Tuad Hua Khao Daeng (Tuad means great grandfather)
is the sacred object of Khao Daeng. Local people believe that
it is a deity that resides at Hua Khao Daeng, the mouth of
Songkhla since ancient times. It is believed that he will protect
against evil and give luck to the city of Songkhla. Later, in the
early Rattanakosin period, a pavilion was built to enshrine the
Tuad Hua Khao Daeng permanently. It is Chinese architecture
like a pavilion called “pavilion of Tuad Hua Khao Daeng”. Inside
the pavilion is a carved repica of “Tuad Khao Daeng” and “Phra
Eng Ban Ta”, one of the important deities of the academic side.
He is a general that the Chinese are very respected. Tuad will
protect and give good fortune to the people of Songkhla and
those who travel by land and sea.
แหลง่ ทุนวฒั นธรรมย่านชุมชนเกา่ หคัวู่มเขอืาท–่อแงหเลทมี่ยสวน 49
50 คแหมู่ ลอื ง่ ททนุ ่อวงัฒเทนี่ยธวรรมยา่ นชมุ ชนเก่าหัวเขา – แหลมสน
แหลง่ ท่องเท่ยี ว
ทางดา้ นวถิ ชี ิวิต
(Way of life)
แหลง่ ทอ่ งเท่ียวทางด้านวิถชี วิ ติ
(Way of life) ประกอบด้วย
1. กลุ่มสตรชี ุมชนต�ำบลหัวเขา (The women’s group of Hua Khao
subdistrict’s Community)
2. แหลง่ เรียนรู้สมุนไพรยา่ นชุมชนเกา่ หวั เขา-แหลมสน
(Hua Khao-Laem Son Herbal Learning Center)
3. ท่าเรอื แหลมสน (Laem Son Pier)
4. ชุมชนสทิงหม้อ (Sathing Mo Community)
1. กลุ่มสตรชี มุ ชนตำ� บลหัวเขา
(The women’s group of Hua Khao
Subdistrict’s Community)
กลมุ่ สตรชี มุ ชนต�ำบลหัวเขา เป็นการรวมกลุ่มกนั ของสตรีในตำ� บลหวั เขา
เพอื่ พัฒนาผลิตภณั ฑท์ ีเ่ ป็นอตั ลักษณข์ องชมุ ชนใหเ้ ปน็ ทร่ี จู้ กั ได้แก่ นำ้� มะม่วงเบา
ภายใตแ้ บรนด์ ซิงโก้ (SINGO) มะม่วงเบาแชอ่ ิ่ม แยมมะมว่ งเบา และผลิตภัณฑ์
แปรรูปจากมะม่วงเบา อีกทั้งยังมีผลิตภัณฑ์จากทะเล ทั้งปลาเกล็ดขาวทอดขม้ิน
ปลาเกล็ดขาวสามรส ปลาหมึกหวาน ปลาข้างเหลืองสามรส ปลาข้างเหลืองรส
ดั้งเดิม ก้างปลาข้างเหลืองสามรส นอกจากน้ียังเป็นแหล่งเรียนรู้หัตถกรรม
ผ้ามดั ยอ้ มและปัน้ ดนิ หัวเขาอกี ด้วย
52 คแหมู่ ลือง่ ททนุ ่อวงฒั เทนย่ีธวรรมยา่ นชุมชนเกา่ หัวเขา – แหลมสน
The women’s group of Hua Khao Subdistrict’s Community
is the association of the women in Hua Khao Subdistrict to
develop products which represent the identity of the community
to be known such as Green Light Mango juice (Nam Mamuang
Bao) under the brand SINGO, preserved Green Light Mangoes
(Mamuang Bao Chaaim), Green Light Mango jam (Jam Manuang
Bao) and processed products from Green Light Mango. Additionally,
there are seafood products such as fried white bait fish with
turmeric, three flavored white bait fish, sweeten squid, three
flavored yellow stripe trevally, original flavored yellow stripe
trevally, three flavored yellow stripe trevally’s bones. It is
also a learning center for handicrafts of tie-dyeing fabrics
and Hua-Kao clay. แหล่งทุนวฒั นธรรมย่านชมุ ชนเกา่ หควั ่มูเขือาท–อ่ แงหเลทมีย่สวน 53
2. แหล่งเรยี นรู้สมุนไพรย่านชุมชนเก่า
หัวเขา - แหลมสน
(Hua Khao-Laem Son Herbal Learning
Center)
แหลง่ เรยี นรู้สมนุ ไพรย่านชุมชนเก่าหวั เขา-แหลมสน สนบั สนุนโดยหนว่ ย
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่นจังหวัดสงขลาร่วมกับ
สถานพยาบาลแพทยแ์ ผนไทยเมอื งสงิ ขระ เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหเ้ ปน็ แหลง่ เรยี นรภู้ มู ปิ ญั ญา
การใช้สมนุ ไพรด้านเภสัชกรรมไทยและการอนรุ ักษแ์ หล่งสิง่ แวดล้อมศิลปกรรม
54 คแหู่มลือง่ ททนุ ่อวงัฒเทนย่ีธวรรมยา่ นชุมชนเก่าหัวเขา – แหลมสน
Hua Khao-Laem Son Herbal Learning Center was supported
by the Natural Environment Conservation and Local Art Unit,
Songkhla Province in collaboration with Muang Singha Thai
Traditional Medicine Hospital to promote this place to be a
learning center for local wisdom about Thai medicinal herbs
and artistic environmental conservation.
แหล่งทนุ วฒั นธรรมย่านชมุ ชนเกา่ หคัวมู่เขอืาท–่อแงหเลทม่ียสวน 55
3. ทา่ เรอื แหลมสน
(Laem Son Pier)
ท่าเรอื แหลมสน เป็นทา่ เรือขนาดเล็กทีต่ ง้ั อยทู่ างฝัง่ แหลมสน ซง่ึ ใชส้ ญั จร
ไปมาและขนสง่ สนิ คา้ ระหวา่ งฝง่ั สงขลาและฝง่ั แหลมสนตงั้ แตใ่ นอดตี จนถงึ ปจั จบุ นั
ชาวบา้ นบรเิ วณนนี้ ยิ มใชเ้ สน้ ทางน้ี เพราะสะดวกและรวดเรว็ สว่ นบรเิ วณโดยรอบ
ทา่ เรือมีทัศนยี ภาพอันสวยงามของทะเลสาบสงขลาใหไ้ ด้เที่ยวชม
56 แคหมู่ ลอื ง่ ททุนอ่ วงัฒเทน่ยีธวรรมยา่ นชมุ ชนเก่าหวั เขา – แหลมสน
Laem Son Pier is a small pier located in Hua Khao - Laem
Son area. It is used for travelling and transporting goods
between Songkhla and Laem Son area from the past to the
present. Local people regularly use this route because it is
convenient and shortcut. The area around the pier is beautiful
with the scenery of Songkhla Lake for everyone to admire.
แหลง่ ทุนวัฒนธรรมยา่ นชมุ ชนเกา่ หคัวมู่เขอืาท–อ่ แงหเลทม่ียสวน 57
58 คแหมู่ ลอื ง่ ททนุ ่อวงัฒเทนี่ยธวรรมยา่ นชมุ ชนเก่าหัวเขา – แหลมสน
แหลง่ ทนุ วฒั นธรรมย่านชมุ ชนเกา่ หควั ู่มเขือาท–อ่ แงหเลทมี่ยสวน 59
4. ชมุ ชนสทิงหมอ้
(Sathing Mo Community)
ชุมชนสทงิ หม้อ ตงั้ ทอี่ ยูใ่ นตำ� บลสทงิ หม้อ อำ� เภอสงิ หนคร จังหวัดสงขลา
มีช่ือเสียงในการท�ำเครื่องปั้นดินเผาแบบโบราณท่ีเรียกว่า เครื่องปั้นดินเผา
สทงิ หม้อทเี่ ป็นศลิ ปหัตถกรรมพนื้ บ้านประเภทหน่งึ ทน่ี ่าสนใจ มเี อกลักษณ์เฉพาะ
และเป็นอาชีพหลักของชาวบ้านในชุมชนสทิงหม้อ เครื่องปั้นดินเผามีรูปแบบและ
ลวดลายทย่ี งั คงมคี วามเปน็ พนื้ ถนิ่ ภาคใต้ ซงึ่ มกี ารทำ� มาเปน็ ระยะเวลานานถอื เปน็
ภูมิปัญญาของบรรพบุรุษท่ีสร้างไว้ เพื่อให้คนรุ่นหลังสามารถสืบทอดและอนุรักษ์
ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ ให้คงอยูต่ อ่ ไป
60 แคหู่มลือ่งททนุ ่อวงฒั เทน่ียธวรรมย่านชมุ ชนเก่าหัวเขา – แหลมสน
Sathing Mo Community is in Sathing Mo Subdistrict,
Singhanakon District, Songkhla Province. It is famous for
making ancient pottery known as Sathing Mo Pottery. This is
one of the most interesting folk arts and crafts with its
uniqueness and it is the main job of the villagers in Sathing Mo
Community. The potteries have styles and patterns which
represent the locality of southern Thailand. It has been done
for long time. This is the wisdom of the ancestors which is
passed to the next generations to inherit and conserve this
local wisdom to be continued.
แหลง่ ทนุ วัฒนธรรมยา่ นชมุ ชนเกา่ หควั มู่เขอืาท–อ่ แงหเลทมย่ีสวน 61
1ป.รำกก�ำำแรพงเมืองและป้อม 2. เจดีย์องค์ด�า องคข์ าว 3. ศาลากวง 4. ศาลาหลบเสือ
เมอื งสงขลำหวั เขำ มลี กั ษณะเปน็ พระยาพระคลัง (ดิศ บุนนาค) และพระยา ศาลากวงเป็นโบราณสถานตัวแทนแห่งการ ต้ังอยู่บนเส้นทางเดินโบราณ
“ เ มื อ ง แ ห ่ ง ป ้ อ ม ป ร ำ ก ำ ร ” พพิ ัฒนร์ ัตนราชโกษา (ทัด บุนนาค) สรา้ ง ตอบแทนบุญคุณแผ่นดินโดยมีศิลาจารึก ระหว่างบ้านหัวเขา-สทิงหม้อ เพื่อ
ปจั จบุ นั คงเหลือหลักฐานอยู่ 13 อุทิศให้แก่ผู้เสียชีวิตไว้บนยอดเขาเมื่อคราว ภาษาจนี กลา่ วถงึ การสรา้ งสาธารณประโยชน์ เอาไว้พักหลบเสือและเป็นอนุสรณ์
ปอ้ ม น�าทัพลงมารักษาขอบขัณฑสีมาในเขตเมือง คนื ใหแ้ กป่ ระชาชนและแผน่ ดนิ ปจั จบุ นั เหลอื การปราบเสือของพระยาวิเชียรคีรี
ชายแดนภาคใต้ เพยี งซากอิฐหลงเหลือใหพ้ บเห็น (เถ้ียนเสง้ )
3. วัดศิรวิ รรณาวาส 4. วดั ภูผาเบกิ 5. วัดเขานอ้ ยและเจดียเ์ ขานอ้ ย 6. ทวดเขาแดง
เปน็ สถาปตั ยกรรมรปู แบบไทยผสม เป็นวัดที่มีสถาปัตยกรรมแบบไทยผสม สร้างข้ึนในสมัยศรีวิชัยและมีเจดีย์ต้ังอยู่ ศาลาเป็นสถาปัตยกรรมจีน มีรูปจ�าลอง
จีนและศิลปะพ้ืนบ้านที่ทรงคุณค่า ตะวันตก มีอุโบสถศาลาการเปรียญ บนยอดเขานอ้ ย ปจั จบุ นั ยงั เหลอื รอ่ งรอย แกะสลักของ “ทวดเขาแดง” และ “พระ
ทง้ั ดา้ นภมู ปิ ญั ญาและจติ ใจของชาว โบราณและกุฏิเรือนไทยท่ีใช้เล่าเรียน ไว้เพียงส่วนฐานของเจดีย์และเศษอิฐ เอ็งบ้วนต๊ะ” เป็นแม่ทัพที่ชาวจีนต่าง
สงขลำ ภาษามคธในอดีต โบราณ นับถอื มาก
5. บอ่ เก๋ง 6. สสุ าน เจ.วี. ลาร์เซน 1. วัดสวุ รรณคีรี 2. วดั บอ่ ทรพั ย์
ปราการรักษาด้านหน้าของเมืองสงขลา หลุมศพชาวต่างชาติ หัวหน้าช่างวิศวกร เป็นวัดที่ส�าคัญประจ�าเมืองสงขลา บรเิ วณวดั มอี โุ บสถรปู แบบเรยี บงา่ ย มี
แหลมสน ประกอบด้วยแนวก�าแพงท่ีต้ัง เสียชีวิตท่ี “Singora” ชื่อเมืองสงขลา ฝั่งแหลมสนท่ีมีภูมิสถาปัตยกรรมที่ บอ่ นา้� พนื้ เมอื งทเี่ รยี กวา่ “บอ่ ซบั ” เปน็
ปนื ใหญ่ ซมุ้ ประตู บ่อนา้� และศาลาที่พัก (เดมิ ) เป็นหลกั ฐานการเข้ามาท�ากจิ การ สวยงามได้รับอิทธิพลจากศิลปะ แหล่งเรียนรู้ด้านสมุนไพรเพ่ือการ
โดยหลงั คามีรปู ทรงแบบเก๋งจนี ทีเ่ มอื งสงขลาในอดีต ตะวนั ตก รกั ษาโรคระบาดในอดีต
1. กลมุ่ สตรีชมุ ชนตา� บลหัวเขา 2. แหล่งเรียนรสู้ มนุ ไพร ย่าน 3. ทา่ เรือแหลมสน 4. ชมุ ชนสทงิ หม้อ
ชมุ ชนเกา่ หัวเขา-แหลมสน
เปน็ กลมุ่ ทร่ี วมตวั กนั เพอ่ื พฒั นาผลติ ภณั ฑ์ เป็นท่าเรือท่ีใช้สัญจรไปมาและ ชมุ ชนมชี อื่ เสยี งในการทา� เครอ่ื งปน้ั ดนิ เผา
ของชมุ ชนใหเ้ ปน็ ทรี่ จู้ กั เชน่ นา้� มะมว่ งเบา เป็นแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาการใช้ ขนส่งสินค้าระหว่างฝั่งสงขลาและ แบบโบราณหรือที่เรียกว่า “เคร่ืองปั้น
แยมมะม่วงเบา ภายใต้แบรนด์ ซิงโก้ สมุนไพรด้านเภสัชกรรมไทยและการ ฝั่งแหลมสนต้ังแต่อดีตจนถึง ดินเผาสทิงหม้อ” ซ่ึงมีรูปแบบและ
(SINGO) อนรุ กั ษ์แหล่งส่ิงแวดลอ้ มศิลปกรรม ปัจจบุ นั ลวดลายที่ยงั คงความเปน็ พนื้ ถน่ิ ภาคใต้
บนั ทกึ การเดินทาง
หัวเขา - แหลมสนยนิ ดีตอ้ นรับ นักท่องเทย่ี วทุกคนอย่างเป็นมิตร
Friendly welcome to all tourists to Hua Khao - Laem Son.