The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Tpso10 Network, 2020-06-12 03:25:11

แนวทางการพัฒนากระบวนงานการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมจังหวัดสุราษฎร์ธานี

การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย ปี 2563

1

สานตอ่ ม่งุ ม่นั สู่...การพฒั นางานประจาสู่งานวจิ ยั
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปญั หาทางสงั คม จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี ”

แนวทาง การพัฒนา

กระบวนงาน
“ การชว่ ยเหลอื ผ้ปู ระสบ
ปญั หาทางสงั คม ”
จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี

กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์
สานักงานปลดั กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของ2มนษุ ย์
สานตอ่ มุง่ มนั่ สสู่...ากานรกัพัฒงานนางสานง่ เปสรระจมิ าแสลู่งาะนสวนิจยั ับสนนุ วชิ าการ 10

“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

R2R

แนวทางกระบวนงาน
“ การชว่ ยเหลือผู้ประสบ
ปญั หาทางสงั คม ”
จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี

3

สานตอ่ มุ่งม่นั สู่...การพฒั นางานประจาสู่งานวจิ ยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสุราษฎร์ธานี ”

คานา

การพฒั นางานประจาสู่การวิจัย (Routine to Research)
เปน็ กระบวนการและเคร่ืองมือในการพัฒนาคนและงาน มีเป้าหมายเพื่อ
นาผลงานวิจัยไปใช้เพ่ือพัฒนางานประจาน้ัน พร้อมท้ังสามารถนามาใช้
ประโยชนไ์ ด้จริง ดังน้ัน การพัฒนางานประจาสู่งานวิจัย (R2R) เป็น
กิจกรรมหน่ึงท่ีดาเนินงานภายใต้ศูนย์บริการวิชาการพัฒนาสังคมและ
จัดสวัสดิการสังคม ซึ่งสอดคล้องกับบทบาทภารกิจด้านการเป็น
ศูนย์กลางให้บริการและถ่ายทอดความรู้ด้านการพัฒนาสังคมและความ
มั่นคงของมนุษย์แก่หน่วยงานในพ้ืนที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
หน่วยงานท่ีเก่ยี วข้อง องค์กรเอกชนและประชาชน

ในปีงบประมาณ 2563 สานักงานส่งเสริมและสนับสนุน
วิชาการ 10 ได้คัดเลือกกระบวนงาน ภายใต้หัวข้อ “แนวทางการ
พัฒนากระบวนงาน การช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม ในพ้ืนที่
จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี” ซ่งึ สบื เน่ืองจากการพูดคุยภายในหน่วยงาน One
Home พม. พบว่าข้นั ตอนกระบวนงาน ระยะเวลาการให้การช่วยเหลือ
ผู้ประสบปัญหาทางสังคมยังเกิดความล่าช้า ไม่ทันท่วงที ทาอย่างไรให้ผู้
ประสบปัญหาทางสังคมได้รับการช่วยเหลืออย่างรวดเร็ว และเข้าถึง
จึงเกิดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้กระบวนงาน และระยะเวลา เพ่ือให้เป็นไป
ตามมาตรฐานและทิศทางเดียวกัน เม่ือได้ข้อสรุปที่เป็นมติในเวที
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 จึงเป็นสื่อกลางในการ

4

สานต่อมุง่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสู่งานวิจัย
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผูป้ ระสบปญั หาทางสังคม จังหวัดสุราษฎรธ์ านี ”

รวบรวม และวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูล เพื่อจัดทาเป็นเล่มรายงานฉบับ
สมบูรณ์ไว้เป็นมาตร ฐานการ ดาเนินงานด้านการช่ว ยเหลื อผู้ประสบ
ปัญหาทางสังคมให้กับหน่วยงานสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความม่ันคงของมนุษย์ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี และหน่วยงานอ่ืนๆ
ทเี่ กีย่ วขอ้ ง

ในโอกาสนี้สานักงานสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10
ขอขอบคุณหัวหน้าหน่วยงาน One Home พม. จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ทุกท่านที่ให้ข้อเสนอแนะ และข้อคิดเห็นด้านข้อมูล พร้อมเป็นท่ีปรึกษาใน
รายละเอียดงานประจาทน่ี ามาสู่การทาวจิ ัยครง้ั น้ี

ท้ังน้ีคณะผู้ศึกษาหวังเป็นอย่างย่ิงว่าการพัฒนางานประจาสู่
การวิจัย (Routine to Research) คร้ังน้ีจะเป็นประโยชน์แก่
ผู้ที่เกีย่ วข้อง และผู้ทส่ี นใจไดน้ าองค์ความรทู้ ่ีไดไ้ ปใชป้ ระโยชน์ตอ่ ไป

คณะผู้ศกึ ษา
สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10

5

สานต่อมุ่งมน่ั สู่...การพัฒนางานประจาสูง่ านวจิ ยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผปู้ ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี ”

สารบญั 7
9
บทนา 11
บอกเลา่ เร่ืองราว... 16
คุณรู้หรอื ไม่... 43
เกรด็ นา่ รู้... 57
ระดมสมอง...ส่แู นวปฏิบัติ 65
สัมผัส...จงึ เกดิ !!!! 73
ถกู ต้อง...ปลอดภัย 75
ส้นิ สุดขบวน... 76
บรรณานกุ รม 97
ภาคผนวก
คณะผู้จดั ทา

6

สานตอ่ มุง่ มน่ั สู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบปัญหาทางสงั คม จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี ”

บทนา

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
มุ่งเน้นให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงสวัสดิการสั่งคมพื้นฐานและพัฒนาสู่การ
พ่ึงพาตนเอง ซ่ึงคือรากฐานท่ีมีความสาคัญต่อการดารงชีวิต เป็นสิ่งที่
ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากสภาวะที่ยากลาบากไปสู่ภาวะที่คาดหวังว่า
จะดีกว่าเดิมได้อย่างรวดเร็วและถาวร การตระหนักถึงคุณค่าในฐานะ
มนุษย์ท่ีควรได้รับการดูแลคุณภาพชีวิต และได้รับการพัฒนาอย่าง
เหมาะสมต ามศัก ยภาพ ของแต่ล ะบุ คคล โดยด าเนินไป ตา ม
พระราชบัญญัติต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องในการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทาง
สังคม ซึ่งในปัจจุบันหน่วยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์หลายหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในด้านการช่วยเหลือ
กลุ่มเป้าหมายผู้ประสบปัญหาทางสังคม ไม่ว่าจะเป็นสานักงาน
ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยให้
สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดทุกแห่งเป็น
หน่วยงานหลกั ในการให้ความช่วยเหลือ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
ซึ่งให้ศูนย์คุ้มครองคนไร้ท่ีพึ่งท่ีประจาจังหวัดเป็นหน่วยงานที่ให้ความ
ช่วยเหลือ และจัดสรรหาและจ่ายเงินอุดหนุนเฉพาะกิจในการให้ความ
ช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมในแต่ละประเภทเพื่อให้เข้าถึงสิทธิท่ี
พวกเขาเหล่าน้ันควรจะได้รับและเป็นไปตามมาตรฐานและแนวทาง
เดยี วกันและเกิดประโยชนส์ ูงสดุ แก่ผ้ใู ช้บริการ

7

สานต่อม่งุ มัน่ สู่...การพัฒนางานประจาสงู่ านวจิ ัย
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบปญั หาทางสงั คม จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี ”

สาหรับพ้ืนท่ีจังหวัดสุราษฎร์ธานีมีหน่วยงานสังกัด
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ จานวน 10
หน่วยงาน มี 2 หน่วยงานที่ให้การช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม
ในพ้ืนท่ี และบูรณาการงานร่วมเพ่ิมอีก 2 หน่วยงาน ซึ่งจากการ
ดาเนนิ งานทผ่ี ่านมากระบวนงาน และระยะเวลา ตลอดจนพบเจอปัญหา
อุปสรรคต่างที่เกิดขึ้นส่งผลให้ผู้ประสบปัญหาทางสังคมส่วนน้ันไม่ได้รับ
ความชว่ ยเหลอื ได้ทันท่วงที ดังน้ันเพอื่ ใหก้ ระบวนงานระยะเวลาในการให้
ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมมีความชัดเจน มีมาตรฐาน
และเป็นไปในแนวทิศทางเดียวกันในกรณีเงินสงเคราะห์ประเภทต่างๆ
เป็นไปตามในการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม จึงควรมีการ
ออกแบบกระบวนงานดังกล่าวเพื่อเป็นรูปแบบ มาตรฐานร่วมกันใน
การปฏบิ ตั กิ ารใหค้ วามช่วยเหลือผปู้ ระสบปัญหาทางสังคมของหน่วยงาน
ท้ัง 4 หน่วยในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ประกอบด้วย สานักงาน
พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ศนู ย์คุ้มครองคนไร้ท่ีพึ่งจังหวัดสุราษฎร์ธานี สถานพัฒนาและฟ้ืนฟูเด็กจังหวัด
สุราษฎร์ธานี และบ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดสุราษฎร์ธานี นาไปสู่
การนางานประจาซ่ึงทุกหน่วยงานได้ปฏิบัติมาเข้าสู่กระบวนงานวิจัย
ภายใต้การพัฒนางานประจาสู่งานวิจัย ในหัวข้อ “แนวทางการพัฒนา
กระบวนงานการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี”
เพื่อให้เกิดรูปธรรมท่ีชัดเจน และเป็นมาตรฐานในกระบวนงาน
ระยะเวลา ปัญหา อุปสรรคท่ีเกิด ตลอดจนรูปแบบการเขียนรายงาน

8

สานตอ่ มุง่ มน่ั สู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวจิ ยั
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปญั หาทางสงั คม จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี ”

เสนอต่อคณะกรรมการเพื่อพิจารณาการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทาง
สังคมตอ่ ไป

บอกเลา่ เรื่องราว...

กระบวนงาน ระยะเวลาที่ชัดเจน และเป็นมาตรฐาน
พร้อมเป็นไปในทิศทางเดียวกันในเร่ืองของการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหา
ทางสังคม ทาอย่างไรให้พวกเขาเหล่านั้นได้รับการช่วยเหลือในระยะเวลา
ท่ีสั้น และถูกต้องตามกฎระเบียบ นั่นคือเหตุผลนาไปสู่ “แนวทางการ
พัฒนากระบวนงานการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม” ในพ้ืนที่
จังหวัดสุราษฎร์ธานี ถึงแม้กระบวนงานนี้ในการดาเนินงานที่ผ่านมา
ด้านการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมของทุกหน่วยงานเป็นไปใน
รูปแบบอัตโนมัติ อาจไม่ได้ยึดตามกระบวนงานท่ีทางส่วนกลางได้วาง
แนวทางปฏิบัติไว้ แต่เพ่ือให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันจึงเกิดการจัดเวที
แลกเปลี่ยนเรียนรู้หารือร่วมกันถึงแนวทางกระบวนงาน ระยะเวลา
ปัญหา และอุปสรรคท่ีเกิดข้ึน ในวันท่ี 5 มีนาคม 2563 ณ ห้อง
ประชุมสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10 จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ในครั้งนี้ประกอบด้วยข้าราชการและเจ้าหน้าที่
ซ่ึ งรั บ ผิดช อบ งาน ด้ าน ก าร ช่ วยเหลือผู้ ป ร ะสบ ปั ญ หาทาง สังคม จ า ก
หน่วยงานสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ใน

9

สานต่อมงุ่ มนั่ สู่...การพัฒนางานประจาสงู่ านวิจัย
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม จังหวัดสุราษฎรธ์ านี ”

พ้ืนที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยประเด็นสาคัญซึ่งได้จากการแลกเปล่ียน
ในเวทจี ะเก่ียวขอ้ ง 2 ประเด็นคือ

 ประเด็นด้านกระบวนงานและระยะเวลาในการ
ดาเนินงานของแต่ละหน่วยงานมีความเหมาะสม ชัดเจน และ
กลุ่มเป้าหมายได้รับความช่วยเหลืออย่างครอบคลุม และรวดเร็วหรือไม่
???? นอกจากน้ีมองถึงการปฏิบัติงานในกระบวนงานท่ีเก่ียวข้องกับ
ผ้ปู ฏิบัตงิ านในแต่ละกระบวนงานขั้นตอนมีความสอดคล้องกับระยะเวลา
ในการรอรับเงินช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมของกลุ่มเป้าหมาย
หรือไม่ และหากกระบวนงานและระยะเวลาไม่เหมาะสมควรมีมาตรฐานหรือ
แนวทางไปในทิศทางใด

 ประเด็นปัญหาและอุปสรรคพร้อมแนวทางแก้ไขการ
ให้ความชว่ ยเหลือผู้ประสบปญั หาทางสงั คมมอี ะไรบา้ ง ????

และน่ถี ือเปน็ แนวทางซง่ึ ทกุ หนว่ ยงานจะร่วมกันแสดงความ
คิดเห็นเพ่ือแลกเปลี่ยนประเด็นด้านกระบวนงาน ระยะเวลา ปัญหา
อุปสรรค และแนวทางแก้ไข เพ่ือนามาพัฒนาเป็นรูปแบบมาตรฐานท่ี
ชดั เจนต่อไป

10

สานตอ่ มุง่ มัน่ สู่...การพฒั นางานประจาสูง่ านวิจยั
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผูป้ ระสบปญั หาทางสงั คม จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี ”

คณุ รหู้ รอื ไม.่ ..

การช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม มีหลายรูปแบบ

แ ต่ ที่ จ ะ ก ล่ า ว ถึ ง ใ น ห นั ง สื อ เ ล่ ม นี้ จ ะ เ ป็ น ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ ใ น ส่ ว น ข อ ง

เงินสงเคราะห์ 7 ประเภท ซึ่งต้องเสนอคณะกรรมการพิจารณา

ส า ห รั บ ห น่ ว ย ง า น ท่ี รั บ ผิ ด ช อ บ ด้ า น ก า ร จั ด ส ร ร ง บ ป ร ะ ม า ณ จ ะ

ประกอบด้วย 2 หน่วยงานหลัก คือสานักงานพัฒนาสังคมและความ

มั่นคงของมนุษย์จังหวัดสุราษฎร์ธานี และศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พ่ึง

จังหวดั สุราษฎร์ธานี ในการช่วยเหลอื กลุ่มเป้าหมายดงั กล่าวในพืน้ ท่ี

เอ๊ะ !!!! เงินสงเคราะห์ มาได้อย่างไร ??

เงนิ สงเคราะหใ์ นแต่ละตวั ท่ีให้การชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปัญหาสังคม มาจาก

เงนิ ตัวนี้ “งบเงินอดุ หนุน”

งบเงนิ อดุ หนนุ คือ....

งบเงินอุดหนุน หมายถึง รายจ่ายท่ีกาหนดให้จ่ายเป็นค่า
บารุงหรือเพ่ือช่วยเหลือสนับสนุนการดาเนินงานหน่วยงานขององค์กร
ตามรัฐธรรมนูญ หรือหน่วยงานของรัฐ ซ่ึงมิใช่ส่วนราชการส่วนกลาง
ตามพระราชบัญญตั ริ ะเบียบบริหารราชการแผ่นดิน หน่วยงานในกากับ
ของรัฐ องคก์ ารมหาชน รัฐวสิ าหกจิ องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น สภา
ตาบล องค์การระหว่างประเทศ นิติบุคคล เอกชน หรือกิจการอันเป็น
สาธารณประโยชน์ รวมถึงเงินอุดหนุนงบพระมหากษัตริย์ เงินอุดหนุน

11

สานต่อมงุ่ มัน่ สู่...การพัฒนางานประจาสู่งานวจิ ัย
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผปู้ ระสบปญั หาทางสังคม จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี ”

การศาสนา และรายจ่ายท่ีสานักงบประมาณกาหนดให้ใช้จ่ายในงบ
รายจา่ ยนี้

ประเภทเงินอุดหนุนมี 2 ประเภท ได้แก่
 เงินอุดหนุนท่ัวไป หมายถึง เงินท่ีกาหนดให้จ่ายตาม
วัตถปุ ระสงคข์ องรายการ
 เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ หมายถึง เงินท่ีกาหนดให้จ่าย
ตามวัตถุประสงค์ของรายการตามรายละเอียดที่สานักงบประมาณ
กาหนด
สาหรับหนงั สอื เลม่ นีจ้ ะกล่าวถึง “เงินสงเคราะห์” ซ่ึงเป็นส่วน
หน่ึงของเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ ในการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทาง
สังคมในพ้ืนที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยต้องเข้าสู่กระบวนงานการ
พิจารณาให้ความช่วยเหลือจาก คณะกรรมการซึ่งแต่งตั้งข้ึน
ประกอบด้วย
 ประธานกรรมการ จานวน 1 คน
พฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวดั
 คณะกรรมการ จานวน 10 คน
ผู้อานวยการสานกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ 10
ผ้ปู กครองนคิ มสรา้ งตนเองขนุ ทะเล
ผ้ปู กครองนคิ มสรา้ งตนเองพระแสง
ผู้อานวยการสถานพัฒนาและฟืน้ ฟเู ดก็
ผู้อานวยการศูนยค์ ้มุ ครองคนไรท้ ่ีพ่ึง
หวั หน้าบ้านพกั เดก็ และครอบครัว

12

สานตอ่ มงุ่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจัย
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปัญหาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

ผู้อานวยการสถานค้มุ ครองสวัสดิภาพผู้เสียหายจาก
การค้ามนษุ ย์ (บ้านศรีสรุ าษฎร)์

ตัวแทนผูท้ รงคณุ วฒุ ิ จานวน 2 คน
หัวหน้ากลุ่มการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ สานักงานพัฒนา
สงั คมและความม่นั คงของมนุษยจ์ ังหวดั
 เลขานุการ จานวน 1 คน
หัวหน้ากลุ่มการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ สานักงานพัฒนา
สงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์จังหวัด
 ผ้ชู ่วยเลขานกุ าร 1 คน
เจ้าหน้าที่ท่ีได้รับมอบหมายจากสานักงานพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์จงั หวัด
นอกจากนเี้ งนิ สงเคราะห์ที่ให้การช่วยเหลือผู้ประสบปัญหา
ทางสังคมในพ้ืนท่ีจังหวัดสุราษฎร์ธานีจะแบ่งความรับผิดชอบหลักใน
การจดั สรรงบประมาณ เพ่อื นาขอ้ มูลส่วนนั้นมาเสนอต่อคณะกรรมการ
พจิ ารณา 2 คร้ังตอ่ เดือน คอื สัปดาห์ที่ 2 และ 4 ของเดือน ซ่ึงมี 2
หน่วยงานหลักในการรับผิดชอบเรื่องงบประมาณคือ สานักงานพัฒนา
สังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดสุราษฎร์ธานี และศูนย์คุ้มครอง
คนไร้ที่พ่ึงจังหวัดสุราษฎร์ธานี แต่ในกระบวนการลงพื้นที่ปฏิบัติงาน
ด้านการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมใช้รูปแบบการบูรณาการ
งานร่วมกันในหน่วยงาน One Home จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดย
แบง่ เป็น 2 กลมุ่ ตามเงินสงเคราะหแ์ ต่ละประเภททีไ่ ดร้ ับ คือ

13

สานตอ่ มุ่งมัน่ สู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจัย
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผปู้ ระสบปัญหาทางสงั คม จังหวดั สุราษฎร์ธานี ”

กลุ่มที่ 1 ประกอบด้วยเงินสงเคราะห์ ซ่ึงทางานร่วมกัน
แบบบูรณาการของหน่วยงาน 3 หน่วยในด้านการให้ความช่วยเหลือ
คือ สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดสุราษฎร์ธานี
สถานพัฒนาและฟ้ืนฟูเด็กจังหวัดสุราษฎร์ธานี บ้านพักเด็กและ
ครอบครวั จงั หวดั สุราษฎร์ธานี จานวน 4 ประเภทคือ

 เงนิ สงเคราะห์เดก็ ในครอบครัวยากจน
 เงนิ สงเคราะหแ์ ละฟ้นื ฟสู มรรถภาพคนพิการ
 เงนิ สงเคราะหผ์ ู้สงู อายุในภาวะยากลาบาก
 เงินสงเคราะห์ช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม
กรณฉี ุกเฉนิ
กลุ่มที่ 2 ประกอบด้วยเงินสงเคราะห์ ซ่ึงทางานภายใต้
หน่วยงานเดียว คือ ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พ่ึงจังหวัดสุราษฎร์ธานี
จานวน 3 ประเภทคอื
 เงนิ สงเคราะหค์ รอบครวั ผมู้ รี ายได้น้อยและไร้ท่พี ึง่
 เงินสงเคราะห์ผ้ตู ิดเชอื้ เอดส์และครอบครัว
 เงินสงเคราะหด์ ้านเงนิ ทุนประกอบอาชพี

หน่วยงานใดรับผิดชอบพ้ืนที่ไหน เขตไหนกันบ้าง
ในส่วนนเ้ี รามาทาความเขา้ ใจกัน ในรายละเอียดของเงินสงเคราะห์ทั้ง 7
ประเภทขา้ งตน้ กัน

ในการทางานร่วมบูรณาการของหน่วยงาน One
Home ซ่ึงได้กล่าวไว้น้ันเป็นการช่วยเหลือด้าน “เงินสงเคราะห์เด็ก
ในครอบครัวยากจน” โดยแบ่งเขตความรับผิดชอบตามเขตพ้ืนที่

14

สานตอ่ มงุ่ มัน่ สู่...การพัฒนางานประจาสูง่ านวิจยั
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผูป้ ระสบปัญหาทางสงั คม จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี ”

การศึกษาของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สาหรับ
จังหวัดสุราษฎรธ์ านีทงั้ 3 เขตพื้นทกี่ ารศึกษา ประกอบด้วย

 สานั ก งา นเข ตพื้น ที่ ก าร ศึก ษ าป ร ะถ ม ศึก ษ า
สุราษฎร์ธานี เขต 1 ซ่ึงประกอบด้วย 5 อาเภอ ได้แก่อาเภอเมือง
อาเภอกาญจนดิษฐ์ อาเภอดอนสัก อาเภอเกาะสมุย และอาเภอเกาะพงัน
หน่วยงานผู้รับผิดชอบคือ สานักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงขอ
มนษุ ย์จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี

 สานั ก งา นเข ตพ้ืน ท่ี ก าร ศึก ษ าป ร ะถ ม ศึก ษ า
สุราษฎร์ธานี เขต 2 ซึ่งประกอบด้วย 8 อาเภอได้แก่ อาเภอคีรีรัฐ
นิคม อาเภอไชยา อาเภอท่าฉาง อาเภอท่าชนะ อาเภอบ้านตาขุน
อาเภอพนม อาเภอพุนพิน และอาเภอวิภาวดี หน่วยงานผู้รับผิดชอบคือ
บ้านพักเด็กและครอบครวั จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี

 สานั ก งา นเข ตพื้น ท่ี ก าร ศึก ษ าป ร ะถ ม ศึก ษ า
สุราษฎร์ธานี เขต 3 ซึ่งประกอบด้วย 6 อาเภอ ได้แก่อาเภอชัยบุรี
อาเภอพระแสง อาเภอเคียนซา อาเภอเวียงสระ อาเภอบ้านนาเดิม และอาเภอ
บ้านาสาร หน่วยงานรับผิดชอบคือ สถานพัฒนาและฟื้นฟูเด็กจังหวัดสุ
ราษฎรธ์ านี

ด้านเงินเงินสงเคราะห์และฟ้ืนฟูสมรรถภาพคนพิการ
เงนิ เคราะห์ผู้สงู อายุในภาวะยากลาบาก เงินสงเคราะห์ช่วยเหลือผู้ประสบ
ปัญหาทางสังคมกรณีฉุกเฉิน หน่วยงานรับผิดชอบ คือ สานักงาน
พัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี

15

สานตอ่ มุ่งม่ันสู่...การพัฒนางานประจาส่งู านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผปู้ ระสบปญั หาทางสงั คม จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

เกรด็ นา่ ร.ู้ ..

งานประจามาพัฒนาสู่งานวิจัยในครั้งนี้ภายใต้หัวข้อ
“แนวทางการพัฒนากระบวนงานการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม
จังหวัดสุราษฎร์ธานี” แนวคิดตลอดจนข้อควรน่ารู้ท่ีนามาศึกษา
ในหลักการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม คือ หลักการ
ทางด้านสังคมสงเคราะห์

ห ลั ก ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ด้ า น สั ง ค ม ส ง เ ค ร า ะ ห์ โ ด ย ท่ั ว ไ ป
(General Principle of Social work Practice) นั้นมี
ปรชั ญาทวี่ ่า “ช่วยเขาเพอื่ ให้เขาช่วยตนเองได้” (Help them to help
themselves) หมายความว่า การที่นักสังคมสงเคราะห์จะช่วยผู้ที่มี
ปัญหาเดือดร้อน และมาขอรับการสงเคราะห์ (Client) นั้น ก็เพื่อ
ต้องการให้เขาสามารถช่วยเหลือตนเองได้ ซึ่งนักสังคมสงเคราะห์จะต้อง
ทางานร่วมกับเขา (Work with client) ไม่ใช่กระทาให้เขาฝ่ายเดียว
(Not work for client) ดังนั้นการตัดสินใจใดๆ (Decision
making) ในการเลือกทางแก้ปัญหาของเขานั้น ย่อมเป็นอานาจของผู้
มาขอรับการสงเคราะห์เป็นสาคัญ จึงจะทาให้การปฏิบัติงานสังคม
สงเคราะห์บรรลุเป้าหมายท่ีต้ังไว้ได้ (นงลักษณ์ เทวกุล ณ อยุธยา,
มปป.:9)

16

สานตอ่ มงุ่ มนั่ สู่...การพัฒนางานประจาสู่งานวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี ”

ด้านกระบวนการปฏิบัติงานทางสังคมเคราะห์ (Social
Work Process) ควรมีขนั้ ตอนดาเนินการตา่ งๆ ดงั น้ี

 การศึกษาข้อมูล (Fact Finding or Social
Study) เป็นการศึกษาข้อมูลท่ีมีความจาเป็นและสาคัญประการแรกที่
นักสังคมสงเคราะห์จาเป็นต้องดาเนินการก่อนให้การช่วยเหลือ ต้อง
ศึกษาทั้งปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในต่างๆ ของผู้รับบริการอย่าง
ละเอยี ดลกึ ซงึ่ กอ่ นการวินิจฉยั และวางแผน รวมไปถึงการสัมภาษณ์ การ
เย่ียมบา้ น ดูสภาวะแวดล้อมของผรู้ บั บริการด้วย

 การวินิจฉัยหรือประเมินปัญหา (Assessment)
หลังจากศึกษาข้อมูลแล้ว นักสังคมสงเคราะห์ควรนาข้อมูลน้ันมา
ประเมินหรือวินิจฉัยปัญหาในด้านจิตใจและสังคม (Psycho Social
Assessment)

 การวางแผนให้ความช่วยเหลือ (Planning for
Intervention) หลังจากได้ข้อมูลจากการสารวจและวิเคราะห์อย่าง
ถูกต้องแล้ว นักสังคมสงเคราะห์จาเป็นต้องนามาวางแผนและลงมือให้
ความชว่ ยเหลอื ต่อไป

สง่ิ ทตี่ อ้ งปฏิบัตกิ อ่ นการวางแผนคอื !!!!!!
ต้องมีการประเมิน วินิจฉัยปัญหาต่างๆ อย่างละเอียดถ่ี
ถ้วน และรอบคอบ และประการที่สาคัญ ผู้ขอรับบริการต้องยินยอม
พร้อมใจทจี่ ะมีส่วนรว่ มตอ่ กระบวนการให้ความชว่ ยเหลือนี้
 การลงมือให้ความช่วยเหลือ (Intervention) ซึ่ง
การให้ความช่วยเหลอื (Intervention) แบ่งออกเป็น 2 ลกั ษณะ คอื

17

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพัฒนางานประจาสู่งานวจิ ยั
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบปญั หาทางสงั คม จังหวดั สุราษฎร์ธานี ”

- การให้ความช่วยเหลือในภาวะรีบด่วนหรือ
ในภาวะวิกฤต (Short Term Treatment) เป็นการให้ความ
ช่วยเหลือระยะสั้น หรือในเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนโดยกะทันหัน และ
เหตกุ ารณน์ ั้นมผี ลกระทบกระเทือนจติ ใจอย่างรนุ แรง

- ก า ร ใ ห้ ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ ใ ห้ เ กิ ด ก า ร
เปล่ียนแปลงระยะยาว มักมีความจาเป็นอย่างยิ่ง เพราะบทบาทน้ีนัก
สังคมสงเคราะห์ไม่ได้เป็นผู้แก้ปัญหาแต่เพียงอย่างเดียว แต่เป็นผู้พัฒนา
ใหบ้ ุคคล ครอบครัว กลุ่ม และชมุ ชนนนั้ เปล่ียนแปลงในทางทดี่ ีขึ้น

 การติดตามผลและประเมินผล (Follow up and
Evaluation) หลังจากให้ความช่วยเหลือตามกระบวนการท่ีกล่าว
มาแล้ว ขั้นต่อไปท่ีนับว่ามีความสาคัญมาก คือ การติดตามผลและ
ประเมนิ ผล เพ่ือท่ีจะดูว่าการให้ความช่วยเหลือที่ได้ดาเนินการไปมีผลต่อ
ผู้รบั บรกิ ารหรือไม่ อย่างไร มีปัญหาและอุปสรรคเกิดขึ้นกับผู้รับบริการ
อีกหรอื ไม่

 การสิ้นสุดการให้ความช่วยเหลือ (Termination)
กรรสิ้นสุดให้ความชว่ ยเหลือมีความสาคัญอย่างย่ิงในการปฏิบัติงานด้าน
สังคมสงเคราะห์ เนื่องจากการเร่ิมต้นท่ีดีมีความสาคัญต่อการ
ปฏิบตั ิงานฉันใด การส้ินสุดให้ความช่วยเหลือย่อมมีความสาคัญต่อการ
ปฏิบตั ิงานฉนั นนั้

วธิ กี ารทางสงั คมสงเคราะห์ (Social Work Method)
ส า ห รั บ วิ ธี ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง นั ก สั ง ค ม ส ง เ ค ร า ะ ห์ มี
6 วิธกี ารใหญ่ คอื

18

สานตอ่ มุ่งมน่ั สู่...การพัฒนางานประจาสู่งานวจิ ยั
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี ”

 การสังคมสงเคราะห์เฉพาะราย (Social Case
Work) สังคมสงเคราะห์เฉพาะรายเป็นวิธีที่เก่าแก่ที่สุดท่ีใช้ในการ
ปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ จุดหมายหลักก็เพื่อช่วยเหลือบุคคลและ
ครอบครัวท่ีประสบความทุกข์ยาก เดือดร้อน ไม่สามารถช่วยเหลือ
ตนเองได้เป็นรายๆ ไป ทั้งนี้โดยอาศัยสัมพันธภาพวิชาชีพระหว่างนัก
สังคมสงเคราะห์เฉพาะราย (Social Case Work) กับผู้รับความ
ช่วยเหลือ หรือผู้ประสบปัญหา (Client)(นงลักษณ์ เทพสวัสด์ิ
,2540:29)

 การสังคมสงเคราะห์กลุ่มชน เป็นวิธีการสังคมสงเคราะห์
วิธีหนึ่งท่ีมุ่งเน้นช่วยเหลือบุคคลท่ีมีความสนใจ มีความต้องการ และ
ปัญหาท่ีคล้ายคลึงกัน ให้มาเข้ากลุ่มกัน เพื่อให้มีการติดต่อปะทะ
สงั สรรค์ภายในกลุม่ โดยใชก้ ิจกรรมเปน็ สือ่ กลาง

 การจดั ระเบยี บชุมชน คือประชาธิปไตย (Democratic)
กระบวนการดาเนินงานจึงเป็นไปตามระบบของประชาธิปไตย ซ่ึง
ประชาชนในชุมชนจะได้เรียนรู้ในการอยู่ร่วมกัน การทางานร่วมกัน
การตัดสินใจร่วมกันในวิถีทางประชาธิปไตย นักสังคมสงเคราะห์ที่
ปฏิบัติงานในชุมชนจะทาหน้าที่เป็นผู้ช่วยเหลือ (Enabler) กลุ่มต่างๆ
ในชุมชน

 นโยบายและการวางแผนทางสังคม (Social Policy
and Social Planning) ในการตัดสินใจทุกอย่าง ไม่ว่าจะในงาน
สังคมสงเคราะห์เฉพาะราย (Social Case Work) สังคมสงเคราะห์
เฉพาะกลุ่มชน (Social Group Work) หรือการจัดระเบียบชุมชน

19

สานตอ่ ม่งุ มัน่ สู่...การพฒั นางานประจาส่งู านวิจัย
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลือผู้ประสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี ”

(Community Organization) จะมีข้อยุ่งยาก ซับซ้อน ในเรื่อง
นโยบายเกี่ยวโยงอยู่ด้วยตลอดเวลา งานสังคมสงเคราะห์จึงต้องเกี่ยวข้อง
สัมพันธก์ บั นโยบายและการวางแผนทางสังคมด้วย

 การบริหารงานทางสังคม บริการทางสังคมเริ่มขยาย
ขอบเขตการให้บริการทางสังคมกว้างขวางข้ึน บุคลากรก็มีจานวนมาก
ข้ึน ผู้ท่ีมาขอรับบริการก็เรียกร้องและต้องการบริการมากกว่าแต่ก่อน
การบริหารงานสังคมสงเคราะห์ คือ กระบวนการดาเนินงานเพื่อให้
บรรลุวัตถุประสงค์ของการสังคมสงเคราะห์ โดยพยายามท่ีจะประสาน
( Co-ordination) แ ล ะ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ( Co-operation) กั บ
หนว่ ยงานและบุคคลอืน่ ๆทเ่ี กี่ยวข้อง

 การวิจัยทางสังคมสงเคราะห์ (Social Work
research) การวิจัยทางสังคมสงเคราะห์จัดเป็นวิธีการหน่ึงของการ
สังคมสงเคราะห์ในการที่จะค้นหาปัญหาและความต้องการบุคคล
ครอบครัว กลุ่ม และชุมชน เพื่อดูว่าปัญหาและความต้องการคืออะไร
จะได้นามาวางแผนเพ่ือเข้าไปแทรกแวงความช่วยเหลือหรือจัดบริการได้
อย่างถกู ต้องเหมาะสม (นงลกั ษณ์ เทพสวัสด์ิ ,2540 : 40)

จะเหน็ ไดว้ า่ การพฒั นากระบวนงานการช่วยเหลือผู้ประสบ
ปัญหาทางสังคม ของพ้ืนท่ีจังหวัดสุราษฎร์ธานีล้วนต้องใช้หลักการ
ทางด้านสังคมเคราะห์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการและเจ้าหน้าท่ี
ผู้ปฏิบัติงานด้านการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาซ่ึงเกิดขึ้นใน
กระบวนงานที่ทุกหน่วยงานได้ถือปฏิบัติอยู่ รวมทั้งวิธีการทางสังคม
สงเคราะหเ์ ฉพาะรายในการปฏิบัตงิ านดา้ นการให้ความชว่ ยเหลือด้วย

20

สานตอ่ มุ่งมนั่ สู่...การพัฒนางานประจาสูง่ านวิจัย
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผปู้ ระสบปญั หาทางสงั คม จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

พวกเราเงนิ สงเคราะห์

เรามาทาความรู้จักเจ้าเงินสงเคราะห์ท้ัง 7 ประเภท
ซ่ึงต้องเสนอต่อคณะกรรมการพิจารณาในการให้ความช่วยเหลือ
ผู้ประสบปัญหาทางสังคม ของจังหวดั สุราษฎร์ธานี กนั เถอะ...

เงนิ สงเคราะห์เด็กในครอบครวั ยากจน

เงินสงเคราะห์เด็กในครอบครัวยากจน เป็นการให้ความ
ช่วยเหลือสงเคราะหเ์ ดก็ ในครอบครัวยากจน ต้งั แต่เดก็ แรกเกิดจนถึงอายุ
18 ปี หรือที่อยู่ระหว่างการศึกษา ต้องมีอายุไม่เกิน 20 ปีบริบูรณ์
โดยมุ่งเสรมิ สรา้ งความม่นั คงในครอบครวั ให้ครอบครวั ของเด็กสามารถ
เลยี้ งเดก็ ไว้ได้ตามควรแกอ่ ัตภาพ ไม่ต้องแยกเด็กออกจากครบครัวโดยไม่
จาเป็น ซ่ึงพ่อแม่หรือเฉพาะพ่อหรือแม่ หรือผู้ปกครองประสบอย่างใด
อย่างหน่ึง เช่น ถกู จาคุก กกั ขัง พกิ ารและทุพพลภาพ ป่วยทางกายหรือ
จิตใจไมส่ ามารถประกอบอาชีพเลีย้ งดคู รอบครัวตามควรอัตภาพได้ หรือ
เป็นเด็กกาพร้า อนาถา เด็กพิการทางร่างกาย สมองและปัญญาหรือ
จิตใจ แบ่งออกเป็น 3 กลมุ่ คอื

 เด็กแรกเกิดให้การช่วยเหลือในเรื่องของการเลี้ยงดู
เดือนละ 600 บาทต่อหนึ่งคน แต่มีเง่ือนไข คือ ครอบครัวจะต้องมี
รายไดไ้ มเ่ กิน 3,000 บาทต่อเดือน เป็นระยะเวลา 3 ปี

 เด็กประสบปัญหา ซึ่งอยู่ในภาวะยากลาบากฉุกเฉิน
จะมเี งินชว่ ยเหลือ 2,000 บาทตอ่ คร้งั

21

สานต่อมุ่งมั่นสู่...การพัฒนางานประจาสู่งานวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผู้ประสบปญั หาทางสังคม จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

 เงินอุดหนุนเด็ก จะเป็นการดูเปน็ รายครอบครัวว่าเด็ก
ประสบปัญหาอยู่ในภาวะยากลาบาก ประเภทไม่มีเงินไปเรียนหนังสือ
พอ่ แมย่ ากจน เจบ็ ปว่ ย จะได้รับเงนิ ไม่เกนิ 3,000 บาทต่อครอบครัว



เด็ก 1 คน จะให้การช่วยเหลือ 1,000 บาท แต่ต้องดูว่า
มีเด็กกี่คน แต่สามารถช่วยเหลือได้ไม่เกิน 3,000 บาทต่อครอบครัว
ถ้าประสบปัญหาท้ังครอบครัวแต่จาเป็นมากๆ จะมีกองทุนคุ้มครองเด็ก
ให้การชว่ ยเหลอื ตามสภาพแวดล้อม



ตอ้ งมหี ลกั ฐานอะไรบ้าง ???
> สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน หรอื สาเนา

ใบสตู ิบตั ร (ใบเกิด) ของเดก็ จานวน 1 ชดุ
> สาเนาทะเบยี นบ้านของเด็ก จานวน 1 ชุด
> สาเนาบตั รประจาตัวประชาชนของผปู้ กครอง จานวน 1 ชุด
> สาเนาทะเบียนบ้านของผปู้ กครอง จานวน 1 ชดุ
> สาเนาบัญชีธนาคารของผู้ปกครอง จานวน 1 ชุด

(ธนาคารใดกไ็ ด้)
> ใบแจ้งการเปล่ียนชือ่ -นามสกลุ (ถ้าม)ี

22

สานตอ่ มงุ่ มนั่ สู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวจิ ยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผปู้ ระสบปญั หาทางสงั คม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ”

ขอ้ จากัด !!!!
> ผู้ปกครองท่ีใช้เอกสารยื่นขอรับการช่วยเหลือ จะต้องมี

ภูมิลาเนาอยทู่ ่ีจังหวดั สรุ าษฎร์ธานีเท่าน้ัน
> เอกสารทุกแผ่นผู้ปกครองเป็นผู้ลงชื่อรับรองสาเนา

ถูกต้องทงั้ หมดเทา่ น้นั (ทั้งของเดก็ และผู้ปกครอง)
> หากผู้ปกครองไม่สามารถลงชื่อรับรองได้ ให้ประทับ

ลายนิ้วมือแทน
> ตรวจสอบวันหมดอายขุ องสาเนาบัตรประจาตวั ประชาชน

23

สานตอ่ ม่งุ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปัญหาทางสงั คม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ”

24

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

เงินสงเคราะหแ์ ละฟน้ื ฟูสมรรถภาพคนพิการ
เงนิ สงเคราะห์และฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ ช่วยเหลือผู้ท่ี
จดทะเบียนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคน
พิการ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2556
ซ่ึงประสบปัญหาความเดือดร้อน เนื่องจากอยู่ตามลาพังไม่มีผู้อุปการะ
ครอบครัวขัดสนขาดแคลน หรือครอบครัวประสบปัญหาความ
เดือดร้อน เช่น หัวหน้าครอบครัวเจ็บป่วย พิการ ตกงาน ทาให้มี
ผลกระทบต่อการเลีย้ งดคู นพกิ าร
ส า ม า ร ถ เ ข้ า รั บ ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ ห า ก อ า ศั ย อ ยู่ ใ น
กรุงเทพมหานครสามารถขอรับการช่วยเหลือได้ท่ีศูนย์บริการคนพิการ
กรุงเทพมหานคร (พก.) ศูนย์บริการคนพิการกรุงเทพมหานคร
(Service Link) เขตสายไหม เขตมีนบุรี เขตอ้อมน้อย และเขต
ลาดกระบัง ในส่วนภูมิภาคสามารถเข้าไปท่ีสานักงานพัฒนาสังคมและ
ความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด และหน่วยงานในสังกัด กรมส่งเสริมและ
พัฒนาคุณภาพคนพกิ ารทัง้ 22 แห่ง

หลกั ฐานประกอบด้วยอะไรบา้ ง ???

> สาเนาบัตรประจาตัวคนพิการ
> สาเนาบตั รประจาตัวประชาชน
> สาเนาทะเบยี นบา้ น
> สาเนาบญั ชีธนาคาร
> อน่ื ๆ (หลกั ฐานการเปลี่ยนชื่อ ฯลฯ)

25

สานตอ่ มงุ่ มน่ั สู่...การพัฒนางานประจาสงู่ านวจิ ยั
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลือผู้ประสบปญั หาทางสังคม จงั หวดั สุราษฎร์ธานี ”

เงอื่ นไข !!!



ช่วยเหลือเป็นส่ิงของหรือเป็นเงินครั้งละไม่เกิน 3,000 บาท

ปีหน่งึ ไมเ่ กิน 3 ครงั้
> เครือ่ งอุปโภคบรโิ ภค /ค่าครองชีพ
> ค่ารกั ษาพยาบาล
> คา่ ซ่อมแซมที่อย่อู าศยั
> ค่าประกอบอาชีพ
> หรืออื่นๆ โดยอนตุ เิ ป็นรายๆ



26

สานตอ่ มุง่ ม่นั สู่...การพฒั นางานประจาสู่งานวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบปัญหาทางสงั คม จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี ”

27

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

เงินสงเคราะหผ์ ู้สงู อายใุ นภาวะยากลาบาก

เงินสงเคราะห์ผู้สูงอายุในภาวะยากลาบาก สาหรับผู้ท่ีมา
อายุ 60 ปีขึ้นไป มีสัญชาติไทย เป็นผู้สูงอายุท่ีทุกข์ยากหรือเดือดร้อน
ประสบปัญหาด้านท่ีพักอาศัย อาหารและเครื่องนุ่งห่ม หรือได้รับ
อันตรายจากการถูกทารุณกรรม หรือถูกแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ
ด้วยกฎหมายหรือถูกทอดทง้ิ

โดยผู้สูงอายุที่ประสบปัญหา หรือบุคคล หน่วยงานที่พบ
เหน็ ผู้สงู อายปุ ระสบปัญหา ยน่ื คาขอไดด้ งั สถานท่ดี ังต่อไปน้ี

กรณีอยู่ในพื้นท่ีกรุงเทพมหานคร สามารถย่ืนคาขอรับ
บรกิ ารได้ทก่ี องส่งเสรมิ สวัสดิการและคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุ กรมกิจการ
ผสู้ งู อายุ ศนู ยพ์ ัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สงู อายบุ ้านบางแค

กรณีท่ีอาศัยอยู่ในพื้นท่ี 76 จังหวัด สามารถยื่นคาขอได้
ที่ สานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดทั้ง 76
จงั หวัด และศูนย์พฒั นาการจัดสวัสดกิ ารสังคมผู้สูงอายุ ทงั้ 12 แหง่

ต้องใชห้ ลกั ฐานอะไรบ้าง ???

 แบบขอรับบรกิ ารผูป้ ระสบปัญหาทางสงั คม
 รูปถ่ายเย่ียมบ้าน (ขอให้มีรูปผู้สูงอายุท่ีประสบ
ปัญหาและสภาพแวดลอ้ มที่อยู่อาศัย)
 แบบแจ้งข้อมูลการรับเงินโอนผ่านระบบ KTB
Corporate Online

28

สานต่อมุ่งมัน่ สู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี ”

 สาเนาหน้าสมุดบัญชีธนาคารของผู้สูงอายุ หรือ
บัญชรี ่วมที่เปิดเพื่อผ้สู ูงอายุ 1 ฉบบั

 ส า เ น า บั ต ร ป ร ะ จ า ตั ว ป ร ะช า ช น 1 ฉ บั บ
(ไม่หมดอายุ) หรือสาเนาบตั รผพู้ กิ าร

 สาเนาทะเบยี นบ้าน 1 ฉบับ

*** หมายเหต*ุ **
สาเนาเอกสารต่างๆ ที่แนบส่งมา ขอให้ผู้สูงอายุลงช่ือรับรองสาเนาทุก
ฉบับ หากไม่สามารถลงช่ือได้ขอให้เป็นการพิมพ์ลายน้ิวมือโดยให้
ขา้ ราชการของเขตรับรองลายนิ้วมอื ทกุ ฉบบั



การชว่ ยเหลอื เป็นเงินคร้ังละไม่เกิน 2,000 บาท โดยจะช่วยได้

ไมเ่ กิน 3 ครงั้ ต่อคน ต่อปี



29

สานต่อมุ่งม่ันสู่...การพัฒนางานประจาสงู่ านวจิ ัย
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลือผปู้ ระสบปญั หาทางสงั คม จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี ”

30

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

เงนิ สงเคราะห์ช่วยเหลอื ผปู้ ระสบปัญหาทางสังคมกรณฉี ุกเฉิน
เงินสงเคราะห์ช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมกรณีฉุกเฉิน

ชว่ ยเหลือผู้ท่ีประสบปัญหาทางสังคมที่เดือดร้อนที่เกิดข้ึนโดยปัจจุบันทัน
ด่วน หรือเป็นท่ีคาดหมายว่าจะเกิดข้ึนขึ้นในเวลาอันใกล้ และจะต้อง
ได้รับการแก้ไขโดยฉับพลันทันท่วงที เพื่อป้องกันมิให้เกิดปัญหาสังคม
ด้านอ่ืนๆตามมา เป็นการช่วยเหลือเบื้องต้นก่อนให้การสงเคราะห์
พัฒนา และฟนื้ ฟูเพ่ือให้ช่วยเหลือตนเองได้

ในการย่ืนคาขอสามารถทาไดท้ ี่สานักงานพัฒนาสังคมและความ
มั่นคงของมนุษย์จังหวัดทั้ง 76 จังหวัด ซึ่งการช่วยเหลือให้ดาเนินการ
ตามหลกั การสังคมสงเคราะหเ์ ฉพาะราย

ตอ้ งใชห้ ลักฐานอะไรบ้าง ???

 ส า เ น า บั ต ร ป ร ะ จ า ตั ว ป ร ะช า ช น 1 ฉ บั บ
(ไม่หมดอาย)ุ หรือสาเนาบัตรผู้พกิ าร

 สาเนาทะเบยี นบ้าน 1 ฉบบั
 สาเนาหน้าสมุดบัญชีธนาคารของผู้ยื่นคาขอ
จานวน 1 ฉบบั
*** หมายเหตุ ***
เอกสารสาเนาทุกฉบับลงชื่อรับรองสาเนาถูกต้องจากผู้ย่ืน
คาขอทุกฉบับ

31

สานต่อมุ่งมนั่ สู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจัย
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี ”



การให้ความช่วยเหลือเป็นเงินหรือสิ่งของ ได้ไม่เกิน 2,000 บาท
ต่อคร้ัง ต่อครอบครัว ในกรณีให้ความช่วยเหลือเป็นเงิน หรือ

ส่ิงของเกิน 2,000 บาทต่อครั้ง ต่อครอบครัวให้อยู่ในดุลพินิจของผู้ว่า
ราชการจังหวดั แลว้ แตก่ รณี



32

สานต่อมุ่งม่นั สู่...การพัฒนางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบปญั หาทางสงั คม จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี ”

33

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

เงนิ สงเคราะห์ครอบครวั ผมู้ ีรายได้นอ้ ยและผู้ไร้ที่พง่ึ

“ครอบครัวท่ีประสบความเดือดร้อน ” หมายความว่า
ครอบครัวผู้มีรายได้น้อยที่ประสบความเดือดร้อน เพราะเหตุท่ีหัวหน้า
ครอบครัวตาย ทอดทิ้ง สาบสูญ หรือ ต้องโทษจาคุก เจ็บป่วยร้ายแรง
หรือพิการจนไม่สามารถประกอบอาชีพได้ ประสบภาวะยากลาบากใน
การดารงชพี ไม่สามารถดูแลครอบครวั ไดด้ ว้ ยเหตุอื่นๆใด

“ผู้ไร้ที่พ่ึง” หมายความว่า บุคคลผู้ปราศจากทรัพย์สิ่งของ
หรอื รายได้สาหรบั ยงั ชพี และไม่มผี ้ใู หพ้ ง่ึ พาอาศยั

โดยในการพิจารณาให้ความช่วยเหลือ ให้ดาเนินการตามกห
ลักการสงเคราะห์เฉพาะราย โดยวิธีเลือกวิธีการที่เหมาะสมกับสภาพ
ปัญหาของผู้ย่ืนคาร้องแต่ละราย ท้ังน้ี นักสังคมสงเคราะห์ หรือผู้ซึ่ง
อธิบดีมอบหมายเป็นผู้ดาเนินการศึกษาพิจารณา วินิจฉัยปัญหาและ
ตดิ ตามผล

หลักฐานประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง ???

 สาเนาบตั รประจาตัวประชาชน
 สาเนาทะเบยี นบ้าน
 สาเนาบญั ชธี นาคารของผ้มู สี ิทธิ์
 ใบมรณะบตั ร หรอื
 หนังสอื รับรองจากเรือนจา หรือ
 เอกสารอน่ื ๆ

34

สานตอ่ มุง่ มนั่ สู่...การพฒั นางานประจาสู่งานวจิ ัย
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบปญั หาทางสงั คม จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี ”

สาหรับการช่วยเหลือจะเป็นไปในรูปแบบค่าเครื่องอุปโภคบริโภค หรือ
ค่าใช้จ่ายในการครองชีพตามความจาเป็น ค่ารักษาพยาบาล ค่า
ซ่อมแซมท่ีอยู่อาศัยเท่าที่จาเป็น ช่วยเหลือเงินทุนประกอบชีพ รวมถึง
การรวมกลุ่ม กรณีอื่นๆ เท่าท่ีจาเป็นตามอธิบดี หรือผู้ที่ได้รับ
มอบหมายอนุมตั ิเปน็ การเฉพาะราย



การใหค้ วามช่วยเหลือเปน็ เงนิ หรือสงิ่ ของ วงเงินช่วยเหลือไมเ่ กิน
ครง้ั ละ 3,000 บาท และช่วยติดต่อกนั ได้ไมเ่ กิน 3 ครง้ั

ต่อครอบครัวตอ่ ปีงบประมาณ



35

สานต่อมงุ่ ม่นั สู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผูป้ ระสบปัญหาทางสังคม จงั หวัดสุราษฎร์ธานี ”

36

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

เงนิ สงเคราะห์ครอบครวั ผูต้ ดิ เชือ้ เอดส์และครอบครัว

ครอบครัวทพี่ ึงไดร้ ับการชว่ ยเหลอื ไดแ้ ก่
 ครอบครัวที่หวั หน้าครอบครัวติดเชื้อหรอื ปว่ ยด้วย

โรคเอดส์ และมีผู้อยู่ในอุปการะ
 ครอบครัวที่หวั หนา้ ครอบครัวไมไ่ ดต้ ดิ เชือ้ หรือป่วย

ด้วยโรคเอดส์ แต่ตอ้ งอปุ การะสมาชกิ ในครอบครัวทีต่ ดิ เชื้อ หรอื ปว่ ย
ด้วยโรคเอดส์

 ครอบครัวทีห่ ัวหน้าครอบครวั ถงึ แก่กรรมดว้ ยโรคเอดส์
 ผตู้ ิดเช้ือเอดสห์ รือป่วยด้วยโรคเอดส์ทีไ่ มม่ ผี ู้
อุปการะเลี้ยงดู
ในการพจิ ารณาใหค้ วามช่วยเหลอื นกั สังคมสงเคราะห์หรอื
ผ้ซู ่งึ อธบิ ดีมอบหมายเป็นผ้ดู าเนนิ การสอบขอ้ เทจ็ จริง ศึกษาวเิ คราะห์
พจิ ารณาเห็นสมควรชว่ ยเหลือ
หลักฐานมีอะไรบ้าง ????

> สาเนาบตั รประจาตัวประชาชน
> สาเนาทะเบยี นบา้ น
> ใบมรณะบตั รของหัวหน้าครอบครวั ทถี่ ึงแก่
กรรมด้วยโรคเอดส์
> ใบรบั รองแพทย์ (อายุไมเ่ กนิ 6 เดอื น นับ
จากวนั ท่แี พทย์ออกใบรบั รอง)
> สาเนาบญั ชธี นาคารของผู้มสี ทิ ธ์ิ

37

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสู่งานวจิ ยั
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลือผู้ประสบปญั หาทางสังคม จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

สาหรับการช่วยเหลือจะเป็นไปในรูปแบบค่าเครื่องอุปโภคบริโภค หรือ
ค่าใช้จ่ายในการครองชีพตามความจาเป็น ค่ารักษาพยาบาล
ค่าซ่อมแซมที่อยู่อาศัยเท่าที่จาเป็น ช่วยเหลือเงินทุนประกอบชีพ รวมถึง
การรวมกลุ่ม กรณีอ่ืนๆ เท่าท่ีจาเป็นตามอธิบดี หรือผู้ที่ได้รับ
มอบหมายอนมุ ัตเิ ปน็ การเฉพาะราย



การให้ความช่วยเหลือเป็นเงิน หรือสิ่งของ ในอัตราไม่เกินครั้งละ
2,000 บาท และชว่ ยเหลือติดตอ่ กันไดไ้ ม่เกนิ 3 ครง้ั ตอ่ ครอบครวั



38

สานตอ่ มุง่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสู่งานวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผปู้ ระสบปญั หาทางสงั คม จังหวดั สุราษฎรธ์ านี ”

39

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

เงินสงเคราะห์ด้านเงินทนุ ประกอบอาชพี

ผู้ท่ีพงึ ไดร้ บั การชว่ ยเหลอื ได้แก่
 สตรีทเ่ี ป็นหัวหน้าครอบครวั ท่ีติดเชื้อหรอื ปว่ ยด้วย

โรคเอดสแ์ ละมีผอู้ ยู่ในอปุ การะ
 สตรีทเี่ ปน็ หัวหน้าครอบครัวท่ไี มไ่ ดต้ ิดเช้ือหรือป่วย

ดว้ ยโรคเอดส์ แต่ตอ้ งอปุ การะคนในครอบครวั ท่ตี ิดเชื้อหรือป่วยดว้ ยโรค
เอดส์

 สตรีที่ติดเชื้อหรอื ป่วยดว้ ยโรคเอดสท์ ี่ไมม่ ผี ู้อุปการะ
เล้ียงดู

 สตรีทสี่ ามปี ่วย หรือเสียชีวิตดว้ ยโรคเอดสแ์ ตต่ ้อง
อปุ การะเลี้ยงดบู คุ คลในครอบครวั ทั้งน้บี ุคคลในครอบครวั ของสตรที ่ี
ได้รบั การชว่ ยเหลือหมายถึง

 บิดา มารดา ของสตรี ทีอ่ ยู่ในบ้าน
หลังเดียวกันกับสตรีฯ

 บิดา มารดา ของสามี ทีอ่ ยู่ในบ้าน
หลงั เดียวกันกับสตรฯี

 สามี และบุตร ของสตรที ่ีอยู่ในบ้าน
หลงั เดียวกันกบั สตรฯี

 ญาตพิ ่ีน้องของสตรี และสามี ท่ีอยู่ใน
บ้านเดยี วกนั กับสตรีฯ ตลอดจนผู้ทสี่ ตรีหรือสามีต้องให้ความอุปการะ
เล้ียงดู และอุปการะมาแลว้ เป็นเวลา 3 เดือนขน้ึ ไป

40

สานต่อมุ่งมัน่ สู่...การพัฒนางานประจาสู่งานวจิ ัย
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวดั สุราษฎร์ธานี ”

หลกั ฐานประกอบดว้ ยอะไรบ้าง ????
 สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน
 สาเนาทะเบยี นบ้าน
 ใบรบั รองแพทย์ (อายุไม่เกิน 6 เดือนนับจากวันท่ี
แพทยอ์ อกใบรบั รอง)
 สาเนาบัญชีธนาคารของผมู้ สี ิทธ์ิ
ในการพิจารณาให้ความช่วยเหลือ เป็นหน้าที่ของ
นักสังคมสงเคราะห์ หรือผู้ซ่ึงอธิบดีมอบหมายเป็นผู้ดาเนินการสอบ
ขอ้ เทจ็ จริง ศกึ ษาวเิ คราะหพ์ ิจารณาเห็นสมควรช่วยเหลอื



การใหค้ วามชว่ ยเหลือเปน็ เงนิ ทนุ ประกอบอาชพี รายละ 5,000 บาท



41

สานตอ่ มุ่งมน่ั สู่...การพัฒนางานประจาสูง่ านวจิ ยั
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผ้ปู ระสบปญั หาทางสงั คม จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

42

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

ระดมสมอง...สแู่ นวปฏบิ ตั ิ

ก าร ช่ ว ยเหลื อ ผู้ ป ร ะสบ ปั ญ หาท าง สั ง คม ข อ ง หน่ ว ยง าน ที่
เกี่ยวข้องในพ้ืนที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้ดาเนินการมาเป็นรูปแบบ
กระบวนงานอัตโนมัติตั้งแต่กระบวนการแรกจนส้ินสุดกระบวนงาน
ตามที่แต่ละหน่วยงานได้รับนโยบาย แต่อย่างไรก็ตามกระบวนงาน
ระยะเวลา มาตรฐานในการปฏิบัติงานและนาเสนอคณะกรรมการ
พิจารณาในการให้ความช่วยเหลือกลุ่มผู้ประสบปัญหาทางสังคมยังขาด
ความชัดเจน ดังน้ันจึงเกิดการระดมความคิดเห็นร่วมกันเพื่อให้เป็นไป
ในทิศทางเดียวกันตกผลึกความคิดของผู้ปฏิบัติงานจริงในพ้ืนท่ีกลายมา
เป็นรูปธรรมกระบวนงานที่ชัดเจน ซึ่งพลังความคิดแลกเปล่ียนมุมมอง
ของทุกคนล้วนเป็นพลังท่ีนาไปสู่ความเป็นมาตรฐานและทิศทางในการ
ดาเนนิ งานในครั้งต่อไป ในประเด็นของกระบวนงาน และระยะเวลา

ตลอดจนปญั หาอุปสรรค แนวทาง
ในการแก้ไข ความหลากหลายทาง
ประสบการณ์ในการลงพื้นที่ สิ่งที่
ทุกคนได้พบเจอจากการลงพ้นื ที่จริง
อาจไม่เปน็ ไปตามตาราทเี่ ขยี นไว้
นามาซ่งึ ขอ้ มูลท่ีลว้ นมคี วามสาคัญ
และพรอ้ มแบ่งปนั ขอ้ มลู น้ันออก
มาสูก่ ระบวนงาน ระยะเวลา แนวทางการปฏบิ ตั ทิ ช่ี ัดเจนเป็นมาตรฐาน

43

สานตอ่ มุ่งม่นั สู่...การพฒั นางานประจาสูง่ านวจิ ัย
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี ”

ในเมื่อกระบวนงาน ระยะเวลา ไม่ชัดเจน แล้วทาอย่างไรให้
ทุกอย่างเป็นมาตรฐานในทิศทางเดียวกัน จึงเกิดเวทีแลกเปลี่ยนระดม
ความคิดเห็นข้ึน ณ สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10
เพอื่ นาขอ้ ปฏิบัติที่ยังไม่ชัดเจนทั้งด้านกระบวนงาน ระยะเวลา ตลอดจน
ปัญหาอุปสรรคท่ีเกิดข้ึนมา แนวทางแก้ไขควรเป็นอย่างไร ร่วมทา
ข้อตกลงร่วมกัน สาหรับผู้เข้าร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ ประกอบด้วย
ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านการให้ช่วยเหลือผู้ประสบ
ปัญหาทางสังคมของหน่วยงาน One Home สังกัดกระทรวง
การพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดสุราษฎร์ธานี ซึ่งจัด
ข้ึนในวันท่ี 5 มีนาคม 2563 ที่ผ่านมา จากเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ในครง้ั นน้ั แบง่ ผูเ้ ข้าร่วมเวทีช่วยกันระดมความคิดเห็นออกเป็น 2 กลุ่ม
ในรปู แบบการสนทนากล่มุ (Focus Group) คือ

กลุ่มท่ี  ประกอบด้วย สานักงานพัฒนาสังคมและ
ความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดสุราษฎร์ธานี สถานพัฒนาและฟื้นฟูเด็ก
จังหวัดสุราษฎร์ธานี บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัดสุราษฎร์ธานี
และสานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ 10

กลุ่มท่ี  ประกอบด้วย นิคมสร้างตนเองขุนทะเล
นิคมสร้างตนเองพระแสง สถานคุ้มครองสวัสดิภาพผู้เสียหายจากการค้า
มนุษย์ (บ้านศรีสรุ าษฎร)์ ศูนย์คมุ้ ครองคนไร้ท่พี ง่ึ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
และสานกั งานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 10

ผลจากการแลกเปลี่ยนความคดิ เห็นภายในกลุม่ พบวา่ ประเด็น
ด้านกระบวนงาน กับระยะเวลา ของกลุ่มท่ีหนึ่งด้านกระบวนงานตั้งแต่

44

สานตอ่ ม่งุ ม่ันสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจัย
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปญั หาทางสงั คม จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

แรกรับเรื่องจนส้ินสุดใช้ระยะเวลา ประมาณ 33 วัน (ดังตารางท่ี 1)
ส่วนของกลุ่มที่สองด้านกระบวนงานต้ังแต่แรกรับเร่ืองจนสิ้นสุดใช้
ระยะเวลาประมาณ 105 วนั (ดงั ตารางท่ี 2)

ซ่ึงจากข้อมูลดังกล่าวในด้านกระบวนงาน และระยะเวลา
ใ น ก า ร ใ ห้ ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ ผู้ ป ร ะ ส บ ปั ญ ห า ท า ง สั ง ค ม ข อ ง เ จ้ า ห น้ า ที่
ผู้ปฏิบัติงานใช้ระยะเวลานานเกินไปในการช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมาย
นั่นเปน็ เหตผุ ลสาคัญท่ตี อ้ งให้เจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติมาทาข้อตกลงร่วมกันใน
เวทีใหญ่ในคร้ังน้ัน โดยใช้หลักการ R2R (การนางานประจามา
พัฒนาสู่งานวิจัย) เพ่ือปรับปรุง แก้ไข ลดระยะเวลาในการปฏิบัติงาน
ด้านการช่วยเหลือกลุ่มผู้ประสบปัญหาทางสังคม ให้เป็นมาตรฐานและ
ทศิ ทางเดยี วกัน
ตารางที่ 1 ประเด็นกระบวนงานกับระยะเวลาของกลุ่มท่ี 1 ในการ
ปฏบิ ัติงานใหค้ วามช่วยเหลือผปู้ ระสบปญั หาทางสงั คม

กระบวนงาน ระยะเวลา

1. เจ้าหน้าท่รี บั เรอื่ งทั้งจากภาคีเครอื ขา่ ย 10 นาที

เช่น องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น

โรงพยาบาล กานนั ผู้ใหญบ่ ้าน

หรือจากการ Walk In เขา้ มาของกลุม่

ผ้รู บั บรกิ ารมาด้วยตนเอง

2. เจ้าหน้าทบี่ ันทึกขอ้ มลู (ครง้ั ที่ 1 ) 30 นาทตี อ่ Case

45

สานต่อมุ่งมัน่ สู่...การพัฒนางานประจาสู่งานวิจัย
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบปญั หาทางสังคม จังหวดั สุราษฎร์ธานี ”

ตารางท่ี 1 ประเด็นกระบวนงานกับระยะเวลาของกลุ่มท่ี 1 ในการ
ปฏบิ ตั ิงานให้ความชว่ ยเหลอื ผู้ประสบปญั หาทางสังคม (ตอ่ )

กระบวนงาน ระยะเวลา
5 วันทาการ
3. การลงพื้นทส่ี อบข้อเทจ็ จรงิ พรอ้ ม
ติดตามเยี่ยมบา้ นกับภาคเี ครือข่าย 10 วนั ทาการ
*** ขนึ้ อยกู่ บั ระยะทางและ 30 นาที
บรบิ ทของพน้ื ที่ ***
30 นาที
4. เสนอคณะกรรมการกลนั่ กรอง 7 วันทาการ
พจิ ารณาเดือนละ 2 ครงั้

5. แจง้ ผู้ใช้บรกิ าร หรือหนว่ ยงานภาคี
เครือข่ายท่ีสง่ เรอ่ื งมา กรณีที่
คณะกรรมการไมเ่ ห็นชอบ

6. เจา้ หนา้ บนั ทึกข้อมูลเพิม่ ขอ้ มูลใน
ระบบ (ครง้ั ท่ี 2 )

7. จัดทาหนังสือขออนุมัติเบิกจา่ ย หรือ
หัวหน้าอนุมัตเิ งนิ (สานักงานพัฒนา
สังคมและความมน่ั คงของมนุษย์จงั หวัด
สว่ นของการเงินจะเป็นผ้ตู รวจสอบ
เอกสาร)

46

สานต่อมงุ่ มน่ั สู่...การพฒั นางานประจาสูง่ านวจิ ยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

ตารางที่ 1 ประเด็นกระบวนงานกับระยะเวลาของกลุ่มท่ี 1 ในการ
ปฏิบัตงิ านใหค้ วามช่วยเหลือผู้ประสบปญั หาทางสงั คม (ตอ่ )

กระบวนงาน ระยะเวลา

8. เจ้าหน้าท่ีการเงินอนมุ ัติเบกิ จ่ายเงนิ 7 วันทาการ
สง่ ไปยงั หนว่ ยเบกิ จ่าย (ศูนย์ค้มุ ครอง
คนไร้ทพ่ี งึ่ ฯ เมอ่ื เจ้าหนา้ ทีก่ ารเงนิ
ตรวจสอบเรียบร้อย หัวหน้าอนมุ ัติ
เรยี บร้อยจึงทาหนงั สือไปยงั หนว่ ย
เบกิ จ่ายคือ นคิ มสร้างตนเองขนุ ทะเล)

9. เงนิ เข้าบญั ชผี ู้เข้ารับบรกิ าร 3 วนั ทาการ

10. เจา้ หนา้ ท่คี ยี ์ข้อมลู วนั จ่ายเงิน 30 นาที

11. แจง้ ผลการโอนเงนิ

รวม 33 วนั

ตารางที่ 2 ประเด็นกระบวนงานกับระยะเวลาของกลุ่มท่ี 2 ในการ
ปฏบิ ัตงิ านให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปญั หาทางสงั คม

กระบวนงาน ระยะเวลา

1. เจ้าหนา้ ทร่ี ับเรื่องท้งั จากภาคเี ครือขา่ ย 7 วันทาการ

เชน่ องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ** (กรณี Walk In

โรงพยาบาล กานัน ผู้ใหญ่บ้าน สอบอย่างละเอียด 20 นาที

หรือจากการ Walk In เข้ามาของกลมุ่ ต่อ Case )

ผู้รับบรกิ ารมาด้วยตนเอง

47

สานต่อมุ่งม่นั สู่...การพัฒนางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผูป้ ระสบปัญหาทางสงั คม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ”

ตารางท่ี 2 ประเด็นกระบวนงานกับระยะเวลาของกลุ่มท่ี 2 ในการ
ปฏบิ ัตงิ านใหค้ วามชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปัญหาทางสงั คม (ตอ่ )

กระบวนงาน ระยะเวลา

2. การประสานพ้ืนที่เบื้องต้น เพ่ือนัด 10-15 วนั ทาการ

หมายเครือข่ายในพน้ื ท่ี พรอ้ มรอการ กรณที ี่รบั เรื่องและประสาน

ตอบกลับท้งั กรณี Walk In และการ พน้ื ที่ตอบกลบั

ส่งตอ่ กลุ่มเปา้ หมายมาจากภาคีเครอื ขา่ ย

3. เจา้ หน้าทบ่ี นั ทกึ ขอ้ มูล (ครงั้ ที่ 1 ) 20-30 Case ตอ่

2 วนั ทาการ

4. การลงพ้นื ทส่ี อบข้อเทจ็ จริง พรอ้ ม 1-2 วันทาการ แลว้ แต่

ตดิ ตามเยี่ยมบา้ นกับภาคีเครือข่าย กลมุ่ เป้าหมาย

*** ขนึ้ อยกู่ บั ระยะทางและ

บรบิ ทของพน้ื ท่ี ***

48

สานตอ่ มุง่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาส่งู านวิจัย
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผ้ปู ระสบปัญหาทางสังคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ”

ตารางที่ 2 ประเด็นกระบวนงานกับระยะเวลาของกลุ่มที่ 2 ในการ
ปฏิบตั งิ านให้ความชว่ ยเหลือผปู้ ระสบปัญหาทางสังคม (ต่อ)

กระบวนงาน ระยะเวลา

5. นาขอ้ มูลมาวเิ คราะหค์ วามถกู ตอ้ ง 20 วนั แลว้ แต่กลุ่มเปา้ หมาย

เพอื่ เตรียมเสนอคณะกรรมการ ซ่งึ ไดแ้ ก่
 การตรวจสอบขอ้ มูลในระบบ

 การทาภาพประกอบ

การเยีย่ มบ้าน
 การคียข์ อ้ มูลพืน้ ฐานครัง้ ท่ี 1

 การสรปุ และวินิจฉยั ปัญหาของ

แตล่ ะราย
 การจัดทาข้อเสนอ

คณะกรรมการ One Home

(สาหรบั การจดั ประชมุ จะจดั ขน้ึ ใน

สปั ดาหท์ ่ี 2 และ 4 ของเดอื น)

6. เสนอคณะกรรมการกลนั่ กรอง 1 วันทาการ

พจิ ารณาเดือนละ 2 ครัง้

7. เจา้ หนา้ บนั ทึกขอ้ มลู เพิ่มขอ้ มูลใน 2 วันทาการ

ระบบ (ครงั้ ที่ 2 )

49

สานตอ่ มงุ่ มนั่ สู่...การพัฒนางานประจาสู่งานวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปญั หาทางสงั คม จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี ”

ตารางท่ี 2 ประเด็นกระบวนงาน กับระยะเวลาของกลุ่มท่ี 2 ในการ
ปฏบิ ัตงิ านให้ความช่วยเหลอื ผูป้ ระสบปญั หาทางสงั คม (ตอ่ )

กระบวนงาน ระยะเวลา
8. ส่งใหเ้ จ้าหน้าที่การเงนิ ตรวจสอบ 20 วนั ทาการ
ความถูกต้อง โดยการทา Check
List เพือ่ ตรวจสอบขอ้ มูลอีกคร้งั 1 วันทาการ
9. จัดทาหนงั สือขออนมุ ตั เิ บิกจ่าย หรือ
หวั หน้าอนุมัติเงิน (สานกั งานพัฒนา 30 วันทาการ (ศนู ย์
สงั คมและความมัน่ คงของมนุษยจ์ ังหวดั คุ้มครองคนไร้ท่ีพึง่ ฯ ให้
สว่ นของการเงนิ จะเปน็ ผ้ตู รวจสอบ การเงนิ ตรวจสอบเรยี บรอ้ ย
เอกสาร) หัวหน้าอนุมตั เิ รยี บรอ้ ย
ทาหนงั สอื ถงึ
10. เจา้ หน้าท่ีการเงินอนุมัติเบกิ จา่ ยเงนิ นิคมสร้างตนเองขนุ ทะเล)
สง่ ไปยงั หนว่ ยเบกิ จ่าย (ศูนย์คมุ้ ครอง 3-4 วันทาการ
คนไร้ทพี่ ่งึ ฯ เมื่อเจ้าหนา้ ท่กี ารเงิน 1 วนั ทาการ
ตรวจสอบเรียบรอ้ ย หัวหน้าอนมุ ตั ิ
เรยี บรอ้ ยจึงทาหนงั สือไปยงั หน่วย 105 วนั
เบิกจ่ายคอื นคิ มสร้างตนเองขุนทะเล)
11. เงนิ เข้าบัญชผี ู้เข้ารับบรกิ าร

12. เจา้ หนา้ ทีค่ ีย์ข้อมลู วันจ่ายเงิน

13. แจ้งผลการโอนเงิน

รวม

50

สานต่อม่งุ ม่นั สู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบปัญหาทางสงั คม จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี ”


Click to View FlipBook Version