คมู่ ือทอ่ งเที่ยว
แหลง่ ทุนวฒั นธรรม
ยา่ นชุมชนเก่าหวั เขา – แหลมสน
Tourism Guidebook:
Cultural Capital of Hua Khao - Laem Son
Old Town Community Area
ส�ำนกั ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา
Office of Arts and Cultural Songkhla Rajabhat University
หนว่ ยอนรุ ักษ์สง่ิ แวดลอ้ มธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่น จังหวดั สงขลา
Conservation of the Natural Environment and
Local Arts Unit of Songkhla Province
คมู่ ือท่องเที่ยว แหลง่ ทุนวัฒนธรรมยา่ นชมุ ชนเก่าหัวเขา-แหลมสน
ผแู้ ตง่ และเรียบเรียง ส�ำนกั ศลิ ปะและวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา
พมิ พค์ รง้ั ท่ี 1 สิงหาคม 2564
จำ� นวนพมิ พ์ 500 เล่ม
ISBN 978-616-8018-13-2
ที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ ดร.ทัศนา ศิริโชติ
อธิการบดีมหาวิทยาลยั ราชภัฏสงขลา
บรรณาธิการบรหิ าร ดร.บรรจง ทองสร้าง
ผูอ้ ำ� นวยการสำ� นักศิลปะและวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา
หัวหนา้ หน่วยอนุรกั ษ์ส่งิ แวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมท้องถิน่ จังหวัดสงขลา
บรรณาธิการ อาจารย์กมลนาวิน อินทนูจิตร ประธานกรรมการ
รองผอู้ ำ� นวยการส�ำนักศลิ ปะและวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา
เลขานุการหน่วยอนรุ กั ษ์สงิ่ แวดลอ้ มธรรมชาติและศิลปกรรมทอ้ งถ่ินจังหวัดสงขลา
กองบรรณาธิการ ดร.จรี นนั ท์ แก้วมา กรรมการ
ดร.จิรัตน์ เขียวชอมุ่ กรรมการ
ดร.เกตวดี หมัดเดน็ กรรมการ
ดร.สุพรรณี เขยี วชอุ่ม กรรมการและเลขานุการ
ผสู้ นับสนนุ การจัดพิมพ ์ โครงการส่งเสรมิ ศักยภาพแหล่งท่องเท่ียวเชงิ วัฒนธรรมและพฒั นาแหลง่ เรยี นรูด้ า้ นศิลปะ
และวฒั นธรรมชมุ ชนหัวเขาแดง โดย สำ� นกั ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา
จัดพมิ พเ์ ผยแพรแ่ ละสงวนลิขสทิ ธโ์ิ ดย
ส�ำนักศิลปะและวฒั นธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสงขลา
160 หมู่ 4 ถ.กาญจนวนชิ ต.เขารูปช้าง อ.เมอื งสงขลา จ.สงขลา
โทรศพั ท์ 074-260280 โทรสาร 074-336946
E-mail: [email protected]
พิมพ์ที่ พิมพการ 859/23 ถ.เพชรเกษม อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
โทร. 081-6084882
Email : [email protected]
Line ID : pimpakarn2005
เชญิ ชวน
ยา่ นชมุ ชนเมอื งเกา่ หวั เขา-แหลมสน อำ� เภอสงิ หนคร เปน็ แหลง่ อารยธรรม
และประวัตศิ าสตร์ของจังหวัดสงขลา ในสมยั โบราณยคุ อาณาจกั รศรีวิชยั มีพอ่ คา้
ชาวอินเดียเดินทางมาค้าขายทางเรือ เมื่อผ่านเกาะหนู เกาะแมว หากมองจาก
ดา้ นนอกเข้าหาฝ่ังจะเห็นเหมอื นสงิ ห์หมอบ จึงเรยี กว่า “สงิ หลา” และเรียกเมือง
ทตี่ ง้ั อยบู่ นฝง่ั หวั เขาแดงวา่ “สงิ หนครา” หรอื “สงิ ขรนครา” มคี นชาตติ า่ ง ๆ เรยี ก
กนั ว่า “ซิงกอรา่ ” จนกระท่งั กลายเสยี งมาเปน็ สงขลาในปจั จบุ ัน โดยมีหลกั ฐาน
ทพ่ี ่อค้าชาวอังกฤษได้เขยี นถงึ การคา้ ที่เมืองสงิ ขรว่า
“...จะไมผ่ ดิ หวงั หากคดิ จะสรา้ งคลงั สนิ คา้ ขนาดใหญข่ น้ึ ทส่ี งิ ขระ (Singora)
ขา้ พเจา้ คดิ วา่ เราอาจจะใชส้ งิ ขระเปน็ ทสี่ ำ� หรบั ตระเวนหาสนิ คา้ จากบรเิ วณใกลเ้ คยี ง
เพ่ือจัดส่งให้แก่ห้างของเราที่กรุงสยาม โคชินไชน่า บอร์เนียว และญ่ีปุ่น
ไดอ้ ยา่ งดี...” (1)
จากหลักฐานนี้แสดงให้เห็นว่าเมืองสงขลานอกจากจะเป็นเมืองท่ีส�ำคัญ
ทางการคา้ แลว้ ยงั เปน็ เมอื งทส่ี ำ� คญั ดา้ นการทอ่ งเทยี่ วดว้ ย ดงั นน้ั ไมว่ า่ เวลาจะผา่ น
ไปนานเท่าไร การเดินทางมาท่องเที่ยวสงขลาฝงั่ หัวเขา-แหลมสน ก็ยังคงอยู่ใน
ความทรงจ�ำของผคู้ นเสมอมาและจะยังคงเปน็ เช่นนั้นตอ่ ไป
(1) กรมศิลปากร. (2512). บันทึกเรื่องสัมพนั ธไมตรรี ะหวา่ งประเทศไทยกบั นานาประเทศ ในศตวรรษ
ที่ 17 / กรมศิลปากร ;ไพโรจน์ เกษแม่นกจิ , ผ้แู ปล. พระนคร.
Invitation
Kua Khao-Laem Son Old Town Community Area, Singhanakhon
District, is the area of civilization and history of Songkhla
Province. In ancient times, it was the Srivijaya Kingdom period.
There were Indian traders travelling by boat to trade here
passing through Mouse Island and Cat Island. From outside
the sea, when they looked towards the shore; it will be seen
like a crouching lion, so it was called “Singla”. The city located
on the edge of the Hua Khao Dang (means red mountain) was
called “Singhanakara” or “Singkhonnakara” and the foreigners
called it “Singora” until distorted to the present Songkhla.
There was an evidence of British merchant writing about the
trade in Singkhon that “…will not be disappointed if we build a
larger warehouse in Singora. I thought we might use Singora
as a place to scout for nearby products to deliver to our
department stores in Krung Siam, Cochinchina, Borneo and
Japan…” The evidence shown that Songkhla is not only an
important city of trading but also tourism. Therefore, no
matter how much time has passed, traveling to Songkhla on
the Hua Khao – Laem Son area, will always remain in people’s
memory and will always be ever.
บทนำ�
ยุคเมืองสงขลาหัวเขา ในช่วงเวลาพุทธศตวรรษท่ี 22-23 สงขลาเป็น
เมืองท่าค้าขายทางเรือ ที่มีท่าเรือน�้ำลึกปานกลาง ท้ังในทะเลใหญ่และทะเลสาบ
เป็นที่รู้จักกันท้ังชาวไทยและชาวต่างประเทศในนามเมือง “สงขลาริมเขาแดง”
โดยมี “ดาโตะ๊ โมกอลล”์ เป็นเจ้าเมอื งสงขลาในขณะนัน้ ซ่ึงได้สร้างป้อม ประตู คู
หอรบ อย่างแน่นหนา โดยมีบันทึกของพ่อค้าและนักเดินเรือชาวอาหรับเปอร์เซีย
ระหว่างปี พ.ศ. 1993-2093 เรียกสงขลาบริเวณริมเขาแดงว่า “ซิงกูร์” หรือ
“ซงิ กอรา” หลังจากนัน้ พ.ศ. 2223 ชาวสงขลาส่วนหน่งึ จงึ ได้อพยพมาต้งั บา้ น
เรอื นใหม่ท่ีบรเิ วณแหลมสนบนเชิงเขาทอ่ี ยูป่ ลายสุดของคาบสมทุ รสทิงพระ เรียก
กันต่อมาว่า “เมืองสงขลาฝั่งแหลมสน” จนมาถึงช่วงเวลา พ.ศ. 2313-2385
สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราชประกาศอสิ รภาพ ทรงปราบปรามเมอื งนครศรธี รรมราช
ได้ ทรงแยกเมอื งสงขลาออกจากนครศรธี รรมราช และทรงพัฒนาเมอื งสงขลาให้
เจริญเพื่อคานอำ� นาจกบั นครศรธี รรมราช ทัง้ ทรงแต่งต้งั เหยี่ยง แซเ่ ฮา่ ชาวจีน
ฮกเก้ียนเป็นหลวงสุวรรณคีรสี มบัติและพระยาสงขลา ผ้เู ป็นตน้ ตระกลู ณ สงขลา
ในปัจจบุ ัน(2)
(2) พิพธิ ภัณฑส์ ถานแห่งชาตสิ งขลา. (2564, 26 สงิ หาคม).ประวตั ิ ความเปน็ มาเมอื งสงขลา.
http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/songkhla/index.php/th/
Introduction
Songkhla Hua Khao during the 22nd – 23rd Buddhist century,
Songkhla was a trading port town with medium-deep ports both
in the sea and in the lake. It was known to both Thais and
foreigners as the city of “Songkhla by the Khao Daeng” and
they called the governor of Songkhla “Dato Mogals”. The
establishment of Songkhla by Dato Mogals, fortressed, ditches
and gates were built firmly. Records of Persian Arab merchants
and navigators between 1450 and 1550 called Songkhla by the
Khao Daeng as “Singur” or “Singora”. After 1680, some Songkhla
residents migrated to build new houses at Laem Son around
the foothills of the Sathing Phra Peninsula later called “Songkhla
City, Laem Son Coast”. Until the period of 1770-1842, King
Taksin the Great declared independence and suppressed the
city of Nakhon Si Thammarat. He separated the city of Songkhla
from Nakhon Si Thammarat and developed the city of Songkhla
to be prosperous to counter the power of Nakhon Si Thammarat.
He appointed Yang Sae Hao, a Chinese Hokkien as Luang Suwan
Khiri Sombat and Phraya Songkhla who was the ancestor of
the present Na Songkhla family.
การเดนิ ทาง
การเดนิ ทางไปหวั เขา-แหลมสนมี 2 เสน้ ทาง เสน้ ทางแรกสามารถเดนิ ทาง
ดว้ ยรถยนต์ โดยใชท้ างหลวงหมายเลข 408 สงขลา-สงิ หนคร ผา่ นเกาะยอไปยงั
บา้ นหวั เขา เสน้ ทางทสี่ องสามารถใชบ้ รกิ ารแพขนานยนตข์ า้ มทะเลสาบสงขลา จาก
ทา่ แพขนานยนตใ์ นฝง่ั อำ� เภอเมอื งสงขลาไปยงั บา้ นหวั เขา ซง่ึ เปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ สำ� หรบั
การเดินทางทนี่ ่าสนใจ
Transportation
There are two routes to travel to Hua Khao-Laem Son.
The first rout is to travel by car using the Songkhla-Singhanakhon
highway 408 passing Yo Island to Ban Hua Khao. The second
rout is to take a car ferry across Songkhla Lake from the car
ferry port at Mueang Songkhla District to Ban Hua Khao which
is the beginning for your interesting journey.
สารบัญ/Contents
เรอื่ ง หน้า
แหลง่ ทอ่ งเท่ียวทางด้านโบราณสถานและประวตั ิศาสตร ์ 11
(Historical places) 12
16
1. ก�ำแพงเมอื งและปอ้ มปราการ (City wall and ancient forts)
2. เจดยี ์องค์ด�ำ องคข์ าวบนเขาคา่ ยมว่ ง 20
(The black and white stupa on Khai Muang Hill) 22
3. ศาลากวง (Guang Pavilion) 30
4. ศาลาหลบเสือ (Lob Suea Pavilion)
5. สุสาน เจ.ว.ี ลาร์เซน (J. V. LARSEN Cemetery) 31
32
แหล่งท่องเท่ยี วทางด้านศาสนสถาน (Religious places) 38
41
1. วัดสวุ รรณคีรี (Suwan Khiri Temple) 44
2. วดั บอ่ ทรัพย์ (Bor Sub Temple) 46
3. วัดศริ ิวรรณาวาส (Siriwannawat Temple) 48
4. วดั ภผู าเบิก (Phupha Boek Temple)
5. วดั เขานอ้ ยและเจดียเ์ ขาน้อย (Khao Noi Temple and Khao Noi Pagoda) 51
6. ทวดเขาแดง (Khao Daeng Great Grandfather) 52
แหล่งท่องเทย่ี วทางดา้ นวิถีชิวติ (Way of life) 54
1. กลุม่ สตรีชุมชนตำ� บลหัวเขา (The women’s group 56
of Hua Khao subdistrict’s Community) 60
2. แหลง่ เรียนรสู้ มนุ ไพรย่านชมุ ชนเกา่ หวั เขา-แหลมสน
(Hua Khao-Laem Son Herbal Learning Center)
3. ทา่ เรือแหลมสน (Laem Son Pier)
4. ชุมชนสทงิ หม้อ (Sathing Mo Community)
แหลง่ ท่องเที่ยว
ทางดา้ นโบราณสถาน
และประวัติศาสตร์
(Historical places)
แหลง่ ท่องเท่ียวทางด้านโบราณสถานและประวัติศาสตร์
(Historical places) ประกอบด้วย
1. กำ� แพงเมอื งและป้อมปราการ (City wall and ancient forts)
2. เจดีย์องค์ด�ำ องค์ขาวบนเขาค่ายม่วง (The black and white
stupa on Khai Muang Hill)
3. ศาลากวง (Guang Pavilion)
4. ศาลาหลบเสอื (Lob Suea Pavilion)
5. บอ่ เกง๋ (Bor Geng)
6. สสุ าน เจ.วี. ลารเ์ ซน (J. V. LARSEN Cemetery)
1. กำ� แพงเมืองและปอ้ มปราการ
(City wall and ancient forts)
ยคุ แรกเมอื งสงขลาตงั้ ขึ้นบริเวณเขาแดง อำ� เภอสงิ หนคร เมื่อปี พ.ศ. 2148
ในสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถ โดยท่านดาโต๊ะโมกอลล์ ที่อพยพล้ีภัยจักรวรรดิ
มาจากเมืองสาเลห์ บนเกาะชวาประเทศอินโดนีเซยี ทา่ นดาโตะ๊ โมกอลล์ ได้สรา้ ง
บา้ นเมอื งจนเจรญิ รงุ่ เรอื ง รวมทง้ั สรา้ งกำ� แพงเมอื ง คเู มอื ง ปอ้ มเมอื ง ทำ� ใหเ้ มอื ง
สงขลามลี ักษณะเปน็ “เมืองแหง่ ปอ้ มปราการ” ซ่งึ มปี อ้ มปนื 18 ปอ้ ม แต่ปจั จุบันยงั
คงเหลอื หลักฐานอยู่จำ� นวน 13 ป้อม
กำ� แพงเมอื งไดป้ รบั ปรงุ เพม่ิ เตมิ ใหม้ คี วามมนั่ คงยง่ิ ขน้ึ ในสมยั ของทา่ นสลุ ตา่ น
สลุ ยั มาน บตุ รชายของทา่ นดาโตะ๊ โมกอลล์ ทสี่ ามารถสรา้ งความมน่ั คงและปลอดภยั
ใหก้ บั เรอื สนิ คา้ ทเ่ี ขา้ มาคา้ ขายกบั เมอื งสงขลาไดอ้ ยา่ งดี ซง่ึ ปอ้ มหวั เขาแดงเปน็ ปอ้ ม
ทแ่ี ขง็ แรงมาก ทำ� ใหก้ องทพั ของกรงุ ศรอี ยธุ ยาตอ้ งยกทพั มาตถี งึ 3 ครง้ั จงึ สามารถ
ตีก�ำแพงแตกได้
12 แคหู่มลือ่งททุน่อวงฒั เทนี่ยธวรรมย่านชุมชนเกา่ หัวเขา – แหลมสน
The first period of Songkhla was established by Dato
Mogol in Khao Daeng, Singhanakhon District in 1605 in the reign
of Somdet Phra Eka Thotsarot. Dato Mogol emigrated from
Saleh, Java Island, Indonesia. He developed the city and built
city walls, moats, and fortresses. Thus, Songkhla looked like
“City of Fortresses”, which had 18 fortresses, but 13 remain
until now.
แหลง่ ทนุ วฒั นธรรมย่านชมุ ชนเกา่ หควั ู่มเขือาท–อ่ แงหเลทมย่ีสวน 13
ป้อมหมายเลข 9
The city walls were further improved to be more strength
during the reign of Sultan Sulaiman, the son of Dato Mogol,
who was able to create stability and well safety for the merchant
ships that came to trade with Songkhla. Hua Khao Daeng Forts
were very strong. The Ayutthaya Army attacked 3 times and
was able to defeat them.
14 แคหูม่ ลือ่งททุน่อวงฒั เทนี่ยธวรรมยา่ นชมุ ชนเกา่ หวั เขา – แหลมสน
แหลง่ ทนุ วฒั นธรรมย่านชมุ ชนเกา่ หควั ู่มเขือาท–อ่ แงหเลทมี่ยสวน 15
2. เจดีย์องคด์ ำ� องค์ขาวบนเขาคา่ ยมว่ ง
(The black and white stupa on
Khai Muang Hill)
เจดยี อ์ งคด์ ำ� องคข์ าวหรอื เรยี กอกี ชอื่ หนง่ึ วา่ เจดยี ส์ องพน่ี อ้ ง เจดยี ท์ ง้ั สอง
องค์มีลักษณะเหมือนกัน ลักษณะของเจดีย์เป็นเจดีย์ย่อมุมไม้สิบสองต้ังบนฐาน
ส่ีเหล่ียมก่อด้วยหนิ ฉาบปูน ในปี พ.ศ. 2375 เจ้าพระยาพระคลัง (ดศิ บุนนาค)
นำ� ทพั ลงมารกั ษาขอบขณั ฑสมี าในเขตเมอื งชายแดนภาคใต้ พระยาพระคลงั สามารถ
เอาชนะศึกคร้ังนั้น และได้มาชุมนุมกองทัพที่หัวเขาแดง พร้อมท้ังสร้างอนุสรณ์
แหง่ ชยั ชนะไวบ้ นยอดเขา ปรากฏเปน็ เจดยี อ์ งคส์ ดี ำ� หรอื เจดยี อ์ งคพ์ ี่ สว่ นเจดยี อ์ งค์
ขาวหรอื เจดยี อ์ งค์น้อง สรา้ งข้ึนประมาณ พ.ศ. 2382-2384 โดยพระยาพพิ ฒั น์
รตั นราชโกษา (ทดั บนุ นาค) ซงึ่ เปน็ นอ้ งชายของเจา้ พระยาพระคลงั (ดศิ บนุ นาค)
เพื่ออุทิศให้แก่ผู้เสียชีวิตในครั้งที่ยกทัพมายังเมืองปัตตานีและไทรบุรี
นกั ทอ่ งเทย่ี วสามารถมองเหน็ เจดีย์องค์ดำ� องค์ขาว ได้จากฝ่งั อ�ำเภอเมืองสงขลา
และถ้ามองจากบนยอดเขานจ้ี ะสามารถเหน็ ทิวทัศน์ที่สวยงาม
16 แคหูม่ ลอื ง่ ททนุ อ่ วงฒั เทน่ียธวรรมยา่ นชมุ ชนเก่าหัวเขา – แหลมสน
The black and white pagodas, both look alike, also known
as the two-brother pagodas. The appearance of the pagodas
was reducing the size of 12 angles style on the square base
and made of plastered stone. In the year 1832, Chao Phraya
Phra Klang (Dis Bunnag) led an army to protect the boundary
in the southern border city. Phraya Phra Klang was able to win
that battle and gathered the army at Hua Khao Daeng (means
red mountain). He built a monument of victory on the top of
the mountain appearing as a black pagoda or elder one. The
white or the younger pagoda was built around 1839-1841 by
Phraya Phiphat Rattana Ratchakosa (Tad Bunnag), who was
the younger brother of Chao Phraya Phra Klang (Dis Bunnag),
to be dedicated to the deceased in the time when troops came
to Pattani and Saiburi. The tourists can see the black and the
white pagodas from Songkhla District. At the top of this hill,
you can see beautiful scenery.
แหล่งทุนวฒั นธรรมย่านชมุ ชนเกา่ หคัวมู่เขอืาท–่อแงหเลทม่ยีสวน 17
18 คแหมู่ ลอื ง่ ททนุ ่อวงัฒเทนี่ยธวรรมยา่ นชมุ ชนเก่าหัวเขา – แหลมสน
แหลง่ ทนุ วฒั นธรรมย่านชมุ ชนเกา่ หควั ู่มเขือาท–อ่ แงหเลทมี่ยสวน 19
3. ศาลากวง
(Guang Pavilion)
ศาลากวงเปน็ โบราณสถานตวั แทนแหง่ การตอบแทนบญุ คณุ แผน่ ดนิ โดยมี
ศิลาจารึกภาษาจีน กล่าวถึงการสร้างสาธารณประโยชน์คืนให้แก่ประชาชนและ
ให้แก่แผ่นดินแห่งน้ี เพื่อสืบสานเจตนารมย์ต่อจากบรรพบุรุษ อนึ่ง ค�ำว่า“กวง”
ในภาษาจนี กลาง มคี วามหมายวา่ แสงสว่าง ดงั น้นั จึงสันนษิ ฐานวา่ สถานท่แี หง่ นี้
หมายถงึ ศาลาทมี่ แี สงไฟ ลกั ษณะของศาลาเปน็ อาคารกอ่ อฐิ และปนู ยกพน้ื ผงั อาคาร
เปน็ ทรงสเ่ี หลย่ี มผนื ผา้ ภายในมลี กั ษณะเปน็ อาคารโลง่ ซงึ่ ใชเ้ ปน็ ศาลาทพ่ี กั สำ� หรบั
คนเดนิ ทางในสมยั กอ่ น(3) ปจั จบุ ันยงั คงเหลือเพียงซากอฐิ หลงเหลอื ใหพ้ บเหน็
(3) โบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติท่ี 10 สงขลา,ส�ำนักงาน.รายงานประกอบการขึ้นทะเบียน
โบราณสถานศาลากวง ตำ� บลหัวเขา อำ� เภอสงิ หนคร จงั หวัดสงขลา.เอกสารอัดส�ำเนา,2540.
20 คแหมู่ ลือ่งททนุ อ่ วงัฒเทนย่ีธวรรมย่านชุมชนเก่าหัวเขา – แหลมสน
Sala Guang is an ancient monument representing gratitude
for the land, which was inscribed in Chinese language mentioned
about dedication of public benefit back to the people and the
land in order to carry on the intentions of the ancestors. The
word “Guang” in Mandarin Chinese means light. Therefore, it is
assumed that this place refers to a pavilion with light. The
architectural plan is rectangle shape. Inside of the building is
opened and used as a pavilion for travelers in the past. Recently,
ruined bricks are left to be seen.
แหลง่ ทุนวัฒนธรรมยา่ นชมุ ชนเก่าหควั ูม่เขอืาท–่อแงหเลทมี่ยสวน 21
4. ศาลาหลบเสือ
(Lob Suea Pavilion)
ศาลาหลบเสือ เป็นศาลาท่ีสร้างข้ึนในพุทธศตวรรษที่ 24 สมัยพระบาท
สมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 3 ตั้งอยู่บนเส้นทางเดินโบราณระหว่าง
บ้านหัวเขา-สทิงหม้อ ในสมัยก่อนเมืองสงขลาแหลมสนมีเสืออยู่ชุกชุม จึงมีการ
สร้างศาลาข้ึนมา เพื่อเอาไว้หลบเสือและใช้ส�ำหรับพักแรม ลักษณะอาคารแสดง
ให้เห็นถึงสถาปัตยกรรมท้องถ่ินแดนใต้ในยุครัตนโกสินทร์ เล่าขานกันว่าศาลา
แห่งน้ีสร้างขึ้นเป็นอนุสรณ์การปราบเสือของพระยาวิเชียรคีรี (เถี้ยนเส้ง) ใน
ครั้งนั้นท่านได้พาชาวบ้านออกไปล้อมจับเสือและยิงเสือตาย ชาวบ้านจึงเรียก
ขนานนามทา่ นวา่ “พระยาสงขลาเสอื ”
22 แคห่มู ลือ่งททุน่อวงฒั เทนย่ีธวรรมยา่ นชมุ ชนเก่าหัวเขา – แหลมสน
Lob Suea Pavilion was built in the 24th of Buddhist era in
the reign of King Rama III, located on the ancient walking path
between Ban Hua Khao-Sathing Mo. In the past, there were a
lot of tigers in Songkhla Laem Son town. Therefore, the pavilion
was built to dodge the tigers and used as a place to stay
overnight. The building shows the local architecture of the
southern region in the Rattanakosin period. It is said that this
pavilion was built as a memorial of tigers’ hunting by Phraya
Vichiankiri (Tianseng). At that time, he led villagers to capture
the tigers and shot them dead. Thus, the villagers called him
“Phraya Songkhla Suea”.
แหล่งทุนวฒั นธรรมย่านชุมชนเก่าหคัวู่มเขอืาท–อ่ แงหเลทมีย่สวน 23
24 คแหมู่ ลอื ง่ ททนุ ่อวงัฒเทนี่ยธวรรมยา่ นชมุ ชนเก่าหัวเขา – แหลมสน
แหลง่ ทนุ วฒั นธรรมย่านชมุ ชนเกา่ หควั ู่มเขือาท–อ่ แงหเลทมี่ยสวน 25
5. บ่อเก๋ง
(Bor Geng)
บอ่ เกง๋ คอื ปราการรกั ษาดา้ นหนา้ ของเมอื งสงขลาแหลมสน สรา้ งขนึ้ ประมาณ
ปลายพุทธศตวรรษที่ 24 ประกอบดว้ ยแนวกำ� แพง ทีต่ ั้งปืนใหญ่ ซมุ้ ประตู บ่อน้ำ�
และศาลาท่ีพัก โดยหลังคามีรูปทรงแบบเก๋งจีน จึงเป็นท่ีมาของช่ือ “บ่อเก๋ง”
หลงั จากมกี ารยา้ ยเมอื งสงขลามายงั ฝง่ั บอ่ ยาง (ตวั เมอื งสงขลาในปจั จบุ นั ) ทำ� ให้
สถานท่ีแห่งน้ีจึงถูกปล่อยร้างไป แต่ชาวบ้านยังคงใช้ประโยชน์จากบ่อน้�ำจืด
บริเวณน้ีในการอุปโภคบริโภค ปัจจุบันมีซุ้มประตูที่ยังคงสภาพค่อนข้างสมบูรณ์
และซากโบราณสถานหลงเหลอื ไวใ้ หไ้ ปเยีย่ มชม
26 คแห่มู ลอื ง่ ททุน่อวงัฒเทนีย่ธวรรมยา่ นชมุ ชนเก่าหัวเขา – แหลมสน
Geng well (Bor Geng) was once like a Songkhla Old Town’s
fortress. It was built around the end of the 24th of Buddhist
era. It composed of a vertical wall, an artillery stand, a portal
arch, a well, and a pavilion with a Chinese style roof which was
the origin of the name Bor Geng. After Muang Songkhla was
moved to Bor Yang (Songkhla Town at present), this place was
abandoned. However, local people still use the wells around
this area as freshwater resources for consumption. At the
present, the arch with quite complete condition and the ancient
ruins were left to be visited.
แหล่งทนุ วัฒนธรรมย่านชมุ ชนเก่าหคัว่มูเขือาท–่อแงหเลทมี่ยสวน 27
28 คแหมู่ ลอื ง่ ททนุ ่อวงัฒเทนี่ยธวรรมยา่ นชมุ ชนเก่าหัวเขา – แหลมสน
แหลง่ ทนุ วฒั นธรรมย่านชมุ ชนเกา่ หควั ู่มเขือาท–อ่ แงหเลทมี่ยสวน 29
6. สสุ าน เจ.ว.ี ลาร์เซน
(J. V. LARSEN Cemetery)
หลุมฝงั ศพของ เจ.วี. ลาร์เซน มีชอ่ื ก�ำกบั “J.V. LARSEN” และกำ� กบั
ประเทศวา่ “เดนมารก์ ” ทง้ั ยงั มคี ำ� วา่ “Maskinmester” หมายความวา่ ชายคนนมี้ ี
อาชีพเป็น “หัวหน้าช่างวิศวกร” โดยชายคนน้ีเกิดในปี ค.ศ.1875 ณ ประเทศ
เดนมารก์ และเสียชวี ติ ในปี ค.ศ. 1909 เมื่ออายุ 34 ปี (พ.ศ. 2418-2452) ที่
“Singora” ชื่อเมืองสงขลา (เดิม) ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
เจา้ อยู่หวั
The tomb of J.V. Larsen is labeled “J.V. LARSEN” and
“Denmark” is labeled as the homeland. Additionally, there is the
word “Maskinmester” means this man was a “Chief Engineer”.
He was born in 1875 in Denmark and died in 1909 at the age of
34 years old (1875 - 1909) at “Singora”, the name of the city
of Songkhla (formerly) during the reign of King Rama VI.
30 คแห่มู ลอื ่งททุน่อวงฒั เทนย่ีธวรรมย่านชมุ ชนเก่าหวั เขา – แหลมสน
แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว
ทางด้านศาสนสถาน
(Religious places)
แหลง่ ทุนวฒั นธรรมย่านชมุ ชนเกา่ หคัวู่มเขือาท–่อแงหเลทม่ยีสวน 31
แหลง่ ทอ่ งเที่ยวทางด้านศาสนสถาน
(Religious places) ประกอบดว้ ย
1. วดั สวุ รรณครี ี (Suwan Khiri Temple)
2. วดั บ่อทรพั ย์ (Bor Sub Temple)
3. วดั ศิรวิ รรณาวาส (Siriwannawat Temple)
4. วดั ภูผาเบิก (Phupha Boek Temple)
5. วดั เขาน้อยและเจดยี เ์ ขานอ้ ย (Khao Noi Temple and Khao Noi
Pagoda)
6. ทวดเขาแดง (Khao Daeng Great Grandfather)
1. วัดสวุ รรณคีรี
(Suwan Khiri Temple)
วัดสุวรรณครี ี สร้างขึ้นประมาณปี พ.ศ. 2379 ได้รบั การบูรณะให้เป็นวดั
สำ� คญั ประจำ� เมอื งสงขลาฝง่ั แหลมสน โดยพระยาสวุ รรณครี สี มบตั ิ (บญุ หยุ้ ) ภายใน
อโุ บสถประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู ปางมารวชิ ยั มภี าพจติ รกรรมฝาผนงั ทง่ี ดงาม เจดยี ์
กอ่ อิฐฉาบปูนตกแตง่ ด้วยปนู ป้ันศิลปะอทิ ธพิ ลตะวันตก เจดียจ์ นี ทำ� ด้วยหนิ แกรนิต
หอระฆัง ซุ้มเสมาประดับด้วยปูนปั้นท่ีละเอียดงดงาม และมีองค์ประกอบทาง
ภูมิสถาปัตยกรรมทน่ี า่ สนใจ
นอกจากนน้ั ในสมัยธนบุรี พระเจ้าตากสนิ ฯ ต้องรวบรวมบ้านเมืองใหเ้ ป็น
ปกึ แผน่ ดว้ ยการออกวา่ ราชการและบญั ชาการรบอยเู่ รอ่ื ย ๆ หนงึ่ ในเมอื งทพี่ ระองค์
ตอ้ งลงมาวา่ การสงครามดว้ ยตวั เอง คอื สงขลา แหลมสน ราว พ.ศ. 1131 พงศาวดาร
เมอื งสงขลาเรยี บเรยี งโดยพระยาวเิ ชยี รคิรี (ชม) เมื่อยังเปน็ พระยาสุนทรานุรกั ษ์
32 แคหมู่ ลอื ง่ ททุน่อวงัฒเทน่ยีธวรรมยา่ นชมุ ชนเก่าหวั เขา – แหลมสน
บนั ทกึ เรอื่ งราวนไ้ี วว้ า่ “เมอื่ ศกั ราช 1131 (พ.ศ.2312) ปฉี ลู เอกศก พระเจา้ ตากสนิ ฯ
ยกกองทัพหลวงมาตีเมืองนครศรีธรรมราชแตกแล้ว ยกกองทัพเลยมาต้ังอยู่ ณ
เมืองสงขลา หลวงสงขลาวิเถียนหนีเจ้าตากไปกับเจ้าเมืองนครศรีธรรมราช
พระเจ้าตากตั้งให้นายโยม คนชาวเมืองสงขลาเป็นพระสงขลาเพ่ือปกครองเมือง
สงขลาฝัง่ แหลมสน และในคราวเดียวกันยังตงั้ ชาวจีนคนหนึ่งช่อื นายเหย่ียง เปน็
หลวงอินทคีรีสมบัติ ท�ำหน้าที่เก็บอากรรังนกท่ีเกาะสี่เกาะห้า และเล่ือนตำ� แหน่ง
เป็นหลวงสุวรรณคีรีสมบัติ ปกครองเมืองสงขลา (ต้นสายสกุล ณ สงขลา)”
สันนิษฐานว่า พระเจ้าตากสินมหาราชมาต้ังทัพและสร้างพระต�ำหนักท่ีทุ่งบ่อเตย
โดยพบหลกั ฐานโบราณวตั ถทุ กี่ ฎุ ภิ ายในวดั เชน่ กรอบบานพลบั พลา ลายดอกชบา
ดอกบัวหลวงและดอกโบต๋นั ในแจกัน ผสมผสานลายเอกลักษณ์ไทย จนี และมุสลิม
บรเิ วณนย้ี งั เปน็ เนนิ ทสี่ ามารถมองเหน็ ทพั เรอื ทแี่ ลน่ เขา้ มา และเปน็ สถานทส่ี ำ� หรบั
กองทพั ในการหลบคลืน่ ลม
แหล่งทนุ วฒั นธรรมย่านชมุ ชนเกา่ หควั ู่มเขอืาท–อ่ แงหเลทม่ยีสวน 33
34 คแหมู่ ลอื ง่ ททนุ ่อวงัฒเทนี่ยธวรรมยา่ นชมุ ชนเก่าหัวเขา – แหลมสน
แหลง่ ทนุ วฒั นธรรมย่านชมุ ชนเกา่ หควั ู่มเขือาท–อ่ แงหเลทมี่ยสวน 35
Suwan Khiri Temple was built around the year 1836. It
has been restored to be an important temple of Songkhla on
the Laem-Son side by Phraya Suwan Khiri Sombat (Boon Hui).
In the ordination hall, the Buddha image in the attitude of
subduing Mara was installed. The mural paintings are beautiful.
The pagoda was a plaster work decorated with stucco that
reflects western art. The Chinese pagoda was made of granite.
The belfry and boundary arches were decorated with magnif-
icent stucco and there are interesting landscape architectur-
al compositions.
In addition, in the Thonburi period the King Taksin had
to unite the country by regulating the commanding the war
constantly. One of the cities that he had to come down to war
by himself was Songkhla, Laem Son, around 1131 B.E. The
choronicles of Songkhla were compiled by Phraya Wichienkhiri
(Chom) when he was still Phraya Suntanurak mentioned that
“in the year 1131 (B.E. 2312), the year of the Ox, the King
Taksin led the royal army to attack Nakhon Si Thammarat. Once
Nakhon Si Thammarat was defeated, the King Taksin and his
army came to Songkhla. The governor of Songkhla, Vithian,
fled the King with the governor of Nakhon Si Thammarat. Then,
the King appointed Mr. Yom, a native of Songkhla, to become
a Songkhla governor to rule the city of Songkhla on the
36 คแหู่มลอื ง่ ททนุ ่อวงฒั เทนย่ีธวรรมยา่ นชมุ ชนเก่าหวั เขา – แหลมสน
Laem Son area. At the same time, he also appointed a Chinese
person named My Yang Sae Hao as Luang Inthakhiri Sombat,
who was the bird’s nest taxpayer on Si and Ha Island, to be
Lung Suwan Khiri Sombat to govern the city of Songkhla (the
beginning of the surname Na Songkhla). It is assumed that King
Taksin the Great came to set up his army and built a palace
at Thung Bo Toei. Many evidences of antiquities were found in
the cloister inside the temple, such as frames of the pavilion
with hibiscus flowers, lotus flowers and peonies on vases which
mixed with Thai, Chinese and Muslim identity patterns. In
addition, this area is hilly, able to see the ships coming in and
can avoid the wind and waves for the army.
แหลง่ ทนุ วัฒนธรรมยา่ นชมุ ชนเกา่ หควั ูม่เขือาท–่อแงหเลทม่ียสวน 37
2. วดั บ่อทรพั ย์
(Bor Sub Temple)
สันนิษฐานว่าวัดบ่อทรัพย์สร้างข้ึนในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เป็นวัด
ส�ำคัญอีกแห่งหนึง่ ในสมัยทีส่ งขลาตง้ั เมอื งอยูบ่ ริเวณฝ่งั แหลมสน ภายในบริเวณ
วัดมีอโุ บสถรปู แบบเรียบง่าย มหี ลังคาโดยรอบเป็นซมุ้ โค้งกลม ซ่ึงได้รับอิทธิพล
จากตะวนั ตก และกุฏไิ มแ้ บบไทยพน้ื ถ่ินภาคใต้ บรเิ วณบันไดทางขึ้นวดั จะมีบอ่ น�้ำ
พื้นเมืองท่ีเรียกว่า “บ่อซับ” ซ่ึงเป็นบ่อน�้ำขนาดใหญ่ซึมซับน้�ำที่ลงมาจากภูเขา
ขอบบอ่ เปน็ อฐิ โบราณ ภายนอกฉาบปนู ขาว นอกจากนยี้ งั มหี ลกั ฐานสำ� คญั ของการ
เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสมุนไพรเพอ่ื รักษาโรคระบาดในอดีต เช่น บ่อแช่ว่าน เสาธง
อณุ าโลมและทวดเจา้ เขาเขียว
38 แคหู่มลือ่งททุน่อวงัฒเทนย่ีธวรรมยา่ นชุมชนเก่าหัวเขา – แหลมสน
แหลง่ ทนุ วฒั นธรรมย่านชมุ ชนเกา่ หควั ู่มเขือาท–อ่ แงหเลทมี่ยสวน 39
Bor Sub Temple was assumed to be built in the beginning
of Rattanakosin period. It was one of the important temples
when Songkhla City was in Laemson area. On the temple compound,
there is an ordination hall with simple style. The roofs around
the hall are round curved which reflect the western influence
and the wooden monk’s cells represent southern Thai
architectural style. At the staircase leading up to the temple,
there is a local well called Bor Sub which is a big well absorbing
fresh water from the mountain. The edge of the well was made
of the ancient bricks. The outside was coated with quicklime.
In the past, there was an important evidence shown this place
was Herbal Learning Center for the treatment of plagues such
as Bo Chae Wan (herbal well), Unalom Flag and Khao Kheow
Great Grandfather.
40 คแหู่มลอื ง่ ททนุ อ่ วงัฒเทนีย่ธวรรมยา่ นชมุ ชนเกา่ หัวเขา – แหลมสน
3. วดั ศริ ิวรรณาวาส
(Siriwannawat Temple)
สันนิษฐานว่าวัดศิริวรรณาวาสได้รับการบูรณะปฏิสังขรโดยเจ้าเมือง
ตน้ ตระกลู ณ สงขลา ในสมยั รตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ เปน็ สถาปตั ยกรรมรปู แบบไทย
ผสมจนี ภายในอโุ บสถมพี ระพทุ ธรปู ปนู ปน้ั ศลิ ปะพนื้ บา้ นฝมี อื ชา่ งทอ้ งถนิ่ ลอ้ มรอบ
ด้วยกำ� แพงแกว้ มซี ุ้มเสมารอบอโุ บสถ ประตทู างเขา้ เปน็ ซ้มุ ประตูแบบจีน หลงั คา
มงุ ดว้ ยกระเบื้องดนิ เผาเกาะยอ นอกจากน้บี ริเวณวดั ยงั ปรากฏซากหอระฆังเกา่ ท่ี
เหลอื แตฐ่ านและบนั ไดใหเ้ หน็ อยา่ งไรกต็ ามยงั คงปรากฏรอ่ งรอยของสถาปตั ยกรรม
ทที่ รงคณุ คา่ ทง้ั ทางภูมปิ ญั ญาและจติ ใจไวใ้ ห้ชนรุ่นหลังไดม้ าเยีย่ มชม
แหลง่ ทนุ วฒั นธรรมยา่ นชุมชนเกา่ หควั ู่มเขอืาท–่อแงหเลทม่ยีสวน 41
42 คแหมู่ ลอื ง่ ททนุ ่อวงัฒเทนี่ยธวรรมยา่ นชมุ ชนเก่าหัวเขา – แหลมสน
It is assumed that Siriwannawat Temple was built in the
beginning of Ratanakosin period by the governor who was the
ancestor of Na-Songkhla lineage. The architectural style is
the mixture between Thai and Chinese style. In the ordination
hall, there is a stucco Buddha image which reflects local art
built by a local artisan. The ordination hall was surrounded by
the low boundary wall. There are boundary arches encircling
the ordination hall. The entrance is a portal arch in Chinese
style, The roof was thatched with clay tiles from Yo Island.
Additionally, on the temple compound, there is a remain of the
old belfry that only the base and staircase were left. However,
remains of invaluable architecture both in intellectual and
mental worth are still for the next generation to visit.
แหลง่ ทนุ วัฒนธรรมยา่ นชมุ ชนเกา่ หควั มู่เขอืาท–่อแงหเลทม่ียสวน 43
4. วัดภูผาเบิก
(Phupha Boek Temple)
สนั นิษฐานวา่ วดั ภูผาเบิก สร้างในสมัยรตั นโกสนิ ทร์ตอนต้นปี พ.ศ. 2370
เอกลกั ษณข์ องวดั แหง่ นคี้ อื สถาปตั ยกรรมผสมตะวนั ตกทมี่ คี วามโดดเดน่ มกี ารวาง
ผังวัดและการท�ำก�ำแพงกั้นดว้ ยหินภเู ขา 3 ระดับ มีทางเดนิ เป็นข้นั บันไดทีป่ ดู ้วย
อิฐดินเผาโบราณ ซึ่งสะท้อนถึงอัตลักษณ์เคร่ืองดินเผาเกาะยอ ภายในวัด
ประกอบดว้ ยอโุ บสถ ศาลาการเปรยี ญโบราณและกฏุ เิ รอื นไทย ในอดตี วดั ภผู าเบกิ
ยงั ใช้เปน็ สถานท่ีส�ำหรบั เลา่ เรียนภาษามคธ
44 คแหู่มลือง่ ททุนอ่ วงฒั เทน่ยีธวรรมยา่ นชุมชนเกา่ หัวเขา – แหลมสน
It is assumed that Phupha Boek Temple was built in the
beginning of Ratanakosin period in 1827. The uniqueness of
this temple is the outstanding architectural style which represents
the mixture of western style. The temple’s plan and the wall
were hedged with the mountain rock for three levels. There is
a footpath paved with the ancient clay bricks stepped to the
temple. It reflects the identity of Yo Island’s earthenware. In
the temple, there are an ordination hall, an ancient sermon hall,
and Thai style monk’s cells. In the past, Phupha Boek Temple
was used as a place to study Bihar language.
แหล่งทุนวฒั นธรรมย่านชมุ ชนเก่าหควั ่มูเขือาท–อ่ แงหเลทมีย่สวน 45
5. วดั เขานอ้ ยและเจดยี เ์ ขาน้อย
(Khao Noi Temple and Khao Noi Pagoda)
วัดเขาน้อยเป็นวัดแต่โบราณยุคพุทธศาสนามหายานแห่งศรีวิชัย มี
ปูชนยี วัตถ-ุ ปชู นยี สถานทส่ี ำ� คัญคือเจดยี ว์ ดั เขานอ้ ย ซึง่ ตง้ั อย่บู นยอดเขา ลกั ษณะ
ของเจดยี ไ์ มม่ ีการเจอื ปูนและการจัดวางอฐิ ไมเ่ ปน็ ระบบ ฐานเจดีย์เปน็ รปู สี่เหลยี่ ม
จัตรุ สั องค์เจดีย์เปน็ ซากปรักหกั พัง เหลอื เพยี งฐานซง่ึ มซี ุ้มประตูแบบรูปโคง้ แหลม
เป็นแบบช่างสมัยศรีวิชัยพุทธศตวรรษที่ 13-18 ภายในมีพระพุทธรูปปูนปั้น
ปางมารวิชัย เจดีย์วัดเขาน้อยได้รับการบูรณะต่อเติมกันมาหลายยุคเป็นเวลา
หลายร้อยปี ปัจจุบันยังเหลือร่องรอยของส่วนฐานของเจดีย์และเศษอิฐโบราณ
ไว้ให้เยย่ี มชม
46 คแหู่มลือ่งททุน่อวงฒั เทน่ียธวรรมย่านชมุ ชนเกา่ หัวเขา – แหลมสน
Khao Noi Temple is an old Buddhist temple and an important
historical landmark, which was built in the Srivijaya period
(13th -18th century) and was restored in the Ayutthaya period
(14th -18th century). Inside the temple, there is a Khao Noi
Pagoda located on the top of the hill. The pagoda was built
without the mixture of cement and bricks’ arrangement which
was not orderly. The pagoda’s base is square shape. The body
of the pagoda was mostly ruined and only the base with the
Kuha Lancet arch was left. There is a stucco Buddha image in
the attitude of subduing Mara inside the pagoda. Khao Noi
Pagoda was restored time after time in many eras for hundred
years. Recently, only the base of pagoda and ruined brick are
left to be seen.
แหลง่ ทนุ วฒั นธรรมย่านชมุ ชนเกา่ หควั มู่เขอืาท–อ่ แงหเลทมยี่สวน 47
6. ทวดเขาแดง
(Khao Daeng Great Grandfather)
“ทวดหวั เขาแดง” เป็นสิง่ ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ประจ�ำหวั เขาแดง คนทอ้ งถิ่นเช่อื ว่าเปน็
เทพทส่ี ถิตอยู่ ณ หัวเขาแดง ปากนำ�้ เมอื งสงขลามาตั้งแตค่ ร้ังโบราณกาล โดยมี
ความเชื่อว่าท่านจะคุ้มครอง ปอ้ งกันรกั ษาและใหโ้ ชคแก่เมอื งสงขลา ต่อมาในยุค
รตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ มกี ารสรา้ งศาลาประดษิ ฐานทวดหวั เขาแดงไวอ้ ยา่ งถาวร ซง่ึ
เป็นสถาปัตยกรรมจีน คล้ายศาลาเรียกว่า “ศาลาทวดหัวเขาแดง” ภายในศาลา
แหง่ นม้ี รี ปู จำ� ลองแกะสลกั ของ “ทวดเขาแดง” และ “พระเอง็ บว้ นตะ๊ ” เทพองคส์ ำ� คญั
องคห์ นงึ่ ของฝา่ ยบุ๋น ซง่ึ เป็นแมท่ ัพที่ชาวจนี ต่างนบั ถอื มาก อกี ทง้ั ยงั เชอื่ วา่ ทวดจะ
คอยคุ้มครองและให้โชคลาภแก่ชาวเมืองสงขลาและผู้ที่เดินทางผ่านไปมาทั้ง
ทางบกและทางทะเล
48 คแหูม่ ลอื ง่ ททุน่อวงฒั เทน่ียธวรรมยา่ นชุมชนเกา่ หัวเขา – แหลมสน