➢ วัดเกยไชยเหนือ เดิมเรียกว่าวัดท่าบรมธาตุ ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 บ้านปากคลอง ซึ่งเป็นบริเวณจุดจบของแม่นํ้ายม และน่าน แล้วไหลไปบรรจบกับแม่นํ้าปิงที่อำ เภอเมืองนครสวรรค์ เป็นวัดเก่าแก่สันนิษฐานว่าสร้างขึ้น ในสมัยสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 8 หรือพระเจ้าเสือ แห่งกรุงศรีอยุธยา โดยมีเรื่องเล่าว่าเรือพระที่นั่ง เกยตื้น ณ หาดทรายบริเวณที่ตั้งวัดเกยไชยเหนือในปัจจุบัน พระเจ้าแผ่นดินทอดพระเนตรเห็นชัยภูมิ ภาพที่ 4.11 ศาสนสถานภายในวัดเกยไชยเหนือ พระบรมธาตุ เข้าใจว่าทรงโปรดให้สร้างวัดด้วยในคราวเดียวกัน ณ บริเวณดังกล่าว โดยใช้วัสดุสิ่งของการสร้างวัดโพธิ์ประทับช้าง จังหวัดพิจิตร จึงเรียกว่า วัดพระบรมธาตุ หมู่บ้านแถบนั้นจึง ได้นามว่าบ้านเกยไชยตามเหตุการณ์เรือพระที่นั่งเกยตื้น พื้นที่บริเวณวัดเกยไชยเหนือโดยรอบแต่ก่อนเส้นทาง ค้าขายด้วยเป็นจุดผ่านสบกันระหว่างแม่นํ้ายม และแม่นํ้าน่าน จึงพบวัตถุอันเป็นหลักฐานทางโบราณคดีตั้งแต่ยุคก่อน ประวัติศาสตร์ ทางวัดจึงมีนโยบายจัดตั้งเป็นพิพิธภัณฑ์วัดเกยไชย เหนือขึ้นโดยรวบรวมวัตถุที่มีอยู่ในวัด พอชาวบ้านได้ทราบข่าว ก็นำ วัตถุมาบริจาคด้วย ต่อมาได้มีการพัฒนาวัดเกยไชยเหนือให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดนครสวรรค์ สำ นักงาน การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยจึงสนับสนุนการสร้างอาคารพิพิธภัณฑ์โดยให้ชื่อว่า “พิพิธภัณฑ์ต้นนํ้า” เป็นอาคารทรง ไทยมุงหลังคาด้วยกระเบื้องดินเผาเคลือบ ตกแต่งเสา ด้วยไม้ตาลทั้งหลัง ซึ่งรวบรวม และเก็บรักษาของโบราณพื้นบ้าน โดยเฉพาะเครื่องถ้วยชามที่พบบริเวณท่านํ้าของวัด ที่แสดงถึงความรุ่งเรืองของการค้าขายทางเรือในอดีต แปลกตาเนื่องจากการสบกันของแม่นํ้าสองสาย จึงตรัสขอที่ดินจากตายายผู้ทำ มาหากินบริเวณนั้น สร้างพระเจดีย์ นครสวรรค์ศึกษา ตอนที่ 4 89 ➢ วัดป่าสิริวัฒนวิสุทธิ์ ตั้งอยู่ที่ หมู่ 2 บนเขาโคกเผ่น ตำ บลทำ นบ เป็นวัด ในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวง นราธิวาสราชนครินทร์ พื้นที่วัดสร้างเป็นรูปเรือหลวงบนยอด เขาเรือมีนามว่า “ราชญาณ นาวา ฑีฆายุ มงคล” หมายถึง พาหนะที่จะช่วยให้พ้นห้วงกิเลส วัดป่าสิริวัฒนวิสุทธิ์เริ่ม ก่อสร้างเมื่อ พ.ศ. 2527 โดยเป็นที่พักสงฆ์ ครั้นต่อมาทาง ราชพัสดุอนุญาตให้ใช้พื้นที่สร้างวัด และตั้งวัดตลอดจนได้รับ พระราชทานวิสุงคามสีมาโดยลำดับ โดยถูกต้องทุกประการ ใน พ.ศ. 2548 และเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2550 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวง นราธิวาสราชนครินทร์ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับวัดป่า สิริวัฒนวิสุทธิ์เป็นวัดในพระองค์ และทรงรับเป็นองค์ประสาน งานก่อสร้างเจดีย์ศรีพุทธคยา เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ในโอกาสที่ ทรงเจริญพระชนมพรรษา 80 พรรษา โดยตัวเจดีย์ได้ประยุกต์ ให้ภายในองค์เจดีย์จัดเป็นห้องสำ คัญทางประวัติศาสตร์ มี 3 ชั้น คือ ชั้นล่างเรียกว่า “วังนาคราช” ใช้เป็นที่ปฏิบัติ ธรรมของพุทธศาสนิกชน ชั้นที่สอง แบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกเป็น “ห้องมหาราช” ประดิษฐานพระบรมรูป หล่อมหาราช 8 พระองค์ ส่วนที่สองเป็นห้องสำ คัญทาง ภาพที่ 4.12 เจดีย์ศรีพุทธคยา ประวัติศาสตร์ และชั้นบนสุดมีเจดีย์ สูง 12 เมตร เป็นที่ประดิษฐาน พระบรมสารีริกธาตุ พระพุทธ กาญจนาภิเษก และพระพุทธรูป ต่าง ๆ
90 นครสวรรค์ศึกษา ตอนที่ 4 ➢ รอยพระพุทธบาท ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 9 ตำ บลสำ โรงชัย อำ เภอไพศาลี มีลักษณะเป็นแผ่นหินชนวนสีเขียวแกะสลัก สันนิษฐานว่าสร้างใน สมัยพระยาลิไท แห่งกรุงสุโขทัย จากเอกสารที่มีผู้บันทึกไว้ทำ ให้ทราบว่า รอยพระพุทธบาทนี้ได้อัญเชิญมาจากกรุงศรีอยุธยา ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พร้อมกับผู้คนที่เกณฑ์มาสร้างเมืองเวสาลี โดยได้นำ ไปประดิษฐานไว้บนยอดเขา แล้วสร้างวิหารครอบภูเขาลูกนี้ คือที่ตั้งของวัดพระพุทธบาท ตำ บลสำ โรงชัย ในปัจจุบัน พระครูนิมุตพัฒนาทร เจ้าอาวาส องค์ปัจจุบันได้ค้นพบรอยพระพุทธบาทบริเวณวัดอีกรอยหนึ่ง มีลักษณะเป็นรอยพระพุทธบาทประทับอยู่บนแผ่นหิน สร้างมณฑปครอบไว้ และบรรจุพระบรมสารีริกธาตุไว้ที่ส่วนยอด และมณฑปหลังนี้ยังได้รับรางวัล สถาปัตยกรรมดีเด่นเมื่อ พ.ศ. 2537 จากสมาคมสถาปนิกสยาม และบริเวณทางเดินขึ้นไปนมัสการ พระธาตุ สันนิษฐานว่าเป็นฐานเจดีย์เก่า มีลักษณะเป็นแผ่นหินชนวนสีเขียวแกะสลัก สันนิษฐานว่า สร้างในสมัยพระยาลิไท แห่งกรุงสุโขทัย จากเอกสารที่มีผู้บันทึกไว้ทำ ให้ทราบว่า รอยพระพุทธบาทนี้ได้ อัญเชิญมาจากกรุงศรีอยุธยา ➢ วัดหนองกลับ สร้างเมื่อ พ.ศ. 2363 ตรงกับรัชสมัย ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 ไม่ปรากฏนามผู้สร้าง จากคำ บอกเล่า กล่าวไว้ว่า บริเวณที่สร้างวัดหนองกลับในสมัย สงครามเวียงจันทน์เป็นที่ตั้งค่ายของชาวหนองบัว - หนองกลับ เพื่อป้องกันทัพเวียงจันทน์ที่ผ่านมา ด้วยหมู่บ้านที่ตั้งมานานจึงมีวัดเก่าชื่อวัดหนอง ม่วงที่ตั้งอยู่ตำ บลหนองกลับ และวัดสระมะนาว ตั้งอยู่ตำ บลหนองบัว เมื่อชาวบ้านตั้งค่าย ณ วัดหนองกลับ จึงต้องย้ายวัดทั้งสองตามไปด้วย จึงมีวัด 2 วัดอยู่ติดกัน สมัยนั้นเรียกว่าวัดนอก กับวัดใน ต่อมาพระภิกษุวัดในเกิดเป็นโรคห่า มีพระภิกษุมรณภาพ พระภิกษุที่เหลือจึงย้ายไปอยู่วัดนอก (วัดหนองกลับปัจจุบัน) ตั้งแต่นั้นมาวัดทั้งสองจึงรวมกัน และ ได้ชื่อว่า วัดปทุมคงคา ต่อมาได้เปลี่ยนเป็นวัดหงส์เนื่องจากมีเสาหงส์ตั้งอยู่หน้าวัด เดิมวัดนี้อยู่ในจังหวัดพิจิตร ครั้นเจ้าเมือง พิจิตรมาตรวจราชการจึงเปลี่ยนชื่อวัดให้เหมือนกับชื่อหมู่บ้านว่า “วัดหนองกลับ” และเหตุที่ว่าวัดอยู่ติดกับหมู่บ้าน หนองบัว ปัจจุบันชาวบ้านจึงนิยมเรียกชื่อวัดอีกชื่อหนึ่งว่า “วัดหนองบัว” แต่ตั้งอยู่ในเขตตำ บลหนองกลับ เมื่อคราวทาง ราชการตั้งกิ่งอำ เภอหนองบัว จึงโอนตำ บลหนองกลับจากอำ เภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตรมาขึ้นกับจังหวัดนครสวรรค์ ภาพที่ 4.13 ศาสนสถานภายในวัดหนองกลับ ภายในบริเวณวัดมีวิหารหลวงพ่อเดิม เป็นที่ประดิษฐานรูปหล่อ “หลวงพ่อเดิม” ขนาดเท่าองค์จริง ซึ่งเป็นที่เคารพบูชาของคนอำ เภอหนองบัว และคนในวงกว้าง จนถูกยกย่องว่าเป็น “เทพเจ้าแห่งเมือง สี่แคว” และยังมีพิพิธภัณฑ์วัดหนองกลับที่เก็บรวบรวมของเก่าแก่ไว้มากมาย อาทิ พระพุทธรูปสมัย ต่าง ๆ เครื่องลายคราม สมุดข่อยโบราณ และของใช้ในครัวเรือนโบราณ โดยจัดไว้เป็นหมวดหมู่
นครสวรรค์ศึกษา ตอนที่ 4 91 ➢ วัดช่ องแค ภาพที่ 4.14 รูปหล่อหลวงพ่อพรหม ถาวโร ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 1 ตำ�บลช่องแค เดิมเป็น วัดที่มีอยู่ในราว พ.ศ. 2458 แต่เป็นวัดกึ่งร้าง เนื่องจากมีพระสงฆ์จำ�พรรษาเพียง 2 รูป เมื่อคราวหลวงพ่อพรหม ถาวโร พระเกจิจังหวัด พระนครศรีอยุธยาได้แวะธุดงค์ที่บ้านช่องแค ชาวบ้านจึงนิมนต์หลวง พ่อพรหมมาเป็นเจ้าอาวาสองค์แรกด้วยเลื่อมใสศรัทธาในวัตรปฏิบัติ ของท่าน โดยชาวบ้านได้ร่วมกันบริจาคที่ดินเพิ่ม เมื่อหลวงพ่อพรหม ตกลงรับเป็นเจ้าอาวาส ได้เริ่มสร้างกุฏิ ศาลาการเปรียญ โรงครัว ส่วน หนึ่งของทรัพย์สินมาจากการขายสมบัติส่วนตัวของหลวงพ่อพรหมเอง ต่อมาเมื่อทางวัดจะสร้างโบสถ์ จำ เป็นต้องใช้เงินทุนสูง คณะกรรมการ จึงขออนุญาตหลวงพ่อพรหมสร้างวัตถุมงคลขึ้น คือ รุ่น “หลวงพ่อพรหม ชอบระฆัง” ซึ่งตอนนี้ก็ยังเป็นที่ต้องการของตลาดพระเครื่องอย่างมาก ปัจจุบันศิษยานุศิษย์ได้นำ ร่างซึ่งละสังขารแต่ไม่เน่าเปื่อยของ หลวงพ่อ พรหม ถาวโร ให้ผู้มีจิตศรัทธาได้กราบไหว้บูชาอยู่ที่วัดช่องแค บริเวณ ภายในวัดยังมีลิงจำ นวนมากอาศัยอยู่ด้วย ภาพที่ 4.15 พระพุทธรูปภายในถ้ำ� ➢ ถ้ำ บ่ อยา วัดเทพนิมิตทรงธรรม หรือคนทั่วไปรู้จักกัน ในชื่อ “ถํ้าบ่อยา” ตั้งอยู่ที่บ้านหินก้อน ตำ บลหนองกรด ห่างจากตัวเมือง ประมาณ 30 กิโลเมตร ในอดีตเป็น ที่อยู่อาศัยของบรรดาสัตว์หลายชนิดทั้งสัตว์ปีก สัตว์หา กินตอนกลางคืน และสัตว์เลื้อยคลานหลากหลายชนิด โดยเฉพาะงูนั้นมีอยู่นับไม่ถ้วน และเล่ากันว่าเมื่อก่อน หมู่บ้านหินก้อนได้มีโรคห่าลง ทำ ให้ชาวบ้านล้มตาย กันมาก จนกระทั่งมีคนแก่มาบอกว่า “ให้นำนํ้าที่อยู่ ในถํ้านี้มากินเสีย” ผู้ที่ได้นำ นํ้ามากินก็หายจากโรคห่า ชาวบ้านจึงเรียกสถานที่แห่งนี้ว่า “ถํ้าบ่อยา” ต่อมา ใน พ.ศ. 2508 หลวงพ่อจ้อยได้นำ สามเณรมานั่งสมาธิ ที่ถํ้านี้จนบรรลุธรรม ทำ ให้มีคนรู้จักถํ้าบ่อยามากขึ้น พร้อมกับมีผู้มีจิตศรัทธาได้บริจาคเงินเพื่อบูรณะเรื่อยมา กลายสถานที่ท่องเที่ยว และสถานที่ ปฏิบัติธรรม โดยตำ นานยังเล่าว่า คนที่มาไหว้พระ หรือมาปฏิบัติ ธรรมนั้นจะพบกับงูใหญ่มีหงอน 2 ตนที่เป็นผู้ดูแลถํ้านี้
92 นครสวรรค์ศึกษา ตอนที่ 4 ➢ วัดถ้ำ พรสวรรค์ ➢ พุทธศาสนสถานหลวงพ่ อดำ หลวงพ่อดำ�ประดิษฐานอยู่ที่วัดสระทะเล ตำ�บล โคกเดื่อ อำ�เภอไพสาลี พระพุทธศาสนสถานหลวงพ่อดำ�นี้ สร้างในสมัยใดไม่ปรากฏแน่ชัด กรมศิลปากรสันนิษฐานว่า สร้างในสมัยกรุงสุโขทัย มีอายุประมาณ 700 ปีเศษ เดิมไม่ ทราบชื่อวัด ตอนที่พบวัดชาวบ้านเห็นพระพุทธรูปองค์ใหญ่ นั่งดำ�ทะมึนกลางป่ารกชัฏอยู่สามองค์ แต่ปัจจุบันเหลือเพียง องค์เดียวจึงเรียกขานตามกันว่า “หลวงพ่อดำ� วัดสระทะเล” ตลอดมาจวบจนทุกวันนี้ ไม่มีใครทราบว่าสมภารผู้ครองวัดนี้ ในยุคต้น และยุคกลาง คือ ผู้ใด แต่พระครูนิมิตพุทธิสาร ภาพที่ 4.16 พุทธศาสนสถานหลวงพ่อดำ� ◆ ต้ นแม่ น้ำ เจ้ าพระยา แหล่งท่องเที่ยวชมความงดงามของแม่นํ้า 2 สาย ที่ได้ไหลมาบรรจบกัน จังหวัดนครสวรรค์จึงได้ชื่อว่าเป็น เมืองต้นแม่นํ้าเจ้าพระยาด้วยแม่นํ้าปิง และแม่นํ้าน่านได้ไหลมาบรรจบกันที่ตำ บลปากนํ้าโพบริเวณหน้าเขื่อน ในตัวเมือง (ตรงตลาด) จึงสามารถมองเห็นถึงความแตกต่างของแม่นํ้าทั้งสองสายได้อย่างชัดเจน คือ ตัวแม่นํ้าน่านมีสีค่อนข้างแดง แต่แม่นํ้าปิงมีสีค่อนข้างเขียว แม่นํ้าทั้งสองพอมาบรรจบกันก็กลายเป็นแม่นํ้าสายใหญ่สายสำคัญของประเทศไทยไหลผ่าน จังหวัดต่าง ๆ ในภาคกลางไปจนถึงกรุงเทพฯ และออกอ่าวไทยที่จังหวัดสมุทรปราการ โดยจุดชมต้นแม่นํ้าเจ้าพระยาอยู่ที่ บริเวณหน้าศาลเจ้าพ่อเทพารักษ์ - เจ้าแม่ทับทิม สำ หรับผู้ที่สนใจต้องการล่องเรือชมทัศนียภาพสองฝั่งแม่นํ้าเจ้าพระยา สามารถหาเช่าเรือนำชมได้ตรงบริเวณท่านํ้า 2. ท่องเทียวเชิงธรรมชาติ่ ตั้งอยู่ตำ บลลำ พยนต์ ถนนลาดยาง ห่างจากตัวจังหวัด 105 กิโลเมตร ห่างจากที่ว่าการอำ เภอ 10 กิโลเมตร การเดินทาง สามารถมาตามทางหลวงหมายเลข 1 สายตากฟ้า - โคกสำ โรง กิโลเมตรที่ 224 วัดอยู่ทางซ้ายมือ เดิมทีเคยมี สภาพรกร้างเต็มไปด้วยป่าไม้ และสัตว์ป่า ใน พ.ศ. 2507 พระครูนิมิตสิทธิการ (หลวงพ่อเป้า เขมกาโม) ได้มาจำ พรรษา บริเวณถํ้าเขาตะบองนาค มีพุทธศาสนิกชนเลื่อมใสศรัทธาช่วยกันปรับปรุงภายในถํ้า และนอกถํ้า บริจาคจตุปัจจัยให้ ต่อมาหลวงพ่อเป้าได้นำ มาใช้ในการพัฒนาถํ้า และสร้างถาวรวัตถุ แรกเริ่มได้สร้างบ่อนํ้า สร้างบันไดทางเข้าถํ้า สร้างกุฏิ โบสถ์ ศาลา ใน พ.ศ. 2537 พระสมพงษ์ ทองแฉล้ม (พระครูใบฎีกา สมพงษ์ กิตติสจโจ เจ้าอาวาสวัด ถํ้าพรสวรรค์ปัจจุบัน) ได้ปรับปรุงสภาพวัดโดยเทพื้นปูหินอ่อนเพื่อพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ จัดสร้างพิพิธภัณฑ์สัตว์นํ้าจืด นํ้าทะเล และจัดประเพณีลอยกระทงในถํ้าโดยใช้วัสดุธรรมชาติ ใช้ดอกไม้สดในวันเข้าพรรษา และจัดกิจกรรมปลูกป่าอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเป็นประจำ ทุกปี (หลวงพ่อโอน) เจ้าคณะอำ เภอไพศาลี กล่าวว่า มีผู้บอกต่อกันมาว่ายุคท้าย ก่อนจะมาเป็นวัดร้างนั้นมีสมภารองค์หนึ่ง ชื่อ “หลวงตาเจ๊าะ” ผิวดำ ร่างสูงใหญ่ รูปร่างคล้ายคนโบราณทั่วไป และชำ นาญในวิชาอาคม
นครสวรรค์ศึกษา ตอนที่ 4 93 ภาพที่ 4.17 ต้นแม่น้ำ�เจ้าพระยา ภาพที่ 4.18 อุทยานสวรรค์ ◆ อุทยานสวรรค์ โดยเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “หนองสมบุญ” เป็นสวนสาธารณะกลางเมืองนครสวรรค์ที่มีผู้คน นิยมไปกันมาก โดยภายในอุทยานมีพื้นที่มากกว่า 314 ไร่ ประกอบด้วยหนองนํ้าขนาดใหญ่ที่ ชาวบ้านเรียกว่า “หนองสมบูรณ์” มีเกาะกลาง สนามหญ้า นํ้าพุ และสถานที่สำ หรับออกกำ ลัง กายต่าง ๆ ทั้งสนามเด็กเล่น สนามกีฬา เวทีกลางแจ้ง นํ้าตก สวนหย่อม รวมถึงกิจกรรมให้อาหาร ปลาที่มีมากมายหลายสายพันธุ์ พร้อมทั้งมีบริการห้องนํ้า ห้องแต่งตัวให้กับประชาชน และนักท่องเที่ยวอุทยานแห่งนี้ยังได้ รับรางวัลสวนสาธารณะระดับดีมากจากกรมอนามัยอีกด้วย การเดินทางจากกรุงเทพฯ ขับรถมุ่งหน้าสู่จังหวัดนครสวรรค์ ผ่านค่ายจิรประวัติ (มณฑลทหารบกที่ 31) ถึงสะพานเดชาติวงศ์ จะเจอสี่แยกหอนาฬิกา ตรงนี้จะมีป้อมตำ รวจจราจร ชอนตะวัน ขับตรงไปอีกประมาณ 500 เมตร จะถึงอุทยานสวรรค์ที่อยู่ทางด้านขวามือ
94 นครสวรรค์ศึกษา ตอนที่ 4 ◆ บึงบอระเพ็ด แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่สำ คัญ และงดงามในจังหวัดนครสวรรค์ โดยบึงนํ้าจืด ขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย มีพื้นที่รวม 132,737 ไร่ ครอบคลุมพื้นที่ 3 อำ เภอ ได้แก่ อำ เภอเมืองนครสวรรค์ อำ เภอท่าตะโก และ อำ เภอชุมแสง บึงบอระเพ็ดในอดีตเป็นที่ราบลุ่ม แวดล้อมไปด้วยป่าไม้เบญจพรรณอันสมบูรณ์ มีคลองเล็ก ๆ ไหลผ่าน และประกอบไปด้วย หนองนํ้าหลายแห่ง เมื่อถึงฤดูฝนจะมีนํ้าจาก ทางเหนือไหลหลากทำ ให้บริเวณบึงบอระเพ็ด มีนํ้าท่วมเป็นบริเวณกว้างจนกลายเป็นทะเลสาบ น้าจืดขนาดใหญ่ อุดมไปด้วยสัตว์น ํ ้านานาชนิด โดยเฉพาะจระเข้แล้วเป็นที่เลื่องลือกันว่าบึงบอระเพ็ดมีจระเข้ชุกชุม จนผู้คน ํ ที่นั่งรถไฟผ่านสามารถมองเห็นจระเข้ลอยอยู่ในบึง ส่วนหนึ่งก็ขึ้นมานอนผึ่งแดดตามชายบึง หรือบนเกาะ และด้วยความ อุดมสมบูรณ์นี้จึงได้ชื่อว่าเป็น “ทะเลเหนือ” หรือ “จอมบึง” ต่อมาใน พ.ศ. 2466 ดร.ฮิวจ์ เอ็ม สมิท ที่ปรึกษาด้านการประมง กระทรวงเกษตราธิการในขณะนั้น ออกสำ รวจ บึงบอระเพ็ดและได้รายงานผลการสำ รวจว่าบึงบอระเพ็ดเป็นแหล่งนํ้าขนาดใหญ่ มีความสำ คัญมากด้านการประมง เพราะเป็นแหล่งพันธุ์ปลาที่ปลาได้อาศัยเลี้ยงตัว วางไข่ และแพร่พันธุ์ เห็นควรให้มีการบำ รุงรักษาให้เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย ของปลาต่อไปในอนาคต กระทรวงเกษตราธิการจึงนำความขึ้นกราบบังคมทูลขอพระบรมราชานุญาตสงวนบึงบอระเพ็ดไว้ เป็นที่สงวนพันธุ์สัตว์นํ้า โดยการสร้างคันกั้นนํ้า และประตูระบายนํ้าเพื่อเก็บกักนํ้าที่ระดับ 23.80 ร.ท.ก. ตลอดปี โดยได้รับ พระบรมราชานุญาตให้ดำ เนินการเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2469 และใน พ.ศ. 2490 กระทรวงเกษตราธิการได้แบ่งเขต รักษาพืชพันธุ์ออกเป็น 2 เขต คือ เขตที่ 1 เป็นเขตหวงห้าม มิให้ผู้ใดทำการประมงโดยเด็ดขาด มีเนื้อที่ 38,850 ไร่ เขตที่ 2 เป็นเขตหวงห้ามที่อนุญาตให้ราษฎรทำการประมง โดยใช้เครื่องมือบางชนิดที่กำ หนดให้ใช้ได้ มีเนื้อที่ 93,887 ไร่ 56 ตารางวา ปัจจุบันบึงบอระเพ็ดยังมีสัตว์อาศัยอยู่ 148 ชนิด พืช 44 ชนิด จากการสำ รวจเคยพบสัตว์หายากที่นี่ เช่น นกเจ้าฟ้าหญิง สิรินธร ปลาเสือตอ ทั้งภายในบริเวณบึงบอระเพ็ดยังมีสถานที่คอยบริการประชาชน และนักท่องเที่ยว ได้แก่ ภาพที่ 4.19 ล่องเรือดูนกนานาชนิด ชมทัศนียภาพในบึงบอระเพ็ด ภาพที่ 4.20 อาคารแสดงพันธุ์สัตว์น้ำ�บึงบอระเพ็ดเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 อาคารแสดงพันธุ์สัตว์นํ้าบึง บอระเพ็ดเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 เป็นอาคารทรงเรือ กระแชงแห่งเดียวในประเทศไทย ตัวอาคารกว้าง 37 เมตร ยาว 49 เมตร มีอุโมงค์ปลายาว 24 เมตร แสดงพันธุ์ ปลานํ้าจืดกว่า 100 ชนิด และพันธุ์ ปลานํ้าเค็ม พร้อมทั้งมีส่วนของบ่อปลา Touch Pool ให้สัมผัสใกล้ชิดกับปลา ฉลามกบ เม่นทะเล โดยเปิดทุกวัน ตั้งแต่เวลา 10.00 - 18.00 น. สามารถชมการดำ นํ้าให้อาหารปลาทุกวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 15.00 น. และวันเสาร์ - อาทิตย์ เวลา 11.00 น. และ 15.00 น. มีอัตราค่าเข้าชม ผู้ใหญ่ 49 บาท เด็ก 19 บาท นักเรียน ในเครื่องแบบ 10 บาท พระภิกษุเป็นหมู่คณะตั้งแต่ 30 คนขึ้นไปลดราคา 20%
นครสวรรค์ศึกษา ตอนที่ 4 95 ◆ เขาหน่ อ - เขาแก้ ว ตั้งอยู่ที่ตำ�บลบ้านแดน ริมทางหลวงหมายเลข 1 ถนนพหลโยธิน สายนครสวรรค์ - กำ�แพงเพชร อยู่ห่างจากตัวเมือง จังหวัดนครสวรรค์ 45 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากที่ว่าการอำ�เภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ ประมาณ 18 กิโลเมตร โดยเขาหน่อแห่งนี้ เป็นเขาหินปูน มีวัดเขาหน่อตั้งอยู่เชิงเขา และเคยเป็นที่ประทับแรมของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เมื่อคราวเสด็จประพาสทางชลมารคสายแม่นํ้าปิง พระองค์ยังพระราชทานสิ่งของเครื่องสังเค็ด เช่น ปิ่นโต ตะเกียง ชุดกาต้มนํ้าร้อน และหีบไม้ให้กับหลวงพ่อแหยม วัดบ้านแดน นอกจากนี้ยังมีไม้รูปอาร์มจารึกข้อความ “ยุทธการ 5” ตรงกลางมีรูปจักรทองเหลืองที่พระองค์ทรงพระราชทานไว้ให้ เมื่อคราวประทับแรมพระองค์ทรงสรงนํ้า ที่สระนํ้าบริเวณสถานที่นั้น ปัจจุบันเรียกว่า “สระเสด็จ” ส่วนของเขาหน่อแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วนด้วยกัน ได้แก่ อาคารจัดแสดง และเพาะพันธุ์จระเข้ เป็นอาคารเพาะพันธุ์จระเข้และมีการแสดงจระเข้กับหมอจระเข้ชื่อดังแห่ง บึงบอระเพ็ดที่มีประสบการณ์นานกว่า 20 ปี โดยจัดแสดงทุกวันแบ่งเป็น 6 รอบการแสดง ได้แก่ 10.30 น. 11.30 น. 12.30 น. 13.30 น. 14.30 น. และ 15.30 น. อัตราค่าเข้าชม ผู้ใหญ่ 30 บาท เด็ก 20 บาท ละครลิงคุณประกิตโชว์ จัดแสดงบริเวณวงเวียนกลาง โดยพบกับการแสดงที่แสนน่ารักแสนรู้ของเจ้าลิงน้อย ทั้งการ แสดงละคร การร้องเพลง การเต้นฮิปฮอบ การแสดงฟันดาบ เก็บมะพร้าว ลิงบวกเลข ลิงลอดบ่วงไฟ และอื่น ๆ จัดการแสดง เป็นรอบ ดังนี้ วันจันทร์ - ศุกร์ 4 รอบ 10.30 น. 13.30 น. 14.30น. และ 16.30 น. ส่วนวันเสาร์ - อาทิตย์ และวันหยุด นักขัตฤกษ์ เปิด 8 รอบ ได้แก่ 09.00 น. 09.30 น. 10.30 น. 13.00 น. 14.30 น. 16.30 น. 17.00 น. และ 17.30 น.อัตรา ค่าเช่าชม ผู้ใหญ่ 20 บาท เด็ก 10 บาท กิจกรรมล่องเรือชมนก ทะเลบัวบึงบอระเพ็ด โดยสามารถเพลิดเพลินกับบรรยากาศรอบบึงบอระเพ็ดกับธรรมชาติ และระบบนิเวศน์อันอุดมสมบูรณ์ ทะเลบัวนับพันไร่ นกนับแสนตัวที่ขึ้นชื่อว่าเป็นแหล่งชมนก 1 ใน 9 ของโลก ทั้งนก ท้องถิ่น และนกอพยพหลายสายพันธุ์ที่นักส่องนกไม่ควรพลาด หรือยามเย็นที่มีทัศนียภาพพระอาทิตย์ซึ่งสวยงามไม่แพ้ที่ใด อัตราเช่าเรือหางยาวลำ เล็กนั่งได้ 5 คน ราคา 400 บาท เรือลำ ใหญ่นั่งได้ 10 คน ราคา 500 บาท เรือจะล่องไปถึงเกาะลัด และกลับ ใช้เวลา 1 ชั่วโมง โดยนำอาหารไปรับประทานบนเรือได้ เรือบริการตั้งแต่เวลา 09.00 - 17.00 น. ถ้าล่องในช่วง 09.00 น. จะพบนกได้ง่ายกว่า กรงกวางรูซ่า ซึ่งเปิดบริการให้ประชาชน และนักท่องเที่ยวสามารถป้อนอาหารกวางรูซ่ารวมทั้งสัตว์ต่าง ๆ ภายใน กรงกวางได้ทุกวัน ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวบึงบอระเพ็ด (ตึกเขียว) เป็นที่ทำการของเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนจังหวัด พร้อม เคาน์เตอร์ประชาสัมพันธ์ที่ให้บริการอำ นวยความสะดวกกับนักท่องเที่ยวที่มาติดต่อขอข้อมูล และรับจองห้องพัก เต้นท์ รับรอง หรือสามารถติดต่อขอข้อมูลบ้านพัก และเต้นท์ได้ที่เขตห้ามล่าสัตว์ป่าบึงบอระเพ็ดหรือสถานีพัฒนา และส่งเสริม การอนุรักษ์สัตว์ป่าบึงบอระเพ็ด ซึ่งเป็นที่ตั้งของชมรมดูนกจังหวัดนครสวรรค์ โทร. 0 5630 0040 เปิดทุกวัน ตั้งแต่เวลา 08.30 - 16.30 น. ภายในตัวอาคารยังมีร้านจำ หน่ายอาหารทั้งอาหารตามสั่ง ก๋วยเตี๋ยว และอาหารอีสาน อาคารสัมมนาและจัดแสดงนิทรรศการ เป็นห้องประชุมขนาดใหญ่สามารถจุคนได้ 2,500 คน ติดเครื่อง ปรับอากาศ ใช้จัดงานประชุม สัมมนา และงานเลี้ยงสังสรรค์ขององค์กรต่าง ๆ ท่ามกลางบรรยากาศ อันสวยงามของบึงบอระเพ็ด สนามฟุตบอล และฟุตซอล ภายในบึงบอระเพ็ดยังมีสนามฟุตบอล และสนามฟุตซอลไว้ บริการแก่ผู้ที่สนใจ และหน่วยงานภาครัฐ และเอกชนให้มาใช้บริการ โดยสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ ที่ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวบึงบอระเพ็ด (ตึกเขียว)
เขานางพันธุรัต เป็นเขาลูกเล็กที่สามารถเดินขึ้นไปชมทัศนียภาพบนยอดเขาผ่านบันได 60 ขั้น ซึ่งบริเวณลาน ชมวิวจากเขานางพันธุรัตแห่งนี้จะพบถํ้าขนาดเล็กแห่งหนึ่ง ด้านหน้าประดิษฐานพระพุทธรูปนอนองค์ใหญ่ และมีพระพุทธ รูปองค์เล็กอีก 4 องค์ อยู่เคียงกัน ชาวบ้านเชื่อกันว่าบริเวณนี้ คือ ถํ้าพญานาค หากต้องการเดินเข้าชมถํ้าควรนำไฟฉาย ติดตัวไปด้วย ภายในถํ้าค่อนช้างชื้น และเป็นทางตัน ไม่สามารถเดินทะลุออกไปได้ ต้องเดินกลับมาทางเดิม เขาพระพุทธบาทหรือเขาลูกใหญ่ บริเวณหน้าเขาจะมีโรงเรียนร้างเป็นจุดสังเกต อยู่ห่างจากเขานางพันธุรัตราวๆ 300 เมตร ด้านบนเป็นที่ประดิษฐานรอยพระพุทธบาท และเจดีย์เก่าแก่อายุประมาณ 400 ปี สันนิษฐานว่าสร้างขึ้น สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย และมีระฆังที่นำไปแขวนใหม่ประมาณ 20 ใบ บนยอดเขามีรอยพระพุทธบาทจำลองอยู่ โดยการขึ้นไปนมัสการต้องเดินขึ้นบันได 700 ขั้น และต้องปีนบันไดลิงอีก 5 ช่วง ด้วยเส้นทางไม่ค่อยสะดวกทำให้ที่นี่ เคยถูกใช้เป็นสถานที่จัดการแข่งขันชิงตำแหน่งผู้พิชิตยอดเขาหน่อเป็นคนแรก ต่อมาทางจังหวัดนครสวรรค์ได้สร้างพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ไว้เป็น อนุสรณ์ ระลึกถึงพระองค์ท่านเมื่อครั้งเสด็จประทับแรม ณ ที่แห่งนี้ ส่วนบริเวณเชิงเขามีฝูงลิงจำ นวนมาก และฝูงค้างคาว ในเวลาเย็น สําหรับเขาแก้วอยู่ในบริเวณเดียวกันกับเขาหน่อ ปัจจุบันมีถนนคั่นกลางอย่างชัดเจน เขาแก้วมีถํ้าหลายถํ้าอัน เป็นที่อยู่ของฝูงค้างคาว โดยเฉพาะในเวลาพลบคํ่า ฝูงค้างคาวจะพากันบินออกหากินจากปากถํ้านับล้านตัว สร้างความน่า 96 นครสวรรค์ศึกษา ตอนที่ 4 ภาพที่ 4.21 ภาพมุมสูงของเขาหน่อ เขาแก้ว และฝูงค้างคาวบินออกหากินจากปากถ้ำ� ◆ วนอุทยานถ้ำ เพชร - ถ้ำ ทอง ตั้งอยู่ที่ ตำ บลตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ ห่างจากที่ว่าการอำ เภอตาคลี 10 กิโลเมตร ตรงเขาชอนเดื่อซึ่งเป็นป่า สลับกับภูเขาหินปูน และมีเส้นทางศึกษาธรรมชาติ ซึ่งมีเรื่องเล่าว่าในราว พ.ศ. 2453 หลวงพ่อรุ่ง เจ้าอาวาสวัดหนองสีนวล ในขณะนั้น ได้นำคันศรสัมฤทธิ์เป็นนาคราช 3 เศียร ซึ่งมีทั้งสาย และลูก ที่เก็บได้จากเขาชอนเดื่อถวายพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 จึงพระราชทานนามศรโบราณนี้ว่า “พระแสงศรกำลังราม” ต่อมาหลวงพ่อรุ่งได้จาร วัน เดือน ปีที่พบศรไว้ ณ สถานที่พบศรบริเวณเชิงเขาชอนเดื่อ โดยเขียนจารไว้กับก้อนศิลาหินอ่อน ทางด้านเชิงเขา ตื่นตาตื่นใจ และความประทับใจแก่ผู้พบเห็น จุดนี้เองที่ทำ ให้ อบต.บ้านแดน พัฒนาเป็นแหล่ง ท่องเที่ยว โดยสร้างศาลาสำ หรับชมค้างคาวไว้บริการนักท่องเที่ยว หากเป็นช่วงวันเสาร์ และอาทิตย์ บริเวณนี้จะเต็มไปด้วยนักท่องเที่ยวที่มาเฝ้ารอชมฝูงค้างคาว และนั่งรับประทานอาหารคํ่าจากร้าน อาหารชาวบ้านที่บริการในบริเวณนั้น
นครสวรรค์ศึกษา ตอนที่ 4 97 ทิศตะวันตปรากฏถํ้าพญานาค ภายในถํ้ามีบ่อนํ้าที่เป็นแหล่งนํ้าที่ราษฎรใกล้เคียงนำ มาใช้ได้ตลอดปี เข้าใจว่านํ้าบนเขา ทั้งหมดคงจะไหลซึมลงทรายที่ถํ้านี้ บนเขามีถํ้าหินปูนใหญ่น้อยกว่า 70 ถํ้า ปัจจุบันได้รับการพัฒนา และเปิดให้เข้าเที่ยวชม แล้วจำ นวน 9 ถํ้า ส่วนใหญ่เป็นถํ้าที่ยังมีชีวิตซึ่งมีนํ้าหยดลงมาภายในถํ้าจนเกิดเป็นหินงอกหินย้อย อาทิ ถํ้าดาวดึงส์ที่อยู่ ภาพที่ 4.22 วนอุทยานถ้ำ�เพชร - ถ้ำ�ทอง ทางทิศเหนือ ปรากฏห้องโถงขนาดใหญ่สามารถ จุคนได้ประมาณ 400 - 500 คน มีช่องระบาย อากาศด้านบน ส่วนถํ้าเจ้าพ่อเสือ ถํ้าวิมานลอย ถํ้ามหาโพธิ์ทอง ถํ้าประกายเพชร อยู่ทางทิศ ตะวันตกลึกเข้าไป 50 เมตร มีห้องโถงขนาด ใหญ่ 5 ห้อง มีหินงอกหินย้อยรูปต่าง ๆ แล้วแต่ จะตีความเช่น ปลาโลมา และกำ แพงเมืองจีน เป็นต้น ถ้าประดับเพชรอยู่ทางทิศใต้เป็นห้องโถง ํ 4 ห้อง มีหินงอกหินย้อยสีน้าตาลอ่อน - ขาวนวล ํ ส่องประกายระยิบระยับเหมือนเพชร ถํ้าวัง ไข่มุกที่อยู่ทางทิศใต้เช่นกัน ก็มีหินงอกหินย้อย สีน้าตาลเข้ม น ํ ้าตาลอ่อนจนถึงสีขาวนวล และมี ํ ห้องโถง 3 ห้อง หินงอกหินย้อยส่องแสงคล้ายเกล็ดเพชรจนมองดูราวกับพระราชวัง ที่นี่มีมัคคุเทศก์ นำ ทางประกอบคำอธิบาย โดยจำกัดมัคคุเทศก์หนึ่งคนต่อนักท่องเที่ยว 10 คน นอกจากถํ้าหินปูนแล้ว วนอุทยานยังมีเส้นทางศึกษาธรรมชาติที่สามารถเรียนรู้เรื่องพืชสมุนไพรได้อีกด้วย พร้อมทั้งจุดชมวิว บนผาชมพูที่ระดับความสูง 345 เมตร ที่สามารถมองเห็นสภาพภูมิประเทศโดยรอบวนอุทยาน ◆ เขาพระ - เขาสูง ตั้งอยู่ที่ ตำ�บลหนองกลับ อำ�เภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค์ เป็นดินแดนที่มีทรัพยากรทรงคุณค่า อาทิ หินแกรนิต สีชมพู หินสีดำ� และหินมรกต บนยอดเขาพระมีหินก้อนสีชมพูขนาดใหญ่วางเรียงรายทับซ้อนกันเด่นตระหง่านน่ามหัศจรรย์ และยังเป็นจุดชมวิวที่สามารถมองเห็นทัศนียภาพอันสวยงามของอำ เภอหนองบัว ก่อนเดินถึงยอดเขา จะต้องผ่านซอยอกเขาหรือซอยอกหินหนีบที่มีขนาดแคบเพียงแค่ 30 เซนติเมตร ซึ่งเป็นจุดที่ท้าทาย ต่อการขึ้นไปพิสูจน์ความสวยงามของยอดเขาพระ - เขาสูงแห่งนี้ ทั้งยังพบพรรณไม้นานาชนิดที่ น่าศึกษา นอกจากนี้ภายในบริเวณยังมีโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำ ริ ได้แก่ อ่างเก็บนํ้า หลวงพ่อไกร อ่างเก็บนํ้าคลองไม้แดง และอ่างเก็บนํ้าคลองวังเหียง ◆ น้ำ ตกวังน้ำวิ่ง นํ้าตกขนาดเล็ก ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 2 ตำ บลลำ พยนต์ อำ เภอตากฟ้า จังหวัดนครสวรรค์ ห่างจากตัวจังหวัด 100 กิโลเมตร สามารถใช้เส้นทางสายตากฟ้า - โคกสำ โรง ก่อนถึงวัดถํ้าพรสวรรค์ 2 กิโลเมตร เลี้ยวซ้ายจากถนนเข้าไปอีก 700 เมตร นํ้าตกวังวิ่งเกิดจากนํ้าผุดไหลลดหลั่นกันอย่าง สวยงามมีทั้งหมด 3 ชั้น มีนํ้าตลอดทั้งปี บรรยากาศโดยรอบร่มรื่นเย็นสบาย
98 นครสวรรค์ศึกษา ตอนที่ 4 ◆ ป่าไพศาลี โดยเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าสวนรุกขชาติ 100 ปี โดยมีเนื้อที่ 1,465 ไร่ อันเป็นรอยต่อ 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดเพชรบูรณ์ และจังหวัดลพบุรี ได้รับการประกาศจัดตั้งเมื่อปีงบประมาณ พ.ศ. 2540 ตามนโยบายของกรมป่าไม้ ที่ประสงค์ให้มีการจัดตั้งสวนพฤษศาสตร์ และสวนรุกขชาติขึ้นในภูมิภาคของประเทศเป็นที่ระลึกในโอกาสการสถาปนา กรมป่าไม้ครบรอบ 100 ปี ในวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2539 โดยสำ นักงานป่าไม้เขตนครสวรรค์เสนอพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม บริเวณลุ่มนํ้าตกซับสมบูรณ์ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าเขาคอก ป่าเขาโลมนาง และป่าเขาสอยดาว หมู่ 6 บ้านซับสมบูรณ์ ตำ บลวังข่อย อำ เภอไพศาลี เป็นพื้นที่เป้าหมายในการจัดตั้ง และต่อมาได้รับความเห็นชอบจากกรมป่าไม้ ประกาศจัดตั้ง ให้เป็นสวนรุกขชาติ 1 ใน 5 แห่ง ของประเทศใช้ชื่อว่า “สวนรุกขชาติ 100 ปี กรมป่าไม้” ทำ หน้าที่อนุรักษ์แหล่ง พันธุกรรมพืช และปลูกรวบรวมพันธุ์ไม้ในท้องถิ่น เพื่อประโยชน์ด้านการศึกษาค้นคว้าวิจัยทางพฤกษศาสตร์ และจัดเป็น แหล่งเรียนรู้ แหล่งท่องเที่ยว บริเวณภายในยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติอันสมบูรณ์ ได้แก่ น้าตกซับสมบูรณ์ และน ํ ้าตก ํ ซับใหญ่ โดยนํ้าตกทั้งสองแห่งนี้จะมีนํ้าเฉพาะเดือนมิถุนายนจนถึงเดือนตุลาคม สภาพป่าประกอบด้วย ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าดงดิบแล้ง และป่าทุ่งหญ้า จึงมีความหลากหลายทางระบบนิเวศเหมาะเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่านานา ชนิด ทั้งยังควรค่าแก่การศึกษาเรียนรู้ทางธรรมชาติ และมีจุดชมวิวบนยอดเขาที่สามารถมองเห็นทัศนียภาพอันงดงาม ◆ อุทยานแห่ งชาติแม่ วงก์ อุทยานที่มีพื้นที่ครอบคลุม 2 จังหวัด คือ จังหวัดกำแพงเพชร และจังหวัดนครสวรรค์ ทั้งยังเป็น หนึ่งในผืนป่าตะวันตกที่มีพื้นที่ป่าสมบูรณ์มากที่สุด โดยมีพื้นที่ 558,750 ไร่ ทิศเหนือติดกับอุทยาน แห่งชาติคลองลาน จังหวัดกำ แพงเพชร ทิศใต้ติดกับ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี และทิศตะวันตกติดกับเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง จังหวัดตาก และได้รับการประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติ เมื่อวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2530 ป่าส่วนใหญ่ ประกอบไปด้วย ป่าเบญจพรรณ ป่าดงดิบ และป่าเต็งรัง มีพันธุ์ไม้ที่สำคัญ และมีค่ามากมายรวมทั้งสัตว์ป่าหายาก สำ หรับช่วงที่เหมาะแก่การท่องเที่ยวมากที่สุด คือ ภาพที่ 4.23 อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ ฤดูหนาว ประมาณเดือนพฤศจิกายน - กุมภาพันธ์ สถานที่ท่องเที่ยวภายในเขตอุทยานฯ ปรากฏอยู่หลายแห่ง แต่ส่วนใหญ่ อยู่ในพื้นที่ของจังหวัดกำแพงเพชร ส่วนบริเวณที่ทำการอุทยานฯ ได้แก่ ช่องเย็น ที่มีอากาศหนาวเย็นทั้งปี และยังเป็นจุด ดูนกที่สำคัญอีกแห่งหนึ่ง ซึ่งสามารถพบนกหายากได้ที่นี่ เช่น นกเงือกคอแดง นกภูหงอนพม่า นกพญาปากกว้างหางยาว นกหัวขวานใหญ่หงอนเหลือง เป็นต้น ส่วนสถานที่ท่องเที่ยวในอุทยานฯ ที่ขึ้นอยู่กับพื้นที่ของจังหวัดนครสวรรค์ ได้แก่ รวมถึงจุดพักแรมบนยอดสอยดาวเพื่อชมพระอาทิตย์ขึ้น และตก ในฤดูหนาวจะมีอากาศหนาวเย็นมาก ผู้ที่ต้องการเรียนรู้และศึกษาเส้นทางธรรมชาติ ที่นี่มีเส้นทางเดินป่าศึกษาธรรมชาติจากน้าตกซับสมบูรณ์ ํ ถึงนํ้าตกซับใหญ่ โดยมีระยะทางในการเดินป่า 7 - 15 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินท่องเที่ยวป่า 1 - 3 วัน ฤดูกาลท่องเที่ยว คือ เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม ของทุกปี
นครสวรรค์ศึกษา ตอนที่ 4 99 ภาพที่ 4.24 หินซ้อนกันในแนวดิ่ง ◆ ทุ่ งหินเทิน • ศาลเจ้ าพ่ อเทพารักษ์ - เจ้ าแม่ ทับทิม 3. ท่องเทียวเชิงศิลปวัฒนธรรม่ นํ้าตกแม่เรวา (นํ้าตกแม่รีวา) เป็นนํ้าตกขนาดใหญ่มีจำ นวน 5 ชั้น ชั้นที่ 3 มีความสูงที่สุด 100 เมตร นํ้าไหล เกือบตลอดปี อยู่ห่างจากที่ทำการอุทยานฯ 21 กิโลเมตร และต้องเดินเท้าเข้าไปเท่านั้นโดยใช้เวลาไป - กลับ ประมาณ 3 - 4 วัน ในการเดินทางไปยังนํ้าตกเรวาทุกครั้งต้องติดต่อเจ้าหน้าที่นำ ทางของอุทยานฯ ก่อนเสมอ ล่องแก่งแม่วงก์ มีความยากอยู่ที่ระดับ 2 - 3 เป็นการล่องแก่งตามลำ นํ้าแม่วงก์ซึ่งมีความ คดโค้งไปมา และไปสิ้นสุดที่แก่งลานนกยูง บริเวณหน่วยพิทักษ์อุทยานฯ ระยะทาง 7 กิโลเมตร ใช้เวลาในการล่องแก่ง 1.30 ชั่วโมง และหน่วยพิทักษ์อุทยานฯ ยังมีบ้านพัก และสถานที่กางเต็นท์ไว้ บริการแก่นักท่องเที่ยว สิ่ งมหัศจรรย์ที่เกิดจากปรากฏการณ์ทาง ธรณีวิทยาที่สร้างสวนหินธรรมชาติขึ้น โดยลักษณะเป็น หินก้อนมนขนาดใหญ่ผุพังสึกกร่อนจนเกิดรูปลักษณ์ ที่สวยงามในรูปแบบหินทรงตัวหรือ balanced rocks ซึ่งหมายถึง หินที่มีรูปร่างและขนาดต่างกันมาก วางซ้อนกันในแนวดิ่งด้วยจุดศูนย์ถ่วงที่พอดี โดย ก้อนหินเหล่านี้วางตัวอยู่ภายในพื้นที่กว้างใหญ่ถึง 14 ไร่ กระจัดกระจายอยู่ทั่วบริเวณ บ้างก็ตั้งซ้อนกันเป็น กลุ่ม ๆ บางก้อนมีลักษณะพิเศษด้วยการตั้งซ้อนกัน เพียงเล็กน้อย นับเป็นสวนหิน ธรรมชาติที่แปลกตาที่หนึ่ง โดย ทุ่งหินเหินตั้งอยู่ที่วัดทุ่งหินเทิน หมู่ที่ 5 ตำ บลปางสวรรค์ อำ เภอ ชุมตาบง จังหวัดนครสวรรค์ โดยเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “ศาลเจ้าพ่อแควใหญ่” ตั้งอยู่บริเวณชุมชนปากนํ้าโพ ริมฝั่งขวาของแม่นํ้าเจ้าพระยา ตรงข้ามกับตลาดปากนํ้าโพ โดยเป็นศูนย์รวมศรัทธาไทย - จีนที่เหนียวแน่นของจังหวัดนครสวรรค์ ตัวศาลเป็นศาลเก่า ไม่ปรากฏหลักฐานและปีที่สร้างมีเพียง “ระฆัง” ที่อยู่ในบริเวณศาลเจ้าที่พอระบุได้ว่ามีอายุอยู่ตั้งแต่ช่วง พ.ศ.ใด ตัวระฆัง เขียนด้วยภาษาจีน โดย “นายหงเปียว แซ่ผู่” ได้นำ มาจากตำ บลแม่จิว อำ เภอปุ้นเชียง เกาะไหหลํา สาธารณรัฐ ประชาชนจีน มาถวายไว้ที่ศาลเจ้าเทพารักษ์เพื่อใช้เป็นระฆังประจำศาลประมาณ พ.ศ. 2413 และมีเรื่องเล่ากันว่าเดิมยังมี ศาลเจ้าตั้งอยู่ริมแม่นํ้าน่าน (แควใหญ่) ด้วยกัน 2 ศาล คือ ศาลเจ้าพ่อกวนอูและศาลเจ้าพ่อเทพารักษ์ เป็นศาลเล็ก ๆ อยู่ใกล้กัน สันนิษฐานว่าตัวศาลคงผุพังลงตามกาลเวลา ชาวปากนํ้าโพจึงได้ร่วมใจกัน ตั้งศาลขึ้นมาใหม่เป็นศาลเจ้าพ่อเทพารักษ์ในปัจจุบันตัวศาลเจ้าโครงสร้างเป็นปูน ตอนกลางเป็นอาคาร ไม้ดั้งเดิม ภายในนอกจากแท่นบูชาเทพยดาฟ้าดินแล้ว ยังมีที่ประดิษฐานเจ้าพ่อเทพารักษ์หรือ ปึงเถ่ากง เจ้าพ่อกวนอู เจ้าแม่ทับทิมหรือจุยป๊วยเนี้ย เจ้าแม่สวรรค์ และเจ้าพ่อสามตา
100 นครสวรรค์ศึกษา ตอนที่ 4 ภาพที่ 4.25 ศาลเจ้าพ่อเทพารักษ์ - เจ้าแม่ทับทิม ภาพที่ 4.26 สะพานเดชาติวงศ์ ศาลเจ้าพ่อเทพารักษ์ยังถูกอัญเชิญเข้าร่วม การแห่เจ้าพ่อ - เจ้าแม่ปากนํ้าโพอีกด้วย โดยประเพณี นี้เกิดขึ้นหลังจากโรคห่า และฝีดาษระบาดเมื่อ พ.ศ. 2460 - 2462 ชาวปากนํ้าโพได้รับความเดือดร้อน มีผู้คนเจ็บป่วย และล้มตายจำ นวนมาก สมัยนั้น ด้วยการแพทย์สมัยใหม่ไม่เป็นที่แพร่หลายทำ ให้ ชาวบ้านหันไปพึ่งหมอจีน (ซินแส) เพื่อช่วยรักษาโรค แต่ก็ยังไม่สามารถหยุดโรคระบาดได้ ชาวบ้านจึงหันไป พึ่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์และมีเหตุบังเอิญที่ชาวบ้านไปบนบาน ต่อเจ้าพ่อเทพารักษ์หรือปุนเถ้ากง เพื่อขอให้ท่านช่วย ปัดเป่าโรคร้ายให้หายไปจากหมู่บ้าน และได้ทำการเชิญเจ้าเข้าทรงเพื่อทำ พิธีรักษาโรคด้วยการเขียน “ฮู้” หรือกระดาษ ยันต์เสร็จแล้วนำ ไปเผาใส่นํ้าดื่มกิน ปรากฏว่าโรคที่คร่าชีวิตคนในหมู่บ้านได้หยุดการระบาดลง ผู้คนหายจากโรค ทำ ให้ เป็นที่เลื่องลือถึงความศักดิ์สิทธิ์ของเจ้าพ่อเทพารักษ์ ดังนั้นชาวปากนํ้าโพจึงได้ร่วมกันอัญเชิญเจ้าพ่อ - เจ้าแม่ ที่อยู่ในศาล เจ้าพ่อเทพารักษ์มาแห่รอบตลาดเพื่อความเป็นสิริมงคลตั้งแต่นั้นมา ปัจจุบันองค์เจ้าพ่อ - เจ้าแม่ ที่นำ มาร่วมในขบวนแห่ หมายถึง องค์เจ้าพ่อ - เจ้าแม่ และเทพเจ้าต่าง ๆ ที่อยู่ในศาลเจ้า 2 แห่ง คือ ศาลเจ้าพ่อ - เจ้าแม่หน้าผา และศาลเจ้าพ่อ เทพารักษ์ ในขบวนแห่จะมีการแสดงต่าง ๆ อย่างยิ่งใหญ่ทุกปีเพราะจัดในช่วงเทศกาลตรุษจีน นอกจากนี้ยังมีพิธีลุยไฟ การแสดงปาฏิหาริย์จากเทพเจ้าในร่างม้าทรงให้นักท่องเที่ยวชมกันอีกด้วย ศาลเแห่งนี้เปิดทุกวัน เวลา 08.00 - 17.00 น. • สะพานเดชาติวงศ์ สะพานเดชาติวงศ์ ได้เริ่มสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2485 สมัยสงครามมหาเอเชียบูรพาโดยกรม ทางหลวง ซึ่งสร้างสะพานแห่งนี้โดยมีจุดประสงค์ให้เป็นเส้นทางที่เชื่อมโยงระหว่างภาคกลาง และ ภาคเหนือแทน มิถุนายน พ.ศ. 2514 ต่อมาได้มีการสร้างสะพานเดชาติ วงศ์ 3 เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 และสร้าง เสร็จ และเปิดใช้งานเมื่อวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2536 ในปัจจุบันสะพานเดชาติวงศ์จะเปิดใช้งานเพียง 2 สะพาน คือ สะพานเดชาติวงศ์ 2 และ 3 ส่วนสะพาน เดชาติวงศ์ 1 ทางจังหวัดนครสวรรค์เปิดไว้เป็น สะพาน ประวัติศาสตร์ ซึ่งใช้ในการจัดงานต่าง ๆ ของจังหวัด หรือเปิดให้ใช้งานได้ในกรณีฉุกเฉิน เช่น เกิดอุบัติเหตุ การจราจรติดขัด เป็นต้น และในช่วงเทศกาลการจราจร จะหนาแน่นมาก เช่น ช่วงสงกรานต์, ปีใหม่ ฯลฯ เส้นทางเรือ โดยมีพิธีเปิดให้ใช้งานได้เมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2493 โดยมีพันตรี หม่อมหลวงกรี เดชาติวงศ์ อธิบดีกรมทางหลวงในสมัยนั้นเป็นประธานเปิดสะพาน ต่อมาในปี พ.ศ. 2512 กรมทางหลวงได้งบประมาณทางหลวง หมายเลข 32 ตอน บางปะอิน - นครสวรรค์ จึงได้สร้างสะพานขึ้นอีกสะพานหนึ่งคู่กับสะพานเดชาติวงศ์เดิม เรียกว่า สะพานเดชาติวงศ์ 2 โดยเป็นสะพานคอนกรีตเสริมเหล็กคู่ขนานไปกับสะพานเดชาติวงศ์เดิม และเปิดใช้เมื่อวันที่ 23
นครสวรรค์ศึกษา ตอนที่ 4 101 • หอชมเมืองนครสวรรค์ สถานที่ชมทัศนียภาพมุมสูงของจังหวัดนครสวรรค์แหล่งใหม่ที่เพิ่งเปิดให้บริหารเดือนตุลาคม พ.ศ. 2551 โดย ตั้งอยู่บริเวณเดียวกับวัดคีรีวงศ์บนยอดเขา ลักษณะหอสูง 32 เมตร มีชั้นต่าง ๆ รวม 10 ชั้น แต่ละชั้นแตกต่างกันไป ดังนี้ ชั้นที่ 1 เป็นพื้นที่ส่วนประชาสัมพันธ์การ ท่องเที่ยว บอกเล่าความเป็นมาของจังหวัดนครสวรรค์ ภายในมีร้านค้าหนึ่งตำ บลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ชั้นที่ 2 และ 3 แบ่งเป็นสองส่วน โดยมีร้าน อาหาร เครื่องดื่ม ขนมหวาน Internet Cafe ให้พัก ผ่อนสบาย ๆ ชั้นที่ 4 - 9 เป็นบันไดเวียนขึ้นสู่ชั้นที่ 10 ซึ่ง เป็นชั้นดาดฟ้าสำ หรับชมทัศนียภาพตัวเมืองนครสวรรค์ และอำ เภอใกล้เคียงแบบ 360 องศา สามารถมองเห็น ไปไกลกว่า 10 กิโลเมตร ทิศตะวันออกจะมองเห็น ทิวทัศน์เขากบ และบึงบอระเพ็ด ทางทิศใต้จะมองเห็นอุทยานสวรรค์ ต้นนํ้าเจ้าพระยา สะพานเดชา ติวงศ์ วัดเขาจอมคีรีนาคพรต ทางด้านทิศตะวันตกจะพบกับความสวยงามของทิวเขา อีกทั้งยังมีการ จัดเก้าอี้สำ หรับนั่งพักผ่อน และกล้องส่องทางไกลไว้คอยบริการ และกิจกรรมตอนกลางคืนที่ทาง เทศบาลฯ จัดขึ้นโดยมีการติดตั้งกล้องดูดาวสำ หรับผู้สนใจเรื่องดาราศาสตร์ ภาพที่ 4.27 หอชมเมืองนครสวรรค์ • หอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ ตั้งอยู่ในเขตมหาวิทยาลัยราชภัฏ นครสวรรค์ ตำ บลนครสวรรค์ เป็นอาคาร 2 ชั้น สถาปัตยกรรมแบบไทยประยุกต์ตรีมุข โดยเป็นศูนย์รวมข้อมูลทางประวัติศาสตร์ โบราณคดีและวัฒนธรรมของจังหวัด ภายใน แบ่งเป็นห้องต่าง ๆ จำ นวน 6 ห้อง ดังนี้ 1. ห้องโสฬส จัดนิทรรศการ ด้านศิลปวัฒนธรรมระยะยาวหมุนเวียนไป ตามเนื้อหา และวัตถุประสงค์ ในรูปของ ศิลปวัตถุ ชิ้นส่วนโบราณสถาน เครื่องมือ เครื่องใช้สมัยโบราณ ภาพที่ 4.28 หอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ 2. ห้องนิมมานนรดีจัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติถาวร ได้แก่ นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ครั้ง เสด็จประพาสต้นเมืองนครสวรรค์ นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ครั้ง เสด็จพระราชดำ เนินทรงประกอบพระราชกรณียกิจในพื้นที่จังหวัด นครสวรรค์ โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมฉายาลักษณ์มาจัดแสดง นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ที่ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณ
102 นครสวรรค์ศึกษา ตอนที่ 4 ต่อมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เมื่อครั้ง เสด็จพระราชดำ เนินทรงประกอบพระราชกรณียกิจ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ 3 ครั้ง นอกจากนั้นยังมีนิทรรศการ หมุนเวียนต่าง ๆ ทั้งด้านศิลปะ และวัฒนธรรมให้แก่ผู้สนใจตามวาระ 3. ห้องบุญชู โรจนเสถียร ใช้สำ หรับจัดแสดงการละเล่นมหรสพพื้นบ้าน ฉายสไลด์ด้านศิลปวัฒนธรรม และ การท่องเที่ยว ประกวดกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรม อบรมสัมมนา ตลอดจนฉายภาพยนตร์อนุรักษ์ ภาพยนตร์ส่วนพระองค์ และภาพยนตร์ตามเทศกาล (เปิดทุกวันพุธ เวลา 13.00 น. และวันอาทิตย์ เวลา 10.00 น.) 4. ห้องศูนย์ข้อมูลท้องถิ่น บริการการศึกษา ค้นคว้า วิจัยเรื่องราวของจังหวัดนครสวรรค์ในด้านต่าง ๆ ตั้งแต่ อดีตถึงปัจจุบันในรูปของเอกสารตำ รา งานวิจัย สมุดข่อย ใบลาน จดหมายเหตุ แผนที่ ภาพถ่าย สไลด์ เทปบันทึกเสียง และ วิดีโอเทป 5. ห้องประชาสัมพันธ์ เป็นสถานที่ติดต่อประสานงานของศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ และงาน ประชาสัมพันธ์ของหอวัฒนธรรม 6. ห้องดุสิตา เป็นห้องที่ใช้เป็นที่ประทับของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เมื่อเสด็จ พระราชดำ เนินเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดหอวัฒนธรรม โดยยังคงรักษาไว้ให้อยู่ในสภาพเดิม ภาพที่ 4.29 พิพิธภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผาบ้านมอญ นอกจากนี้ยังมีโรงละครขนาด 110 ที่นั่ง จัดแสดงประเพณีศิลปวัฒนธรรม หอวัฒนธรรม สร้างเสร็จเมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2535 โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จ พระราชดำ เนินมาทำ พิธีเปิดเมื่อวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2535 หอวัฒนธรรมเปิดให้เข้าชมทุกวันเว้น วันหยุดนักขัตฤกษ์ ตั้งแต่เวลา 09.00 - 16.30 น. โดยไม่มีอัตราเข้าชม • ศูนย์ แสดงเครื่องปั้นดินเผาบ้ านมอญ สืบทอดมรดกภูมิปัญญาที่ตกทอด มากว่า 200 ปี ของชาวมอญที่อพยพมา จากอำ เภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ได้มา ตั้งถิ่นฐานมีหลายหลังคาเรือน และประกอบ อาชีพทำ เครื่องปั้นดินเผาที่ได้สืบทอดมาจาก บรรพบุรุษ จนกลายเป็นหมู่บ้านภูมิปัญญา การทำ เครื่องปั้นดินเผาในปัจจุบัน ภายใน เป็นศูนย์สาธิตด้านการทำ เครื่องปั้นดินเผา และเปิดให้เข้าชมเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ อาทิ โอ่ง กระถาง ของประดับดินเผาตกแต่งสวน ตกแต่งบ้าน ของที่ระลึก ศูนย์แสดงเครื่อง ปั้นดินเผานี้ ตั้งอยู่หมู่ที่ 1 ตำ บลบ้านแก่ง อำ เภอเมือง ห่างจากเมืองนครสวรรค์ ประมาณ 16 กิโลเมตร อยู่ติดกับอำ เภอ เก้าเลี้ยว
นครสวรรค์ศึกษา ตอนที่ 4 103 ภาพที่ 4.30 เมืองโบราณโคกไม้เดน ภาพที่ 4.31 ศูนย์วัฒนธรรมไทดำ� • เมืองโบราณโคกไม้เดน โดยมีอีกชื่อว่า “เมืองบนโคกไม้เดน” สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นเมืองโบราณสมัยทวารวดี ที่คน สมัยก่อนเรียกกันว่า “เมืองบน” สร้างขึ้นในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 11 - 16 (พ.ศ. 1000 - 1500) ลักษณะเป็นรูปรีคล้ายหอยสังข์ ขนาดยาวประมาณ 250 เมตร กว้าง 600 เมตร คล้ายเมืองกำแพง นครปฐม เมืองเสมาจังหวัดนครราชสีมา และเมืองพญาแร่จังหวัดชลบุรี เมืองโบราณเมืองบนนี้มีคูนํ้า เมืองอู่ตะเภาในจังหวัดชัยนาท ชื่อเมือง “ไม้เดน” มาจาก ไม้ผลที่พบมากในบริเวณนี้ ส่วนนอกเมืองทางด้านทิศตะวัน ออก ยังพบกลุ่มโบราณสถานซึ่งส่วนใหญ่เป็นฐานของ พระสถูปเจดีย์ และบนยอดเขาต่าง ๆ ที่สำ รวจแล้วจำ นวน ถึง 16 แห่ง ซึ่งสะท้อนถึงความรุ่งเรืองของพุทธศาสนา รวมทั้งยังมีการขุดพบโบราณวัตถุต่าง ๆ อาทิ รูปปั้นช้าง พญาฉัททันต์ที่มีอายุกว่า 1,000 ปี โดยรูปปั้นต่าง ๆ ถูกนำ ออกจัดแสดงที่ต่างประเทศโดยนักโบราณคดีชาวอเมริกัน และออสเตรเลียเรียกกันว่าศิลปะโบราณจากบ้านโคกไม้เดน อำ เภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ - คันดินล้อมรอบ 3 ชั้น สภาพปัจจุบันคูเมือง และกำแพงเมืองชั้นนอกบางส่วนถูกถนนสายเอเชียตัดผ่านทับไปบางตอน ในอดีตเมืองนี้เป็นอู่ต่อเรือสำคัญโดยเป็นหนึ่งในสองของเมืองต่อเรือ ที่เรียกว่า “อู่บน” หรือเมืองบน ส่วน “อู่ล่าง” คือ • ชุมชนชาวไทยทรงดำ บ้ านไผ่ สิงห์ ตั้งอยู่หมู่ที่ 2 ตำ บลไผ่สิงห์ อำ เภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์ ในอดีตพื้นที่บริเวณเป็นที่ดอนมีป่าไผ่ และสัตว์ป่า อาศัยอยู่เป็นจำ นวนมาก ยังมีนายพรานชื่อสิงห์ที่มีความชำ นาญในการดำ รงชีพในป่าได้มาพักอาศัยอยู่บริเวณป่าแห่งนี้ เป็นคนแรก ต่อมาชาวไทยทรงดำชื่อตาพัก - ยายช้อย ที่อพยพจากบ้านโคกคม จังหวัดเพชรบุรี ก็ได้มาสร้างบ้านอยู่ร่วมกับ พรานสิงห์พร้อมกับชาวไทยทรงดำ รุ่นต่อ ๆ มา ชาวบ้านจึงพร้อมใจกันเรียกชื่อหมู่บ้านตามลักษณะพื้นที่บริเวณนั้น และ ผู้อาศัยคนแรกว่าบ้านไผ่ตาสิงห์ ต่อมาเรียก เพี้ยนเป็นบ้านไผ่สิงห์จนถึงปัจจุบัน เนื่องจาก ชุมชนนี้เป็นกลุ่มชาติพันธุ์จึงมีเอกลักษณและ มีความน่าสนใจศึกษาเรียนรู้ อาทิ ภาษา การแต่งกาย อาหารการกิน รูปแบบที่อยู่อาศัย ขนบธรรมเนียมประเพณี และพิธีกรรมต่าง ๆ สำ หรับการเดินทางมายังชุมชนนี้สามารถใช้ ทางหลวงหมายเลข 225 สายนครสวรรค์ - ชุมแสง อยู่ห่างจาก อำ เภอเมืองนครสวรรค์ 35 กิโลเมตร
104 นครสวรรค์ศึกษา ตอนที่ 4 • เมืองเก่ าเวสาลี ตั้งอยู่ หมู่ที่ 5 บ้านหนองไผ่ ตำ บลสำ โรงชัย อำ เภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์ จากการสำ รวจของกรมศิลปากร เมื่อ พ.ศ. 2511 พบว่าเป็นเมืองสี่เหลี่ยมผืนผ้า มุมมน มีกำแพงดิน 2 ชั้น มีคูเมืองคั่นกลาง ยาว 700 เมตร กว้าง 500 เมตร สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยทวาราวดี บริเวณที่ตั้งชุมชนเป็นที่ราบลุ่มมีทางน้าไหลผ่าน และผลจากการขุดแต่งใน พ.ศ. 2539 ํ พบว่าโบราณสถานบริเวณด้านตะวันออกของเมืองเป็นศิลปะสมัยอยุธยาตอนปลาย ประกอบด้วย อุโบสถ มณฑป วิหาร เจดีย์ จากการศึกษาชั้นดินทางโบราณคดีพบว่าก่อนการสร้างโบราณสถานเมืองเก่าเวสาลี ก็ได้มีชุมชนตั้งอยู่ก่อนแล้วเป็น ชุมชนในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย ที่ได้พัฒนาเป็นชุมชนที่มีคูน้าคันดินล้อมรอบในสมัยทวาราวดี ราว พ.ศ. 1100 - ํ 1400 ขอมได้มีอำ นาจเจริญรุ่งเรืองในแคว้นสุวรรณภูมิตลอดทั้งในแคว้นโคตรบูร แคว้นโยนก และแคว้นทวาราวดี โดยมี กรุงละโว้ (ลพบุรี) เป็นราชธานี เมืองเวสาลีนี้จึงได้ถูกสร้างขึ้นในสมัยนั้น อดีตเมืองเวสาลีเคยเป็นเมืองหน้าด่านเล็กๆ ของกรุงละโว้ ดังปรากฏหลักฐาน อาทิ พระปรางค์ พระพุทธรูปฝีมือขอมโบราณ ซึ่งเมืองเวสาลีมีอายุรุ่นราวคราวเดียวกับ กรุงสุโขทัย นครโยนก เมืองโอฆะบุรี และเมืองศรีเทพ โดยที่เมืองเหล่านี้ได้สร้างขึ้นไว้เพื่อเป็นเมืองหน้าด่านของกรุงละโว้ ทั้งสิ้น ภายหลังเมืองเวสาลีตกอยู่ภายใต้การปกครองของกรุงสุโขทัยและถูกปล่อยร้างมาราว 400 ปี จน พ.ศ. 2199 รัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชแห่งกรุงศรีอยุธยา ได้ทรงบูรณะปฏิสังขรณ์เมืองละโว้ขึ้นเป็นราชธานีอีกแห่งทั้งให้ ภาพที่ 4.32 เมืองเก่าเวสาลี ชื่อว่า “เมืองลพบุรี” พระองค์ทรงดำ ริ เห็นว่าหัวเมืองฝ่ายเหนือ ยังไม่สงบลง ได้ง่ายเพราะมีข้าศึกคอยหนุนหลัง ประกอบเป็นที่ราบลุ่มทำ นาข้าวได้ดี เหมาะแก่การที่จะตั้งกองรักษาด่านไว้ เพื่อป้องกันข้าศึกทางฝ่ายล้านนา เมือง เวสาลีจึงได้ถูกบูรณะขึ้นใหม่ • แหล่ งโบราณคดีวัดโพธิ์ประสาท ตั้งอยู่ที่ ตำ�บลโพธิ์ประสาท อำ�เภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์ เป็นแหล่งที่ได้ชื่อว่าเป็นภาพความงามที่อยู่ในความ เก่าแก่ของจังหวัดนครสวรรค์ สำ�รวจขุดค้นโดยกรมศิลปากร ระหว่าง พ.ศ. 2519 - 2536 พบภาชนะเครื่องใช้ทั้งแบบโลหะ และแบบดินเผาของคนโบราณ ซึ่งเป็นชุมชนในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายที่ได้มีการพัฒนาเข้าสู่การเป็นชุมชนที่มี คูนํ้าคันดินล้อมรอบในสมัยทวาราวดี ทั้งยังพบเครื่องใช้โลหะที่ขุดพบมีอายุกว่า 2,000 ปี เช่น ใบหอก โบราณ เครื่องใช้สอยดินเผา เช่น หม้อดินเผา ตะคันหรือตะเกียง ลูกแวดินเผา และเครื่องประดับ เช่น กำ ไลเปลือกหอย ซึ่งจัดเป็นศิลปะสมัยทวาราวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 - 16
นครสวรรค์ศึกษา ตอนที่ 4 105 ภาพที่ 4.33 สะพานหิรัญนฤมิต ภาพที่ 4.34 รูปหล่อหลวงพ่อเดิม พุทฺธสโร • ย่ านเก่ าชุมแสง "สะพานหิรัญนฤมิตร" “สะพานหิรัญนฤมิต” หรือสะพานแขวนแห่งอำ เภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์ ถือเป็นไฮไลท์คู่ชุมชนที่น่าสนใจ สะพานแห่งนี้ สร้างขึ้นในปี 2552 เพื่อให้ผู้คนจากสองฟากฝั่งแม่นํ้าน่านสัญจร ข้ามไป - มา โดยห้ามรถยนต์ 4 ล้อ วิ่งผ่าน อนุญาตเฉพาะจักรยาน มอเตอร์ไซค์ และเดินเท้าเท่านั้นค่ะ และบริเวณ ใกล้กับสะพานยังเป็นที่ตั้งของ “ตลาดชุมแสง” ตลาดโบราณที่เคยรุ่งเรืองเมื่อราวกว่าร้อยปีที่ แล้ว อ่านเรื่องราวของตลาดชุมแสง และสะพาน หิรัญนฤมิต • พิพิธภัณฑ์ หลวงพ่ อเดิมวัดหนองโพ พิพิธภัณฑ์หลวงพ่อเดิมวัดหนองโพ อำ�เภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ มีหลวงพ่อเดิม พุทฺธสโร (พระครูนิวาสธรรมขันธ์) เป็นเจ้าอาวาสองค์ที่ 5 ของวัดหนองโพ หลวงพ่อเดิมเป็นเกจิพระดังแห่งเมืองตาคลีที่ใคร ๆ ก็ศรัทธากราบไหว้บูชา และ มีชื่อว่าเป็นพระที่มีอาคมจิตตานุภาพอย่างเข้มขัง ไม่ว่าจะเป็นมีดหมอ หรือเหรียญหลวงพ่อเดิม และแหวนของหลวงพ่อเดิม ได้รวบรวมประวัติของหลวงพ่อเดิมไว้ ท่านเป็นพระ พัฒนา ห้องที่ 4 เพิ่มพูนศรัทธา ได้รวบรวมวัตถุมงคล ของหลวงพ่อเดิมไว้ตั้งแต่รุ่นแรกๆ และหายาก ห้องที่ 5 กถาคัมภีร์ ได้รวบรวมตำ ราต่างๆ หาได้ยากไม่สามารถ หาที่ไหนได้ และทางเจ้าหน้าที่ พิพิธภัณฑ์ขอประชา สัมพันธ์การเที่ยวชม ทางพิพิธภัณฑ์จะเปิดบริการ นักท่องเที่ยว และผู้มาเที่ยวชมได้ทุกวันตั้งแต่เวลา จะเรื่องชื่อมากที่กล่าวขานมานาน และปัจจุบันวัดหนองโพมี พระครูนิปุณพัฒนวงศ์ (หลวงพ่อสมพงษ์ ทนฺตจิตโต) เป็น เจ้าอาวาสองค์ที่ 9 ที่ดูแลวัดหนองโพอยู่ ปัจจุบันนี้ และทางวัดกับศิษย์ยานุศิษย์มีความศรัทธาได้รวบรวมเงินทองได้ก่อสร้าง พิพิธภัณฑ์หลวงพ่อเดิม ซึ่งตั้งอยู่บริเวณฐานองค์พระมหาธาตุเจดีย์นิวาสธรรมขันธ์ ซึ่งจัดแสดงนิทรรศการถาวร เพื่อที่จะ เผยแผ่กิตติคุณของหลวงพ่อเดิม ในฐานะที่ท่านเป็นสมณะผู้สมัตถะเป็นพระอริยะสงฆ์แห่งบ้านหนองโพ อำ เภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ ดังนั้นจึงรวบรวมกิตติคุณของหลวงพ่อเดิม ไว้ในพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ออกเป็น 5 ห้อง ห้องที่ 1 ธาราวดี ศรีหนองโพ ได้รวบรวมวัถตุโบราณต่างๆ ที่พบในหมู่บ้านหนองโพที่ซ้อนทับกันมาแล้วกว่า 4 พันปี ห้องที่ 2 มาตุภูมิบ้าน หนองโพ ได้รวบรวมเรื่องราวต่างๆ ของชาวบ้านหนองโพซึ่งมียาวนานมากว่า 200 ปี ห้องที่ 3 พุทฺธสโร หลวงพ่อเดิม 09.00 น. ถึง 17.00 น. จะมี น้อง ๆ มัคคุเทศก์จิตอาสาจาก โรงเรียนหนองโพพิทยาให้การ ต้อนรับ และพาเที่ยวชม และ บรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าชม
106 นครสวรรค์ศึกษา ตอนที่ 4 • เมืองโบราณจันเสนและพิพิธภัณฑ์ จันเสน ภาพที่ 4.35 พิพิธภัณฑ์จันเสน จัดแสดงโบราณวัตถุที่พบทั้งในเขตเมืองโบราณและบริเวณใกล้เคียง ตลอดจนแสดงถึงพัฒนาการของชุมชนจันเสนตั้งแต่ ครั้งอดีตจนถึงปัจจุบัน โดยเปิดให้เข้าชมทุกวัน ตั้งแต่เวลา 09.00 - 16.00 น. ทางวัดมีเยาวชนอาสาสมัครจากโรงเรียน วัดจันเสน และโรงเรียนจันเสนเอ็งสุวรรณอนุสรณ์ บริการพาเยี่ยมชมภายในบริเวณเมืองโบราณจันเสน และพิพิธภัณฑ์ด้วย • เมืองธานยบุรี (ดงแม่ นางเมือง) ตั้งอยู่ที่ ตำ บลตาสัง และตำ บลเจริญผล อำ เภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ เป็นเมืองรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ามุมมน ขนาดประมาณ 500x600 เมตร ชุมชนโบราณดงแม่นางเมืองเลือกที่ตั้งชุมชนบริเวณที่ราบลุ่มแม่นํ้า กล่าวคือ ทางด้าน ตะวันออกอยู่ใกล้แม่นํ้าปิง ส่วนทางทิศตะวันออกมีคลองตะเคียนติดต่อกับแม่นํ้าน่านที่ปากนํ้าเชิงไกร เมืองดงแม่นางเมืองถือเป็นเมืองขนาดค่อนข้างใหญ่ ภายในมีกลุ่มโบราณสถานอยู่เป็นจำ นวนมาก และยังคงมีสภาพ ให้เห็นอยู่บ้าง รายงานการสำ รวจของกรมศิลปากรในปี พ.ศ. 2509 - 2510 โดยนายมานิต วัลลิโภดม ระบุว่าโบราณสถาน ที่พบจากการสำ รวจนั้นมีเป็นจำ นวนมากมีบางส่วนได้รับการขุดแต่ง และบางส่วนที่ยังคงอยู่ภายในดินโดยมีโบราณสถาน ที่สามารถระบุลักษณะของฐานอาคารได้ 18 แห่ง และบางส่วนถูกลักลอบขุดจนทำ ให้โบราณสถานเสียหายไป ถือว่าสภาพ ของโบราณสถานนั้นช่วงนั้นยังอยู่ในสภาพที่ไม่ถูกรบกวนมากมีเพียงการรบกวนจากการลักลอบจัดหาโบราณวัตถุเท่านั้น จากการสำ รวจ และขุดค้นเมืองโบราณดงแม่นางเมืองใน พ.ศ. 2509 โดยกรมศิลปากรได้พบวัตถุโบราณที่สำคัญ จำ นวนมาก เช่น พระพุทธรูปสำ ริด พระพุทธรูปหินทรายแบบทวารวดีตอนปลาย พระพิมพ์ดินเผาแบบลพบุรี ตลับสังคโลก ปูนปั้นประดับโบราณสถาน ศิลาจารึก ค้นพบครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2509 โดยอาจารย์นิจ หิญชีระนันท์ นักวางผังเมือง จากการอ่าน ภาพถ่ายทางอากาศ และได้เข้าไปถ่ายรูปโบราณวัตถุต่าง ๆ ในบริเวณนั้นมาเผยแพร่จนเป็นที่รู้จักกัน ทั่วไป ต่อมา พ.ศ. 2511 - 2512 ได้มีการศึกษาสภาพของเมืองโบราณ และขุดสำ รวจทางโบราณคดี การตั้งถิ่นฐานของผู้คนสมัยทวารวดีตอนต้นหรือ ประมาณ 1,500 ปีก่อน หลังการขุดสำ รวจ แล้วเสร็จข่าวแพร่ออกไปก็สบโอกาสเป็นช่อง ทางให้โบราณวัตถุมากมายถูกลักลอบขุด และ จำ หน่ายให้กับพ่อค้าวัตถุโบราณ กระทั่ง พระครูนิสัยจริยคุณ หรือ “หลวงพ่อโอด” อดีตเจ้าอาวาสวัดจันเสนในสมัยนั้น เกรงว่า โบราณวัตถุต่าง ๆ จะถูกลักลอบขุดไปเสียหมด จึงรวบรวมโบราณวัตถุส่วนที่แตกหักเสียหาย จากการถูกลักลอบขุดนั้นมาเก็บไว้ที่วัดจันเสน โดยปัจจุบันพิพิธภัณฑ์ตั้งอยู่ในส่วนของพระ มณฑปเจดีย์ เขตวัดจันเสน ตรงอาคารส่วนฐาน โดยความร่วมมือจากนักวิชาการ มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย ซึ่งถือว่าเป็นการขุดค้นหาโบราณคดีอย่างมีระบบเป็นครั้งแรก ในประเทศไทย จากการศึกษาครั้งนั้น พบว่าเมืองโบราณจันเสนเกิดขึ้นตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ มีความชัดเจนใน
นครสวรรค์ศึกษา ตอนที่ 4 107 จากการสำ รวจของสำ นักงานโบราณคดี และ พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติที่ 5 สุโขทัยได้พบหลักฐาน เป็นพระพุทธรูปหินชวนสลักนูนตํ่า ลักษณะพระพักตร์ เป็นพระพุทธรูปสมัยทวารวดี ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ที่ วัดดงแม่นางเมือง หลักฐานที่พบส่วนใหญ่กำ หนดอายุ ในช่วงทวารวดีตอนปลายที่สำ คัญจารึกที่พบยังระบุ ศักราชตรงกับ พ.ศ. 1710 ซึ่งหลังจากนั้นไม่นานทาง เหนือก็เกิดอาณาจักรสำ คัญ คือ สุโขทัย ชุมชนที่ดง แม่นางเมืองจึงลดความสำคัญลงเรื่อย ๆ จนกลายเป็น เมืองร้างในที่สุด ภาพที่ 4.36 เมืองโบราณ ดงแม่นางเมือง ต่อมามีการสำ รวจในปี พ.ศ. 2546 ได้มีการสำ รวจ และจัดทำผังโบราณสถาน โดยในปีดังกล่าวได้พบว่า มีโบราณ สถานระบุตำ แหน่งที่ตั้งจากการสำ รวจอ้างอิงในปี พ.ศ. 2510 จำ นวน 18 แห่ง และไม่สามารถระบุจำ นวน 8 แห่ง ซึ่งโบราณสถานที่มีสภาพร่องรอยให้เห็นอยู่ 11 แห่ง ปัจจุบันพบว่าสภาพของโบราณสถานถูกรบกวน และไม่ได้รับ การดูแลอย่างเหมาะสม จํานวนของโบราณสถานที่ยังมีสภาพให้เห็นจึงมีจำ นวนลดลงซึ่งจากการสำ รวจในปี พ.ศ. 2560 พบว่าจากโบราณสถานที่ระบุว่ายังมีสภาพให้เห็นอยู่ลดลงเหลือเพียง 9 แห่ง เท่านั้น จาก 11 แห่ง เนื่องจากถูกชาวบ้าน ในพื้นที่ปรับหน้าดินเพื่อใช้สำ หรับทำการเกษตร และถูกสร้างเป็นทางคมนาคมแล้วส่วนพื้นที่การตั้งบ้านเรือนที่มีการบุกรุก เขตเมืองโบราณสถานพบว่ามีการตั้งบ้านเรือนกระจายตัวอยู่ทางด้านทิศเหนืออย่างหนาแน่น จะเห็นได้ว่าสภาพภูมิทัศน์ของเมืองดงแม่นางเมืองมีความเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก โดยส่วนใหญ่เป็นการปรับพื้นที่ สำ หรับใช้ในการเกษตรกรรม และการสัญจร รวมทั้งการเข้ามาอยู่อาศัย และตั้งบ้านเรือนในพื้นที่ทำ ให้เกิดผลกระทบโดยตรง กับสภาพภูมิทัศน์ของเมือง นอกจากนี้โบราณสถานภายในเมืองดงแม่นางเมืองยังได้ถูกรบกวนเป็น อย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นส่วนของกำแพงดิน คูเมือง และโบราณสถานภายในเมือง ทำ ให้โบราณสถานที่ เคยมีสภาพให้เห็นอยู่ได้หมดสภาพไปภายในระยะเวลา 10 - 30 ปี และปัจจุบันมีแนวโน้มที่จะหมด สภาพเร็วมากกว่าในอดีตจึงควรมีการป้องกันอย่างจริงจังด้วยความร่วมมือของภาครัฐ และชาวบ้าน ในพื้นที่และสร้างความเข้าใจให้กับคนในพื้นที่เกี่ยวกับการดูแลรักษาสมบัติของชาติเพิ่มเติมด้วย
■ บทสรุป ■ 108 นครสวรรค์ศึกษา ตอนที่ 4 นครสวรรค์ เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ระหว่างภาคกลางและภาคเหนือจึงเป็น “ประตูสู่ภาคเหนือ” และเป็น ศูนย์กลาง การคมนาคมที่สำคัญ ของภาคเหนือตอนล่าง และจังหวัดนี้ยังมีความสำคัญตรงที่เป็นจุดบรรจบกันของ แม่นํ้าสายสำคัญ ๆ หรือที่รู้จักกันในนาม “ปากนํ้าโพ” แม่นํ้าปิง วัง ยม และน่านไหลมาบรรจบกันที่นี่กลายเป็น ต้นกำ เนิดของแม่นํ้าเจ้าพระยา แม่นํ้าสายสำ คัญของประเทศ นอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้งของบึงนํ้าจืดที่ใหญ่ที่สุดใน ประเทศไทย คือ บึงบอระเพ็ด ซึ่งอุดมสมบูรณ์ไปด้วยพรรณพืช ฝูงนกนานาชนิด และยังเป็นที่ อยู่อาศัยของปลา อีกนับร้อยชนิด เนื่องจากมีอาหารอุดมสมบูรณ์ มีพื้นที่ประมาณ 9,957 ตารางกิโลเมตร จังหวัดนครสวรรค์ แบ่งการปกครองออกเป็น 15 อำ เภอ คือ อำ เภอเมืองนครสวรรค์ อำ เภอลาดยาว อำ เภอตาคลี อำ เภอชุมแสง อำ เภอบรรพตพิสัย อำ เภอท่าตะโก อำ เภอพยุหะคีรี อำ เภอไพศาล อำ เภอหนองบัว อำ เภอตากฟ้า อำ เภอโกรกพระ อำ เภอเก้าเลี้ยว อำ เภอแม่วงก์ อำ เภอแม่เปิน และอำ เภอชุมตาบง นครสวรรค์ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทยที่มีความสวยงาม เเละมีสถานที่ท่องเที่ยวมากมาย หลายเเห่ง โดยทำ เลที่ตั้งนั้นเป็นรอยต่อระหว่างภาคกลาง เเละภาคเหนือ จึงทำ ให้จังหวัดเเห่งนี้เป็นหนึ่งประตูสู่ ภาคเหนือที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง ดินเเดนในบริเวณที่ตั้งของจังหวัดนครสวรรค์นั้นเป็นที่อยู่อาศัยของมนุษย์มาตั้งเเต่ ยุคก่อนประวัติศาสตร์เเล้ว เเละในอดีตมันคือเมืองหน้าด่านที่สำคัญตั้งเเต่ก่อนสมัยสุโขทัยเสียอีกในนามว่าเมืองพระบาง ก่อนที่จะเปลี่ยนมาเป็นชื่อเมืองชอนตะวัน เเต่ชาวบ้านนิยมเรียกกันว่าเมืองปากนํ้าโพ ก่อนจะมาเป็นเมืองนครสวรรค์ ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 โดยที่นี่นอกจากเป็นประตูสู่ภาคเหนือเเล้วยังเป็น บริเวณต้นกำ เนิดของเเม่นํ้าเจ้าพระยา เเละเนื่องจากมีคนจีนอพยพมาอาศัยอยู่อย่างมากมายจึงทำ ให้มีวัฒนธรรม ของจีนมาผสมจนกลายเป็นหนึ่งในมนต์เสน่ห์ที่น่าสนใจ ทั้งแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ และศาสนา อันได้แก่ พระจุฬามหาเจดีย์ วัดคีรีวงศ์ วัดจอมคีรีนาคพรต วัดเกรียงไกรกลาง วัดศรีสวรรค์สังฆาราม ศาลาที่ประทับ ร.5 หน้าวัดเขื่อนแดง วัดวรนาถบรรพต วัดนครสวรรค์ วัดเกาะหงส์ วัดศรีอุทุมพร วัดพระปรางค์เหลือง วัดเกยไชยเหนือ วัดป่าสิริวัฒนวิสุทธิ์ รอยพระพุทธบาท วัดหนองกลับ วัดช่องแค ถ้าบ่อยา วัดถ ํ ้าพรสวรรค์ พุทธศาสนสถานหลวงพ่อดำ ํ เป็นต้น นอกจากนี้นครสวรรค์ยังมีทรัพยากรธรรมชาติมากมาย มีบึงบอระเพ็ด บึงขนาดใหญ่ซึ่งเป็นแหล่งรวม ความหลากหลายทางธรรมชาติที่สำคัญ พบพันธุ์ปลานํ้าจืดกว่า 148 ชนิด มีพันธุ์ไม้นํ้าทั้งหมดกว่า 93 ชนิด นับเป็น แหล่งอาหาร และสถานที่ท่องเที่ยวศึกษาธรรมชาติที่สำคัญ และมีชื่อเสียงของจังหวัด อันได้แก่ ต้นแม่นํ้าเจ้าพระยา อุทยานสวรรค์ บึงบอระเพ็ด เขาหน่อ - เขาแก้ว วนอุทยานถํ้าเพชร - ถํ้าทอง เขาพระ - เขาสูง นํ้าตกวังนํ้าวิ่ง ป่าไพศาล อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ ทุ่งหินเทิน เป็นต้น ในด้านการท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม นครสวรรค์มีแหล่ง ท่องเที่ยวที่มีคุณค่าทาง ศิลปะ และขนบธรรมเนียมประเพณีที่บรรพบุรุษได้สร้างสม และถ่ายทอดเป็นมรดกสืบทอด กันมา แหล่งท่องเที่ยวประเภทนี้ประกอบด้วย งานประเพณี วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คน การแสดงศิลปวัฒนธรรม สินค้าพื้นเมือง การแต่งกาย ภาษา อันได้แก่ ศาลเจ้าพ่อเทพารักษ์ - เจ้าแม่ทับทิม สะพานเดชาติวงศ์ หอชมเมือง นครสวรรค์ หอวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์ ศูนย์แสดงเครื่องปั้นดินเผาบ้านมอญ เมืองโบราณโคกไม้เดน ชุมชน ชาวไทยทรงดำ บ้านไผ่สิงห์ เมืองเก่าเวสาลี แหล่งโบราณคดีวัดโพธิ์ประสาท ย่านเก่าชุมแสง “สะพานหิรัญนฤมิตร” พิพิธภัณฑ์หลวงพ่อเดิมวัดหนองโพ เมืองโบราณจันเสนและพิพิธภัณฑ์จันเสน เป็นต้น
บรรณานุกรม คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. (2550). จังหวัดนครสวรรค์. แหล่งที่มา : http://www.ph.mahidol.ac.th/field/2551/html/body_nakornsawan.html. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ : 6 ก.พ. 2562. งานประเพณีบุญกำ ฟ้า บ้านวังรอ. (มรบ.). แหล่งที่มา : https://iaran.wordpress.com/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%9E %E0%B8%93%E0%B8%B5/%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E 0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%93%E0%B8%B5%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B 8%8D%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2-%E0%B8%9A%E0%B9% 89%E0%B8%B2%E0%B8%99/. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ : 9 ก.พ. 2562 งานสืบสานประเพณีลอยกระทงกะลาสาย กะลาสี. (มรบ.). แหล่งที่มา : https://thailandtourismdirectory.go.th/th/info/activity/detail/itemid/21921. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ : 11 ก.พ. 2562 เจ. วิลเลี่ยม สกินเนอร์ (เขียน) ชาญวิทย์ เกษตรศิริ (บรรณาธิการแปล). (2529). สังคมจีนในประเทศไทย : ประวัติศาสตร์ เชิงวิเคราะห์. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. ชาวบ้านบางมะฝ่อ จัดงานบุญเลี้ยงข้าวแช่ อีกสีสันของสงกรานต์ปากนํ้าโพ. (2558). แหล่งที่มา : https://www.thairath.co.th/content/493025. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ : 9 ก.พ. 2562 ดงแม่นางเมือง แกนหลักแห่งการสร้างสำ นึกและประวัติศาสตร์ของคนท้องถิ่น. (2553). แหล่งที่มา : http://lek-prapai.org/home/view.php?id=567. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ : 9 ก.พ. 2562 ดงแม่นางเมือง. (มรบ.). แหล่งที่มา : http://www.prapayneethai.com/%E0%B8%94%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9 %88%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD %E0%B8%87. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ : 9 ก.พ. 2562 บ้านเขาทองสืบสานประเพณีจับมือสาววันสงกรานต์. (2559). แหล่งที่มา : http://www.workpointtv.com/news/4531. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ : 11 ก.พ. 2562 บุญสลากภัต บุญวันวิสาขบูชา ที่..."วัดตากฟ้า". (2554). แหล่งที่มา : http://www.komchadluek.net/news/lifestyle/97382. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ : 11 ก.พ. 2562 ประเพณีแข่งเรือยาว. (2553). แหล่งที่มา : http://hvarn-nakhonsawan.blogspot.com/2010/03/blog-post_4836.html. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ : 11 ก.พ. 2562 ประเพณีบุญสลากภัต. (มรบ.). แหล่งที่มา : https://thailandtourismdirectory.go.th/th/info/activity/detail/itemid/21921. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ : 11 ก.พ. 2562 ไม่ไปไม่รู้! 9 สถานที่ท่องเที่ยวเมืองสี่แคว จ.นครสวรรค์. (2018). แหล่งที่มา : https://travel.mthai.com/blog/155345.html. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ : 5 ก.พ. 2562.
สถานที่ท่องเที่ยวนครสวรรค์ - ที่เที่ยวจังหวัดนครสวรรค์. (มรบ.). แหล่งที่มา : http://www.bkkfly.com/travel/thailand/nakhonsawan.html. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ : 10 ก.พ. 2562. สมทรง บุรุษพัฒน์. (2524). การเล่นคอนของลาวโซ่งที่บางกุ้ง. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท. นครปฐม : มหาวิทยาลัยมหิดล. สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษานครสวรรค์ เขต 1. (2561). กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา นครสวรรค์ เขต 1 (ฉบับปรับปรุง ปี พ.ศ. 2561). นครสวรรค์ : สำ นักงานเขตพื้นที่การศึกษานครสวรรค์ เขต 1. สำ นักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์. วิถีชีวิตวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค์. นครสวรรค์ : องค์การบริหารส่วนจังหวัด นครสวรรค์. สำ นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. (2558). “100 ปี วิถีปากนํ้าโพ”: ประเพณีและพิธีกรรมของ ชาวจีนปากนํ้าโพ. กรุงเทพฯ : บริษัท ซีดีเอ็กซ์เพิร์ท จำกัด. สำ นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. (2559). “100 ปี วิถีปากนํ้าโพ”: ประวัติศาสตร์ความเป็นมา ของจังหวัดนครสวรรค์. กรุงเทพฯ : บริษัท ซีดีเอ็กซ์เพิร์ท จำกัด. สำ นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. (2559). “100 ปี วิถีปากนํ้าโพ”: ความหลากหลายทาง วัฒนธรรมและชาติพันธุ์ในนครสวรรค์. กรุงเทพฯ : บริษัท ซีดีเอ็กซ์เพิร์ท จำกัด. สำ นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. (2561). ข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมและศักยภาพ ท้องถิ่น จังหวัดนครสวรรค์. นครสวรรค์ : ริมปิงการพิมพ์. สำ นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. (2561). ประเพณีแห่เจ้าพ่อเจ้าแม่ปากนํ้าโพ. นครสวรรค์ : ริมปิงการพิมพ์. สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2557). คนจีนในประวัติศาสตร์วัฒนธรรมลุ่มนํ้าเจ้าพระยา. เอกสารประกอบการประชุมสัมมนา เรื่องการศึกษาประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของลุ่มนํ้าเจ้าพระยา. นครสวรรค์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2551). หนังสือแผนที่ประวัติศาสตร์และแผนที่วัฒนธรรมของ (สยาม) ประเทศไทย. กรุงเทพฯ. สุชาติ แสงทอง. (2557). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ประจำปีงบประมาณ 2556 โครงการความหลากหลายทาง วัฒนธรรมชุมชนคนต้นแม่นํ้าเจ้าพระยาสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. นครสวรรค์ : ริมปิงการพิมพ์. สุชาติ แสงทอง. (2557). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ประจำปีงบประมาณ 2556 โครงการพัฒนาฐานวัฒนธรรมชุมชน คนต้นแม่นํ้าเจ้าพระยาสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. นครสวรรค์ : ริมปิงการพิมพ์. สุชาติ แสงทอง. (2558). แนวคิดการวิจัยประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมชุมชนลุ่มแม่นํ้าเจ้าพระยา. นครสวรรค์ : ริมปิงการพิมพ์. สุชาติ แสงทอง. (2560). นครสวรรค์ศึกษา : บันทึกเรื่องราวคนจีนปากนํ้าโพ. พิมพ์ครั้งที่ 2. นครสวรรค์ : ริมปิงการพิมพ์. สุภรณ์ โอเจริญ. (2528). นครสวรรค์ : รัฐกึ่งกลาง รายงานการสัมมนาประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมท้องถิ่นจังหวัด นครสวรรค์. นครสวรรค์ : วิทยาลัยครูนครสวรรค์. แหล่งท่องเที่ยว - การท่องเที่ยวนครสวรรค์ ข้อมูลท่องเที่ยวนครสวรรค์ พิจิตร. แหล่งที่มา : http://www.tourismnakhonsawan.org/th/province-1/%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0 %B9%88%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8 %97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7/. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ : 9 ก.พ.2562 อรศิริ ปาณินท์. (2550). ป่องจับสาว : การอยู่ร่วมกันอย่างงดงามและกลมกลืนของเรือนและวิถีชีวิตของชาวไทพวน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 13 ที่เที่ยวนครสวรรค์ ไปเที่ยวเมื่อไรต้องขอแวะมาเช็กอิน. (มรบ.). แหล่งที่มา : https://travel.kapook.com/view140348.html. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ : 6 ก.พ. 2562.