1 “ศิิลปิินถิ่่�นสวรรค์์” ประจํําปีีพุุทธศัักราช ๒๕๖๖ ที่่�ปรึึกษา ๑. ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร.ไชยรััตน์์ ปราณีี อธิิการบดีีมหาวิิทยาลััยราชภััฏนครสวรรค์์ ๒. อาจารย์์ภาสกร วรอาจ รองอธิิการบดีีมหาวิิทยาลััยราชภััฏนครสวรรค์์ ๓. นางปรีีชญา พรมชูู วััฒนธรรมจัังหวััดนครสวรรค์์ ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ สํํานัักศิิลปะและวััฒนธรรม ๔. นายสมศัักดิ์์� อรุุณสุุรััตน์์ ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ สํํานัักศิิลปะและวััฒนธรรม ๕. นายสัันติิ คุุณาวงศ์์ ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ สํํานัักศิิลปะและวััฒนธรรม ๖. นายปิิยชาติิ อ้้นสุุวรรณ์์ ผู้้�ทรงคุุณวุุฒิิ สํํานัักศิิลปะและวััฒนธรรม บรรณาธิิการ ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ธีีรพร พรหมมาศ ผู้้�อํํานวยการสํํานัักศิิลปะและวััฒนธรรม กองบรรณาธิิการ รองศาสตราจารย์์พรรษประเวศ อชิิโนบุุญวััฒน์์ รองผู้้�อํํานวยการสํํานัักศิิลปะและวััฒนธรรม ผู้้�ช่่วยศาสตราจาร ทััศนีีพร วิิศาลสุุวรรณกร รองผู้้�อํํานวยการสํํานัักศิิลปะและวััฒนธรรม ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ชุุณษิิตา นาคภพ รองผู้้�อํํานวยการสํํานัักศิิลปะและวััฒนธรรม ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร.เพีียงพิิศ ชะโกทอง ผู้้�ช่่วยผู้้�อํํานวยการสํํานัักศิิลปะและวััฒนธรรม ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร.ไพศาล เครืือแสง รัักษาการหััวหน้้ากลุ่่มงานส่่งเสริิมและ ทํํานุุบํํารุุงศิิลปวััฒนธรรม นางสาวชััญภร สาทประสิิทธิ์์� หััวหน้้าสํํานัักงานผู้้�อํํานวยการ นายปริิญญา จั่่�นเจริิญ นัักวิิชาการศึึกษา นางสาวศุุภรสวรรค์์ รอเพ็็ชร์์ นัักวิิชาการศึึกษา นางช่่อลััดดา คัันธชิิต เจ้้าหน้้าที่่�บริิหารงานทั่่�วไป นางสาวณััฐนรีี แสงสุุข เจ้้าหน้้าที่่�บริิหารงานทั่่�วไป พิิมพ์์ที่่� : หจก. วิิสุุทธิ์์�การพิิมพ์์ ๑๙๖๙ ๑/๓๙ ถนนสวรรค์์วิิถีี ตํําบลปากน้้ำโพ อํําเภอเมืือง จัังหวััดนครสวรรค์์ ๖๐๐๐๐ E-mail : [email protected]
2 สารอธิิการบดีี ในนามมหาวิิทยาลััยราชภััฏนครสวรรค์์ ขอแสดงความยิินดีีแก่่ผู้้�ได้้รัับรางวััล “ศิิลปิิน ถิ่่�นสวรรค์์ ประจำปีีพุุทธศัักราช ๒๕๖๖” จาก ๔ สาขา ได้้แก่่ ๑) สาขาศิิลปะการแสดง: คณะ มัังกรทอง จ้้าวพ่่อ-จ้้าวแม่่ปากน้้ำโพ และสมาคมกว๋๋องสิิวนครสวรรค์์ ๒) สาขาช่่างฝีีมืือ: กลุ่่ม เครื่่�องปั้้� นดิินเผาบ้้านมอญ นครสวรรค์์ ๓) สาขาทััศนศิิลป์์: นายวััฒนโชติิ ตุุงคะเตชะ และ ๔) สาขาวรรณศิิลป์์: นายนิิพนธ์์ เที่่�ยงธรรม ทั้้งนี้้พัันธกิิจสำคััญของมหาวิิทยาลััยราชภััฏนครสวรรค์์ ในฐานะสถาบัันการศึึกษา กลุ่่มที่่� ๓ กลุ่่มพััฒนาชุุมชนท้้องถิ่่น�หรืือชุุมชนอื่่น�มีพัีนธกิั ิจหลัักและยุุทธศาสตร์ที่่์ มุ่่�งสู่่การพััฒนา ชุุมชนท้้องถิ่่�น และชุุมชนที่่�มีีวััตถุุประสงค์์หรืือประโยชน์์ร่่วมกััน การเป็็นแหล่่งเรีียนรู้้�ถ่่ายทอด ความรู้้�และเทคโนโลยีีเพื่่�อสร้้างความเข้้มแข็็งให้้แก่่ชุุมชน และการให้้ประชาชนมีีโอกาสเรีียนรู้้� ตลอดชีีวิิตอัันจะนำไปสู่่การพััฒนาที่่�ยั่่�งยืืน โดยมีีแนวทางที่่�สำคััญ คืือ การสืืบสานและอนุุรัักษ์์ ศิลิปวััฒนธรรมและภููมิปััิญญาท้้องถิ่่น� ประยุุกต์์และพััฒนาศิลิปวััฒนธรรมและภููมิปััิญญาท้้องถิ่่น� ให้้เข้้ากัับยุุคสมััยเพื่่�อเพิ่่�มคุุณค่่าและมููลค่่า รวมถึึงส่่งเสริิมการสืืบทอดและพััฒนาความรู้้�จากผู้้�มีี ภููมิิปััญญาด้้านศิิลปวััฒนธรรมและภููมิิปััญญาของท้้องถิ่่�น ขอขอบคุุณสำนัักศิิลปะและวััฒนธรรม ที่่�ทำหน้้าที่่�ในการยกย่่องศิิลปิินท้้องถิ่่�นของ นครสวรรค์์ โดยจััดโครงการสรรหาหรืือคััดเลืือกบุุคคลหรืือกลุ่่มบุุคคลที่่�สมควรได้้รัับรางวััล เชิิดชููเกีียรติิ “ศิิลปิินถิ่่�นสวรรค์์ ประจำปีีพุุทธศัักราช ๒๕๖๖” ซึ่่�งเป็็นปีีที่่�มหาวิิทยาลััยราขภััฏ นครสวรรค์์ ก้้าวเข้้าสู่่ปีที่่ี� ๑๐๑ ทั้้งนี้้ โครงการดัังกล่่าวนี้้สอดคล้้องกัับแผนยุุทธศาสตร์์มหาวิิทยาลััย ราชภััฏนครสวรรค์์ ระยะที่่� ๒ (พ.ศ.๒๕๖๖-๒๕๗๐) ฉบัับทบทวน ปีี พ.ศ. ๒๕๖๕ ประเด็็น ยุุทธศาสตร์ที่่์ � ๒ การวิจัิัย และพััฒนานวััตกรรมตามกรอบการพััฒนาเศรษฐกิิจที่่�เน้้นคุณคุ่ ่า (Value-Based Economy) และสร้้างระบบนิิเวศการวิิจััยและนวััตกรรมเชิิงพื้้นที่่�/ เป้้าประสงค์์ที่่� ๑. มีีการใช้้ประโยชน์์จากวิจัิัย วิิทยาศาสตร์์ เทคโนโลยีี นวััตกรรม และการทำนุุบำรุุงศิลิปวััฒนธรรม เพื่่�อสร้้างเศรษฐกิิจที่่�เน้้นคุุณค่่า (Value-Based Economy) แก่่สัังคมท้้องถิ่่�น/ กลยุุทธ์์ที่่� ๓. ส่่งเสริิมการทำนุุบำรุุงศิิลปวััฒนธรรมและการสร้้างสรรค์์ในชุุมชนท้้องถิ่่�น (ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร.ไชยรััตน์์ ปราณีี) อธิิการบดีีมหาวิิทยาลััยราชภััฏนครสวรรค์์
3 (ผู้้�ช่่วยศาสตราจารย์์ ดร.ไชยรััตน์์ ปราณีี) อธิิการบดีีมหาวิิทยาลััยราชภััฏนครสวรรค์์ สารบััญ รายนามคณะกรรมการดำำ เนิินงานโครงการ ประจำำปีีพุุทธศัักราช ๒๕๖๖ ๑ ประวััติิและผลงาน “ศิิลปิินถิ่่�นสวรรค์์” ประจำำปีีพุุทธศัักราช ๒๕๖๖ ๑. คณะมัังกรทอง จ้้าวพ่่อ-จ้้าวแม่่ ปากน้้ำโพ ๔ ๒. สมาคมกว๋๋องสิิวนครสวรรค์์๑๒ ๓. กลุ่่มเครื่่�องปั้้� นดิินเผาบ้้านมอญ นครสวรรค์์๒๐ ๔. นายวััฒนโชติิ ตุุงคะเตชะ ๓๐ ๕. นายนิพินธ์์ เที่่�ยงธรรม ๔๐
4
5 ข้้อมููลประวััติิและผลงานรางวััล “ศิิลปิินถิ่�นสวรรค์์” ่ มหาวิิทยาลััยราชภััฏนครสวรรค์์ ชื่อ-นามสกุล คณะมังกรทอง จ้าวพ่อ-จ้าวแม่ ปากน้ำโพ ชือภาษาอังฤษ่ Jaopho-Jaomae Paknampho Golden Dragon Dance Parade Team เสนอเป็นศิลปินสาขา สาขาศิลปะการแสดง ๑. ประวัติชีวิตส่วนตัว ปี พ.ศ. ๒๕๐๖ คณะกรรมการจัดงานประเพณีแห่ เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ ปากน้ำโพ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๐๖-๒๕๐๗ โดยนายหม่งแจ๋ แซ่เล้า ประธานคณะกรรมการจัดงานฯ มีความคิดริเริ่มที่ จะจัดขบวนแห่ให้ยิ่งใหญ่ และเพิ่มสีสันขบวนแห่ให้แปลกใหม่กว่าเดิม เพื่อเรียกความสนใจจาก ประชาชน ใหมาเที ้ยว่ชมงานประเพณีแห่ฯ มากยิงขึ้ ่น และเพือเป็ ่นการส่งเสริมพัฒนาการท่องเทียว ่ รวมถึงเศรษฐกิจของจังหวัดนครสวรรค์ นายหม่งแจ๋ แซ่เล้า ประธานคณะกรรมการจัดงานฯ ได้ปรึกษาหารือกับ นายเป้งไฮ้ แซ่ตั้ง นายติ้งลิ้ม แซ่เอ็ง ทั้ง ๒ ท่าน ได้เสนอให้มีการแสดงเชิดมังกร ซึ่งชาวจีนถือว่ามังกรเป็นสิ่ง สิริมงคลนำโชคลาภและความผาสุขมาสู่ปวงชน ทั้งยังเป็นสัญลักษณ์ช ั้ นสูงขององค์จักรพรรดิจีน ในอดีต เมื่อคหบดีทั้ง ๓ ท่านปรึกษากันแล้วจึงได้ตกลงให้มีการเชิดมังกรเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งขบวน ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๐๗ เป็นต้นมา จากน ั้ นนายเป้งไฮ้ ได้อาสาไปติดต่อทำตัวมังกร โดยร้านบงการ พานิช เป็นผู้ออกค่าใช้จ่ายในการสร้างมังกรตัวแรก ตัวมังกรทำด้วยโครงไม้ไผ่และผ้าหนังเทียม ยาว ๓๖ เมตร น้ำหนักรวมทั้งหมดประมาณ ๗๐ กิโลกรัม ส่วนหัวหนัก ๒๕ กิโลกรัม ใช้ผู้เชิด ผลัดเปลี่ยนกันตลอด และได้เชิญอาจารย์เล้งจุ๊ย แซ่ลิ้ม มาช่วยฝึกสอน อาจารย์เคยเชิดมังกรที่ เมืองจีนมาก่อน อาจารย์จึงตกลงมาช่วยฝึกสอนด้วยความยินดี ท่านมาช่วยสอนอยู่ ๓ ปี (ปีละ ครั้ง ครั้งละ ๑ เดือน) เมื่อเห็นศิษย์ทุกคนมีมาตรฐานการแสดงเป็นที่พอใจแล้ว ท่านก็ได้วางมือ มอบให้นายเป้งไฮ้ แซ่ตั้ง เป็นผู้ดำเนินการต่อ แต่เนื่องด้วยนายเป้งไฮ้ มีกิจการค้ารัดตัว ไม่มี เวลามาดูแลได้เต็มที่ จึงได้มอบหมายหน้าที่ให้นายมนต์ชัย อุฬารรักษ์ (แกละ) ควบคุมการ ฝึกสอนต่อ (ปัจจุบันท่านเสียชีวิตแล้ว) หลังจากน ั้ นทีมงานผู้เชิดมังกรได้ร่วมกันปรึกษาปรับปรุง ประยุกต์การแสดงให้ดีขึ้น โดยเน้นหนักในท่วงท่าการแสดงที่สวยงาม ลีลาการเชิดที่เฉียบขาด หวาดเสียว ตื่นเต้น เป็นที่ เลื่องลือกล่าวขานกันทั่วประเทศ และทั่วภาคพื้นเอเชียอาคเนย์ คณะมังกรทอง จาวพ่อ – จ ้ ้าวแม่
6 ปากน้ำโพ จึงถือกำเนิดเป็นคณะแรกของประเทศไทย มาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๐๗ ถือเป็นสัญลักษณ์ ของชาวนครสวรรค์ ดังคำขวัญประจำจังหวัดว่า “เมืองสี่แคว แห่มังกร พักผ่อนบึงบอระเพ็ด ปลารสเด็ดปากน้ำโพ” ๒. ประวัติการศึกษา - รับการฝึกสอนจากอาจารย์เล้งจุ๊ย แซ่ลิ้ม (เคยเป็นผู้เชิดมังกรที่เมืองจีนมาก่อน) ท่านมาช่วยสอน ๓ ปี (ปีละ ๑ ครั้ง ครั้งละ ๑ เดือน) ๓. ประวัติการทำงาน - งานประเพณีแห่ เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ ปากน้ำโพ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๐๗ – ปัจจุบัน - งานพระราชพิธีสำคัญ - งานตัวแทน ระดับจังหวัด และประเทศไทย - งานสาธารณกุศล และศาลเจ้าจังหวัดต่าง ๆ - งานส่วนรวม ทั้งจีน และไทย ๔. การสร้างสรรค์ผลงาน คณะมังกรทอง จ้าวพ่อ – จ้าวแม่ ปากน้ำโพ เป็นสมบัติส่วนรวมของชาวตลาด ปากน้ำโพทุก ๆ คน ไม่ใช่เป็นของคนใดคนหนึ่ง ซึ่งคณะกรรมการจัดงานแห่จ้าวประจำปี เป็น ผู้ดำเนินงานได้มอบตำแหน่งให้นายสุรชัย วิสุทธากุล (ค่าย) เป็นผู้ควบคุมการฝึกสอนปัจจุบัน พร้อมด้วยทีมงานผู้ช่วยผู้ฝึกสอน อาทิ เชน่นายเล็ก ขจรกสิรัตน์ นายอภิสิทธ ขุ์ินอภัย (ถึงแก่กรรม) นายมานิตย์ อินทะวงษ์ นายวิโรจน์ หงษ์คำพา นายสมทิพย์ มงคลธนารักษ์ นายกอบชัย ฉัตร มานพ นายมานิตย์ แพ่งสุภา นายสมพร เผือกแดง นายจำลอง ทองดี นายสุรินทร์ เชาวลันรัตน์ (ถึงแก่กรรม) พร้อมทั้งผู้ร่วมเชิดทั้งคณะจำนวน ๑๗๐ คน ล้วนเป็นนักแสดงสมัครเล่น เป็นลูก หลานของชาวตลาดปากน้ำโพโดยแท้ ทุกคนมีอาชีพการงานที่มาจากพ่อค้า ราชการ นิสิต นักศึกษา ครู อาจารย์ และประชาชนทั่ว ๆ ไป ที่ได้สละเวลามาช่วยงานนี้ด้วยความพร้อมใจกัน เพื่องานส่วนรวมสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี เพื่อชื่อเสียงของจังหวัดบ้านเกิดเมืองนอน คณะมังกรทอง แสดงเฉพาะในงานประจำปีประเพณีแห่จ้าวฉลองเทศกาลตรุษจีน ของชาวตลาดปากน้ำโพเป็น ประจำทุก ๆ ปี เพื่อรักษาประเพณี และพัฒนาศิลปวัฒนธรรมไทย – จีน มังกรทองคณะนี้จะไม่ รับจ้างทั่วไป เช่น งานสวนสนุก หรืองานอื่น ๆ นอกจากกรณีพิเศษรับเชิญ (ไม่รับจ้าง) ไปแสดง งานการกุศลเพื่อส่วนรวม เป็นครั้งคราวเท่าน ั้ น หรืองานสำคัญทางพระราชพิธี งานพิธีต่าง ๆ ของส่วนราชการ เป็นต้น
7 ผลงานที่คณะมังกรทองรับเชิญไปแสดงงานเพื่อส่วนรวม มีดังต่อไปนี้ แสดงถวาย หน้าพระที่นั่งองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ สมเด็จประนางเจ้าพระบรมชินีนาถ เมื่อทรง เสด็จทอดกฐินพระราชทาน ที่หน้าศาลากลางจังหวัดนครสวรรค์ ปี พ.ศ. ๒๕๐๙ ยังคงความ ปลาบปลื้มเป็นศิริมงคลแก่ชาวคณะทุก ๆ คน – งานมูลนิธิโรงพยาบาลคุ้มเกล้า – งานเทิดพระเกียรติ ๕ ธันวามหาราช สนามหลวง – งานต้อนรับ ฯพณฯ เอกอัครราชฑูตสาธารณรัฐประชาชนจีน (ประจำประเทศไทย) – งานฉลอง ๓๐ ปี การท่องเที่ยวโดย พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรีเป็น ประธาน – งานประกวดรถบุปผาชาติและงานสีลมมาร์ดการ์ส – แสดงถวายหน้าพระที่นงสมเด็จพระเทพรัต ่ันราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีบริเวณ สะพานพระราม ๙ (สะพานแขวน) ปี ๒๕๓๐ – แสดงถวายหน้าพระที่นั่งพระเจ้าวรวงค์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรชายาฯ ณ พระตำหนัก บริเวณศูนย์ศิลปาชีพบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปี ๒๕๓๑-๒๕๓๒ งานเฉลิมพระเกียรติถวายพระพรสมเด็จย่า ๙๐ พรรษา ณ พระตำหนัก “ดอยตุง” เชียงราย – พิธีเปิดงานปีการท่องเที่ยวอะเมซิ่งไทยแลนด์ กทม. – แสดงถวายหน้าพระที่นั่งสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร พร้อม พระเจาห้ลานเธอพระองค์เจาพั ้ชรกิติยาภา และมจ.หญิงสิริวัณวรี มหิดล และนายธานนิทร์ กรัยวิเชียร องคมนตรี รวมถึง พระบรมวงศานุวงศ์ ในรัชกาลที่๙ ทุกพระองค์ ณ ศูนย์ศิลปาชีพบางไทร – แสดงเปิดงานอะเมซิ่งภาคกลาง เมืองพัทยา โดยนายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี งานสมโภชธงชัยเฉลิมพล กองพันทหารราบที ๒ กรมทหารราบที่ ๔ (ค่ายทหารเสือพระสุริโยทัย) ่ ค่ายจิรประวัติ ปี ๒๕๕๗ – แสดงถวายหน้าพระที่นั่งสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ใน งานพิธีถวายพระพรชัยมงคลฯ และงานปิดภาคสมัยการฝึก ประจำปี ๒๕๕๘ โรงเรียนนายร้อย จปร. และงานแห่จ้าวจังหวัดต่าง ๆ ๕. การเผยแพร่ผลงานต่อสาธารณชนในประเทศและต่างประเทศ ทางสื่อโซเชียลมีเดียออนไลน์ รายการโทรทัศน์ ทีวีดิจิทัล ภาพยนตร์ หนังสือพิมพ์ สิ่งตีพิมพ์ต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
8 ๖. การถ่ายทอดและเผยแพร่ข้อมูลผลงานศิลปวัฒนธรรม - เพจ facebook.com/dragon.nakhonsawan - ภาพยนตร์เรื่อง เพื่อเพื่อน เพื่อฝัน เพื่อวันเกียรติยศ - รายการโทรทัศน์ สุขสันต์วันเสาร์ ททบ.๕ – ทไวไลท์โชว์ ช่อง๓ – เกมแก้จน ททบ.๕ – วันหยุดสุดขีด ช่อง๗ – ไทยท้าทาย MONO๒๙ – ชุมชนทั่วไทย,ลุยไม่รู้โรย ThaiPBS – รถมาหาสนุก ไทยรัฐTV ฯลฯ - Youtube ช่อง Kosit Homlamai ๗. รางวัลและเกียรติคุณที่ได้รับ - งานประเพณีแห่ เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ ปากน้ำโพ ได้ถูกขึ้นบัญชีมรดกภูมิปัญญาทาง วัฒนธรรมของชาติ ประจำปี ๒๕๖๑ โดยกระทรวงวัฒนธรรม ซงค่ึณะมังกรทอง จาวพ่อ-จ ้ าวแม่ ้ ปากนำ้โพ เป็นส่วนหนงใ่ึนงานประเพณนีี้ดวย้ ๘. การทำ คุณประโยชน์เพื่อสังคม - รักษาและสืบทอดงานประเพณีประจำท้องถิ่นให้คงอยู่ เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยว และส่งเสริมเศรษฐกิจของจังหวัดนครสวรรค์ - ทุกครั้งที่ออกทำการแสดงการสาธารณกุศล จะร่วมทำบุญทุกครั้ง - ชุดที่สวมใส่แสดง หากเก่าแล้ว จะเก็บรวบรวมไว้บริจาคให้กับชาวเขาที่ยากไร้ เมื่อ เกิดภัยหนาว ๙. ชีวิตปัจจุบัน ปัจจุบันงานประเพณีแห่ เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ ปากน้ำโพ จัดงานครั้งที่๑๐๗ (ตามหลักฐาน จดหมายเหตุทางสาธารณสุข) ยังคงจัดงานอย่างต่อเนื่อง เช่นเดียวกันกับทางคณะมังกรทอง จ้าวพ่อ-จ้าวแม่ ปากน้ำโพ ได้เข้าสู่ปีที่๕๙ ยังสืบทอดการแสดงเชิดมังกรทอง ให้กับลูกหลาน ชาวปากน้ำโพ จ.นครสวรรค์ พร้อมกับการพัฒนาการแสดงให้มีความร่วมสมัย โดยไม่ทิ้งรูปแบบ เดิมที่บรรพชนได้สั่งสอนไว้ภายใต้การดูแลของคณะกรรมการจัดงานประเพณีแห่ เจาพ่อ-เจ ้ าแม่ ้ ปากนำ้โพ ประจำปี ซงส่ึนับสนนุโดย ชาวตลาดปากนำ้โพ
9 ประเพณีีแห่่เจ้้าพ่่อ-เจ้้าแม่่ปากน้ำำ โพ ประจำำปีี ๒๕๖๕-๒๕๖๖
10 งานพระราชพิิธีี งานระดัับประเทศ
11 ให้้ความรู้้กัับสถาบัันการศึึกษาและเยาวชน รายการโทรทััศน์์และสื่อออ่�นไลน์ ์
12
13 ข้้อมููลประวััติิและผลงานรางวััล “ศิิลปิินถิ่�นสวรรค์์” ่ มหาวิิทยาลััยราชภััฏนครสวรรค์์ ชื่อ-นามสกุล สมาคมกว๋องสิวนครสวรรค์ ภาษาอังกฤษ KwongSiew Nakhonsawan Association เสนอเป็นศิลปินสาขา สาขาศิลปะการแสดง ประเภท เชิดสิงโตกวางตุ้ง ๑. ประวัติการทํางาน ตั้้งแต่่อดีีตลููกหลานชาวกวางตุ้้�งที่่�มาจากเมืืองจีีนและมีีความสามารถในการเชิิดสิิงโต จะฝึึกหััดสอนการเชิิดให้้กัับลููกหลาน การเชิิดสิิงโตในช่่วงเทศกาลตรุุษจีีนจะใช้้เวลาในการแห่่ ถึึง ๒ วัันเต็็มด้้วยกััน ทิิศเหนืือแห่่จากตลาดปากน้้ำโพไปถึึงวััดไทรเหนืือ ทางทิิศตะวัันออกแห่่ ไปถึึงแควใหญ่่ ทางทิิศตะวัันตก แห่่ไปถึึงตลาดหนองเบน ทางทิิศใต้้แห่่ไปถึึงตลาดใต้้ เราจะแห่่ ไปอวยพรปีีใหม่่กัับชาวกวางตุ้้�งด้้วยกัันและ ชาวปากน้้ำโพ ทั้้งนี้้จะอวยพรเป็็นภาษากวางตุ้้�งว่่า “ไต่่กั๊๊�ด ไต่่หลี่่� ฟััดฉ่่อย สุ่่นหลี่่�” แปลว่่า “ขอให้้ท่่านร่่ำรวย ทํํามาค้้าขึ้้น” ต่อมาเมื่อ ๘๐ กว่าปีที่ผ่านมาเกิดโรคระบาดจึงมีการเชิญเจ้าพ่อเทพารักษ์ โดยคณะ สิงโตกว๋องสิว นครสวรรค์ เป็นสิงโตคณะแรก อัญเชิญเจ้าพ่อเทพารักษ์แห่รอบตลาดปากน้ําโพ เพื่อเป็นการปัดเป่าโรคร้าย ให้หมดไปต่อมาจึงค่อยมีขบวนแห่อื่นๆ เพิ่มขึ้นเรื่อยจนถึงทุกวันนี้ กิจกรรมหลักของเรานอกจากช่วยเหลือกันในหมู่ชาวกวางตุ้งแล้วเรามีกิจกรรม อย่างหนึ่งที่เป็นความภาคภูมิใจของเราชาวกวางตุ้ง คือการเชิดสิงโตนําขบวนแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ ปากน้ำโพทุกปี เรานําหัวสิงโตร่วมขบวนแห่ปีละ ๔-๕ หัวทุกปี ก่อนที่จะมีการนําสิงโตออกแห่น ั้ นเราจะมีพิธีไหว้ครูและเปิดตา ในวันช้อซาม(ชิวซา) เราจะจัดให้มีเครื่องเซ่นไหว้ซ้ามเสี่ยง (ซาแซ) และไก่เป็นๆ ๑ ตัวเพื่อบูชาครูอาจารย์ผู้ถ่ายทอด วิชาการเต้นสิงโตให้ ในวันน ั้นผู้เป็นประธานในพิธีจะเป็นชาวกวางตุ้งที่อาวุโสที่สุด ผู้เล่นทุกคน จะจุดธูปคนละ ๓ ดอก เพื่อบอกกล่าวกับครูบาอาจารย์ทุกท่าน อาทิ เจ้าพ่อกวนอู อาจารย์เม้า อาจารย์กู๋หลู เป็นต้น ในวันน ั้ นถือว่าเป็นการซ้อมใหญ่ก่อนที่จะแสดงจริงในวัน ช้อเซ(ชิวสี่) การแสดงทุกชนิดที่ฝึกซ้อมเช่น การต่อตัว เล่นอุปกรณ์โต๊ะดอกเหมย ผู้เล่นทุกคนจะได้แสดง ในวันน ั้ น เมื่อเล่นเสร็จครบทุกอย่างถือเป็นอันเสร็จพิธี นอกจากน ั้ นสมาคมยังทําหน้าที่ในการให้ความรู้ เกี่ยวกับวัฒนธรรมกวางตุ้ง และการ เชิดสิงโต แก่สังคม ทั้งนักศึกษา สื่อต่าง ๆ อยู่เป็นประจํา ถือเป็นศูนย์กลางของความรู้เกี่ยวกับ วัฒนธรรมกวางตุ้งที่ดีที่สุดในประเทศไทย
14 ๒. การสร้างสรรค์ผลงาน สมาคมจะฝึกการแสดงรุ่นต่อรุ่น โดยอาจารย์ที่คอยควบคุมให้การแสดงเป็นไปตาม รูปแบบที่ไม่ผิดเพี้ยนไปจากรูปแบบของสมาคม ตลอดจนรักษากฎ ธรรมเนียมต่าง ๆ การดําเนิน ชีวิต ให้อยู่ในรูปแบบมากที่สุดต่อเนื่องทุกปี ๓. การเผยแพร่ผลงานต่อสาธารณชนในประเทศและต่างประเทศ เมื่อวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๖๓๓ เราได้นําสิงโตของเราไปทําการแข่งขันที่ประเทศ มาเลเซียโดยร่วมแข่งขันกับ ๑๗ ประเทศ ผลการแข่งขันเราชนะเลิศประเภทผู้แข่งขันหน้าใหม่ นับได้ว่าเป็นเกียรติประวัติของเราชาวกวางตุ้งในนครสวรรค์เป็นอย่างยิ่ง วันที ๒ พฤศจิกาย่น ๒๕๓๕ แสดงถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ณ ศาลเจาพ่อเทพารักษ์ ้นครสวรรค์ วันที ๒๙-๓๑ มกราคม ๒๕๓๖ แสดงร่วมกับพระวัดเส่าห้ลนิจากสาธารณะรัฐประชาชน จีน ณ อินดอร์สเตเดี้ยม หัวหมาก กทม. วันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๓๘ แสดงต้อนรับ ฯพณฯหลี่รุ่ยหวน ประธานสภาที่ปรึกษา ทางการเมืองสาธารณรัฐประชาชนจีน ณ อําเภอดอยสะเก็ด เชียงใหม่ วันที ๒๒ มี่นาคม ๒๕๓๙ แสดงตอ้นรับ รองประธานสภาทีปรึกษาทางการเมือง่ สาธารณรัฐประชาชนจีน ณ อําเภอดอยสะเก็ด เชียงใหม่ วันที่ ๑๖ มิถุนายน ๒๕๓๙ แสดงในพิธีเปิดการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ ๒๘ ณ สนามกีฬากลาง จังหวัดนครสวรรค์ วันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๔๐ แสดงในพิธีเปิดการแข่งขันเซปัคตะกร้อชิงแชมป์โลกและ คิงส์คัพ ครั้งที่ ๑๓ ณ ยิมเนเซี่ยม ๔,๐๐๐ ที่นั่ง จังหวัดนครสวรรค์ จัดโดย ส.ส.ภิญโญ นิโรจน์ ๑๕-๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒ แข่งขันเชิดสิงโตกวางตุง ้ชิงแชมป์ประเทศไทย ณ ยิมเนเซยม ่ี ๔,๐๐๐ ที่นง ่ันครสวรรค์ไดรับรางวั ้ลชนะเลิศ วันที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๔๒ แสดงต้อนรับ ฯพณฯ หลี่เผิง ประธานสภาประชาชนจีน ณ อําเภอดอยสะเก็ด เชียงใหม่ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๔๒ แสดงงานวันเกิด ฯพณฯ ประพัทธ โพธสุธน รมช.กระทรวง มหาดไทย อำเภอเดิมบางนางบวช สุพรรณบุรี วันที ๓๐ มี่นาคม ๒๕๔๓ แสดงถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี ณ วังสวนกุหลาบ กรุงเทพมหานคร วันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๔๓ แสดงต้อนรับ ฯพณฯ หลี่รุ่ยหวน รองประธานาธิบดี สาธารณรัฐประชาชนจีน ณ อําเภอดอยสะเก็ด เชียงใหม่ วันที่ ๔-๑๐ สิงหาคม ๒๕๔๓ แสดงสิงโต ณ กรุงปักกิ่ง เฉินตู และกวางเจา ประเทศ
15 สาธารณรัฐประชาชนจีน ร่วมกับสมาคมมิตรภาพไทย-จีน โดย ฯพณฯ กร ทัพพะรังศรี เฉลิมฉลอง ครบรอบ ๒๕ ปี ความสัมพันธ์ทางการทตู วันที ๒๓-๒๕ มกราคม ๒๕๔๔ เข่าแข่งขั ้นรายการเชิดสิงโตชิงแชมป์นานาชาติ ครั้งที ๒ ่ จังหวัดนครสวรรค์ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ อันดับ ๑ (สิงคโปร์ แชมป์) วันที ๒๐ มี่นาคม ๒๕๔๔ แสดงถวายเจา้ฟ้าจุฬาภรณ์ อัครราชกุมารี ณ ศูนย์ศิลปาชีพ บางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วันที ๒ กุม่ภาพันธ์ ๒๕๔๕ แสดงถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี ณ สวนอัมพร กรุงเทพมหานคร วันที่ ๒๘ มกราคม – ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๕ แสดงในงานแม่น้ำของแผ่นดิน ของ ทูลกระหม่อม ฟ้าหญิงอุบลรัตน์ ณ ท่าราชวรดิษฐ์ วันที่ ๑๑-๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๕ เข้าแข่งขันรายการเชิดสิงโตชิงแชมป์นานาชาติ ครั้งที่ ๓ จังหวัดนครสวรรค์ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ (สิงคโปร์ แชมป์) วันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๔๕ - ๑ มกราคม ๒๕๔๖ เข้าแข่งขันเชิดสิงโตชิงแชมป์ใน รายการ Singapore International Luminous Dragon & Lion Dance Championship ได้ รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ ๔ ณ ประเทศสิงคโปร์ วันที ๓ กุม่ภาพันธ์ ๒๕๔๗ แสดงถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ณ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เชียงราย วันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๔๗ แสดงต้อนรับ ฯพณฯ พินิจ จารุสมบัติ รมว.อุตสาหกรรม ในงานผ้าทอไทยสู่สากล ณ อิมแพคอารีนา เมืองทองธานี กรุงเทพมหานคร วันที่ ๑-๙ กรกฎาคม ๒๕๔๘ ร่วมกับสมาคมมิตรภาพไทย-จีน แสดงสิงโต ณ เมือง ซัวเถา และสิบสองปันนา สาธารณรัฐประชาชนจีน ฉลองครบรอบมิตรภาพไทย-จีน ๓๐ ปี โดย ฯพณฯกร ทัพพะรังศรี วันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๔๘ แสดงต้อนรับ ฯพณฯ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร นายก รัฐมนตรี ในงานเปิดตัวโครงการบ้านเอื้ออาธร ณ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง กรุงเทพมหานคร วันที ๒๘ มกราคม ๒๕๔๙ แสดง่ชุดโต๊ะดอกเหมยแสดงถวายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ณ หางสยามพารากอ้น กรุงเทพฯ วันที ๒๙ มกราคม ๒๕๔๙ แสดง่ชุดโต๊ะดอกเหมย ถวาย พระองค์เจาสิริวรร ้ณวลนีารีรัตน์ ณ หางสยามพารากอ้น กรุงเทพฯ วันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๔๙ แสดงในการแข่งขันกีฬายุวชนโลก ครั้งที่ ๔๐ ณ สนาม ไทย - ญี่ปุ่นดินแดง กรุงเทพมหานคร วันที่ ๖-๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๑ เข้าแข่งขันในรายการ เชิดสิงโตชิงแชมป์นานาชาติ
16 ครั้งที่ ๔ จังหวัดนครสวรรค์ ได้รับรางวัลชนะเลิศ โดยมีทีมที่เข้าแข่งขัน คือ จีน ๒ ทีม ฮ่องกง สิงคโปร์ ไทย ๒ ทีม ได้รับเงินรางวัล ๗๐,๐๐๐ บาท วันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ สมาคมกว๋องสิวนครสวรรค์ ได้รับเชิญจากโรงพยาบาล ศิริราช แสดงถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชาของแผน่ ดินไทย ในโอกาสวันตรุษจีน ปีนน ั้ ประเพณีีแห่่เจ้้าพ่่อ-เจ้้าแม่่ปากน้ำำ โพ
17 การเชิดสิิงโตชิิงแชมป์น ์ านาชาติิ แสดงถวายพระบาทสมเด็ ็ จพระเจ้้าอยู่่หััว รััชกาลที่่ ๙ �ณ โรงพยาบาลศิิริิราช
18 ๑๐๐ ปีีแห่่เจ้้าปากน้ำำ โพ ๑๐๐ สิิงโตมงคล
19 นิิตยสาร “เปรีียว” รายการโทรทััศน์์ “บางอ้้อ”
20
21 ข้้อมููลประวััติิและผลงานรางวััล “ศิิลปิินถิ่�นสวรรค์์” ่ มหาวิิทยาลััยราชภััฏนครสวรรค์์ ชื่อ-นามสกุล กลุ่มเครื่องปั้นดินเผาบ้านมอญ นครสวรรค์ ภาษาอังกฤษ เสนอเป็นศิลปินสาขา สาขาช่างฝีมือ ประเภท ช่างเครื่องปั้นดินเผา ๑. ประวัติชีวิตส่วนตัว กลุ่มเครื่องปั้นดินเผาบ้านมอญ นครสวรรค์ เป็นการรวมตัวของผู้ประกอบการทำ เครื่องปั้นดินเผาตั้งแต่ปี ๒๕๔๘ ซึ่งหมู่บ้านได้รับการคัดเลือกให้เป็นหมู่บ้านโอท็อปเพื่อการท่อง เที่ยว โดยปัจจุบันมีนายรุ่งโรจน์ เลี้ยงสุข เป็นประธานกลุ่มฯ นายรุ่งโรจน์ เลี้ยงสุข เกิดวันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๐๖ เป็นคนนครสวรรค์โดยกำเนิด ที่อยู่ปัจจุบัน เลขที่ ๑๓๙/๑ หมู่ที่ ๑ ต.บ้านแก่ง อ.เมือง จ.นครสวรรค์ ๖๐๐๐๐ เบอร์โทรศัพท์มือถือ ๐๙๓-๒๒๑-๕๕๒ ๒. ประวัติการศึกษา สมาชิกกลุ่มมีความหลากหลายทางการศึกษา ทั้งระดับประถมศึกษาจนถึงระดับปริญญาตรี ๓. ประวัติการทำงาน หมู่บ้านเครื่องปั้นดินเผาบ้านมอญ มีการส่งต่อภูมิปัญญามากว่า ๒๐๐ ปี ซึ่งเป็นการ ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น แต่ละครอบครัวประกอบอาชีพการทำเครื่องปั้นดินเผา ด้วยรับการส่งต่อ ภูมิปัญญาจากบรรพบุรุษ จึงได้มีโอกาสเรียนรู้การทำเครื่องปั้นดินเผาตั้งแต่ยังเด็ก จนมีทักษะ การทำเครื่องปั้นดินเผาในทุกกระบวนการผลิตเป็นอย่างดีและชำนาญ ปี ๒๕๖๕ ดำเนนิการจดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชนพัฒนาอาชีพบา้นมอญ นครสวรรค์ เพือการด่แูลการประกอบอาชีพทีห่ลากหลาย และเพื่อความไม่ประมาททางเศรษฐกิจ โดยเพิ่ม อาชีพการเลี้ยงปลาบ่อดิน สวนป่า ผสมดินปลูกต้นไม้ ปี ๒๕๖๔ ประสานงานและร่วมเป็นคณะกรรมการตรวจประเมินผู้ประกอบการทีสมัคร่ ขอใช้ตราสัญลักษณ์สิงบ่ง่ชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ปี ๒๕๖๒ หมู่บ้านได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการหมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (CIV) กลุ่มเป็นผู้แทนประสานและดำเนนิงานตามกิจกรรมภายใตโครงการ แ ้ละร่วมออกบูธแสดง สินค้าในงานอุตสาหกรรม์แฟร์ ณ ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้าอิมแพค เมืองทองธานี ในวันที่
22 ๑๗ - ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ปี ๒๕๖๑ เป็นผลิตภณั ฑ์ตัวแทนจังหวัดเขาร่วมพัฒ ้นาผลิตภัณฑ์ในโครงการไทยเด่น กรม ส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม และร่วมออกบูธแสดงสินค้าที่พัฒนาในโครงการ ณ ศูนย์ประชุมวายุภักษ์ ศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะ ปี ๒๕๔๘ ได้รับคัดเลือกให้เป็นหมู่บ้านโอท็อปเพื่อการท่องเที่ยว ๔. การสร้างสรรค์ผลงาน ในการผลิตเครื่องปั้นดินเผา ช่วงแรกเป็นการปั้นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในครัวเรือน รูปทรง และลวดลายไม่มีความซับซ้อน อาทิ โอ่งใส่นำ้ อ่างล้างเทา อ่าง ้นวดแป้งทำขนมจีน กระถาง ปลูกต้นไม ป ้ จจุบั ันมีพัฒนาการดา้นรปทรงแูละลวดลายรวมถึงความหลากหลายในการใช้ประโยชน์ ผลิตภณั ฑ์ ประกอบกับความตองการของต้ลาด และความคิดริเริมใ่นการสรางงา้นดินเผาของเยาวชน คนรุ่นใหม่ ในการทำเครืองป่ ั้นดินเผา เพือให่อย้ ่รอดแูละไดรับการยอมรับจาก ้ลูกคา จ้ ำเป็นตองมีการ ้ พัฒนารปทรงแูละการใช้สอย อีกหนงสิ่ึ งที่ เป็ ่นแรงขับเคลอ่ืนการทำงานคือการไดอ้นุรักษ์ภูมิปญญาที ั่ ส่งต่อมาจากบรรพบุรุษ ซึ่งเป็นความภาคภูมิใจตลอดการเป็นช่างปั้นเครื่องปั้นดินเผา ๕. การเผยแพร่ผลงานต่อสาธารณะชนในประเทศและต่างประเทศ ด้วยเป็นภูมิปัญญาที่ทรงคุณค่าและเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ กลุ่มฯ ได้มีโอกาสนำ เสนอผลงานทั้งในพื้นที่และนอกพื้นที่ ๑๖-๒๐ มกราคม ๒๕๖๖ ได้รับเชิญจาก กองกิจการเครือข่ายทางวัฒนธรรมกรม ส่งเสริมวัฒนธรรม ร่วมออกบูธสาธิตงานปั้น แกะลายและทำสี ในงานมหกรรมวัฒนธรรมแห่ง ชาติวิถีถิ่น วิถีไทย ณ บริเวณหาดทรายต้นแม่น้ำเจ้าพระยา ๑๑-๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ สาธิตการปั้นและระบายสี งานเลิฟอินพาราไดซ์ สนามกีฬากลางนครสวรรค์ ๕ กันยายน ๒๕๖๕ ไดรับเ ้ชิญจาก กองส่งเสริมและถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรม กรมส่ง เสริมวัฒนธรรม ร่วมสาธิตการปั้นและแกะลาย กิจกรรมยกย่องเชิดชูเกียรติ ศิลปาจารย์ ณ พิพิธภณั ฑ์ พื้นบา้นจ่าทวี จังหวัดพิษณุโลก ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ร่วมออกบูธผลิตภณั ฑ์เครืองป่ ั้นดินเผา สินค้าดีเด่นจากตัวแทน สำนักงานกกพ.ทั้ง ๑๓ เขต ที่มาร่วมออกบูธจำหน่ายสินค้าในงานพิธีมอบรางวัลโครงการ ประกวดกองทุนพัฒนาไฟฟ้า ประจำปี ๒๕๖๕ เมื่อวันศุกร์ที่ ๒๐ พ.ค. ๒๕๖๕ ณ สามย่านมิตร ทาวน์ฮอลล์ ๑ ช ั้ น ๕
23 ๘ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ร่วมออกบูธแสดงผลิตภัณฑ์ในงาน DIPROM ยกระดับสินค้า ชุมชน กระตุ้นเศรษฐกิจฐานราก นำส่ราไดูคื้นถิ่นชุมชน โดยกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ณ หองประ ้ชุม ชน ั้ ๕ สำนักงานเทศบาลนครนครสวรรค์ ๒๒ เมษายน ๒๕๖๕ นายอำเภอเมืองนครสวรรค์ ว่าทีร่อยตรี ้ณรงค์ชัย จินดาพันธ์ ลงพื้น ที่ถ่ายทำวิดีทัศน์ เพือโปรโมทการท่องเที่ยวต่ำบลบา้นแก่ง ในการนี้กลุ่มนำเสนอกระบวนการผลิต และกิจกรรมสำหรับนักท่องเทียว รวมถึงข่นมครกชาวมอญทีท่ำจากขาวเห้นียว ๓ มีนาคม ๒๕๖๕ บรรยายให้ความรู้และสาธิตการทำเครื่องปั้นดินเผา ในโครงการ พัฒนานวัตกรรมการดูและการจัดการสุขภาพเรื้อรังในชุมชนด้วยศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญา ไทย วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สวรรค์ประชารักษ์ นครสวรรค์ ๔ มกราคม ๒๕๖๕ นำเสนอข้อมูลและต้อนรับผู้ตรวจราชการกระทรวงอุตสาหกรรม นายใบน้อย สุวรรณชาตรี ลงพื้นทีรับทราบข่อมู้ลและติดตามการดำเนนิงานหม่บูา้นอุตสาหกรรม สรางสรรค์ (CIV II) ้ ๒๓-๒๔ ธันวาคม ๒๕๖๓ กลุ่มเครื่องปั้นดินเผาบ้านมอญนครสวรรค์ ได้รับเกียรติให้ ร่วมสาธิตการทำเครื่องปั้นดินเผา ในงานมหกรรมมรดกภูมิปัญญาวัฒนธรรม ภาคเหนือ ในกลุ่ม หัตถศิลป์ โดยกรมส่งเสริมวัฒนธรรม ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ ตอ้นรับและใหข้อมู้ลคณะผู้ตรวจราชการกระทรวงอุตสาหกรรม นายบรรจง สุกรีฑา ลงพื้นทีตรวจติดตามการด่ำเนนิงานหม่บูา้นอุตสาหกรรมสรางสรรค์ (CIV) ้ ๑๘-๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ สาธิตการปั้นเครืองป่ ั้นดินเผาบนแป้นหมุน ในงานวิชาการ โรงเรียนโพฒิสารศึกษา นครสวรรค์ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๓ หมวดวิชาภาษาไทย โรงเรียนอนุบาลเมืองนครสวรรค์ (เขากบ วิวรณ์สุขวิทยา) ร่วมกับกลุ่มเครืองป่ ั้นดินเผาบา้นมอญ นครสวรรค์ จัดกิจกรรมเรียนรจากวิทยากร ู้ ทองถิ ้ ่น ภูมิปญญาแัละปราชญ์ชาวบา้น สาธิตและสอนปั้นเครืองป่ ั้นดินเผาบนแป้นหมุน ๑๒-๑๓ ธนัวาคม ๒๕๖๒ ไดรับเกียรติจาก องค์การบริหารส่ว ้นจังหวัดนครสวรรค์ ถ่ายทอดภูมิปญญาการทั ำเครืองป่ ั้นดินเผาของชาวมอญ แก่นักเรียนโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (จิรประวัติ) นครสวรรค์ ตามโครงการ ส่งเสริมอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีและภูมิปญญาทั องถิ ้ ่น ตามรอยค่มือประเพูณีประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ๔ ธันวาคม ๒๕๖๓ ร่วมออกบูธนำเสนองานปั้น งานดิน เนื่องในโอกาสวันดินโลก และน้อมลำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ ในหลวงรัชกาลที ๙ ่ผู้เป็นมหาราช ณ โรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัย (จิรประวัติ) นครสวรรค์
24 ๘ สิงหาคม ๒๕๖๒ ต้อนรับท่านผู้ตรวจราชการกระทรวงอุตสาหกรรม นางเบญจ มาพร เอกฉัตร์ และท่านอุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์ เพื่อตรวจติดตามและให้กำลังใจ กลุ่ม เครื่องปั้นดินเผาบ้านมอญ นครสวรรค์ ที่เข้าร่วมโครงการ หมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ CIV ๑๒ มิถุนายน ๒๕๖๑ ใหการต้อ้นรับและใหข้อมู้ลกระบวนการผลิต พลเอกประยุทธ จันโอชา นายกรัฐมนตรี และ คณะรัฐมนตรี เมือครั้งประ ่ชุมสัญจรนอกสถานทีอย่างเป็ ่นทางการ จังหวัดนครสวรรค์ ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๙ นำเสนอขอมู้ลประวัติความเป็นมาและกระบวนการผลิตถวาย สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัต ้น์ราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เมือครั้งเสด็จ ่ บ้านมอญเป็นการส่วนพระองค์ เพื่อศึกษาภูมิปัญญาการทำเครื่องปั้นดินเผา นอกจากนี้กลุ่มยังไดมีโอกาสให ้ข้อมู้ลประวัติความเป็นมาและกระบวนการผลิตแก่คณะ ศึกษาดงาูนอีกหลายคณะ ทั้งในส่วนของคณะจากองค์การบริหารส่วนตำบล นักเรียนนักศึกษาสถาบัน การศึกษาในจังหวัดนครสวรรค์และใกล้เคียง รวมถึงเผยแพร่ผลงานร่วมกับส่วนราชการ ณ ศูนย์แสดง สินคาแ้ละการประชุม อิมแพคเมืองทองธานี ๖. การถ่ายทอดและเผยแพร่ข้อมูลผลงานศิลปวัฒนธรรม ๑๕ ธนัวาคม ๒๕๖๕ รายการ Todaygo / WorkpointTODAY นำเสนอทางเพจ TODAY ๒๔ เมษายน ๒๕๖๕ นายอำเภอพาเทียว”บ่า้นแก่ง”...ว่าทีร่อยตรี ้ณรงค์ชัย จินดาพันธ์ นายอำเภอเมืองนครสวรรค์ พาทัวร์ชมของดี ของเด่น แต่ละตำบลแบบวันเดียวจบ เพจวาไรตี้สีแคว่ ๒๒ มกราคม ๒๕๖๔ สกู๊ป เครื่องปั้นดินเผาบ้านมอญ โดย NBT Pithsanulok ๑๒ มกราคม ๒๕๖๔ บ้านมอญ นครสวรรค์ แหล่งเครื่องปั้นดินเผาระดับ ๕ ดาว เพจ TAT Contact Center เพื่อนร่วมทาง ๔ ตุลาคม ๒๕๖๓ รายการกระปุกปัญญา ทาง NBT ๒ HD ๒๔ กันยายน ๒๕๖๓ มอญ ‘บา้นมอญ’ นครสวรรค์” เพจ รามัญคดี - MON Studies ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๓ สารคดีการทำเครืองป่ ั้นดินเผา บา้นมอญ นครสวรรค์ เพจ สวท. นครสวรรค์
25 ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ สกู๊ป ศิลปิน THAILAND-USA ART EXCHANGE ๒๐๒๐ ทัศนศึกษาวัฒนธรรมการทำเครื่องปั้นดินเผาบ้านมอญ เพจเทศบาลนครสวรรค์ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ สก๊ปตูอ้นรับศิลปินเยียม่ชมเมืองนครสวรรค์ เพจ สวท.นครสวรรค์ ๑๗ ธนัวาคม ๒๕๖๒ องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครสวรรค์ โดยกองการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จัดโครงการส่งเสริมอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีและภูมิปญญาทั องถิ ้ ่น “ตามรอย ค่มือประเพูณี” ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๓ โดยเพจ องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครสวรรค์ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๒ ทีมถ่ายทำรายการลงพื้นทีเก็บ ่ภาพ เพือ่นำเสนอวิถีชีวิตชาวมอญ ในการทำเครืองป่ ั้นดินเผา NITED – TV สถานีวิทยุโทรทัศน์ NITED – TV NSRU ๑๓ กันยายน ๒๕๖๒ ท่องเที่ยวเมืองรอง ภาคเหนือตอนล่าง จังหวัดนครสวรรค์ รายการข่าวเย็นอมรินทร์ ออกอากาศเวลา ๑๖.๐๐-๑๗.๐๐ น ช่วงข่าวของ ททท ๗. รางวัลและเกียรติคุณที่ได้รับ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๔๘ ได้รับรางวัลหมู่บ้านหัตถกรรมดีเด่น โดย มูลนิธิอนุสรณ์หม่อม งามจิต บุรฉัตร์ ๘. การทำ คุณประโยชน์เพื่อสังคม กลุ่มดำเนินการภายใต้นโยบายจิตอาสาต่อสังคม พร้อมให้การสนับสนุนและความ ร่วมมือเมื่อมีโอกาส โดยสรุปพอสังเขปดังน ี้ ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๔ พิธลีงนามบันทึกขอตก้ลงความร่วมมือการพัฒนาวิชาการ ในโครงการ การจัดการเรียนรู้เพื่อการมีงานทำและกิจกรรมโรงเรียนในโรงงาน ระหว่าง โรงเรียนบ้านแก่ง ชัชวลิตวิทยากับผู้ประกอบการเครื่องปั้นดินเผา นำโดยผู้ใหญ่รุ่งโรจน์ เลี้ยงสุข ประธานกลุ่มฯ ร่วมด้วยปราชญ์ชาวบ้านและผู้มีความสามารถด้านงานปั้น ๒๓ ตุลาคม ๒๕๖๒ สัมมาอาชีพจากภูมิปัญญาการทำเครื่องปั้นดินเผาของชาวไทย เชื้อสายมอญ ได้มีโอกาสสืบทอดทำนุบำรุงพระศาสนา ด้วยการถวายผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา แด่ท่านเจ้าคุณพระโสภณพัฒนคุณ(ท่านเจ้าคุณหลวงพ่อทิน) เจาค้ณะอำเภอหนองม่วง เจาอาวาส้ วัดพุน้อย จ.ลพบุรี เพือประโย่ชน์ในการพัฒนาพุทธสถานสืบไป นำโดยท่านผู้ใหญ่รุ่งโรจน์ เลี้ยงสุข
26 ประธานกลุ่มฯ ศูนย์เรียนรู้ชุมชนที่เปิดให้ความรู้แก่นักเรียนนักศึกษา และผู้ที่สนใจ ได้เข้ามาศึกษา ภูมิปัญญาการทำเครื่องปั้นดินเผา อาทิ โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลบ้านแก่ง นักศึกษามหาวิทยาลัย ราชภัฏนครสวรรค์ นักเรียนโรงเรียนนครสวรรค์ รวมถึงนักเรียนนักศึกษาจังหวัดใกล้เคียง ทั้งใน รูปแบบทัศนศึกษา ทำรายงาน และผลิตสื่อนำเสนอผลงานในรูปแบบวิดีทัศน์ อีกทั้งได้รับเชิญ เข้าร่วมงานนำเสนอศิลปวัฒนธรรมชาวมอญจากเครือข่ายชุมชน เอกชน และส่วนราชการใน จังหวัดนครสวรรค์ ๙. ชีวิตปัจจุบัน ปัจจุบัน กลุ่มฯ ได้มีการจดทะเบียนเป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนพัฒนาอาชีพบ้านมอญ นครสวรรค์ เพื่อให้มีสถานะเป็นนิติบุคคล สะดวกในการรับการพัฒนาจากส่วนราชการ และยัง คงสืบทอดและพัฒนาการทำเครื่องปั้นดินเผาอย่างต่อเนื่อง เพือคงไว่ส้ลูู่กหลานต่อไป ซงใ่ึนการน ี้ กลุ่มเพิ่มการสนับสนุนอาชีพเลี้ยงปลาบ่อดิน ทำดินปลูกต้นไม้ สวนป่า เพื่อเพิ่มช่องทางอาชีพ นอกจากการทำเครื่องปั้นดินเผา
27 กิิจกรรมกลุ่่ม
28 กิิจกรรมเพื่่�อสัังคม
29
30
31 ข้้อมููลประวััติิและผลงานรางวััล “ศิิลปิินถิ่�นสวรรค์์” ่ มหาวิิทยาลััยราชภััฏนครสวรรค์์ ชื่อ-นามสกุล นายวัฒนโชติ ตุงคะเตชะ ภาษาอังกฤษ MR. Wattanachot Tungateja เสนอเป็นศิลปินสาขา สาขาทัศนศิลป์ ๑. ประวัติชีวิตส่วนตัว เกิด : ๑๘ กันยายน ๒๕๐๓ จังหวัดนครสวรรค์ ที่อยู่ : ๑๐๔๙ ซอยมาตุลี ๑๘/๒ ถนนมาตุลี อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์๖๐๐๐๐ ที่ทำงาน : ๕๖ อาร์ต สตูดิโอ เลขที่ ๕๖ หมู่ ๔ ถนนบ้านไร่-บ้านนอก ตำบลพระนอน อำเภอ เมือง จังหวัดนครสวรรค์๖๐๐๐๐ โทรศัพท์ : ๐๘-๑๘๑๗-๙๒๑๒ อีเมลล์ : [email protected] / [email protected] ๒. ประวัติการศึกษา ๒๕๓๔ : Computer Graphic, University of California Los Angeles (UCLA) ประเทศ สหรัฐอเมริกา ๒๕๒๘ : ศิลปศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน (มหาวิทยาลัยบูรพา) ชลบุรี ๒๕๒๖ : ศิลปะภาพพิมพ วิทยา์ลัยเทคโนโลยีและอาชีวะศึกษา วิทยาเขตเพาะช่าง กรุงเทพมหานคร ๒๕๒๐ : โรงเรียนไทยวิจิตรศิลป์อาชีวะ ๒๕๑๗ : โรงเรียนนครสวรรค์ ๓. รางวัล และเกียรติบัตรที่ได้รับ ๒๕๖๔ : รางวัล รัตนมณีศรีนเรศวร ด้านศิลปกรรมและสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก ๒๕๖๐ : รางวัลยอดเยี่ยม Shanghai International Contemporary Art Exhibition and Workshop 2017 นครเซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน ๒๕๖๐ : รางวัลศิษยเก์ าดีเด่ ่น วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยราชมงคลรัตนโกสินทร กรุงเทพมหา์นคร ๒๕๕๕ : รางวัลเหรียญทอง 1st Ecorea Jeonbuk Biennale 2012 in Korea เมือง จีออนจูประเทศเกาหลี
32 ๒๕๕๕ : มหาบัณฑิตกติติมศักดิ สาขาศิ์ลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์ ๒๕๕๓ : รางวัลที่๑ The 10th Great Oriental Art Exhibition, Dali University ยูนาน ประเทศจีน ๒๕๕๓ : รางวัลศิษย์เก่าดีเด่น คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ชลบุรี ๒๕๒๕ : รางวัลที่๓ สาขาภาพพิมพ์นิทรรศการศิลปะ วิทยาลัยเพาะช่าง กรุงเทพมหานคร ๒๕๒๔ : รางวัลชมเชย สาขาภาพพิมพ์นิทรรศการศิลปะ วิทยาลัยเพาะช่าง กรุงเทพมหานคร ๒๕๒๓ : รางวัลที่๓ สาขาภาพพิมพ์นิทรรศการศิลปะ โรงเรียนไทยวิจิตรศิลป กรุงเทพมหา์นคร ๔. ประสบการณ์การทำงาน ๒๕๖๐ : ทีปรึกษาสมาคมศิ่ลปินทัศนศิลป์นครเซยงไฮ้ ใ ่ีนการจัดงานปฏิบัติงานศิลปะนานาชาติ ๒๕๖๐ : กรรมการตัดสินงานศิลปะภาพพิมพ์อาเชี่ยน กรุงฮานอย ประเทศเวียตนาม ๒๕๕๙ : บรรยายพิเศษเรืองศิ่ลปะสมัยใหมใ่นอาเชย่ีน มหาวิทยาลัยฮานอย ประเทศเวียตนาม ๒๕๕๘ : ผู้ช่วยศิลปินแห่งชาติ กมล ทัศนาญชลี ติดตั้งผลงานศิลปะงาน Venice Biennale ครั้งที่ ๕๖ ประเทศอิตาลี่ ๒๕๕๗ : บรรยายพิเศษเรืองศิ่ลปะสมัยใหม มหาวิทยา่ลัยอันฮุย และมหาวิทยาลัยปักกิ่ง ประเทศ จีน ๒๕๕๔-๒๕๕๘ :ผู้ทรงคุณวุฒิ คณะเทคโนโลยีเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครสวรรค์ ๒๕๔๙-๒๕๕๘ : อาจารย์พิเศษ สาขาการออกแบบ คณะเทคโนโลยีเกษตรและเทคโนโลยี อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ๒๕๔๕-๒๕๕๔ : อาจารย์พิเศษ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ชลบุรี ๒๕๓๖-๒๕๓๘ : อาจารยพิเศษ แ์ผนกการพิมพ วิทยา์ลัยเทคโนโลยีราชมงคลเทคนิคกรุงเทพ ๒๕๓๐-๒๕๓๑ : อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ๒๕๓๐-๒๕๓๑ : อาจารย์ประจำภาควิชาศิลปวัฒนธรรม คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ พิษณุโลก (มหาวิทยาลัยนเรศวร) ๕. การเผยแพร่ผลงานต่อสาธารณชนในประเทศและต่างประเทศ ๒๕๖๕ : นิทรรศการศิลปกรรมเดี่ยว “ชุดการผันแปรเปลี่ยนแปลง” โรงแรมโพเรสวา ชลบุรี ๒๕๖๔ : นิทรรศการศิลปกรรมเดียว่ “ชุดการเปลย่ีนแปลง”เพลย อาร์ ต เฮ้าส ์ กรุงเทพมหา์นคร ๒๕๖๐ : นิทรรศการศิลปกรรมเดียว่ “ชุดปฐพีและแผ่นฟ้า” สาธร ๑๑อารตสเป์ซ กรุงเทพมหานคร ๒๕๕๖ : นิทรรศการศิลปกรรมเดี่ยว โดย วัฒนโชติ ตุงคะเตชะ หอศิลป์มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก
33 ๒๕๕๖ : นิทรรศการศิลปกรรมเดียว่ “ชุดทิวทัศน์ในห้วงฝนั” โดย วัฒนโชติ ตุงคะเตชะ หลักเมือง แกลลอรี ขอ่นแก่น การแสดงผลงานศิลปกรรมร่วม ๒ คน : ๒๕๖๒ : “Life and Culture” นิทรรศการศิลปกรรม ๒ ศิลปิน โดย วัฒนโชติ ตุงคะเตชะ และ ดร. คเณศ ศีลสัตย์ หอศิลป์ต้นตาล ขอนแก่น การแสดงผลงานศิลปกรรมร่วม ๓ คน : ๒๕๖๑ : “Silent Talk” Art Exhibition ๓ ศิลปินจาก ๓ ประเทศ คัทซึมิ มูไก (ญี่ปุ่น) วัฒน โชติ ตุงคะเตชะ (ไทย) เกือง คิม ฮัว (เวียตนาม) หอศิลป์แห่งชาติเวียตนาม กรุงฮานอย ประเทศ เวียตนาม การร่วมแสดงผลงานศิลปกรรม : ๒๕๖๖ : นิทรรศการและการปฎิบัติงานศิลปะและการออกแบบนานาชาติครั้งที่8 มหาวิทยาลัย พระจอมเกล้าพระนครเหนือ กรุงเทพมหานคร : The 2nd Burapha International Ceramic (BIC) หอศิลป์คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ชลบุรี ๒๕๖๕ : นิทรรศการศิลปกรรมกลุ่มศิลปินอาเชี่ยนครั้งที่ 1 หอศิลป์ต้นตาล ขอนแก่น : 1st International Graphik Collegium Berlin (GCB)-MiniPrint 2022 กรุง เบอร์ลิน ประเทศเยอรมันนี : “Friends of Ukraine People” Special Charity Exhibition, Shin-Matsudo Campus, Ryutsu Keizai University, Japan : 4th International Visaul Art Exhibition Multi Frame #4, “From Pandemic to Post Pandemic” Arts and Designs Faculty, Sebelas Maret University ประเทศ อินโดนีเซีย : The 5th “Qingdao International Contemporary Art Exhibition, Federation of Literary and Art Circles of Qingdao, Qingdao ประเทศจีน : นิทรรศการศิลปกรรม ของสมาคมศิลปินทัศนศิลป์นานาชาติแห่งประเทศไทย ครั้ง ที่ ๑๕ ศูนย์ศิลปกรรมร่วมสมัยราชดำเนิน กรุงเทพมหานคร : “Reliance” The 3rd International Virtual Digital Art Exhibition, ASIAN Southeast Digital Art Association, Prince of Songkla University ปัตตานี ประเทศไทย : “In Her Eyes” 2022 International Artists Online Exhibition in Conjunction with International Mother’s Day Celebrations, Asia Artists Association ประเทศ มาเลเซีย
34 : “Material Thinking” 1st International Contemporary Material Art Biennale, Tsinghua University กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน : เทศกาลศิลปะนานาชาติ ครั้งที ๑๖่ หอศิลป์เพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตเพาะช่าง กรุงเทพมหานคร : Burapha International Ceramic (BIC) หอศิลปค์ณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยา์ลัย บรพา ูชลบุรี : นิทรรศการศิลปกรรม “ความแตกต่าง” หอศิลป์ต้นตาล ขอนแก่น ๒๕๖๔ : นิทรรศการผลงานศิลปะ“กรี๊ด” คือลมหายใจ คือดอกไม้ คือความรู้สึก คือรัก หอ ธรรมพระบารมี ฉะเชิงเทรา : นิทรรศการศิลปกรรม ของสมาคมศิลปินทัศนศิลป์นานาชาติแห่งประเทศไทย ครั้ง ที่ ๑๔ ศูนย์ศิลปกรรมร่วมสมัยราชดำเนิน กรุงเทพมหานคร : The 28th Seoul International Art Festival 2021 “Knock Knock Knock”, by The World Culture Artists Association, Inc. : (WCAA) & The International Creative Artists Association (ICAA), กรุงโซล, ประเทศเกาหลี : 4th International Artists Symposium & Exhibition in Analogue and Virtual Spaces Germany - Europe - Asia 2021, Kunsthaus of the Kunstverein Schwabmuenchen (Art Association of Schwabmuenchen) ประเทศเยอรมันนี : 12th UOB Painting of TheYear กรุงเทพฯ : Virtual Reality Arts Exhibition มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล รัตนโกสินทร์ กรุงเทพฯ : นิทรรศการศิลปกรรม “RAJSIMA IS ONE” เซนทรัลพลาซ่า นครราชสีมา : Celebrating 60 years of Art, Online Exhibition, College of Fine Arts in Bangalore ประเทศอินเดีย : 2nd Virtual Visual Expression 2021, International Online Art Exhibition, Pagoda Group ประเทศเนปาล : International Miniature Art Fest 2021, CTG Art Club ประเทศบังคลาเทศ ๒๕๖๓ : Jinan International Biennale, Art Integration International Exhibition of Contemporary Art, Jinan ประเทศจีน : International Art Competition and Online Exhibition, Organized-Cura
35 ed by Muberra Bulbul - BILSEMART & Ritesh R- ประเทศเนปาล : นิทรรศการศิลปกรรม ของสมาคมศิลปินทัศนศิลป์นานาชาติแห่งประเทศไทย ครั้ง ที่ ๑๓ หอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตติ์พระบรมราชินีนาถ กรุงเทพมหานคร : Gorgeous Landscapes, Chengdu in Painting, College of Chinese & ASE AN Arts, Beijing Olympic Sports Center กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน : The 26th Seoul International Art Festival 2020 “Jump Over”, The World Culture Artists Association, Inc. (WCAA) & The International Creative Artists Association (ICAA) ประเทศเกาหลีใต้ : The 3rd Qingdao International Contemporary Art Exhibition 2020, Qing dao ประเทศจีน : “Virtual Visual Expression 2020” An International Online Art Exhibition, Pagoda Group ประเทศเนปาล : “Colours of Life” Online Art Exhibition 2020, The Art Pivot a Centre for Contemporary Art & Ideas, Udaipur ประเทศอินเดีย : “Monsoon Printmaking 2020” Online Exhibition, Bindu Space for Art ists, Kathmandu ประเทศเนปาล : “Tangibility of Time” International Online Art Exhibition 2020, Chit tagong Art Club กรุงดักกา ประเทศบังคลาเทศ : “Beyond Pandemic–Art Connects People” International Online Art Ex hibition, Classic Gallery ประเทศเนปาล : “20th Hands Across the Pacific Art Exhibition” Online Art Exhibition, The Chinese People’s Association for Friendship with Foreign Countries กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน : “Stay Hopeful” International Online Art Exhibition 2020, หาดใหญ่ สงขลา : The 2nd International Arts and Designs Collaborative Exhibition 2020, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปัตตานี : “Play Time, 30 Artworks by 30 Artists”, Play Art House แกลลอรี, ่กรุงเทพ : “ศิลปะภาพพิมพ ๒๐๒๐” ์หอศิลป์พระธรรมบารมีฉะเชิงเทรา : นิทรรศการและปฎิบัติงานศิลปะนานาชาติเพื่อหอศิลป์อันดามันครั้งที่๓ หอศิลป์ อันดามัน กระบี่ และอีกมากมาย
36 ผลงานศิิลปะเชิิงนามธรรม (Abstract Art)
37 ผลงานศิิลปะสื่อผส ่�ม (Mixed Media) ผลงานศิิลปะภาพพิิมพ์์ (Printmaking)
38 การเผยแพร่่ผลงานต่่อสาธารณชน ในประเทศและต่่างประเทศ
39
40
41 ข้้อมููลประวััติิและผลงานรางวััล “ศิิลปิินถิ่�นสวรรค์์” ่ มหาวิิทยาลััยราชภััฏนครสวรรค์์ ชื่อ-นามสกุล นายนิพนธ์ เทียง่ธรรม ภาษาอังกฤษ Mr.Nipon Thiangtham ชือ่ ที่ใช้ในวงการศิลปะการแสดง/นามแฝง จุฬามณี/ เฟื่องนคร/ ชอนตะวัน เสนอเป็นศิลปินสาขา สาขาวรรณศิลป์ ประเภทร้อยแก้ว ๑. ประวัติชีวิตส่วนตัว - เกิดเมื่อวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๒๑ ปัจจุบันอายุ ๔๕ ปี - ภูมิลำเนา ๑๗/๒ หมู่ ๒ ต.เนินขี้เหล็ก อ.ลาดยาว จ.นครสวรรค์ ๖๐๑๕๐ - ที่อยู่ปัจจุบัน ๖๖๑/๓ หมู่ ๑๐ ต.นครสวรรค์ตก อ.เมือง จ.นครสวรรค์ ๖๐๐๐๐ โทรศัพท์เคลื่อนที่ ๐๘๖-๙๒๙-๙๗๗๙ ๒. ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา โรงเรียนบ้านดอนจังหัน อ.ลาดยาว จ.นครสวรรค์ มัธยมศึกษาตอนต้น ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน นครสวรรค์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.๓) โรงเรียนสหนครสวรรค์พาณิชยการ ปริญญาตรี - มหาวิทยาลัยรามคำแหง คณะมนุษยศาสตร์ (สื่อสารมวลชน) - มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช คณะศึกษาศาสตร์ (บริหารการศึกษา) ปริญญาโท มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะวิทยาการจัดการ (ปริญญานิเทศ ศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๐) นักธรรมเอก สำนักเรียนวัดคีรีวงศ์ จ.นครสวรรค์ ๓. ประวัติการทำงาน - เป็นพนักงานขาย (Part Time) ร้านหนังสือเรียนดี พนักงานร้านสุกี้พลาซ่า - อายุ ๑๗ ปี เริ่มต้นเขียนบันทึกประจำวัน (Diary) - อายุ ๑๘-๒๑ ปี (ทำงานขายหนังสือแบบเรียนภาษาอังกฤษสำหรับเด็ก / พนักงานขน อาหารขึ้นเครื่องครัวการบินไทยและเรียนมหาวิทยาลัยรามคำแหงไปดวย) เริ ้ มอ่า่นหนังสือพิมพ์ ทุกวัน อ่านนิยายตามบทละครในหนังสือพิมพ์ทุกเรื่องในช่วงเวลาน ั้ น อ่านหนังสือพิมพ์สยามรัฐ อ่านนิตยสารสกุลไทย อ่านบทความ เริ่มต้นอ่านนิยายเป็นตอน ๆ
42 - ปีพ.ศ. ๒๕๔๒ เข้าคอร์สเรียนเขียนบทละครโทรทัศน์กับ อ.สรนันทร์ ร. เอกวัฒน์ - ปีพ.ศ. ๒๕๔๓ เรียนจบ ลาออกจากงาน ตั้งใจเป็นนักเขียนมาก เริ่มต้นเขียนเรื่อง สั้น ตามคำแนะนำจากหนังสือเขียนเรื่องสั้นของ ถวัลย์ มาศจำรัส โดยเริ่มต้นเขียนเรื่องสั้นที่ ขายหัวเราะ เรื่อง “อีแอบทิงนองนอย” (เพื่อนตั้งชื่อให้) ตามด้วย “ความรักสีส้ม” ปีน ั้ นเขียน เรื่องสั้น กับอ่านเรื่องสั้น ในนิตยสารขวัญเรือนและสยามรัฐ จนกระทั่งมีเรื่องสั้นได้ลงตะกร้าและ ได้ลงนิตยสารที่ได้อ่าน อันได้แก่ “เรือนตาย” ตีพิมพ์ในนิยายสารสยามรัฐ “รอยแผลเป็น” ตี พิมพ์ในนิตยสารขวัญเรือน และ “วันชื่นคืนเชยที่เคยชิดใกล้” ตีพิมพ์ในนิตยสารหญิงไทย - ปีพ.ศ. ๒๕๔๓ เริ่มต้นเขียนนวนิยาย “แจกันดอกหญ้า” ตามมาด้วย “ไม่ต้องรักเท่า ฟ้า” (ก่อนเขียนนิยายน ั้ น ได้ศึกษาการเขียนนิยายจากหนังสือเขียนนิยาย ของเพลินตา) - ปีพ.ศ. ๒๕๔๔ เขียน “ชิงชัง” “ตะเกียงกลางพายุ” - ทำงานเป็นครูสอนนักธรรมสำนักเรียนวัดคีรีวงศ์ ครูยุวบัณฑิต และไกด์อิสระ - ปีพ.ศ. ๒๕๔๘ ส่ง นวนิยายเรื่อง ชิงชัง เข้าประกวดโครงการถนนสู่ดวงดาว เพื่อชิง รางวัลทมยันตีอะวอร์ด ครั้งที่ ๑ - ปีพ.ศ. ๒๕๕๐ บริษัท เอ็กแซ็กท์ จำกัด ซื้อนวนิยาย “ชิงชัง” ไปสร้างละคร - ปลายปีพ.ศ. ๒๕๕๐ ลาออกจากงานประจำ มาเขียนหนังสือเต็มเวลา - ปีพ.ศ. ๒๕๕๒ เดือนสิงหาคม ละคร “ชิงชัง” ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ ททบ.๕ - ปลายปีพ.ศ. ๒๕๕๒ เขียนนิยาย “เจ้าสาวไร่ส้ม” และ “สุดแค้นแสนรัก” - ปีพ.ศ. ๒๕๕๓ ละครเจ้าสาวไร่ส้มออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง ๓ และขายนวนิยาย “สุดแค้นแสนรัก” ให้ช่อง ๓ อีกเรื่อง - ปีพ.ศ. ๒๕๕๔ เขียนนิยาย “กุหลาบซ่อนกลิ่น” โดยสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง ๓ ซื้อไปสร้างละคร (ออกอากาศปีพ.ศ. ๒๕๕๗) - ปีพ.ศ. ๒๕๕๕ ทำนิยายชุดภารกิจ (ทหารบก เรือ อากาศ ตำรวจ) กับเพือ่น ๆ นัก เขียนสำนักพิมพ์ดอกหญา ้ - ปีพ.ศ. ๒๕๖๐ ละครชุด ภารกิจรัก ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง ๗ - ปีพ.ศ. ๒๕๕๗ บริษัท เอ็กแซ็กท์ จำกัด ซื้อ นิยายเรื่องชิงชัง ไปเก็บไว้ - ปีพ.ศ. ๒๕๕๗ บริษัท เอ็กแซ็กท์ จำกัด ซื้อ นวนิยายชุดนางฟ้าจำแลง (ชุดนางงาม รวม ๔ เรื่อง) ที่เขียนร่วมกับเพื่อน ๆ สำนักพิมพ์ทู้บโร้ส - ปีพ.ศ. ๒๕๕๘ ละครเรื่องสุดแค้นแสนรัก ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสี ช่อง ๓ และสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง ๓ ซื้อนิยายเรือง “ทุ่งเส่น่หา” และ “วาสนารัก” อย่ระหว่างู รอสราง้ละคร - ปีพ.ศ. ๒๕๕๘ เขียนบทภาพยนตร์เรื่อง“รัก หมัด สั่ง” (ออกฉายวันที่ ๒๒ กันยายน
43 ๒๕๕๙) - ปีพ.ศ. ๒๕๕๙ เขียนนวนิยายเรื่อง “กรงกรรม” - ปีพ.ศ. ๒๕๖๐ ขายลิขสิทธ์นิิยายไปสรางเป็ ้นละคร ใหสถา้นีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่องสาม - ปีพ.ศ. ๒๕๖๑ เขียนนิยายเรื่อง “สิรินนารี” - ปีพ.ศ. ๒๕๖๖ กรรมการสงเคราะห์เด็กและเยาวชนสำหรับสถานพินิจ สถานพินิจ และคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดนครสวรรค์ ๔. การสร้างสรรค์ผลงาน นายนิพนธ์ เทียง่ธรรมเป็นผู้มีความรความสามารถใ ู้ นดา้นการเป็นนักเขียน เริมต่ ้นจาก ต้นทุนการเขียนทีมาจากศู่นย์ สังสมการอ่า่น และมีความมานะพากเพียรในการศึกษาความรเพิ ู้ มเติม่ ทั้งที่ได้จากตำราสอนการเขียน การอ่านงานของนักเขียนในดวงใจเพื่อศึกษาแนวทางและเป็น แบบอย่าง รวมถึงการเลือกเรียนวิชาความรู้ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองด้านทักษะ การเขียน นอกจากนี้เป็นผู้มีความใฝ่รู้ที่จะแสวงหาประสบการณ์จากวงเวทีนักเขียนต่างๆ เพื่อ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สิ่งเหล่าน ี้ล้วนเป็นต้นแบบถ่ายทอดที่ดี เป็นแบบอย่างที่น่ายกย่องแก่สังคม ซึ่งนายนิพนธ์ เที่ยงธรรมได้มีความพยายามที่จะถ่ายทอดประสบการณ์และองค์ความรู้ต่างๆ รวมถึงสร้างแรงบันดาลใจกับนักเขียนมือสมัครเล่นตลอดมาว่าสามารถเป็นอาชีพสร้างรายได้ และเลี้ยงชีพได้อย่างยั่งยืน ตลอดจนสร้างเสริมนิสัยรักการอ่านและรักงานเขียนให้แก่นักเรียน นักศึกษามหาวิทยาลัยต่างๆ ทั้งนักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตร์ นักศึกษาสายครูภาษาไทยที่ จะนำไปใช้ประกอบการสอนแก่นักเรียนต่อไปในอนาคต รวมถึงนักศึกษาทัวๆไปที่ส่นใจมารับฟัง การเสวนากับนักเขียนในงานบุ๊คส์แฟร์ของสถานศึกษา หรืองานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติก็ตาม นอกเหนือจากนี้ ยังเป็นผู้ทำคุณประโยชน์ให้แก่จังหวัดนครสวรรค์ โดยมีหลักคิด ทุกครั้งก่อนทำงานเขียนว่าแต่ละเรื่องจะให้อะไรกับคนอ่าน ซึ่งสไตล์การวางโครงเรื่องงานเขียน นวนิยายอันโด่งดังหลายเรื่องน ั้ น ต้องให้ตัวละครโลดแล่นไปสถานที่ตามอำเภอต่าง ๆ ในจังหวัด นครสวรรค์ ทั้งนี้ ก่อนหน้านน ั้ เคยให “้ชิงชัง”เดินเรืองที่ท่า่นำ้ออย อ้ ำเภอพยุหะคีรี สถานที่ อำเภอลาดยาวก็มีนิยายเรือง “สุดแค่ ้นแสนรัก” และ “ทุ่งเสน่หา” “วาสนารัก” ต่อมาปกหมุด ั เรือง “กรงกรรม” ไว่ที้ ่ชุมแสง ใช้สถานทีอ่ำเภอชุมแสง ซึ่งเป็นชุมชนริมแม่น้ำน่าน ที่มีอายุของ ชุมชนเก่าแก่ยาวนาน มีทั้งแม่น้ำน่านไหลผ่าน มีรางเหล็กพาขบวนรถไฟขึ้นล่องมานับร้อยปี ถือว่ามี‘วิถี’ ให้เล่น การเขียนพรรณนาสถานที่ให้ตัวละครโลดแล่นอย่างมีเสน่ห์ ส่งผลให้ จังหวัดนครสวรรค์เป็นที่รู้จักและกล่าวถึงในวงกว้างทั่วประเทศเมื่อถูกหยิบยกมาสร้างเป็น ละครโทรทัศน์ อันส่งผลกระทบต่อความรู้สึกภาคภูมิใจของคนท้องถิ่นที่มีการพูดถึง เกิดการ สร้างกระแสโหยหาอดีตการท่องเที่ยวแบบสไตล์ลูกทุ่ง และการพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชน
44 ดังปรากฏในนิตยสารประชาคมท้องถิ่น ปีที่ ๑๕ เดือน มิถุนายน ๒๕๕๙ ฉบับที่ ๑๗๒ ที่มีการส่ง เสริมพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง แนะนำวัดประจำตำบล ไดแก่ “วัดห ้นองนมวัว” และ “วัดเขาสมุก” ซงมีของดีที่ึ ่ชาวบา้นนับถือทั้งสองวัด โดยที่วัดหนองนมวัวจะมีรูปปั้นของ หลวงพ่อปาน ส่วนวัด เขาสมุกจะมีพระพุทธบาทจำลองเก่าแก่อายุนับ ๑๐๐ ปีที่ชาวบา้นนับถือศรัทธา นอกจากนี้ยัง สามารถส่งเสริมเชิดชูสินค้าชุมชนบ้านหนองนมวัว เยือนถิ่นย่าแย้ม ชุมชนที่มีของดีที่ใครๆยัง ไม่รู้ เช่น หมูหวานสมุนไพร ไก่ทอดพริกเจ๊วีณา เป็นต้น เมือได่รับเ ้ชิญใหเป็ ้นวิทยากรบรรยายทางวิชาการเกียวกับการเขีย่น นายนิพนธ์ เทียง่ธรรม จะสรุปรวบรวมเนื้อหาเป็นเอกสารที่จะประกอบการสัมมนา เสวนากับนักเขียน เอกสารการ บรรยาย หรือใดๆก็ตาม โดยให้แนวคิด หลักการเขียน วิธีการเขียน และตัวอย่างงานเขียนที่มี การช ี้ ชัดประเด็น รวมไปถึงมีการตอบคำถามแก่ผู้เข้าฟังการสัมมนา สามารถถ่ายทอดสู่การ ปฏิบัติการได้อย่างง่ายๆ ชัดเจน ชนิดที่ปั้นดินให้เป็นดาว หรือสร้างแรงบันดาลใจที่จะปั้นมือ สมัครเล่นให้กล้าเป็นมืออาชีพ ด้วยการหยิบยกชีวิตของตนเองให้เป็นแบบอย่างในการใช้ความ เพียรพยายาม หมั่นฝึกฝน และลงมือเขียน เขียน และเขียนจนกลายเป็นนักเขียนมืออาชีพ กล้า ลาออกจากงานประจำได้ในที่สุด อีกทั้งยังเปิดโอกาสอย่างใกล้ชิดให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้ซักถาม ตอบข้อสงสัย หรือแม้แต่จะเขียนข้อความสั้นสร้างแรงบันดาลใจพร้อมกับลงลายมือชื่อเป็นที่ ระลึกแก่นักอ่านที่มีความประสงค์จะเก็บผลงานของนายนิพนธ์เป็นที่ระลึก ผลงานการเขียนนวนิยายของนายนิพนธ์ เที่ยงธรรมทุกเล่มน ั้นล้วนใช้หลักการเขียน ทางด้านวารสารศาสตร์เป็นพื้นฐาน ตั้งแต่การรวบรวมขอมู้ล เนื้อหาทีมาจากประเด็ ่นทางสังคม ชีวิตประจำวันของผู้คน หลักธรรมคำสอนทางพุทธศาสนา โดยมีการคัดกรองข้อมูลต่างๆที่จะ ถ่ายทอด ทุกอย่างผู้เขียนจะวาดภาพในใจและผูกโยงตัวละครต่างๆได้อย่างเป็นระบบ ใช้หลัก การเล่าเรื่องผ่านตัวละครต่างๆ ที่มีทั้งปมขัดแย้ง การเล่าการดำเนนิเรืองได่อย่าง ้น่าติดตาม มี เหตุผลของการกระทำของแต่ละตัวละครซ่อนอย่เบื้องหูลังและคลค่ีลายเรืองราวต่างๆ ่ผ่านทั้งรปแบบู เฉลยตอนจบบาง หรือไม่ก็สะท ้ ้อนให้ผู้อ่านวิเคราะห์และเชื่อมโยงเรื่องไปตามที่ผู้เขียนจะช ี้นำ อันก่อให้เกิดคุณค่าที่เพิ่มขึ้นต่อสาธารณะ ซึ่งสอดคล้องกับหลักวารสารศาสตร์ดังแผนภาพ ดังน ี้
45 แม้ว่าสถานการณ์ในปัจจุบันที่ศาสตร์ทางด้านงานเขียน หรือวารสารศาสตร์จะมีการ เปลี่ยนแปลงไปสู่รูปแบบการนำเสนอช่องทางสื่อใหม่ (change platform from print media to multimedia within New Media platform) อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าการหลอมรวมสื่อ จะผ่านโซเชียลมีเดียหรือการสื่อสารออนไลน์ ทั้งในรูปแบบเว็บเพจ หรือสิ่งพิมพ์ออนไลน์ใดๆ ก็ตาม พื้นฐานการเขียน และงานเขียนยังคงเป็นหลักการพื้นฐานและองค์ประกอบทีส่ำคัญ ดังนน ั้ สิ่งที่นายนิพนธ์ เที่ยงธรรมได้พยายามสื่อสารถึงกลุ่มนักศึกษาวิชาเอกวารสารศาสตร์ สาขา วิชานิเทศศาสตร์อยู่เสมอคือ การพัฒนาทักษะการเขียนของตนเองให้สื่อสารถึงผู้รับสารอย่างมี ประสิทธิภาพ สามารถถ่ายทอดความหมาย อารมณ์ เรื่องราว และแนวคิดที่ต้องการสื่อสารได้ อย่างมีศาสตร์และศิลป์ ซงสิ่ึงเห่ล่านี้เป็นการรับประกันความมั่นใจว่าอาชีพนักเขียนจะไม่ตกงาน หรือหายไปจากวงการวารสารแนน่อน แม้นจะมีการพัฒนาช่องทางสือใหม่ๆ แค่ขอเพียงศึกษาสื่อ่ ใหม่ และพัฒนาทักษะใหสอดค้ ล้องกับการเปลย่ีนแปลงนน ั้ๆ ก็จักดำรงชีพดวยงา้นเขียนได สิ ้ ่งน ี้ จึงสะท้อนให้เห็นว่านายนิพนธ์ เที่ยงธรรมมีความลุ่มลึกในการคิด การเขียนที่มากพอ สามารถ ประยุกต์งานของตนให้เข้ากับสภาวะการเปลี่ยนแปลงทางสังคมสื่อที่รวดเร็วได้ และสามารถ เลี้ยงชีพด้วยอาชีพนักเขียน ลบล้างความเชอหรือค่า่ืนิยมทีไม่ถ่กตูองแ้ละปรามาสว่าเป็นนักเขียนจะ ไสแห้ งได้ อย่างส ้นิทท่ามกลางสภาวะเศรษฐกิจที่ธุรกิจสือสิ่งพิมพ์ก่ำลังสั่นคลอน อีกทั้ง ยังเป็นผู้ที่มีวิสัยทัศน์ในการมองคุณลักษณะสื่อใหม่ได้อย่างท้าทาย โดยมีแนวคิด
46 ว่าแม้น eBook จะแพร่หลายและสร้างแรงสะเทือนอันมากต่อวงการสื่อสิ่งพิมพ์ แต่อย่างไร ก็ตามนายนิพนธ์ เที่ยงธรรมได้ใช้หลักการกระตุ้นการอ่านนิยายฟรีผ่าน eBook ซึ่งไม่หวงห้าม ลิขสิทธิ์ โดยเป็นคนเผยแพร่นิยายในตอนแรกๆ เพื่อให้คนอ่านฟรีทางออนไลน์ ทั้งผ่านeBook ของสำนักพิมพ์ หรือแม้แต่การสร้างเพจในเฟซบุ๊คขึ้นมา ชื่อจุฬามณี เฟื่องนคร ชอนตะวัน บุ๊คส์ เมื่อถึงจุดที่ชวนติดตามเพื่อคลี่คลายก็หยุดเผยแพร่ และเป็นวิธีการยั่วยุให้คนอ่านต้องไปหาซื้อ เล่มนิยายเพื่อมาติดตามอ่านตอนต่อไปจนจบ นอกจากนี้ หากมีการแชร์ต่อๆกันก็ไม่หวงลิขสิทธิ์ เพราะถือว่าเป็นการขยายในวงกว้างมากขึ้น ซึ่งแนวคิดน ี้ นอกจากจะเป็นทางเลือกที่ทำให้อยู่ รอดในยุคการแข่งขันสื่อแล้ว ยังถือเป็นการสร้างคุณูปการต่อคนอ่านและวงการธุรกิจหนังสือ เล่มให้อยู่รอดได้อีกด้วย จากผลงานเกือบ ๒๐ ปีที่ผ่านมา ร่วม ๓๐ เล่มน ั้ นได้สะท้อนสภาพสังคม ชีวิตความ เป็นอยู่ และกฎแห่งกรรมของผู้คนในท้องถิ่นมากมาย ไดรับการยอมรับอย่างวงกว ้างจาก้นักอ่าน ทัวประเทศเกี่ยวกับสไต่ล์การเขียนนวนิยายลูกทุ่งชนบท เป็นนักเขียนที่คืนกำไรสู่สังคมด้วยการ บริจาคหนังสือนิยายที่เป็นผลงานของตนเองให้แก่ห้องสมุดสถาบันการศึกษาต่างๆ อยู่ตลอด ด้วยหวังว่าเป็นการสร้างโอกาสให้แก่คนที่ไม่มีโอกาสซื้อหาครอบครองเป็นส่วนตัวได้มีโอกาส เสพงานเขียน ลิ้มความสุขผ่านอรรถรสถ้อยคำจากนวนิยาย อันเป็นการสร้างพื้นฐานรักการอ่าน ให้แก่เด็กและเยาวชนได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ ยังเป็นวิทยากรบรรยายเกียวกับอา่ชีพนักเขียน เพือ่ สรางความร้ ใหู้ แก่เด็กแ ้ละเยาวชนในสถานพินิจเด็กและเยาวชนจังหวัดนครสวรรค์ใหมีแ้นวทางไป ประกอบอาชีพสุจริตต่อไปได หรือสามารถใ ้ ช้งานเขียนกล่อมเกลาจิตใจ ระบายความทุกข์ ความ รู้สึกผ่านตัวอักษรได้อย่างมีระบบคิด ในแง่การยอมรับอย่างกว้างขวางในวงวรรณกรรม นายนิพนธ์ เที่ยงธรรมได้ผลิตผล งานอันเป็นที่ประจักษ์ต่อสาธารณะว่าเขียนนิยายทุกปี และมีคุณภาพจนได้รับการติดต่อขอซื้อ ลิขสิทธิ์ไปผลิตเป็นละครโทรทัศน์อยู่เนืองๆ สร้างความสุขความบันเทิงให้แก่ผู้ชมทั่วประเทศ ให้ได้รับข้อคิดเตือนใจและสัจธรรมของชีวิตผ่านเรื่องราวต่างๆ ดั่งสำนวนที่ว่า “ดูละครแล้วให้ ย้อนดูตัว” ซึ่งหลายเรื่องก็สอนใจเกี่ยวกับคุณธรรมแก่คนในสังคมได้เป็นอย่างดี อาทิ ชิงชัง สุดแค้นแสนรัก รวมถึงนวนิยายเรื่อง “กรงกรรม” ที่เป็นที่ยอมรับจากคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ตัดสินให้ได้รับรางวัลชมเชย ประเภทหนังสือนวนิยายดีเด่น ประจำปี ๒๕๖๑ และ ผลิตเป็นละครโทรทัศน์ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง ๓๓ และกำลังได้รับความ นิยมจากผู้ชมเป็นจำนวนมากในปัจจุบัน ซง่ึนายนิพนธ์ เทียง่ธรรมไดเข้ ารับพระรา ้ชทานรางวัล จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เมือวั่นที ๒๙ มี่นาคม ๒๕๖๑ ที่ผ่านมา
47 ๕. การเผยแพร่ผลงานต่อสาธารณชนในประเทศและต่างประเทศ - มีการจัดแสดงผลงานในรปแบบูนิทรรศการ ประกอบการเสวนากับนักเขียนโดยสถาบัน อุดมศึกษา และโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาต่างๆในประเทศไทยที่เชิญไปบรรยาย - มีการออกร้านจัดจำหน่ายผลงานการประพันธ์ตามบูธสำนักพิมพ์ต่างๆ ในงานสัปดาห์ หนังสือแห่งชาติ หรืองานมหกรรมหนังสือระดับชาติ หรือเทศกาลหนังสือสำหรับเด็กและเยาวชน ซึ่งได้จัดแสดงและจัดจำหน่าย รวมถึงการพบปะแจกลายเซ็นนักเขียนเจ้าของบทประพันธ์ และ การเสวนากับนักเขียนบนเวทีภายในงาน เป็นระยะเวลาหลายครั้งในรอบ ๑๐ ปีที่ผ่านมา ๖. การถ่ายทอดและเผยแพร่ข้อมูลผลงานศิลปะ ผลงานด้านการเขียน ๑. เรื่องสั้น - มีผลงานได้รับการตีพิมพ์ทั้งนิตยสารหญิงไทย ขายหัวเราะ สยามรัฐ และขวัญ เรือน อาทิ “รอยแผลเป็น” นามปากกา ทาธัน เที่ยงธรรม ในนิตยสารขวัญเรือน ปกษ์แรก เดือ ัน สิงหาคม ๒๕๔๓ “วันช่นืคืนเชยทีเคย่ชิดใกล้” นามปากกา ปาราวต เดวี ีในนิตยสารหญิงไทย ปกษ์แรก ั เดือนพฤศจิกายน ๒๕๔๙ เป็นต้น ๒. นวนิยาย - มีผลงานรวมเล่มมาแล้วทั้งหมด ๒๘ เรื่องภายใต้นามปากกาจุฬามณี เฟื่องนคร ชอนตะวัน ๗. รางวัลและเกียรติคุณที่ได้รับ - ปีพ.ศ. ๒๕๖๑ นวนิยายเรือง “กรงกรรม” ได่รับรางวั ้ลชมเชย จากการประกวดหนังสือ ดีเด่นของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๑ ได้รับโล่รางวัล และเกียรติบัตรจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี เมื่อวันที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๖๑ - ปีพ.ศ.๒๕๖๒ ได้รับมอบโล่เชิดชูเกียรติรางวัลธนบุรีศรีนพมาศประจำปี ๒๕๖๒ จาก มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เมื่อวันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ซึ่งเป็นวันฉลองครบรอบมหาวิทยาลัย ราชภัฏธนบุรี ๗๑ ปี โดยมีดร.ผดุงชาติ สุวรรณวงศ์ อุปนายกสภามหาวิทยาลัย และรักษา ราชการแทนอธิการบดี ได้ให้เกียรติเป็นผู้มอบรางวัลแก่นายนิพนธ์ เที่ยงธรรม ที่ได้รับรางวัล สาขาวรรณศิลป์
48 - ปีพ.ศ. ๒๕๖๓ ได้รับมอบโล่ประกาศเกียรติคุณ“รางวัลแห่งความดี ศิลปินแห่งลุ่ม น้ำเจ้าพระยา”ครั้งที่ ๔ จากสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เมื่อ วันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๓ ณ เวทีวัฒนธรรม ต้นแม่นำ้เจาพระยา ใ ้นงานประเพณีแห่เจาพ่อเจ ้า้ แม่ปากนำ้โพ ประจำปี ๒๕๖๓ เพื่อเป็นการยกย่อง เชิดชู และประกาศเกียรติคุณให้แก่ ศิลปินผู้ สร้างสรรค์ผลงานด้านศิลปะและวัฒนธรรมให้ได้รับรางวัลแห่งความภาคภูมิใจนี้ โดยในครั้งนี้ มี ศิลปิน ๕ ท่าน ที่ได้รับรางวัลจาก ๔ สาขา ได้แก่ นายชชัวาล รอดคลองตัน สาขาทัศนศิลป์ นาย วุฒิชัย เขียนประเสริฐ สาขาวรรณศิลป์ นายนิพนธ์ เทียง่ธรรม สาขาวรรณศิลป์ นายวิษณุ ผดุงศิลป์ สาขาศิลปหัตถกรรมพื้นบา้น และนายปราโมทย์ ทองอ่อน สาขาผู้สร้างคุณูปการทางด้านศิลปะ และวัฒนธรรม โดยได้รับเกียรติจาก นายอรรถพร สิงหวิชัย ผู้ว่าราชการจังหวัดนครสวรรค์ เป็น ประธานในพิธี มีศาสตราจารย์ ดร.สมยศ พลับเที่ยง รักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัย ราชภัฏนครสวรรค์ และนายประสิทธิ์ พุ่มไม้ชัยพฤกษ์ วัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ ร่วมมอบช่อ ดอกไม้แสดงความยินดีแก่ศิลปิน - ปีพ.ศ. ๒๕๖๔ ได้รับรางวัลรัตนมณีศรีนเรศวร ด้านวรรณศิลป์ ดนตรีและศิลปะการ แสดงโครงการยกย่องเชิดชูเกียรติผู้มีผลงานดีเด่นด้านศิลปะและวัฒนธรรม ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๔ จากกองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยนเรศวร ๘. การทำ คุณประโยชน์เพื่อสังคม ผลงานด้านการบรรยายทางวิชาการ - วิทยากรกิจกรรมงานสัปดาห์ห้องสมุด วันความรู้คู่หนังสือ “วันภาษาไทยแห่งชาติ” จัดโดย ห้องสมุดโรงเรียนสตรีนครสวรรค์ (เมื่อวันที่ ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๓) - วิทยากรโครงการสัมมนาวารสารศาสตร์ บรรยายเรื่อง “เสวนาภาษาวารสาร” จัด โดย สาขาวิชานิเทศศาสตร์ แขนงวิชาวารสารศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต (เมื่อวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๕๓) - วิทยากรกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ช่วง “เสวนากับนักเขียน” งานบุ๊คส์ แอนด์ ไอที แฟร์ 2011 จัดโดยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ (เมื่อวันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๕๔) - วิทยากรบรรยายโครงการเพิ่มศักยภาพนักศึกษา กิจกรรมสัมมนาวารสารศาสตร์ เรื่อง “เขียนดินให้เป็นดาว” จัดโดยสาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครสวรรค์ (เมื่อวันที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๘) - วิทยากรกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน ช่วง “เสวนากับนักเขียน” งานทับแก้วบุ๊คส์แฟร์ ครั้ง ที่ ๑๐” จัดโดย สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร จ.นครปฐม (เมื่อวันที่ ๑๖ กุมภาพันธ์
49 ๒๕๕๙) - วิทยากรบรรยายโครงการแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการเป็นนักเขียน จัดโดย สาขา วิชาศึกษาทั่วไป คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล (เมือวั่นที ๓๐ มี่นาคม ๒๕๕๙) - วิทยากรบรรยายโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “รังสรรค์เรื่องสั้นกับคนปั้น ความ” จัดโดยสาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทา (เมื่อวันที่ ๒๔ มีนาคม และ ๒๐ เมษายน ๒๕๕๙) - วิทยากรบรรยายโครงการอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนสำหรับครู “ร้อยลิขิต วรรณศิลป์” จัดโดย สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ (เมื่อวันที่ ๓,๓๐ เมษายน และ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๙) - วิทยากรกิจกรรม “เตรียมความพร้อมเด็ก เยาวชนและครอบครัว” บรรยายเรื่อง “อาชีพนักเขียน” จัดโดยสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดนครสวรรค์ (เมื่อวัน ที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๖๐) - วิทยากรบรรยายโครงการอบรมเพือพัฒ่นาทักษะการเขียนสำหรับคร เรืูอง “ทักษะ่ ชีวิตและวิชาชีพดา้นการเขียน” จัดโดย สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครสวรรค์ (เมือวั่นที ๒๕ กั่นยายน ๒๕๖๐) ผลงานด้านการทำ นุบำรุงพระพุทธศาสนา เป็นกรรมการในการสร้างพระอุโบสถ พระพุทธรูป สิ่งปลูกสร้างต่างๆ ในบริเวณ มณฑลศาสนสถานตามที่ทางวัดจะบูรณะปฏิสังขรณ์ อาทิ วัดหนองไผ่ อำเภอหนองบัว จังหวัด นครสวรรค์ วัดเทพนิมิตโฆสิตาราม อำเภอเมืองฯ จังหวัดนครสวรรค์ เป็นต้น โดยเป็นสะพาน บุญในการสื่อสารถึงพุทธศาสนิกชนที่มีจิตศรัทธาผ่านทางเพจเฟซบุ๊ก รวบรวมพุทธประวัติ หรือ เกร็ดความรู้ ความเป็นมาของสิ่งปลูกสร้างต่างๆ ที่จะให้พุทธศาสนิกชนได้พิจารณาถึงอานิสงส์ และร่วมกันสืบทอด บวรพระพุทธศาสนา นอกจากนี้ ยังออกแบบการสร้างถาวรวัตถุ ที่มีการ สืบค้นจากแหล่งศาสนสถานต่างๆ เพื่อให้เข้ากับบริบทของวัดที่จะมีการทำนุบำรุงให้เหมาะสม ที่สุด มีการผลิตวัตถุมงคลที่จะแจกจ่ายให้แก่พุทธศาสนิกชนที่ร่วมกันทำบุญอยู่เนืองๆ รวมไป ถึงทุกวันสรวณะ จะไปสวดมนต์ ทำบุญ ถวายภัตตาหารแพลเป็นประจำ