ือหลอมรวม
ภารกิจและบคุ ลากร เช่น ด้านการประชาสัมพันธ์ ดา้ นการตา่ งประเทศ ด้านเทคโนโลยี ดา้ นกฎหมาย
ฯลฯ ที่สามารถลดการใช้ทรัพยากรทับซ้อน เพ่ิมประสิทธิภาพและความเป็นเอกภาพ รวมทั้งการนา
เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เข้ามาช่วยทั้งการบรหิ ารงานและการจดั การศกึ ษารองรบั ความเปน็ รฐั บาลดิจิทลั

2. ปรับรื้อและเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารทรัพยากร โดยมุ่งปฏิรูปกระบวนการวางแผน
งาน/โครงการแบบร่วมมือและบูรณาการ ท่ีสามารถตอบโจทย์ของสังคมและเป็นการพัฒนาที่ย่ังยืน
รวมทั้งกระบวนการจัดทางบประมาณท่ีมีประสิทธิภาพและใช้จ่ายอย่างคุ้มค่า ส่งผลให้ภาคส่วนต่าง
ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และนานาชาติ เช่ือมั่นและร่วมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษามาก
ยง่ิ ข้ึน

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา ปีการศึกษา 2564-2566 : 24

3. ปรับร้ือและเปล่ียนแปลงระบบการบริหารจัดการและพัฒนากาลังคนของ
กระทรวงศึกษาธิการ โดยมุ่งบริหารจัดการอัตรากาลังให้สอดคล้องกับการปฏิรูปองค์การ รวมท้ัง
พัฒนาสมรรถนะและความรู้ความสามารถของบุคลากรภาครัฐ ให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงาน
รองรับความเป็นรัฐบาลดจิ ิทัล

4. ปรับรอื้ และเปล่ยี นแปลงระบบการจดั การศึกษาและการเรยี นรู้ โดยมงุ่ ให้ครอบคลุมถึงการ
จัดการศึกษาเพ่อื คุณวฒุ ิ และการเรียนรตู้ ลอดชีวิตท่ีสามารถตอบสนองการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่
21

จุดเนน้ ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2564
1. กำรพัฒนำและเสริมสรำ้ งศักยภำพทรัพยำกรมนุษย์
1.1 กำรจดั กำรศึกษำเพื่อคุณวฒุ ิ

จัดการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท โดยใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะ รวมท้ังแนวทาง
การจัดการเรียนรเู้ ชิงรุกและการวดั ประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียน ท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา
แหง่ ชาติ

ส่งเสริมการพัฒนากรอบหลกั สูตรระดับท้องถิน่ และหลักสูตรสถานศกึ ษา ตามความ
ตอ้ งการจาเปน็ ของกล่มุ เปา้ หมายและแตกต่างหลากหลายตามบรบิ ทของพืน้ ท่ี

พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สามารถแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้าได้
อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) จากประสบการณ์จริงหรือจาก
สถานการณ์จาลองผ่านการลงมือปฏิบัติ ตลอดจนจัดการเรียนการสอนในเชิงแสดงความคิดเห็นเพ่อื
เปิดโลกทัศน์มุมมองรว่ มกันของผู้เรยี นและครูให้มากข้ึน

พัฒนาผเู้ รียนให้มีความรอบรู้และทักษะชีวิต เพ่อื เป็นเครื่องมือในการดารงชีวิตและ
สรา้ งอาชีพ อาทิ การใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั สุขภาวะและทศั นคตทิ ด่ี ตี ่อการดแู ลสขุ ภาพ

1.2 กำรเรยี นร้ตู ลอดชีวิต
จัดการเรยี นร้ตู ลอดชวี ติ สาหรับประชาชนทุกช่วงวยั เนน้ ส่งเสรมิ และยกระดบั ทักษะ

ภาษาองั กฤษ (English for All)
ส่งเสริมการเรียนการสอนที่เหมาะสมสาหรับผู้ท่ีเข้าสู่สังคมสูงวัย อาทิ อาชีพที่

เหมาะสมรองรับสงั คมสูงวัย หลักสตู รการพัฒนาคุณภาพชีวิต และหลักสตู รการดูแลผู้สูงวัย หลกั สูตร
BUDDY โดยเน้นการมีสว่ นร่วมในการพัฒนาชมุ ชน โรงเรียน และผเู้ รยี น หลักสตู รการเรยี นรอู้ อนไลน์
เพื่อส่งเสริมประชาสมั พันธ์สินค้าออนไลน์ระดับตาบล

ส่งเสริมโอกาสการเข้าถึงการศึกษาเพ่ือทักษะอาชีพและการมีงานทา ในเขตพัฒนา
พิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และเขตพ้ืนที่พิเศษ (พ้ืนท่ีสูง พ้ืนท่ีตามแนวตะเข็บ ชายแดน
และพืน้ ท่เี กาะแก่ง ชายฝง่ั ทะเล ท้ังกลุ่มชนตา่ งเช้ือชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มชนชายขอบ และ
แรงงานตา่ งดา้ ว)

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ปีการศึกษา 2564-2566 : 25

พัฒนาครูให้มีทักษะ ความรู้ และความชานาญในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
ปัญญาประดิษฐ์ และภาษาอังกฤษ รวมท้ังการจัดการเรียนการสอนเพื่อฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์
อย่างเป็นระบบและมีเหตผุ ลเปน็ ขัน้ ตอน

พัฒนาครูอาชีวศึกษาที่มีความรู้และความสามารถในทางปฏิบัติ (Hands – on
Experience) เพอื่ ให้มีทกั ษะและความเชี่ยวชาญทางวิชาการ โดยร่วมมอื กบั สถาบันอุดมศึกษาชั้นนา
ของประเทศจดั หลักสตู รการพฒั นาแบบเข้มข้นระยะเวลาอยา่ งน้อย 1 ปี

พัฒนาสมรรถนะและความรู้ความสามารถของบุคลากรกระทรวงศึกษาธิการ ให้มี
ความพร้อมในการปฏิบัติงานรองรับความเป็นรัฐบาลดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดให้มีศูนย์
พัฒนาสมรรถนะบุคลากรระดบั จงั หวัดทว่ั ประเทศ

2. กำรพฒั นำกำรศกึ ษำเพ่ือควำมม่ันคง
พัฒนาคุณภาพการศึกษาในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยน้อมนายุทธศาสตร์

พระราชทาน “เข้าใจ เข้าถงึ พฒั นา” เป็นหลักในการดาเนินการ
เฝา้ ระวังภยั ทุกรูปแบบทเี่ กิดขน้ึ กับผู้เรยี น ครู และสถานศกึ ษา โดยเฉพาะภัยจากยา

เสพตดิ อาชญากรรมทางไซเบอร์ การค้ามนุษย์
ส่งเสรมิ ใหใ้ ช้ภาษาท้องถ่ินร่วมกับภาษาไทย เป็นส่อื จดั การเรยี นการสอนในพน้ื ทท่ี ใี่ ช้

ภาษาอย่างหลากหลาย เพื่อวางรากฐานให้ผู้เรียนมีพัฒนาการด้านการคิดวิเคราะห์ รวมท้ังมีทักษะ
การสือ่ สารและใชภ้ าษาที่สามในการต่อยอดการเรียนรู้ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ

ปลูกฝังผู้เรียนให้มีหลักคิดที่ถูกต้องด้านคุณธรรม จริยธรรม และเป็นผู้มีความ
พอเพียง วินัย สจุ รติ จิตอาสา โดยใช้กระบวนการลกู เสือ และยุวกาชาด

3. กำรสร้ำงควำมสำมำรถในกำรแข่งขนั
สนับสนนุ ใหส้ ถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษาผลติ กาลังแรงงานทม่ี คี ุณภาพ ตามความเป็นเลิศ

ของแต่ละสถานศึกษาและตามบริบทของพ้นื ท่ี รวมทั้งสอดคล้องกับความต้องการของประเทศท้ังใน
ปจั จุบนั และอนาคต

สนับสนุนให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาบริหารจัดการอยา่ งมีคุณภาพ และจัดการเรียน
การสอนด้วยเครื่องมือปฏิบัติท่ีทันสมัยและสอดคล้องกับเทคโนโลยี โดยเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะการ
วิเคราะหข์ ้อมูล (Data Analysis) และทักษะการสอื่ สารภาษาต่างประเทศ

4. กำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงกำรศึกษำ
พฒั นาแพลตฟอรม์ ดิจทิ ัลเพือ่ การเรียนรู้ และใช้ดิจิทลั เป็นเคร่อื งมอื การเรียนรู้
ศึกษาและปรับปรุงอัตราเงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายต่อหัวในการจัดการศึกษาข้ัน

พืน้ ฐาน ใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพเศรษฐกจิ และบทบัญญัตขิ องรัฐธรรมนญู
ระดมสรรพกาลงั เพือ่ สง่ เสรมิ สนับสนุนโรงเรียนนารอ่ งพ้ืนที่นวตั กรรมการศกึ ษา เพอื่

ลดความเหลื่อมลา้ ทางการศกึ ษาใหส้ อดคล้องพระราชบัญญัติพื้นทนี่ วัตกรรมการศกึ ษา พ.ศ. 2562

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปีการศกึ ษา 2564-2566 : 26

5. กำรจดั กำรศึกษำเพอื่ สรำ้ งเสริมคณุ ภำพชวี ติ ท่ีเป็นมติ รกบั สง่ิ แวดล้อม
เสริมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และส่งเสริมคุณลักษณะและ

พฤตกิ รรมท่พี ึงประสงค์ดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม
ส่งเสริมการพัฒนาสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ให้สามารถ

เป็นอาชพี และสรา้ งรายได้
6. กำรปรับสมดลุ และพฒั นำระบบกำรบริหำรจัดกำร
ปฏิรูปองค์การเพ่ือลดความทับซ้อน เพ่ิมประสิทธิภาพและความเป็นเอกภาพของ

หน่วยงานท่ีมีภารกิจใกล้เคียงกัน เช่น ด้านประชาสัมพันธ์ ด้านต่างประเทศ ด้านเทคโนโลยี ด้าน
กฎหมาย เปน็ ตน้

ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบท่ีเป็นอุปสรรคและข้อจากัดในการดาเนินงาน โดย
คานงึ ถงึ ประโยชนข์ องผูเ้ รียนและประชาชน ตลอดจนกระทรวงศึกษาธกิ ารโดยรวม

สนับสนุนกจิ กรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ
พฒั นาระบบฐานขอ้ มูลดา้ นการศึกษา (Big Data)
พัฒนาระบบการบริหารจัดการและพัฒนากาลังคนของกระทรวงศึกษาธิการ ให้
สอดคลอ้ งกับการปฏริ ปู องค์การ
สนับสนุนให้สถานศึกษาเป็นนิติบุคคล เพื่อให้สามารถบริหารจัดการศึกษาท่ีมี
คณุ ภาพไดอ้ ย่างอสิ ระและมีประสทิ ธภิ าพ ภายใต้กรอบแนวทางของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
จัดตั้งหน่วยงานวางแผนทางการเงิน (Financial Plan) ระดับจังหวัด เพ่ือพัฒนา
คณุ ภาพชีวิตบุคลากรของกระทรวงศกึ ษาธิการ
สง่ เสรมิ โครงการ 1 ตาบล 1 โรงเรียนคณุ ภาพ โดยเนน้ ปรับสภาพแวดลอ้ มทัง้ ภายใน
และภายนอกบริเวณโรงเรียนใหเ้ อ้ือต่อการเสรมิ สร้างคุณธรรม จริยธรรม และจติ สาธารณะ

6.นโยบายสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564-2565

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งม่ันในการพัฒนาการศึกษาช้ันพ้ืนฐานให้
เปน็ “การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานวิถีใหม่ วิถคี ุณภาพ” มุง่ เนน้ ความปลอดภัยในสถานศกึ ษา ส่งเสริมโอกาส
ทางการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียม และบริหารจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ จึงกาหนด
นโยบาย
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564-2565 ดงั นี้

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564-2566 : 27

1. ด้ำนควำมปลอดภัย
พัฒนาระบบและกลไกในการดแู ลความปลอดภยั ให้กับผเู้ รียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา
และสถานศึกษา จากภัยพิบัติและภัยคุกคามทุกรูปแบบ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมี
สุขภาวะที่ดสี ามารถปรบั ตัวตอ่ โรค่อุบัตใิ หม่และโรคอุบตั ิชา้
2. ด้ำนโอกำส
2.1 สนับสนุน ให้เด็กปฐมวัยได้เข้าเรียนทุกคน มีพัฒนาการท่ีดี ท้ังทางร่างกาย จิตใจ วินัย
อารมณ์ สังคม และสตปิ ัญญา ใหส้ มกับวยั
2.2 ดาเนนิ การ ใหเ้ ด็กและยาวชนไดร้ บั การศกึ ษาจนจบการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน อย่างมคี ุณภาพ
ตามมาตรฐาน วางรากฐานการศึกษาเพื่ออาชีพ สามารถวิเคราะห์ตนเองเพ่ือการศึกษาต่อ และ
ประกอบอาชีพ ตรงตามศักยภาพและความถนัดของตนเอง รวมทั้งส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนท่ีมี
ความสามารถพเิ ศษสู่ความเป็นเลศิ เพอื่ เพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ
2.3 พัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือเด็กและเยาวชนที่อยู่ในการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพ่ือป้องกัน
ไม่ใหอ้ อกจากระบบการศึกษา รวมท้งั ช่วยเหลือเดก็ ตกหล่นและเด็กออกกลางคันใหใ้ ด้รบั การศึกษาข้ัน
พน้ื ฐานอยา่ งเท่าเทียมกัน
2.4 ส่งเสริมให้เด็กพิการและผู้ด้อยโอกาส ให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพมีทักษะ
ในการดาเนินชีวิต มีพ้ืนฐานในการประกอบอาชีพ พ่ึงตนเองได้อย่างมีศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
3. ด้ำนคณุ ภำพ
3.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะการเรียนรู้และทักษะที่จาเป็นของ
โลกในศตวรรษท่ี 21 อย่างครบถ้วน เป็นคนดี มีวินัย มีความรักในสถาบันหลักของชาติ ยึดม่ันการ
ปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข มีทัศนคติทถี่ กู ต้องตอ่ บ้านเมือง
3.2 พัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและทักษะด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ การคิดขั้นสูง
นวัตกรรมวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีดิจิทัล และภาษาต่างประเทศ เพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการ
แข่งขัน และการเลอื กศึกษาตอ่ เพอ่ื การมีงานทา
3.3 ปรบั หลักสตู รเป็นหลกั สูตรฐานสมรรถนะ ท่เี นน้ การพัฒนาสมรรถนะหลักที่จาเปน็ ในแต่
ละระดับ จัดกระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติจริง รวมทั้งส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ท่ีสร้างสมดุล
ทุกด้านส่งเสริมการจัดการศึกษาเพอ่ื พฒั นาพหุปัญญา พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลผู้เรียนทกุ
ระดบั
3.4 พัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ใหเ้ ป็นครยู คุ ใหม่ มีศักยภาพในการจดั การเรยี นการ
สอนตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ มีทักษะในการปฏิบัติหน้าที่ได้ดี มีความรู้ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยดี ิจทิ ัลมีการพฒั นาตนเองทางวชิ าชพี อยา่ งตอ่ เน่ือง รวมทั้งมีจิตวิญญาณความเป็นครู

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564-2566 : 28

4. ด้ำนประสิทธิภำพ
4.1 พัฒนาระบบบริหารจัดการโดยใช้พื้นที่เป็นฐาน มีนวัตกรรมเป็นกลไกหลักในการ
ขบั เคล่อื นบนฐานขอ้ มูลสารสนเทศทถ่ี กู ต้อง ทนั สมยั และการมีส่วนร่วมของทุกภาคสว่ น
4.2 พัฒนาโรงเรียนมัยมดีสี่มุมเมือง โรงเรียนคุณภาพของชุมชน โรงเรียนขนาดเล็กและ
โรงเรียนท่ีสามารถดารงอยู่ได้อย่างมีคุณภาพ (Stand Alone) ให้มีคุณภาพอย่างย่ังยนื สอดคล้องกับ
บริบทของพืน้ ท่ี
4.3 บริหารจัดการโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ที่มีจานวนนักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี
1-3 น้อยกว่า 20 คน ให้ได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพ สอดคล้องกับนโยบายโรงเรียนคุณภาพของ
ชุมชน
4.4 ส่งเสริมการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพในสถานศึกษาที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะ และ
สถานศกึ ษาท่ีต้งั ในพ้ืนทลี่ ักษณะพเิ ศษ
4.5 สนับสนุนพ้ืนที่นวัตกรรมการศึกษาให้เป็นต้นแบบการพัฒนานวัตกรรมการศึกษาและ
การเพ่ิมความคลอ่ งตัวในการบริหารและการจดั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน
4.6 เพมิ่ ประสิทธภิ าพการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ปีการศกึ ษา 2564-2566 : 29

สว่ นท่ี 2

กำรวเิ ครำะห์ปจั จัย

โรงเรยี นนกิ รราษฎรบ์ ารงุ วิทย์ได้ศกึ ษาปัจจัยท่ีส่งผลกระทบต่อการพฒั นาการศกึ ษา นาขอ้ มูล
จากรายงานประจาปีของสถานศึกษา (SAR) ข้อเสนอแนะในรายงานของสานกั งานรบั รองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) มาดาเนนิ การวางแผนพัฒนาอยา่ งตอ่ เนื่อง ดว้ ยการวเิ คราะห์
โดยใช้เทคนิค SWOT (SWOT Analysis) ซึ่งจะปรากฏในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และ
แผนปฏิบัติการประจาปี เพ่ือให้ผู้บริหารทราบถึงจุดแข็ง จุดอ่อน สภาพภายในของโรงเรียน โอกาส
และอุปสรรคของสภาพภายนอก เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ซ่ึงผลการ
วเิ คราะห์สถานภาพของสถานศกึ ษา สรปุ ได้ ดงั นี้

1. กำรวเิ ครำะห์สภำพแวดลอ้ มภำยใน โดยใชร้ ปู แบบ 2S 4M

โรงเรียนนิกรราษฎร์บารุงวิทย์ได้วิเคราะห์ถึงแนวโน้มที่เป็นจุดแข็ง (Strengths : S) และ
จุดอ่อน (Weakness : W) ตามแนวคิดของ 2S 4M โดยนาปัจจัย 6 ด้าน มาวิเคราะห์ซึ่งอาศัย
หลักการมีส่วนร่วมของผู้ที่เก่ียวข้อง ได้แก่ ผู้บริหาร คณะครู คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน
นกั เรยี น และผู้มสี ว่ นได้เสยี ตา่ ง ๆ ร่วมกันเสนอแนะ โดยมขี ั้นตอนการปฏบิ ตั ดิ งั นี้ดงั นี้

ขัน้ ตอนกำรประเมินสภำพของโรงเรยี น
1. ให้ผ้มู ีส่วนเกยี่ วขอ้ งร่วมกันตรวจสอบและวเิ คราะห์ พจิ ารณาจากข้อมลู สารสนเทศปัจจุบัน
ในแต่ละประเด็นเพื่อหาสาเหตุ ข้อสรุปผลกระทบต่อโรงเรียนท้ังในส่วนท่ีเป็นจุดแข็งที่เป็นประโยชน์
ตอ่ การพัฒนา และในสว่ นทเ่ี ป็นจดุ ออ่ นท่ีจะตอ้ งแกไ้ ข หรือปรบั ปรุงให้ดขี น้ึ แล้วสรปุ ประเดน็ ที่ได้จาก
วิเคราะห์ในแตล่ ะปจั จยั (2S 4M) ทส่ี ง่ ผลต่อการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา
2. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องให้คะแนนในแต่ละประเด็นที่เป็นจุดแข็ง และจุดอ่อน แล้วกรอกคะแนน
ในช่องค่าคะแนนเฉลี่ยของมติสมาชิก โดยกาหนดคะแนนเต็มด้านละ 5 คะแนน โดยมีเกณฑ์การให้
คะแนน ดงั น้ี
คะแนน 5 หมายถึง ประเด็นตวั ช้ีวัดมีผลกระทบตอ่ การดาเนินงานของโรงเรียนมากที่สดุ
คะแนน 4 หมายถงึ ประเดน็ ตัวช้วี ดั มผี ลกระทบต่อการดาเนินงานของโรงเรียนมาก
คะแนน 3 หมายถงึ ประเด็นตวั ชว้ี ดั มผี ลกระทบต่อการดาเนินงานของโรงเรียนปานกลาง
คะแนน 2 หมายถึง ประเดน็ ตวั ชี้วดั มผี ลกระทบตอ่ การดาเนินงานของโรงเรยี นน้อย
คะแนน 1 หมายถงึ ประเดน็ ตัวชวี้ ัดมีผลกระทบต่อการดาเนนิ งานของโรงเรยี นนอ้ ยทสี่ ดุ

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ปีการศกึ ษา 2564-2566 : 30

3. หาค่าเฉล่ียของแต่ละประเด็นสาคัญ และหาค่าเฉล่ียรวมของแตล่ ะดา้ น โดยพิจารณาจาก
คา่ เฉลย่ี ของสภาพแวดล้อมภายในจดุ แขง็ (+) เทยี บกับคา่ คะแนนเฉล่ยี ของจดุ ออ่ น (-)

4. ร่วมกันกาหนดน้าหนักของสภาพแวดล้อมภายใน โดยให้คะแนนเต็มเท่ากับ 1 น้าหนัก
แต่ละด้านอาจเท่ากันหรือไม่เท่ากนั กไ็ ด้ ขึ้นอยู่กบั ความสาคญั โดยมหี ลกั การวา่ ปัจจยั ด้านใดท่ีเป็นจุด
แข็งหรือปัญหาต่อหน่วยงานมากก็กาหนดน้าหนักคะแนนมากกว่ารายการเป็นจุดแข็งหรือปัญหาตอ่
โรงเรียนน้อย

ตำรำงกำหนดนำ้ หนักประเด็นตัวช้ีวดั ตำมสภำพแวดลอ้ มภำยใน (2S 4M)

ปัจจยั สภำพแวดล้อมภำยใน ผลกำรพิจำรณำนำ้ หนัก

1. ด้านโครงสรา้ งงานและนโยบาย (Structure and Policy : S1) 0.20

2. ดา้ นผลผลติ และการบรกิ าร (Service and Product : S2) 0.15

3. ด้านบคุ ลากร (Man : M1) 0.15

4. ดา้ นการเงิน (Money : M2) 0.15

5. ด้านวสั ดุอปุ กรณ์ (Material : M3) 0.15

6. ดา้ นการบรหิ ารจดั การ (Management : M4) 0.20

นำ้ หนกั คะแนนรวม 1.00

ตำรำงกำรวิเครำะหป์ จั จัยภำยใน (Internal Environment) ตามแนวคิดของ 2S 4M มา

วิเคราะห์ ดังนี้

ประเดน็ วเิ ครำะห์ จุดแข็ง (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses)

1. ด้านโครงสร้าง 1.มีการกระจายอานาจตามระบบ 1.โครงสร้างการบรหิ ารงานของ

งานและนโยบาย โครงสรา้ งงาน โรงเรียนขาดความชดั เจน ไม่เอือ้ ต่อ

(Structure and การปฏิบตั ิงาน

Policy : S1) 2.ไมม่ ีการแบง่ งานตามความถนดั

ทาใหข้ าดความคล่องตวั ในการ

ปฏิบตั งิ าน

3. โรงเรียนไม่มีแนวทางในการ

กาหนดวิสัยทัศน์และพัน ธ กิ จ ที่

ชัดเจน

4.บางงานเปน็ โครงการหรือนโยบาย

เรง่ ดว่ น ทาใหก้ ารกาหนดหรือแบง่

งานไม่ชดั เจน

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564-2566 : 31

ประเด็นวเิ ครำะห์ จดุ แขง็ (Strengths) จดุ อ่อน (Weaknesses)

2. ดา้ นผลผลิต 1.นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 1.นกั เรียนขาดทกั ษะกระบวนการคิด

และการบริการ เป็นไปตามหลักสูตร และการแกป้ ญั หา

(Service and 2 . นั ก เ รี ย น มี คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พึง 2.ผลการทดสอบระดับชาตยิ งั ไม่

Product : S2) ประสงค์ เป็นไปตามเกณฑ์ท่ี สพฐ. เปน็ ไปตามเปา้ หมายที่ตัง้ ไว้

กาหนด 3.ขาดการให้บริการท่ีหลากหลาย

ช่องทาง

3. ดา้ นบคุ ลากร 1.โรงเรียนมบี ุคลากรที่มีคุณธรรมและ 1.โรงเรียนมีครไู ม่ครบกลุม่ สาระ

(Man : M1) จริยธรรมและแสวงหาความรู้อย่าง 2.บุคลากรบางส่วนขาดความรู้ความ

สม่าเสมอ ชานาญดา้ นเทคโนโลยี

2.บคุ ลากรมคี วามรู้ ความสามารถ 3.การดาเนินการนิเทศติดตามไม่

หลากหลาย และมคี วามเข้มแข็ง ตอ่ เนอ่ื ง

ทุ่มเทการทางานให้กับ ทุกภารกจิ 4.โรงเรียนขาดการสง่ เสริมการมีส่วน

ของโรงเรยี น ร่ ว ม ใ น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร

3.บุคลากรมีความตน่ื ตัวและ ประสานงานกับหน่วยงานอ่ืนในการ

กระตอื รือรน้ ในการพฒั นาตนเอง พัฒนาโรงเรยี น

อยา่ งต่อเนื่องตามภาระงาน/ 5.บุคลากรขาดการวางแผนในการใช้

มาตรฐานวชิ าชีพทรี่ ับผดิ ชอบ จา่ ยงบประมาณ

4. โรงเรียนได้จดั ทาแผนปฏิบัติการ

ประจาปเี ปน็ เคร่อื งมอื ในการ

ปฏิบตั งิ าน

4. ด้านการเงนิ 1.กลุ่มบรหิ ารงบประมาณ ได้ตดิ ตาม 1.การใช้จ่ายในบางโครงการไม่ตรง

(Money : M2) เอกสารการเบกิ จ่ายเงินอยา่ งเป็น ตามแผนปฏิบตั ิการท่ตี ั้งไว้

ระบบ 2.ข้ันตอนในการเบิกจ่ายล่าช้าไม่ทัน

ตอ่ ความตอ้ งการ

3 . ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ที่ ม า จ า ก ปั จ จั ย ท่ี อ ยู่

นอกเหนือการควบคมุ

4 . แ ห ล่ ง เ รี ย น รู้ แ ล ะ พื้ น ท่ี ภ า ย ใ น

โรงเรียนคับแคบ ทาให้ไม่มีสนาม

กฬี า สวนพักผอ่ น เพยี งพอต่อจานวน

นักเรยี น

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564-2566 : 32

ประเดน็ วิเครำะห์ จดุ แขง็ (Strengths) จุดออ่ น (Weaknesses)

5. ดา้ นวสั ดุ 1.โรงเรียนมรี ะบบเครือขา่ ย 1.ขาดหอ้ งปฏิบตั ิการในการจัดการ

อปุ กรณ์ อินเทอร์เนต็ ครอบคลุมพ้ืนท่ี เรียนรู้

(Material : M3) 2.มีหอ้ งเรียนครบทกุ ระดับช้ัน 2.การจดั เกบ็ วัสดุไมเ่ ป็นระบบ ขาด

การดแู ลการเก็บรักษาและบารงุ

อุปกรณ์

6. ด้านการ 1.บุคลากรให้ความร่วมมือในการ 1.ไมป่ ฏิบตั กิ ารให้เปน็ ไปตามขั้นตอน

บรหิ ารจดั การ ป ฏิ บั ติ ง า น ต า ม ค า สั่ ง ที่ ไ ด้ รั บ การดาเนินงานท่ีวางไว้

(Management : มอบหมาย 2.ขาดการนเิ ทศติดตามการ

M4) ดาเนินงาน

3.การปฏิบัตงิ านไม่เป็นไปตาม

โครงสรา้ งของงาน

2. ผลกำรวเิ ครำะห์ปจั จัยภำยนอก (External Environment) โดยใชร้ ปู แบบ C – PEST

โรงเรียนนิกรราษฎรบ์ ารุงวทิ ย์ได้วเิ คราะห์ถึงปัจจัยท่ีเป็นโอกาส และอุปสรรคต่อการบรหิ าร
จัดการและพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาให้บรรลุวัตถปุ ระสงค์ โดยมีขั้นตอนการปฏบิ ตั ิดังน้ีดังนี้

ขั้นตอนกำรประเมินสภำพของโรงเรยี น
1. ให้ผูม้ ีส่วนเก่ยี วข้องรว่ มกันตรวจสอบและวิเคราะห์ พิจารณาจากขอ้ มูลสารสนเทศปัจจุบัน
ในแต่ละประเด็นเพื่อหาข้อสรุปท่ีมีผลกระทบต่อโรงเรียนในส่วนที่โอกาส และในส่วนท่ีเป็นอุปสรรค
แล้วเขียนสรุปประเด็นท่ีมีปัจจัยเหตุท่ีส่งผลต่อการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
โรงเรียนให้ครอบคลุมทกุ เร่ืองของปจั จยั C - PEST
2. ผ้มู สี ว่ นเกีย่ วขอ้ งใหค้ ะแนนในแต่ละประเดน็ แลว้ กรอกคะแนนในชอ่ งคา่ คะแนนเฉล่ียของ
มตสิ มาชิก โดยกาหนดคะแนนเตม็ ด้านละ 5 คะแนน โดยมเี กณฑก์ ารให้คะแนน ดังน้ี
คะแนน 5 หมายถงึ ประเดน็ ตัวช้ีวดั มีผลกระทบตอ่ การดาเนินงานของโรงเรียนมากท่ีสดุ
คะแนน 4 หมายถึง ประเดน็ ตัวชวี้ ัดมีผลกระทบต่อการดาเนนิ งานของโรงเรียนมาก
คะแนน 3 หมายถงึ ประเด็นตวั ช้ีวัดมผี ลกระทบตอ่ การดาเนนิ งานของโรงเรยี นปานกลาง
คะแนน 2 หมายถึง ประเด็นตวั ช้วี ดั มผี ลกระทบตอ่ การดาเนินงานของโรงเรียนนอ้ ย
คะแนน 1 หมายถึง ประเด็นตัวช้ีวัดมีผลกระทบตอ่ การดาเนนิ งานของโรงเรยี นนอ้ ยที่สดุ
3. หาค่าเฉล่ียของแต่ละประเด็นสาคัญ และหาค่าเฉลี่ยรวมของแต่ละด้าน พร้อมสรุปผลว่า
โรงเรยี นเป็นหน่วยงานที่มีโอกาสหรืออุปสรรค โดยพจิ ารณาจากค่าเฉลี่ยของสภาพแวดลอ้ มภายนอก
โอกาส (+) เทยี บกบั ค่าคะแนนเฉลีย่ ของอุปสรรค (-)

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564-2566 : 33

4. ร่วมกันกาหนดน้าหนักของสภาพแวดล้อมภายนอก โดยให้คะแนนเต็มเท่ากับ 1 น้าหนัก
แต่ละด้านอาจเท่ากันหรือไม่เท่ากันก็ได้ ขึ้นอยู่กับความสาคัญ โดยมีหลักการว่าปัจจัยด้านใดที่เป็น
จุดแข็งหรือปัญหาต่อหน่วยงานมากก็กาหนดน้าหนักคะแนนมากกว่ารายการเป็นจุดแข็งหรือปัญหา
ต่อโรงเรยี นน้อย เพื่อนาไปกาหนดกลยุทธ์และจดั ลาดบั ความสาคัญของการพฒั นา

ตำรำงกำหนดนำ้ หนกั ประเดน็ ตัวชว้ี ัดตำมสภำพแวดล้อมภำยใน (C-PEST)

รำยกำรปัจจยั สภำพแวดลอ้ มภำยนอก ผลกำรพจิ ำรณำนำ้ หนกั

1.ด้านเทคโนโลยี (Technology Factors : T) 0.30

2. ลกู ค้าหรอื ผูร้ บั บริการ (Customer : C) 0.20

3. ดา้ นเศรษฐกจิ (Economic factors : E) 0.20

4. ดา้ นสังคมและวัฒนธรรม (Social – Cultural Factors : S) 0.15

5. สถานการณ์การเมือง (Political and legal Factors : P) 0.15

น้ำหนักคะแนนรวม 1.00

ตำรำงกำรวิเครำะหป์ ัจจัยภำยนอก (External Environment) ตำมรูปแบบ C-PEST มา

วเิ คราะห์ ดงั นี้

ประเดน็ วเิ ครำะห์ โอกำส (Opportunities) อุปสรรค (Threats)

1. ด้ำนเทคโนโลยี 1.โรงเรียนมีระบบ IT ท่ีทันสมยั พร้อม 1.มีการใช้เทคโนโลยีในทางลบ เช่น

(Technology ใหบ้ ริการและการบริหารจดั การ เลน่ เกม ดูโทรทศั นม์ ากเกินไป

Factors : T) 2. ชุมชน ผู้ปกครองบางส่วนเข้าถึง 2.นักเรียนขาดความตระหนักถึง

เทคโนโลยี อินเทอร์เน็ตได้สะดวก โทษของเทคโนโลยี

ส่งผลดีต่อการประชาสัมพันธ์ของ 3. ชุมชนขาดการควบคุมก าร

โรงเรยี น เช่น ทาง Facebook ,line ให้บรกิ ารด้านเทคโนโลยี

3.โรงเรียนเข้าถึงเครือข่ายหรือ 4.บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจ

แหล่งข้อมูลในด้านต่างๆ ท่ีเป็น ขั้นตอนการใช้อุปกรณ์ต่างๆ และ

ประโยชน์ต่อการทางานหรือจัด การนาเทคโนโลยีมาจัดกิจกรรม

กิจกรรมการเรียนการสอน การเรยี นการสอน

2. ลกู คำ้ หรือ 1.ผู้ปกครอง ชุมชนส่วนใหญ่มีความ 1. ผู้ปกครองบางส่วนไม่มีเวลา

ผู้รับบรกิ ำร พึงพอใจให้การยอมรับ จึงส่งบุตร มารว่ มกจิ กรรมทโี่ รงเรยี นจดั ข้นึ

(Customer : C) หลานเขา้ มาเรียน 2.ผู้ปกครองบางส่วนไม่มีเวลาใน

2.ผู้ปกครอง ชุมชนมีความเข้มแข็ง การดแู ลนักเรียนหลังเลกิ เรยี น

ยินดีให้การสนับสนุนภารกิจของ

โรงเรียน

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564-2566 : 34

ประเด็นวเิ ครำะห์ โอกำส (Opportunities) อุปสรรค (Threats)

3. ดำ้ นเศรษฐกิจ 1.โรงเรียนสามารถระดมทรัพยากร 1.ผปู้ กครองสว่ นใหญม่ รี ายไดน้ อ้ ย

(Economic จากชุมชน ผ้ปู กครอง องค์กรท้องถิ่น 2.สภาพเศรษฐกิจโดยรวมของ

factors : E) หนว่ ยงานเอกชน ประเทศอยู่ในช่วงชะลอตัวส่งผล

กระทบตอ่ รายไดข้ องผ้ปู กครอง

4. ด้ำนสังคมและ 1.โรงเรียนได้รับความร่วมมือจาก 1.พ่อแม่ ผู้ปกครองต้องประกอบ

วัฒนธรรม ชุมชน คระกรรมการสถานศึกษา อาชีพไม่มเี วลาดแู ลบุตรหลาน

(Social – Cultual หน่วยงานภายนอก ให้ความร่วมมือ 2.พ่อแม่ ผู้ปกครองบางส่วนขาด

Factors : S) และกจิ กรรมต่างๆ ของโรงเรยี น ความรู้ในการอบรมส่ังสอน เช่น

เดก็ ที่อาศัยอยู่กับปูย่ า่ ตายาย

3.ค่านิยมของผู้ปกครอง ชุมชนยัง

ยึดติดรปู แบบกระบวนการเดิมๆไม่

ยอมเปลยี่ นแปลงใดๆ

5. ส ถ ำ น ก ำ ร ณ์ 1.นโยบายเรียนฟรีจนจบการศึกษา 1.นโยบายด้านการศึกษาของ

กำรเมือง (Political ข้ันพื้นฐาน มีส่วนเพิ่มโอกาสทาง ภาครัฐที่เปล่ียนแปลงบ่อย ทาให้

and legal Factors การศกึ ษา การดาเนินงานต้องปรับเปลี่ยน

: P) 2.นโยบายการกระจายอานาจให้ ตามรัฐบาลจึงขาดความต่อเน่ืองใน

ท้องถิ่นมีส่วนให้สถานศึกษาได้รับ การพฒั นา

การสนับสนุนงบประมาณบางส่วน 2. การจัดสรรงบประมาณรายหัว

จากทอ้ งถิ่น ของรัฐบาลจัดสรรมาล่าช้ากับการ

บรหิ ารจดั การภายในโรงเรยี น

แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564-2566 : 35

3.สรปุ ผลการวเิ คราะห์สภาพของโรงเรยี น

ตำรำงสรปุ ผลกำรวิเครำะห์สถำนภำพของสภำพแวดลอ้ มภำยใน ตำมแนวคิด 2S 4M

รำยกำรปัจจยั น้ำหนกั คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลยี่ X สรปุ
สภำพแวดล้อมภำยใน นำ้ หนกั
0.00
จดุ แข็ง จดุ อ่อน จุดแขง็ จดุ ออ่ น 0.07
0.13
1. ด้านโครงสร้างงานและนโยบาย 0.20 4.31 4.33 0.86 0.87 -0.04
(Structure and Policy : S1) 0.04
0.00
2. ด้านผลผลิตและการบริการ 0.15 4.25 3.79 0.64 0.57
(Service and Product : S2) 0.19

3. ด้านบคุ ลากร (Man : M1) 0.15 4.83 4.00 0.73 0.60

4. ดา้ นการเงนิ (Money : M2) 0.15 3.50 3.75 0.53 0.56

5. ด้านวัสดุอุปกรณ์ (Material : 0.15 4.25 4.00 0.64 0.60
M3)

6. ดา้ นการบริหารจดั การ 0.20 3.88 3.88 0.78 0.78
(Management : M4)

สรปุ ปัจจัยภำยใน 4.16 3.97

เฉลีย่ ปัจจัยภำยใน 0.09
(นำคะแนนเฉลย่ี จดุ แขง็ -จดุ อ่อน หำร 2)

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ปีการศกึ ษา 2564-2566 : 36

ตำรำงสรปุ ผลกำรวิเครำะห์สถำนภำพของสภำพแวดลอ้ มภำยนอก

รำยกำรปัจจยั น้ำหนัก คะแนนเฉล่ีย คะแนนเฉลยี่ X
สภำพแวดลอ้ มภำยนอก น้ำหนกั สรุปผล

โอกำส อุปสรรค โอกำส อปุ สรรค

1. ด้านเทคโนโลยี (Technology 0.30 3.25 4.50 0.98 1.35 -0.38
Factors : T)

2. ลูกคา้ หรอื ผรู้ บั บริการ 0.20 3.78 3.61 0.76 0.72 0.03
(Customer : C)

3. ดา้ นเศรษฐกิจ (Economic 0.20 2.25 4.82 0.45 0.96 -0.51
factors : E)

4. ด้านสงั คมและวัฒนธรรม 0.15 3.78 3.61 0.57 0.54 0.03
(Social – Cultural Factors : S)

5. สถานการณ์การเมือง (Political 0.15 4.45 4.25 0.67 0.64 0.03
and legal Factors : P)

เฉล่ียปัจจัยภำยนอก 3.42 4.21

สรปุ ปัจจัยภำยนอก -0.40 -0.80
นำคะแนนเฉลยี่ จดุ แขง็ -จดุ อ่อน (3.20-1.60 หำร 2)

จากตารางสรุปการวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมของสถานศกึ ษา สามารถสรุปไดด้ ังน้ี
ปัจจัยภำยใน โดยสรุปสถานศึกษามีจุดแข็ง มีค่าเท่ากับ 4.16 ด้านที่มีค่ามากท่ีสุด คือ ด้าน
โครงสร้างและนโยบาย (+0.86) และปัจจัยภายในมีจุดอ่อน มีค่าเท่ากับ 3.97 เม่ือพิจารณาโดยรวม
แล้วสถานศกึ ษามปี จั จยั ภายในที่เปน็ จุดแขง็ ในการจัดการศกึ ษามากกวา่ จุดอ่อน (+0.09)
ปัจจัยภำยนอกท่ีเป็นโอกาสต่อการจัดการศึกษา มีค่าเท่ากับ 3.42 ด้านท่ีมีค่ามากท่ีสุด คือ
ด้านเทคโนโลยี (+0.98) สาหรับปัจจัยภายนอกท่ีเป็นอุปสรรค มีค่า 4.21 เม่ือพิจารณาโดยภาพรวม
แลว้ ปัจจัยภายนอกมีอปุ สรรคมากกวา่ โอกาส (-0.40)
เม่ือพิจารณาโดยรวมพบว่าสถานศึกษามีปัจจัยภายในท่ีเป็นจุดแข็งแต่มีปัจจัยภายนอกเป็น
อุปสรรคกล่าวคือสถานศึกษามีโอกาสในการจัดการศึกษาหรือการให้บริการท่ีดี ทั้งนี้เนื่องมาจากมี
ปัจจัยภายในเป็นจุดแขง็ หลายด้านที่เออ้ื ต่อการจัดการศกึ ษา มโี ครงสร้างการบริหารงาน มีการประชมุ
วางแผนงาน มีระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตครอบคลุมพ้ืนที่ อีกทั้งบุคลากรมีความรู้ความสามารถ มี
การตื่นตัวต่อการพัฒนาวิชาชีพและพัฒนาผู้เรียน ทาให้สถานศึ กษามีโอกาสพัฒนาคุณภาพ
สถานศึกษา และนกั เรยี นให้มคี ณุ ภาพสงู ขึ้นกว่าทีเ่ ปน็ อยูไ่ ด้ ในสว่ นของปัจจัยภายนอกที่เป็นอปุ สรรค
เกิดจากขาดการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก อีกทั้งปัญหาในครอบครัวของนักเรียน เศรษฐกิจ
สงั คมวฒั นธรรมและการเมือง

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2564-2566 : 37

กรำฟแสดงผลกำรประเมนิ สถำนภำพของโรงเรียนนิกรรำษฎร์บำรุงวิทย์
กรำฟแสดงสถำนภำพหนว่ ยงำน บนแกนควำมสัมพนั ธข์ อง SWOT

O

STARS 5 Question Marks

4

3 3.42

2

91

S5 43 21 W-1 -2 -3 -4 -5

4.16 -1 0.40 3.97

-2

-3

CASH COWS 4.21 -4 DOGS
-5

T

กราฟแสดงสถานภาพสถานศกึ ษา :สถำนภำพไมเ่ ออ้ื แต่แขง็

ผลการประเมินสถานภาพของโรงเรียน จากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกและปัจจัย
ภายในของโรงเรยี นนกิ รราษฎร์บารุงวิทย์ ดังกล่าวข้างตน้ สามารถประเมนิ สถานภาพของโรงเรียนได้
อย่ใู นลักษณะ “ไม่เออื้ แตแ่ ข็ง (CASH COWS ววั แมล่ กู อ่อน : ชะลอและปรบั ปรุง) ”กลา่ วคอื โรงเรียน
มีสมรรถนะภายในที่เข็มแข็ง มีการจัดโครงสร้างการบริหารงาน มีระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ครอบคลุมพ้ืนท่ี บุคลากรส่วนใหญ่ปฏิบัติหน้าท่ีสอนตรงตามความรู้ความสามารถของตนเอง และมี
การพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงานตามคาส่ังท่ีได้รับมอบหมาย
ก่อให้เกิดการปฏิบัติหน้าท่ีที่มีประสิทธิภาพส่งผลให้ด้านผลผลิตและการให้บริการมีประสิทธิภาพ แต่
ในการดาเนินการยังขาดการสนับสนุนจากหนว่ ยงานภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึง ผทู้ ม่ี ีส่วน
ได้ส่วนเสีย และยังพบปัญหาจากสภาพครอบครัว เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง ซึ่งส่งผลให้การ
พัฒนาของโรงเรยี นไมค่ ล่องตวั และไมส่ ามารถพฒั นาไดอ้ ย่างเตม็ ศักยภาพ

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปกี ารศึกษา 2564-2566 : 38

ส่วนท่ี 3

ทิศทำงกำรจดั กำรศกึ ษำ

วิสยั ทัศน์
ผู้เรยี นมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาบนพืน้ ฐานการบรหิ ารแบบมีส่วนร่วมของชมุ ชน

เพ่ือการพฒั นาคณุ ภาพอย่างยงั่ ยืน

อัตลักษณข์ องสถำนศกึ ษำ
ภูมิทัศน์เด่น เน้นวชิ าการ สานสมั พันธช์ ุมชน

เอกลักษณข์ องสถำนศกึ ษำ
ซอื่ สตั ย์ สามัคคี มจี ิตอาสา

พนั ธกิจ
1. พัฒนาผเู้ รียนให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
2. พฒั นาการบรหิ ารแบบมีส่วนรว่ มโดยยดึ หลักธรรมาภิบาล
3. พฒั นาครูและบุคลากรในสถานศกึ ษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานวชิ าชพี
4. พัฒนาแหลง่ เรียนร้แู ละสภาพแวดลอ้ มให้เอ้ือต่อการเรยี นร้อู ยา่ งเต็มศักยภาพ
5. จดั หา พัฒนา และสง่ เสริมการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน
6. สรา้ งสื่อนวัตกรรมเพือ่ พฒั นาคณุ ภาพทางการศึกษา
7. สง่ เสรมิ ใหช้ ุมชน องคก์ ร มสี ว่ นรว่ มในการจดั การศึกษา

เป้ำประสงค์
1. ผูเ้ รียนมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
2. ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษามีศกั ยภาพและความเช่ียวชาญในวชิ าชีพ
3. สถานศกึ ษาเป็นแบบอย่างในดา้ นการจัดการเรยี นการสอนและการบริหารแบบมสี ่วนรว่ ม

ที่ชุมชน องคก์ รภายนอกชว่ ยสง่ เสริมสนับสนุนและพัฒนาใหส้ ถานศึกษามีคณุ ภาพอยา่ งย่งั ยืน
4. เปน็ โรงเรียนตน้ แบบในดา้ นการจดั สภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการเรยี นรู้

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2564-2566 : 39

กำรกำหนดกลยทุ ธ์ของโรงเรียน

ดำ้ น พันธกจิ เปำ้ ประสงค์ กลยทุ ธโ์ รงเรียน
1. คณุ ภาพของ
ผู้เรียน พัฒนาผูเ้ รียนให้มี ผู้เรียนมีคุณภาพตาม 1. พัฒนาคุณภาพผู้เรียน

คุณภาพตาม มาตรฐานการศกึ ษา ตามหลักสูตรการศึกษาข้ัน

มาตรฐานการศกึ ษา พ้ืนฐานเพ่ือความเป็นเลิศ

ทางวชิ าการ

2 . ป ลู ก ฝั ง คุ ณ ธ ร ร ม

จริยธรรม ระเบียบวินัย

จิ ต ส า นึ ก ข อ ง ผู้ เ รี ย น แ ล ะ

เสริมสร้างทักษะในก าร

ดาเนินชีวิตในสังคมอย่างมี

ความสุข

3. สง่ เสรมิ กจิ กรรมให้ผู้เรยี น

ไดพ้ ฒั นาทกั ษะกระบวนการ

คดิ วิเคราะหแ์ ละทักษะที่

จาเปน็ เข้าใจหลกั ศาสนา

รักษาสุขภาพและ

สงิ่ แวดลอ้ ม เข้าร่วมกจิ กรรม

ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับภมู ิปญั ญา

และประเพณวี ฒั นธรรมใน

ท้องถน่ิ

4. บริหารจัดการตามหลัก

ธรรมาภิบาล ประสานความ

ร่วมมือกับชุมชนและองค์กร

ภายนอก สนับสนุนให้มีการ

จั ด ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ท่ี เ ป็ น

สังคมแห่งการเรียนรู้ อย่างมี

คุณภาพและยงั่ ยนื

2. กระบวนการ พฒั นาการบรหิ าร ครแู ละบคุ ลากร 1. พัฒนาครูและบุคลากร
บริหารและการ แบบมีสว่ นรว่ มโดย ทางการศกึ ษามี ทางการศึกษาท้ังระบบ ให้

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ปีการศึกษา 2564-2566 : 40

ดำ้ น พันธกจิ เปำ้ ประสงค์ กลยุทธ์โรงเรยี น

จัดการของผบู้ รหิ าร ยึดหลกั ธรรมาภิ ศักยภาพและความ เปน็ ครูมืออาชีพ มสี มรรถนะ

สถานศกึ ษา บาล เช่ยี วชาญในวิชาชีพ เหมาะสมกับการจัดการ

ศึ ก ษ า ต า ม ม า ต ร ฐ า น
การศกึ ษา

2. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหค้ รู
และบคุ ลากรในสถานศกึ ษา
สร้างส่ือและนวตั กรรมใน

การจดั การเรียนการสอน
เพื่อพฒั นาผูเ้ รยี น อย่างมี

คุณภาพตามมาตรฐาน
การศกึ ษา

สง่ เสรมิ ใหช้ มุ ชน สถานศึกษาเปน็ 1. บรหิ ารจดั การตามหลัก
องค์กร มสี ว่ นร่วม แบบอย่างในดา้ นการ ธรรมาภบิ าล ประสานความ
ในการจดั การศึกษา จดั การเรยี นการสอน ร่วมมือกับชมุ ชนและองคก์ ร

และการบริหารแบบมี ภายนอก สนบั สนุนใหม้ ีการ
สว่ นร่วมที่ชุมชน จัดสภาพแวดลอ้ มท่เี ปน็
องค์กรภายนอกช่วย สังคมแหง่ การเรียนรู้ อย่างมี

สง่ เสริมสนบั สนุนและ คุณภาพและยัง่ ยนื
พัฒนาใหส้ ถานศึกษา

พัฒนาครูและ มีคุณภาพอย่างย่งั ยนื 1. พัฒนาครูและบุคลากร
บคุ ลากรใน ครูและบุคลากร ทางการศึกษาทั้งระบบ ให้
สถานศกึ ษาใหม้ ี ทางการศกึ ษามี เปน็ ครูมืออาชีพ มีสมรรถนะ
คุณภาพตาม ศกั ยภาพและความ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ก า ร จั ด
มาตรฐานวิชาชีพ เชย่ี วชาญในวชิ าชพี ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม ม า ต ร ฐ า น
การศกึ ษา
3. กระบวนการ พัฒนาแหลง่ เรียนรู้ เปน็ โรงเรยี นตน้ แบบ 1. บริหารจัดการตามหลัก
จัดการเรียนการ ธรรมาภิบาล ประสานความ
สอนที่เนน้ ผู้เรียน และสภาพแวดล้อม ในด้านการจัด ร่วมมือกับชุมชนและองค์กร
เปน็ สาคัญ ใหเ้ ออื้ ตอ่ การ สภาพแวดล้อมทเ่ี อ้อื ภายนอก สนับสนุนให้มีการ
เรยี นรอู้ ยา่ งเตม็ ตอ่ การเรียนรู้ จั ด ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ที่ เ ป็ น
ศักยภาพ

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ปกี ารศึกษา 2564-2566 : 41

ดำ้ น พันธกิจ เป้ำประสงค์ กลยุทธโ์ รงเรยี น

สังคมแห่งการเรียนรู้ อย่างมี

คุณภาพและยงั่ ยืน

จัดหา พัฒนา และ สถานศกึ ษาเป็น 2. ส่งเสริม สนับสนุนให้ครู
สง่ เสริมการใช้ แบบอย่างในด้านการ และบุคลากรในสถานศึกษา
เทคโนโลยีในการ จดั การเรยี นการสอน สร้างส่ือและนวัตกรรมใน
จัดการเรียนการ และการบรหิ ารแบบมี การจัดการเรียนการสอน
สอน สว่ นร่วมท่ชี มุ ชน เพื่อพัฒนาผู้เรียน อย่างมี
องคก์ รภายนอกช่วย คุ ณ ภ า พ ต า ม ม า ต ร ฐ า น
สร้างสือ่ นวัตกรรม ส่งเสรมิ สนับสนุนและ การศึกษา
เพื่อพฒั นาคณุ ภาพ พัฒนาใหส้ ถานศกึ ษา
ทางการศึกษา มคี ุณภาพอยา่ งยั่งยนื

กลยุทธ์
โรงเรียนนิกรราษฎรบ์ ารงุ วิทย์ ไดก้ าหนดการขับเคล่อื นกลยุทธ์ ดงั นี้
1. พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นตามหลักสูตรการศึกษาข้นั พนื้ ฐานเพอื่ ความเปน็ เลิศทางวิชาการ
2. ปลกู ฝังคณุ ธรรม จริยธรรม ระเบยี บวินัย จติ สานกึ ของผู้เรียนและเสริมสร้างทักษะในการ

ดาเนินชีวิตในสงั คมอยา่ งมีความสุข
3. ส่งเสริมกิจกรรมให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะ กระบวนการคิดวิเคราะห์และทักษะที่จาเป็น

เข้าใจหลักศาสนา รักษาสุขภาพและสิ่งแวดล้อม เข้าร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับภูมิปัญญา และ
ประเพณวี ัฒนธรรมในท้องถิ่น

4. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ให้เป็นครูมืออาชีพ มีสมรรถนะเหมาะสม
กบั การจัดการศกึ ษาตามมาตรฐานการศึกษา

5. บริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ประสานความรว่ มมือกบั ชุมชนและองค์กรภายนอก
สนับสนนุ ใหม้ ีการจดั สภาพแวดล้อมทเี่ ป็นสังคมแหง่ การเรยี นรู้ อย่างมีคณุ ภาพและย่งั ยนื

6. ส่งเสริม สนับสนุนให้ครูและบุคลากรในสถานศึกษาสร้างสื่อและนวัตกรรมในการจัดการ
เรียนการสอนเพ่ือพัฒนาผเู้ รยี น อยา่ งมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ปีการศึกษา 2564-2566 : 42

กลยทุ ธแ์ ละจุดเนน้
กลยทุ ธท์ ี่ 1 พัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นตามหลกั สูตรการศึกษาข้ันพน้ื ฐานเพ่อื ความเปน็ เลศิ

ทางวชิ าการ
จดุ เนน้
1. สนบั สนนุ ส่งเสริมพฒั นาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสตปิ ัญญาเพื่อความ

เป็นเลศิ ทางวชิ าการ
2. สนบั สนุน สง่ เสริมการพฒั นาศักยภาพผู้เรียนด้านการส่ือสาร 2 ภาษา
3. สนับสนนุ สง่ เสรมิ การพฒั นาศักยภาพผู้เรียนสู่ศตวรรษท่ี 21
4. สนบั สนุน ส่งเสริมทักษะการอา่ นคล่อง เขยี นคลอ่ ง
5. สนบั สนนุ ส่งเสริมทกั ษะภาษาองั กฤษระดบั ปฐมวยั
กลยุทธ์ท่ี 2 ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมระเบียบวินัยจิตสำนึกของผู้เรียนและเสริมสร้ำง

ทกั ษะในกำรดำเนินชวี ติ ในสงั คมอยำ่ งมคี วำมสขุ
จดุ เนน้
1. สนับสนนุ สง่ เสรมิ ให้นักเรียนมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
2. สนบั สนุน สง่ เสรมิ ใหน้ ักเรยี นมมี ารยาทตามวฒั นธรรมไทย
3. สนบั สนุน สง่ เสรมิ ให้นักเรียนมีวิถีชีวิตพอเพยี ง
4. สนับสนุน สง่ เสริมให้นักเรยี นมีระเบยี บวินยั
5. สนับสนนุ ส่งเสรมิ ให้นักเรยี นมใี นการดาเนินชวี ิตในสงั คมอย่างมคี วามสุข
กลยุทธ์ท่ี 3 สง่ เสรมิ กิจกรรมให้ผเู้ รยี นได้พัฒนำทกั ษะกระบวนกำรคิดวเิ ครำะหแ์ ละทักษะ

ท่จี ำเปน็ เข้ำใจหลักศำสนำรกั ษำสุขภำพและส่ิงแวดลอ้ มเข้ำร่วมกิจกรรมทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับภมู ิปัญญำ
และประเพณวี ัฒนธรรมในทอ้ งถ่ิน

จุดเน้น
1. สง่ เสริม สนบั สนนุ พัฒนาให้นักเรยี นมที กั ษะกระบวนการการคิดวิเคราะห์
2. ส่งเสรมิ สนบั สนุนพฒั นาใหน้ กั เรียนมีทักษะที่จาเปน็ ตามชว่ งวยั
3. สง่ เสรมิ สนับสนุนพัฒนาให้นกั เรียนเขา้ ใจและยึดม่ันในหลักศาสนาตามท่ตี นนับถอื
4. สง่ เสริม สนบั สนนุ พฒั นาใหน้ กั เรยี นมีสขุ ภาพด้านร่างกาย และจติ ใจทีด่ ี
5. ส่งเสรมิ สนับสนนุ พฒั นาใหน้ ักเรียนอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดลอ้ มเห็นคุณคา่ ในการประหยดั พลังงาน
รกั ธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม ส่งเสรมิ ภูมิปญั ญาท้องถิน่ และประเพณีวฒั นธรรม
กลยทุ ธท์ ่ี 4. พัฒนำครแู ละบุคลำกรทำงกำรศึกษำทัง้ ระบบ ให้เป็นครูมืออำชีพ มี
สมรรถนะเหมำะสมกบั กำรจัดกำรศึกษำตำมมำตรฐำนกำรศกึ ษำ
จดุ เนน้
1. พัฒนาวชิ าชพี ของครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาให้เป็นวชิ าชพี ชน้ั สงู อยา่ งแท้จริง

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2564-2566 : 43

2. พัฒนาวชิ าชีพของครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาใหม้ คี วามรู้ความสามารถ มีคุณธรรม
จรยิ ธรรมและปฏบิ ตั ิหน้าท่ีได้อยา่ งเต็มศกั ยภาพ

กลยุทธ์ท่ี 5 .บรหิ ำรจัดกำรตำมหลักธรรมำภบิ ำลประสำนควำมรว่ มมือกับชุมชนและ
องค์กรภำยนอกสนบั สนนุ ใหม้ ีกำรจดั สภำพแวดลอ้ มทีเ่ ป็นสงั คมแห่งกำรเรยี นรู้ อย่ำงมคี ุณภำพ
และยง่ั ยืน

จดุ เน้น
1. บรหิ ารจดั การสถานศกึ ษาโดยการมีสว่ นร่วมของทกุ ภาคสว่ นและมกี ารประชาสมั พันธ์
ผลงานของสถานศึกษาในเชิงรกุ ทุกรปู แบบ
2. จดั สภาพสิ่งแวดล้อมทงั้ ภายในและภายนอกสถานศึกษาให้มบี รรยากาศทเี่ ออื้ ต่อการเรยี น
การสอนและเป็นสงั คมแหง่ การเรียนรูอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ
กลยทุ ธท์ ่ี 6 ส่งเสรมิ สนับสนุนให้ครแู ละบคุ ลำกรในสถำนศกึ ษำสรำ้ งสื่อและนวัตกรรมใน
กำรจดั กำรเรียนกำรสอนเพอ่ื พัฒนำผูเ้ รียนอย่ำงมคี ุณภำพตำมมำตรฐำนกำรศกึ ษำ
จุดเนน้
1.ส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหค้ รูและบคุ ลากรในสถานศึกษาใช้เทคโนโลยีเพอ่ื การจัดการเรียนการ
สอน
2.พัฒนาครแู ละบคุ ลากรในสถานศึกษาใหม้ ีความสามารถในการสรา้ งสือ่ และนวัตกรรมใน
การจดั การเรยี นการสอน
3.ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาสรา้ งเครอื ขา่ ยการเรยี นรูแ้ ละสร้างสอ่ื นวตั กรรมโดยการมี
สว่ นร่วมกบั ผูม้ ีส่วนเกีย่ วขอ้ งทุกภาคส่วนให้เกดิ เป็นชมุ ชนแห่งการเรียนร้ดู ว้ ยนวัตกรรมใหม่

ส่วนท่ี 4

กลยทุ ธท์ ่ี 1 พฒั นาคุณภาพผเู้ รียนตามหลักสูตรการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานเพือ่ ความเ
เป้ำประสงค์ ผู้เรยี นมคี ณุ ภาพตามการศกึ ษา

วตั ถปุ ระสงคเ์ ชิงกลยทุ ธ์ ตัวชวี้ ัดควำมสำเรจ็ ข้อ
(B

1. พฒั นาผู้เรียนใหม้ ีความรู้ 1. ร้อยละของผเู้ รียนมีผลสัมฤทธิ์
สามารถตามหลักสูตรสถานศึกษา ทางการเรียนผา่ นเกณฑ์การวดั และ
ประเมนิ ผลของหลักสูตร
สถานศึกษา
2. รอ้ ยละของผเู้ รยี นชั้น
ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 มีผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี นจากการทดสอบ
ระดบั ชาติ (O-NET) เพ่ิมขนึ้
3. ร้อยละของผูเ้ รยี นชั้น
ประถมศึกษาปที ่ี 3 มคี วามสามารถ
ด้านภาษา อา่ น ออก เขียนได้ ดา้ น

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ปีการศึกษา 2564-2566 : 44

กรอบกลยุทธ์

เปน็ เลิศทางวชิ าการ

อมลู พ้ืนฐำน ค่ำเป้ำหมำย กลยทุ ธร์ ิเร่มิ
Based line) 64 65 66
1. โครงการพัฒนาหลักสูตร
2563 80 85 90 สถานศกึ ษาและหลกั สูตรกลุ่ม
สาระการเรยี นรู้
75 80 85 90 2. โครงการพัฒนาระบบประกนั
80 85 90 คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
75 80 85 90 3. โครงการนิเทศภายใน
80 85 90 สถานศึกษา
75 4. โครงการปัจฉมิ นิเทศ
5. โครงการหลักสตู รสถานศกึ ษา
75 ปฐมวยั
75


Click to View FlipBook Version