The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Tpso10 Network, 2020-06-12 03:25:11

แนวทางการพัฒนากระบวนงานการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมจังหวัดสุราษฎร์ธานี

การพัฒนางานประจำสู่การวิจัย ปี 2563

จากข้อมูลตารางข้างต้นของการระดมความคิดเห็นจาก
เจ้าหน้าทผ่ี ปู้ ฏบิ ัตงิ านทัง้ สองกลุม่ พบว่ากระบวนงานในบางขั้นตอนของ
กลุ่มทหี่ นึง่ และกลุ่มทส่ี อง มีความเหมือนและแตกต่างในการปฏิบัติงาน
การช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม เพราะฉะน้ันในส่วนของ
กระบวนงานจึงควรเพ่ิมหรือลดขั้นตอนที่ซ้าซ้อนลง ด้านระยะเวลาใน
การปฏิบัติงานในแต่ละกระบวนงานต้องปรับเปลี่ยนเพื่อลดระยะเวลาให้
กลุ่มผู้ประสบปัญหาทางสังคมได้รับการช่วยเหลืออย่างทันท่วงที และ
รวดเร็ว ในมุมมองท่ีสามารถเป็นไปได้ ภายใต้ข้อตกลงร่วมกัน และน่ัน
นาไปสู่กระบวนงานที่ชัดเจนขึ้น ซึ่งนาหลักการของ R2R เกี่ยวกับงาน
ประจาท่ีซ้าซ้อนมาปรับปรุงแก้ไขให้เป็นมาตรฐานและไปในทิศทาง
เดียวกัน และถูกต้องตามกฎระเบียบที่สอดคล้องกับนโยบายท่ีออกมา
สรปุ ได้ดงั ตางรางต่อไปนี้
ตารางที่ 3 ประเด็นด้านกระบวนงาน กับระยะเวลาในการปฏิบัติงาน
ใหค้ วามชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปัญหาทางสงั คม

กระบวนงาน ระยะเวลา

1. เจ้าหน้าท่ีรับเรอื่ งท้ังจากภาคเี ครือข่าย 30 นาที

เชน่ องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่

โรงพยาบาล กานัน ผู้ใหญ่บ้าน

หรือจากการ Walk In เขา้ มาของกลมุ่

ผูร้ ับบรกิ ารมาดว้ ยตนเอง

51

สานต่อม่งุ มั่นสู่...การพัฒนางานประจาสู่งานวจิ ัย
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลือผู้ประสบปญั หาทางสงั คม จังหวดั สุราษฎร์ธานี ”

ตางรางท่ี 3 ประเดน็ ดา้ นกระบวนงาน กบั ระยะเวลาในการปฏบิ ตั งิ าน
ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปญั หาทางสงั คม (ตอ่ )

กระบวนงาน ระยะเวลา

2. การประสานพืน้ ท่ีเบื้องต้น เพือ่ นัด 5 วนั ทาการ

หมายเครือข่ายในพ้นื ที่ พร้อมรอการ

ตอบกลบั ท้ังกรณี Walk In และการ

ส่งต่อกลุ่มเปา้ หมายมาจากภาคเี ครือข่าย

3. เจา้ หน้าทบ่ี ันทึกขอ้ มลู (ครง้ั ที่ 1 ) 15-20 นาทีต่อ Case

4. การลงพนื้ ที่สอบขอ้ เท็จจรงิ พรอ้ ม 10-15 Case ตอ่ หน่ึงวัน

ตดิ ตามเย่ียมบ้านกบั ภาคีเครือขา่ ย

*** ขน้ึ อยกู่ บั ระยะทางและ

บรบิ ทของพนื้ ท่ี ***

5. นาข้อมูลมาวิเคราะห์ความถกู ตอ้ ง 10-15 วันทาการ

เพอ่ื เตรียมเสนอคณะกรรมการ ซง่ึ ไดแ้ ก่ (25 นาที ตอ่ หนง่ึ Case)

 การตรวจสอบขอ้ มูลในระบบ

 การทาภาพประกอบ

การเยี่ยมบ้าน

 การคีย์ขอ้ มลู พน้ื ฐานคร้ังที่ 1

 การสรปุ และวินจิ ฉัยปญั หาของ

แตล่ ะราย

 การจัดทาขอ้ เสนอ

52

สานต่อมุ่งมัน่ สู่...การพฒั นางานประจาสู่งานวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบปัญหาทางสังคม จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี ”

ตารางท่ี 3 ประเดน็ ดา้ นกระบวนงาน กบั ระยะเวลาในการปฏบิ ตั งิ าน
ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปญั หาทางสงั คม (ตอ่ )

กระบวนงาน ระยะเวลา

คณะกรรมการ One Home
(สาหรบั การจดั ประชมุ จะจดั ขน้ึ ในสปั ดาหท์ ่ี
2 และ 4 ของเดอื น)

6. เสนอคณะกรรมการกลน่ั กรอง 1 วันทาการ
พิจารณาเดือนละ 2 คร้งั 1 วนั ทาการ

7. แจ้งผู้ใช้บริการ หรือหนว่ ยงานภาคี 10 นาที ตอ่ Case
เครือข่ายท่ีส่งเรื่องมา กรณที ่ี 20 Case ตอ่ หนงึ่ วนั
คณะกรรมการไมเ่ ห็นชอบ
(ศนู ยค์ มุ้ ครองคนไรท้ พี่ ่งึ ฯ จะมแี จง้ หนงั สอื
ไปยงั ผใู้ ชบ้ รกิ าร)

8. เจา้ หน้าบนั ทึกขอ้ มลู เพิ่มขอ้ มลู ในระบบ
(ครง้ั ที่ 2 )

9. ส่งให้เจ้าหนา้ ทกี่ ารเงนิ ตรวจสอบความ
ถูกต้อง โดยการทา Check List เพอ่ื
ตรวจสอบขอ้ มูลอกี ครงั้

53

สานต่อมงุ่ ม่ันสู่...การพัฒนางานประจาสู่งานวจิ ยั
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผ้ปู ระสบปัญหาทางสงั คม จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี ”

ตารางที่ 3 ประเดน็ ดา้ นกระบวนงาน กบั ระยะเวลาในการปฏบิ ตั งิ าน
ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปญั หาทางสังคม (ตอ่ )

กระบวนงาน ระยะเวลา
1 วันทาการ
10. จดั ทาหนังสือขออนมุ ตั เิ บิกจา่ ย หรือ
หวั หน้าอนมุ ตั เิ งนิ (สานักงานพฒั นาสังคม 7 วันทาการ
และความม่นั คงของมนษุ ยจ์ งั หวดั ส่วนของ
การเงนิ จะเปน็ ผู้ตรวจสอบเอกสาร) 3 วันทาการ
11. เจ้าหน้าที่การเงนิ อนมุ ัตเิ บกิ จ่ายเงิน 10 นาทตี อ่ Case
ส่งไปยังหนว่ ยเบกิ จ่าย (ศูนย์คมุ้ ครองคนไร้
ทพี่ ่งึ ฯ เมื่อเจ้าหน้าทก่ี ารเงินตรวจสอบ 21 วนั ทาการ
เรียบรอ้ ย หัวหน้าอนุมตั เิ รยี บรอ้ ยจึงทา
หนังสอื ไปยงั หนว่ ยเบกิ จา่ ยคือ นิคมสร้าง
ตนเองขุนทะเล)

12. เงนิ เขา้ บัญชผี ู้เขา้ รับบริการ

13. เจ้าหนา้ ทค่ี ีย์ขอ้ มูลวันจา่ ยเงิน

14. แจง้ ผลการโอนเงิน

รวม

ซึ่งกระบวนการดังตารางเป็นการสรุปผลข้อมูลทางความคิด
จากมุมมองผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายที่ได้รับ โดยการ
แบ่งกลุ่มเป็น 2 กลุ่ม ซึ่งสามารถเสนอออกมาในภาพของอินโฟกราฟิก
กระบวนงาน และระยะเวลา เพ่ือเป็นมาตรฐานในการปฏิบัติงานของทุก

54

สานตอ่ มุ่งม่นั สู่...การพฒั นางานประจาสูง่ านวิจยั
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลือผูป้ ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี ”

หน่วยงาน One Home พม. จังหวัดสุราษฎร์ธานีในการให้ความ
ช่วยเหลือผปู้ ระสบปญั หาทางสังคม ดงั ภาพกระบวนงาน ระยะเวลา การ
ชว่ ยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี

55

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพัฒนางานประจาสงู่ านวจิ ัย
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปัญหาทางสงั คม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

สาหรับแนวกระบวนงาน และระยะเวลาท่ีออกมาถือเป็น
แนวปฏิบัติร่วมกันของทุกหน่วยงาน One Home สังกัดกระทรวง
การพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ในด้านการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมในพื้นท่ี และเพ่ือ
นาข้อมูลท่ีได้ไปปรับใช้ในกระบวนงานด้านการช่วยเหลือผู้รับบริการท่ี
ทนั ท่วงที รวดเรว็ และเป็นไปตามกฎระเบียบท่ีกาหนดไว้



อนุ่ ใจต่อผู้ปฏบิ ตั ิงาน ไวว้ างใจตอ่ คณะกรรมการกล่นั กรอง
สขุ ใจต่อผู้รบั บรกิ าร



56

สานตอ่ มุง่ ม่นั สู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวจิ ยั
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบปญั หาทางสังคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ”

สมั ผสั ..จึงเกดิ !!!

ภายใต้หัวข้อ “สัมผัส..จึงเกิด” น่ันคือ ประเด็นปัญหา
อุปสรรค ของการลงพ้ืนท่ีการปฏิบัติงานจริงของเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ
ในการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี
บางมุมมองอาจตรงกัน แต่ในบางมุมมองอาจแตกต่างกัน ล้วนมาจาก
การลงพื้นที่สัมผัส เย่ียมเยียนกลุ่มผู้ประสบปัญหาทางสังคมในพื้นที่
ท่ีทุกคนประสบพบเจอ นามาแบ่งปันประสบการณ์ มาแบ่งปันข้อมูล
และมาสร้างข้อสงสัยร่วมด้วยช่วยกันคิดว่าถ้าปัญหาอุปสรรคเกิดข้ึนใน
ลักษณะน้ี คุณทาอย่างไร ฉันทาอย่างไร เธอทาอย่าง สุดท้ายจึงได้
ออกมาเป็นประเดน็ ปัญหาอปุ สรรคดังจะกล่าวต่อไปนี้

ตารางท่ี 4 ประเด็นปัญหาอุปสรรค และแนวทางการแก้ไข ในการ
ปฏบิ ตั ิงานใหค้ วามช่วยเหลอื ผู้ประสบปญั หาทางสงั คม

ปญั หาอปุ สรรคท่ีพบ แนวทางการแกไ้ ข

1. การเย่ียมบ้านต้องใช้ระยะเวลา ต้องวางแผนการทางานในการ

ซงึ่ ไมส่ อดคลอ้ งกบั พื้นทีท่ ่รี ับผิดชอบ เลือกพนื้ ท่ีและกลุม่ เปา้ หมาย

2. บคุ ลากรมภี าระงานหลายดา้ น การวางแผน และสร้างทีมใน

การทางานรว่ มกนั

57

สานต่อมงุ่ ม่นั สู่...การพัฒนางานประจาส่งู านวิจยั
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปญั หาทางสงั คม จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี ”

ตารางที่ 4 ประเด็นปัญหาอุปสรรค และแนวทางการแก้ไข ในการ
ปฏบิ ัตงิ านใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปญั หาทางสงั คม (ตอ่ )

ปญั หาอปุ สรรคท่ีพบ แนวทางการแกไ้ ข

3. นโยบายและการปฏิบัติสวนทาง ควรมีมาตรการหรือวิธีการที่

กัน เช่น การงดใช้กระดาษ การ สามารถเชื่อมโยงข้อมูลโดยไม่

เรียกเก็บข้อมูลสาเนาบัตรประชาชน สร้างภาระให้กับกลุ่มเปา้ หมาย

ของผรู้ ับบริการ

4. จานวนผู้ประสบปัญหาทางสังคม จดั ลาดับความสาคญั ดา้ นความ

เพิ่มมากขนึ้ เดอื ดรอ้ นมากและน้อย

ตามลาดบั

5. ความยุ่งยาก ซับซ้อนในการ การลดข้ันตอนการปฏิบัติให้

ทางาน สง่ ผลให้องค์กรปกครองส่วน สอดคล้องกับบริบทพ้ืนที่และ

ท้องถิ่นไมใ่ ห้ความร่วมมือเท่าท่ีควร ถกู ต้องตามระเบยี บ

6. แนวปฏิบัติ หรือระเบียบไม่ได้ ควรมีขอ้ มลู ในส่วนของ

นิยามกลุ่มเป้าหมายและไม่สอดคล้อง กลมุ่ เป้าหมายและงบประมาณที่

กบั เงนิ ทไี่ ด้รับการจัดสรร (กรณีเงิน จะจัดสรรลงมา

ช่วยเหลือฉุกเฉิน แต่กระบวนการ

ไมส่ อดคลอ้ ง)

58

สานต่อมุง่ ม่นั สู่...การพัฒนางานประจาสูง่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผูป้ ระสบปัญหาทางสังคม จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี ”

ตารางที่ 4 ประเด็นปัญหาอุปสรรค และแนวทางการแก้ไข ในการ
ปฏิบตั งิ านใหค้ วามช่วยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม (ต่อ)

ปญั หาอปุ สรรคทพ่ี บ แนวทางการแกไ้ ข

7. แนวทางการพิจารณาช่วยเหลือ

โดยใช้กลุ่มเป้าหมายท่ีได้รับบัตร

สวัสดิการแห่งรัฐเป็นฐานในการ

ช่วยเหลือ แต่ในทางปฏิบัติจริงพบว่า

คุ ณ ส ม บั ติ ไ ม่ ต ร ง ต า ม เ ก ณ ฑ์

(ปญั หาเชงิ นโยบาย)

8. ภาคีเครือข่ายส่งรายช่ือกลุ่มผู้ ทาความเข้าใจกับเครอื ข่าย

ประสบปัญหาทางสังคมจานวนมาก

ทาให้ก าร ช่วยเหลือ ไม่สามาร ถ

ชว่ ยเหลือได้ทกุ ราย

9. การนัดหมายไม่ตรงกับระยะเวลา ปรบั เปล่ยี นตามพืน้ ท่ี

ที่ตั้งไว้ในแผน

10. การลงพื้นท่ีรถ และบุคลากรใน ขอความอนุเคราะห์จากพ้ืนท่ี

การปฏบิ ัตงิ านไมเ่ พยี งพอ

59

สานต่อมงุ่ มัน่ สู่...การพฒั นางานประจาส่งู านวจิ ยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผู้ประสบปญั หาทางสังคม จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี ”

ตารางท่ี 4 ประเด็นปัญหาอุปสรรค และแนวทางการแก้ไข ในการ
ปฏิบตั งิ านให้ความชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปัญหาทางสงั คม (ตอ่ )

ปญั หาอปุ สรรคที่พบ แนวทางการแกไ้ ข
 สร้างสัมพันธภาพกบั พ้นื ท่ี
11. เครือข่ายไมใ่ ห้ความรว่ มมอื ประชาสัมพนั ธ์หนว่ ยงาน
 จดั ประชมุ ชี้แจงระดับ
ในบางพ้ืนที่
 ไมล่ งเยีย่ มบ้านพร้อมกับ พ้ืนทกี่ บั ผู้ทีเ่ กยี่ วขอ้ งกอ่ นลง

เจ้าหนา้ ที่ ปฏบิ ัตงิ าน
 ไม่ใหค้ วามร่วมมอื ในการ

รับรองเอกสาร
 บางพื้นท่ีผู้นาไม่ให้

ความสาคญั
 บางพนื้ ที่ไมม่ อี าสาสมคั ร

พัฒนาสังคมและความมนั่ คงของ

มนุษย์ (อพม.)
 การใชร้ ะบบพวกพ้อง

ช่วยเหลอื เครอื ญาตใิ หไ้ ดร้ ับเงิน

สงเคราะห์

60

สานต่อมงุ่ มัน่ สู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวจิ ัย
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสงั คม จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี ”

ตารางที่ 4 ประเด็นปัญหาอุปสรรค และแนวทางการแก้ไข ในการ
ปฏิบตั ิงานใหค้ วามช่วยเหลือผ้ปู ระสบปัญหาทางสงั คม (ต่อ)

ปญั หาอปุ สรรคที่พบ แนวทางการแกไ้ ข
12. กลุ่มเปา้ หมายไม่ไดจ้ ัดเตรยี ม  อานวยความสะดวกโดยการ
เอกสารของตนเองไว้ให้ถูกต้อง เตรียมอปุ กรณห์ รอื
ครบถ้วน พริน้ เตอรไ์ ปลงพ้ืนที่
 ขอความรว่ มมือหน่วยงาน
13. กลุม่ เปา้ หมายไมอ่ ยูต่ ามท่ีได้ ในพนื้ ท่ี
นดั หมายไว้  ปรับเปลี่ยนแผนการเย่ยี ม
บ้าน
14. ไม่มหี ลักเกณฑ์การพิจารณา  ให้ อพม. เย่ียม Case
จากคณะกรรมการท่ชี ัดเจน ทยี่ งั คงขาดเพ่ือเป็นการเก็บตก
15. ระบบการคีย์ข้อมลู ไม่เสถียรทา ข้อมูล
ใหไ้ มส่ ามารถคียข์ ้อมูลเข้าระบบได้ กาหนดรูปแบบหลกั เกณฑ์ให้
16. ผลู้ งนามอนมุ ตั ิติดราชการทาให้ ชัดเจน
เกดิ ความลา่ ช้า ตอ้ งตดิ ตอ่ ไปยงั Admin ของ
17. หน่วยเบิกจ่ายแทนมภี ารกจิ มาก กรมพฒั นาสงั คมและสวัสดกิ าร
ทาให้การเบิกจ่ายลา่ ช้า รอผ้ลู งนามลงชอื่ รบั รองอนุมัติ

ขออนมุ ตั ิเปน็ หน่วยเบิกจ่ายเอง

61

สานตอ่ ม่งุ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสู่งานวจิ ัย
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบปญั หาทางสงั คม จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี ”

ตารางท่ี 4 ประเด็นปัญหาอุปสรรค และแนวทางการแก้ไข ในการ
ปฏิบัติงานใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปญั หาทางสังคม (ตอ่ )

ปญั หาอปุ สรรคทพ่ี บ แนวทางการแกไ้ ข
 ตรวจสอบหาหลักฐานใน
18. ผปู้ ระสบปัญหามีบญั ชีมากกว่า
หนงึ่ บัญชี เช่น เงนิ โอนเข้าบัญชหี น่ึง การโอนเพอื่ ยืนยัน
แต่ไปตรวจสอบอกี บัญชหี นงึ่  ทาหนังสอื แจ้งว่าโอนเงนิ เข้า

บัญชีไหน

ปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไขดังตารางข้างต้นซ่ึงเกิดจาก
การระดมความคิดเห็นร่วมกัน ตกผลึกเป็นข้อปัญหาอุปสรรค พร้อม
แนวทางแก้ไขของเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงานด้านการให้ความช่วยเหลือ
ผู้ประสบปัญหาทางสังคมเม่ือลงไปปฏิบัติงานจริงในพื้นท่ี ปัญหา
อุปสรรคเกิดขึ้นย่อมมีแนวทางแก้ไขที่สามารถแก้ได้ หากสอดคล้องกับ
นโยบาย และความเห็นชอบของผู้บังคับบัญชา เพื่อให้การดาเนินงาน
เป็นไปอย่างรวดเร็ว ทนั ต่อการชว่ ยเหลือของผเู้ ข้ารับบรกิ ารตอ่ ไป

อยา่ งไรกต็ ามในประเด็นด้านแนวทางการพจิ ารณาช่วยเหลือโดย
ใช้กลุ่มเป้าหมายท่ีได้รับบัตรสวัสดิการแห่งรัฐเป็นฐานในการช่วยเหลือ
นั้น ในทางปฏิบัติจริงพบว่าผู้ที่ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ แต่คุณสมบัติ
ไม่ตรงตามเกณฑ์ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของใน

62

สานต่อมงุ่ มนั่ สู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวจิ ัย
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี ”

ด้านการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม เนื่องด้วยยังไม่มี
ระเบียบข้อบังคบั ท่ีออกมา แต่น้เี ปน็ เพยี งแนวทางทีใ่ ชใ้ นการคัดกรองเพ่ือ
ช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมเท่าน้ัน ผู้ประสบปัญหาทางสังคมที่
ได้รับบัตรสวัสดิการแห่งรัฐบางรายอาจจะผ่านเกณฑ์หรือไม่ผ่านเกณฑ์
สามารถเป็นไปไดท้ งั้ สองแบบ

ในทางกลับกันมุมมองของผู้ประสบปัญหาทางสังคมย่อมมี
ขอ้ คาถามถงึ ปญั หาทีเ่ กดิ ขนึ้ ในการขอเข้ารบั การชว่ ยเหลอื เม่ือพวกเขาได้
ทาตามกระบวนงานที่ทางหน่วยงานได้ลงพ้ืนที่ไปเก็บข้อมูลทุกข้ันตอน
แต่ด้วยหลักการดาเนินงานในบางข้ันตอนทาให้การช่วยเหลือเกิดความ
ล่าช้า หรือแม้กระทั่งการรับฟังข่าวสารจากสื่อโซเชียลมีเดียเกี่ยวกับ
การเข้ารับการช่วยเหลือไม่มีความโปร่งใส มีผ ลกระทบทางลบ
ต่อหนว่ ยงานทเี่ ขา้ ให้การชว่ ยเหลอื ส่งผลให้พวกเขาขาดความไว้วางใจใน
การร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเข้าช่วยเหลือ ถึงแม้ส่วนนี้จะเป็นปัญหาเพียง
เล็กน้อยจากการลงพ้ืนท่ี แต่นั่นคือปัญหาท่ีทุกคนต้องร่วมกันหาแนว
ทางแกไ้ ข ดงั น้นั ควรมีมาตรการหรอื แนวทางท่ีชัดเจน และรัดกุมในการ
ให้การช่วยเหลือ ปฏิบัติงานอย่างโปร่งใส และตรวจสอบได้ ในทุก
ขั้นตอนการดาเนินงานของหน่วยงาน และเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงาน
รวมท้ังควรมีการประชาสัมพันธ์สร้างความน่าเชื่อถือในการปฏิบัติงาน

63

สานต่อมุ่งมัน่ สู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวจิ ัย
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปัญหาทางสังคม จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี ”

ต่อไป เพื่อสร้างความไว้วางใจให้กับผู้เข้ารับการบริการในเรื่องการเข้า
รบั การชว่ ยเหลือเงนิ สงเคราะหป์ ระเภทต่างๆ

"...ถา้ ประชาชนไม่มีที่พ่งึ ไม่มผี ู้ใดเอาใจใส่ พอ พึ่งทางราชการ ไมไ่ ด้
กต็ ้องหนั ไปพงึ่ ผูก้ ว้างขวาง ผู้มอี ิทธิพลจงึ เปน็ หนา้ ทีข่ องทางราชการ
ทจี่ ะปฏบิ ตั งิ าน เพ่ือใหก้ ารบรกิ ารของราชการไดเ้ ข้าถงึ ประชาชน
โดยท่วั ถงึ และทาด้วยความสุจรติ ..."

ความตอนหนง่ึ ในพระบรมราโชวาท
เน่อื งในโอกาสพระราชทานเคร่ืองราชอิสรยิ าภรณ์แก่ขา้ ราชการ

ณ พระตาหนกั จิตรลดารโหฐาน
วันท่ี 31 กรกฎาคม 2513

64

สานตอ่ มงุ่ มนั่ สู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจัย
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผ้ปู ระสบปัญหาทางสงั คม จังหวดั สุราษฎรธ์ านี ”

ถกู ตอ้ ง...ปลอดภยั

ถูกต้อง...ปลอดภัย หมายความว่าอย่างไร มาทาความเข้าใจกัน
เลยสาหรับหนังสือเล่มนี้เป็น “แนวทางการพัฒนากระบวนงานการ
ชว่ ยเหลือผูป้ ระสบปัญหาทางสงั คม ในพ้ืนท่ีจังหวัดสุราษฎร์ธานี เพื่อให้
เกิดมาตรฐาน และทิศทางเดียวกันท้ังในด้านกระบวนงาน ระยะเวลา
ของผู้รับบริการได้รับการช่วยเหลืออย่างรวดเร็ว และเป็นไปตามข้อ
ระเบียบท่ีระบุไว้ในการพิจารณา ดังน้ัน “ถูกต้อง...ปลอดภัย” คือ
ก า ร เ ส น อ ร า ย ล ะ เ อี ย ด ข้ อ มู ล ท่ี ไ ด้ จ า ก ก า ร ล ง พ้ื น ที่ ข อ ง เ จ้ า ห น้ า ท่ี
ผู้ ป ฏิ บั ติ ง า น ใ น ด้ า น ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ ผู้ ป ร ะ ส บ ปั ญ ห า ท า ง สั ง ค ม ต่ อ
คณะกรรมการพิจารณาให้ความช่วยเหลือ ซ่ึง ประกอบด้วย
คณะกรรมการจากหน่วยงาน One Home สังกัดกระทรวงการ
พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตัวแทน
ผทู้ รงคุณวุฒิ โดยจะจัดการประชมุ ในการพจิ ารณากลุ่มผู้ประสบปัญหา
ทางสังคม จานวน 2 ครั้งต่อเดือน คือสัปดาห์ที่ 2 และ 4 ของเดือน
ซง่ึ หลกั การรายงานการพิจารณาตอ้ งมคี วามชัดเจน โปร่งใส ตรวจสอบ
ได้ และข้อมูลถูกต้องตามกฎระเบียบ ท้ายสุดการทางานด้วยความ
ปลอดภัย มีความสุขด้วย เพราะหากตัวผู้ปฏิบัติรู้สึกไม่ปลอดภัยจะเป็น
ปัญหาในการทางาน และในมุมมองของคณะกรรมการท่ีเข้าร่วม
พิจารณาเงินอุดหนุนจะได้เกิดความไว้วางใจ เพราะในปัจจุบันการ
ทางานมปี ญั หาทีส่ ลับซบั ซอ้ นมากขน้ึ ประชาชนมีความตรงไปตรงมา

65

สานตอ่ มงุ่ ม่ันสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวจิ ยั
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบปัญหาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

สาหรับการรายงานการประชุมท่ีเสนอต่อคณะกรรมการ
พิจารณาให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม จังหวัด
สรุ าษฎรธ์ านี ซ่ึงรายละเอยี ดการรายงานประชุมน้ันเป็นไปตามรรูปแบบ
หนังสือท่แี จ้งในวาระการประชมุ ในแตล่ ะคร้ัง ประกอบดว้ ย

รายงานการประชุมคณะกรรมการพิจารณาให้ความช่วยเหลือ
ผู้ประสบปญั หาทางสังคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี

คร้งั ที่ ........วันท่ี ..........................ระหว่างเวลา.........................
ณ ห้องประชมุ สานกั งานพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์
จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี
************************************************

คณะกรรมการทเ่ี ข้าร่วมประชุม
..........................................................................................................
..........................................................................................................
คณะกรรมการที่ไม่เข้ารว่ มประชมุ
..........................................................................................................
..........................................................................................................
ผู้เข้าร่วมประชมุ
..........................................................................................................
..........................................................................................................
เริ่มประชมุ เวลา.........ตามระเบียบวาระการประชมุ ดังนี้

66

สานต่อมงุ่ ม่ันสู่...การพฒั นางานประจาสู่งานวิจัย
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบปัญหาทางสังคม จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี ”

ระเบียบวาระที่ 1 เรอ่ื งประธานแจง้ ทปี่ ระชุมทราบ
..........................................................................................................
..........................................................................................................
ระเบียบวาระท่ี 2 เรอื่ งรบั รองรายการประชุมครงั้ ท.ี่ .........วนั ที.่ ...........
..........................................................................................................
..........................................................................................................
ระเบียบวาระที่ 3 เรือ่ งเพ่อื ทราบ
..........................................................................................................
..........................................................................................................
ระเบียบวาระที่ 4 เร่ืองพิจารณา
..........................................................................................................
..........................................................................................................
ระเบียบวาระท่ี 5 เร่ืองอน่ื ๆ (ถา้ ม)ี
..........................................................................................................
..........................................................................................................
ปดิ ประชมุ เวลา.........

ลงชอ่ื ......ผู้จดรายงานการประชุม ลงชอ่ื ......ผูต้ รวจรายงานการประชมุ

(.................................) (................................)

ตาแหน่ง.............................. ตาแหนง่ .....................................

67

สานต่อมุ่งม่นั สู่...การพัฒนางานประจาส่งู านวิจยั
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

นอกจากนใ้ี นการประชุมทุกครง้ั จะต้องมีการรับรองการประชุม
โดยคณะกรรมการพิจารณาให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม
จังหวดั สุราษฎรธ์ านี ดงั รายละเอยี ดตามภาพ

68

สานตอ่ มุ่งม่ันสู่...การพัฒนางานประจาสู่งานวจิ ยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผปู้ ระสบปญั หาทางสงั คม จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี ”

ด้านรูปแบบรายละเอียดการเสนอขอ้ มลู ผู้ประสบปญั หาทาง
สงั คมนั้นมีการกาหนดแบบฟอร์มร่วมกนั ระหว่างคณะกรรมการในการ
พจิ ารณาให้การช่วยเหลอื ผปู้ ระสบปัญหาทางสังคม เพ่ือให้เป็นไปใน
ทศิ ทางเดียวกนั และสามารถตรวจสอบข้อมูลผู้ประสบปัญหาทางสงั คม
ได้ และสรา้ งความไว้วางใจต่อผู้ปฏบิ ตั งิ าน และคณะกรรมการผู้
พจิ ารณาด้วย ดงั ภาพท่ี 1
ภาพท่ี 1 หนังสอื แสดงรายช่ือผยู้ ืนคาขอรับการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปัญหา
ทางสงั คม

สาหรบั หนังสอื ฉบบั น้ีตอ้ งมีการรับรองรายชื่อคณะกรรมการอย่างน้อย
3 ทา่ นในเอกสารของทุกๆหน้า

69

สานตอ่ มงุ่ มนั่ สู่...การพฒั นางานประจาส่งู านวิจัย
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบปญั หาทางสงั คม จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี ”

นอกจากน้นั ในการรายงานการประชมุ ต้องมขี อ้ มูลภาพ
ประกอบของผปู้ ระสบปัญหาทางสงั คมทเ่ี ข้าช่วยเหลือในด้านของสภาพท่ี
อย่อู าศยั ภาพของผ้ปู ระสบปัญหาทางสงั คม ดังตัวอย่าง

นาง ก นามสมมติ อายุ 37 ปี
อาศัยอยู่ที่ อาเภอเคียนซา จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี

70

สานตอ่ มุง่ มนั่ สู่...การพัฒนางานประจาสู่งานวิจัย
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผู้ประสบปญั หาทางสงั คม จงั หวดั สุราษฎร์ธานี ”

รายช่ือผู้เย่ียมบ้าน
นางนชุ รยี ์ ดว้ งสา พนกั งานคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก
นางสาว ข นามสมมติ อายุ 44 ปี

อาศัยอยู่ท่ี ตาบลเวยี งสระ อาเภอเวียงสระ จังหวดั สุราษฎรธ์ านี

71

สานตอ่ ม่งุ ม่ันสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวจิ ัย
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลือผู้ประสบปญั หาทางสงั คม จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี ”

รายช่ือผู้เยี่ยมบ้าน
1. นางอรุ สา จนิ โต นายกเหล่ากาชาด จ.สุราษฎร์ธานีและคณะ
2. นายสพุ ัชรพงศ์ วรประดิษฐ์ นายอาเภอเวยี งสระ
3. น.ส.อภัสรา ขนานเภา นักสังคมสงเคราะห์ (บพด.)
4. นางนชุ รีย์ ด้วงสา พนกั งานคุ้มครองสวัสดิภาพเดก็ (พมจ.)

นาง ค นามสมมติ อายุ 72 ปี
อาศยั อยู่ท่ี ตาบลบา้ นบาง อาเภอครี ีรัฐนคิ ม จังหวัดสรุ าษฎร์ธานี

72

สานตอ่ มงุ่ ม่นั สู่...การพฒั นางานประจาสู่งานวิจัย
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลือผูป้ ระสบปญั หาทางสงั คม จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี ”

สนิ้ สดุ ขบวน...

การเดินทางของกระบวนงาน ระยะเวลา ตลอดจนอุปสรรคที่
พบนาไปสู่แนวทางการแก้ไข ภายใต้หัวข้อ “แนวทางการพัฒนา
กระบวนงานการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ไดส้ น้ิ สุดกระบวนงานลง การพัฒนางานประจาสู่งานวิจัย (R2R) มา
ใชใ้ นกระบวนงานการช่วยเหลอื ผปู้ ระสบปัญหาทางสังคม ในครั้งนี้ทาให้
กระบวนงาน ระยะเวลา เป็นมาตรฐานและทิศทางเดียวกันในการ
ทางานของทกุ หน่วยงานสงั กดั กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคง
ของมนุษย์จังหวัดสุราษฎร์ธานี สุดท้ายใครได้อะไรบ้างในงานคร้ังน้ี

มมุ มองหนว่ ยงาน ปฏิบัติงาน

 ได้มาตรฐานกระบวนงาน ระยะเวลา ที่เปน็ มาตรฐานทิศทาง
เดียวกนั และการปฏบิ ตั ิงานที่เป็นระบบมากขนึ้

 สร้างความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงานของเจา้ หนา้ ท่ีผ้ปู ฏิบัติงาน
 เกดิ ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ด้านการปฏิบตั ิงานของ
เจ้าหนา้ ทผ่ี ปู้ ฏบิ ตั งิ าน
 สรา้ งความมัน่ ใจตอ่ คณะกรรมการพิจารณากลั่นกรองใหค้ วาม
ชว่ ยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสงั คม
 ความทจุ รติ ที่จะเกดิ ข้ึนในกระบวนการทางานไมส่ ามารถเกิดขึน้
ได้

73

สานตอ่ ม่งุ ม่นั สู่...การพัฒนางานประจาส่งู านวิจัย
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปัญหาทางสงั คม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ”

มุมมองผูป้ ระสบปญั หาทางสังคม
 ได้รับการช่วยเหลอื อยา่ งทันท่วงที ใชร้ ะยะการรอการับการ

ชว่ ยเหลือทรี่ วดเร็วขึน้
 กระบวนงานการทางานชดั เจน สามารถตรวจสอบการทางาน

ของหนว่ ยงาน และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏบิ ัติงานได้
 ระบบการโอนเงนิ เป็นการโอนเงนิ ผา่ นระบบออนไลนข์ อง

ธนาคารกรุงไทย การรบั เงินชว่ ยเหลือจึงรวดเรว็ และตรวจสอบผ่าน
ระบบไดด้ ว้ ยตนเอง

74

สานตอ่ มุง่ มัน่ สู่...การพัฒนางานประจาสู่งานวิจัย
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปัญหาทางสงั คม จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี ”

บรรณานกุ รม...

กรมกิจการผู้สูงอายุ. โครงการใหบ้ รกิ ารสงเคราะห์ผสู้ งู อายุในภาวะ
ยากลาบาก. 2562

กรมพฒั นาสังคมและสวัสดิการ. แนวทางและมาตรการจดั สรรและ
จ่ายเงนิ อุดหนนุ เฉพาะกจิ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562).
กนั ยายน 2562.

กรมสง่ เสริมและพฒั นาคุณภาพชวี ิตคนพกิ าร. เงนิ สงเคราะหแ์ ละฟนื้ ฟู
สมรรถภาพคนพกิ ารของกรมสง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ
คนพกิ าร. มนี าคม 2561.

จรรยา เจตนสมบรู ณ.์ การสงั คมสงเคราะหก์ บั การบาบดั รกั ษา
ผตู้ ดิ ยาและสารเสพตดิ . กลมุ่ บรกิ ารเฉพาะทาง ศนู ยบ์ าบดั รักษา
ยาเสพติดสงขลา สถาบันยาเสพติดธัญญารักษ์ กรมการแพทย์
กระทรวงสาธารณสุข .2547

นงลกั ษณ์ เทพสวสั ด.์ิ ทฤษฎแี ละการปฏบิ ตั งิ านสงั คมสงเคราะห.์
กรงุ เทพฯ : สานกั พิมพ์มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร.์ 2540.

นงลกั ษณ์ เทวกลุ ณ อยุธยา. ค่มู อื เตรยี มสอบแขง่ ขนั เพ่อื บรรจแุ ละ
แตง่ ตง้ั บุคคลเขา้ รบั ราชการตาแหนง่ นกั สงั คมสงเคราะห.์ ม.ป.ป.

75

สานต่อม่งุ มั่นสู่...การพัฒนางานประจาสงู่ านวิจัย
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผ้ปู ระสบปัญหาทางสังคม จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี ”

ภาคผนวก

76

สานต่อมุ่งม่นั สู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวจิ ัย
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม จังหวัดสุราษฎรธ์ านี ”

หนงั สอื ประกาศกระทรวง พม. กาหนดการขอรับความช่วยเหลอื
และแบบการรบั ส่ิงของ ออกตามระเบียบกระทรวง พม. วา่ ด้วย
มาตรการทางบรหิ ารสาหรับการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบปญั หาทางสังคมของ
กระทรวง พม. พ.ศ. 2561

77

สานตอ่ มงุ่ มัน่ สู่...การพฒั นางานประจาสู่งานวจิ ัย
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี ”

78

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

79

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

80

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

81

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

82

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

83

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

84

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

85

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

86

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

87

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

88

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

89

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

90

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

91

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

92

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

93

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

94

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

ภาพกิจกรรม “แนวทางการพฒั นากระบวนงานการช่วยเหลือผู้ประสบ
ปัญหาทางสงั คม จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี ”

95

สานต่อมุ่งมั่นสู่...การพัฒนางานประจาสูง่ านวิจยั
“ แนวทางการพฒั นากระบวนงานการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปญั หาทางสงั คม จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี ”

96

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”

คณะผจู้ ดั ทา

คณะทปี่ รกึ ษา

นางสาวซาราห์ บินเยา๊ ะ ผู้อานวยการ สสว.10

นางสาวมนิดา ลม่ิ นจิ สรกุล พฒั นาสังคมและความม่ันคงของ

ของมนษุ ย์จังหวัดสุราษฎร์ธานี

นายสญั ลักษณ์ อย่รู กั ษ์ ผ้ปู กครองนิคมสร้างตนเองขุนทะเล

นางสาวสมพรทิพย์ สุขวโรดม ผปู้ กครองนิคมสร้างตนเองพระแสง

นางสาวรัชนี พวงมาลี ผู้อานวยการศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พง่ึ

จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี

นางสาวพวงเพญ็ ใจกว้าง หัวหน้าบ้านพกั เด็กและครอบครวั

จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี

นางสาวสิรโิ สภา เตยี นสารวย ผ้อู านวยการสถานค้มุ ครองสวัสดภิ าพ

ผเู้ สียหายจากการค้ามนษุ ย์

(บ้านศรีสุราษฎร)์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี

นางสาวศุภมนต์ โชตสิ ุทธิ์ นักจติ วิทยาชานาญการ

นางสาวปิยะนาถ ทองส่งโสม นกั พฒั นาสงั คมชานาญการ

นางสาวอทัยพร คงชู นักสงั คมสงเคราะหป์ ฏิบตั ิการ

นางนุชรีย์ ด้วงสา พนกั งานคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก

คณะทางาน

นางกุลวดี เมอื งจีน นักพฒั นาสงั คมปฏิบตั กิ าร

97

สานตอ่ มงุ่ ม่ันสู่...การพัฒนางานประจาส่งู านวจิ ัย
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผูป้ ระสบปัญหาทางสังคม จังหวดั สุราษฎร์ธานี ”

จดั พมิ พแ์ ละเผยแพร่
สานักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 10
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์
33 หมู่ 1 ตาบลขนุ ทะเล อาเภอเมือง จังหวดั สุราษฎรธ์ านี 84100
โทรศัพท์ 077-355023 โทรสาร 077-355705
E- mail : [email protected]
http://tpso-10.m-society.go.th

ปที ผ่ี ลติ
กนั ยายน 2563

พิมพท์ ี่ : สานกั งานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 10

98

สานตอ่ มงุ่ มน่ั สู่...การพฒั นางานประจาสู่งานวจิ ัย
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผปู้ ระสบปัญหาทางสังคม จงั หวดั สุราษฎร์ธานี ”

99

สานต่อมงุ่ มั่นสู่...การพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั
“ แนวทางการพัฒนากระบวนงานการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาทางสังคม จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ”


Click to View FlipBook Version