The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Tpso10 Network, 2020-08-19 22:24:12

รูปเล่มPW

รูปเล่มPW

Help

สำนกังานสงเสรมิและสนับสนุนวชิาการ10
กระทรวงการพฒันาสังคมและความมน่ัคงของมนษุย

สวสั ดิกำรเพื่อกำรพัฒนำและพ่ึงตนเองอยำ่ งย่ังยนื (Productive Welfare) คำ นำ
: คุณคำ่ และศกั ด์ศิ รีควำมเป็นมนษุ ย์

คำนำ

กำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge management : KM)
เป็นกำรรวบรวมองค์ควำมรู้ที่มีอยู่ในองค์กร ซ่ึงกระจัดกระจำยอยู่ใน
ตัวบุคคลหรือเอกสำร มำพัฒนำให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กร
สำมำรถเข้ำถึงควำมรู้และพัฒนำตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมท้ังปฏิบัติงำนได้
อย่ำงมีประสิทธิภำพ อันจะส่งผลให้องค์กรมีควำมสำมำรถเชิงแข่งขัน
สูงสุด โดยเป้ำหมำยท่ีสำคัญของกำรจัดกำรควำมรู้มุ่งพัฒนำใน
3 ประเด็น ได้แก่ พฒั นำงำน พฒั นำคนและกำรเป็นองคก์ รแห่งกำรเรียนรู้

ในปีงบประมำณ 2563 สำนักงำนส่งเสริมและสนับสนุน
วิชำกำร 10 ได้ดำเนินโครงกำรศูนย์บริกำรวิชำกำรพัฒนำสังคมและ
จัดสวัสดิกำรสังคม โดยมีกิจกรรม กำรจัดกำรควำมรู้และกำรถ่ำยทอด
ควำมรู้ ได้พิจำรณ ำคัดเลือก หน่วยงำน ONE HOME พม.
จังหวัดภูเก็ต ซึ่งเป็นจังหวัดนำร่องของกระทรวงกำรพัฒนำสังคมและ
ควำมมั่นคงของมนุษย์ ปีงบประมำณ 2562 ในกำรนำแนวคิด
สวัสดิกำรเพื่อกำรพัฒนำและพึ่งตนเองอย่ำงยั่งยืน (Productive
Welfare) ไปขับเคลื่อนในพ้ืนที่ โดยหน่วยงำน ONE HOME พม.
จังหวัดภูเก็ต ได้นำไปประยุกต์ใช้ตำมแบบฉบับของตัวเอง ผสมผสำนกับ
มิติควำมหลำกหลำยในพ้ืนท่ีและสอดแทรกในทุกอณูของงำนประจำ
ที่ทำอยู่อย่ำงกลมกลืน จนบังเกิดผลสำเร็จท่ีโดดเด่น สำมำรถเป็น
ต้นแบบของกระบวนกำรช่วยเหลือ ผู้ประสบปัญ หำทำงสังคม

สวสั ดิกำรเพื่อกำรพฒั นำและพึ่งตนเองอย่ำงยั่งยืน (Productive Welfare) คำ นำ
: คณุ คำ่ และศักด์ิศรีควำมเปน็ มนุษย์

เพ่ือให้เขำสำมำรถพ่ึงตนเองได้อย่ำงยั่งยืนเป็นรูปธรรม อีกท้ังยังเป็นกำร
จุดประกำยควำมคิดอย่ำงสร้ำงสรรค์ และเป็นแรงบันดำลใจ ให้กับ
บุคลำกรของกระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์
ในกำรนำแนวคิดดังกล่ำวไปประยุกต์ใช้ในกำรทำงำน เพ่ือให้บรรลุ
เป้ำหมำยสูงสุดของกำรทำงำนสังคมสงเครำะห์ น่ันคือ...กำรช่วยเขำ
เพอ่ื ให้เขำช่วยตนเองไดอ้ ย่ำงย่งั ยืน

ในโอกำสนี้ สำนักงำนส่งเสริมและสนับสนุนวิชำกำร 10
ขอขอบคุณ นำยกิตติ อินทรกุล พัฒนำสังคมและควำมม่ันคงของ
มนษุ ย์จังหวดั ภูเกต็ นำงสำวจติ รลดำ สังข์พนั ธ์ นกั พฒั นำสังคมชำนำญ
กำรพิเศษ นำงสำวนิรำมน ขอศำนติวชิ ัย นักพัฒนำสังคมชำนำญกำร
สำนักงำนพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์จังหวัดภูเก็ต ที่ให้กำร
สนั บ สนุ น องค์ ควำม รู้แล ะข้ อมู ล สำห รั บ ก ำร จัดก ำร ค วำม รู้ ใน ค ร้ั งนี้
และขอขอบคุณ นำงสำวซำรำห์ บินเย๊ำะ ผูอ้ ำนวยกำรสำนักงำนส่งเสริม
และสนบั สนนุ วิชำกำร 10 ที่ให้คำแนะนำและสนบั สนนุ กำรจัดกำรควำมรใู้ นครั้งน้ี

ท้ังน้ี ผู้จัดทำหวังเป็นอย่ำงย่ิงว่ำ กำรจัดกำรควำมรู้ในคร้ังนี้จะ
เป็นประโยชน์ต่อผู้ท่ีสนใจหรือผู้มีส่วนเกี่ยวขอ้ ง และสำมำรถนำไปใช้เป็น
แนวทำงในกำรพัฒนำงำนหรือนำไปประยุกต์ใช้ในกำรทำงำน เพื่อให้
สอดคล้องตำมบริบทงำนได้อยำ่ งเหมำะสมตอ่ ไป

ผูจ้ ดั ทำ
สำนักงำนสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวชิ ำกำร 10

สวสั ดิการเพื่อการพฒั นาและพ่งึ ตนเองอยา่ งยั่งยนื (Productive Welfare)

: คณุ ค่าและศกั ด์ิศรีความเป็นมนุษย์ ส า ร บั ญ

สารบญั

เกรนิ่ นา 1

คณุ คา่ งาน สงั คมสงเคราะห์ และ สวัสดกิ ารสงั คม 3

Productive Welfare สาคญั ไฉน? 13

ถอดรหสั Productive Welfare สกู่ ารขบั เคลื่อนในพ้นื ที่ 20

Think เดยี ว ก็เปล่ียนได้ 28

วันเวลาแห่งความสาเรจ็ จาก “ผู้รับ” สู่ “ผ้ใู ห”้ 31

กา้ วตามรอยเท้าพ่อ... หนทางกอ่ ความยงั่ ยืน 41

เบือ้ งลึก เบือ้ งหลงั ความสาเรจ็ มีใครบ้าง? 47

ขวากหนามทต่ี อ้ งก้าวผา่ น 50

สวัสดกิ ารเพ่ือการพัฒนาและพ่ึงตนเองอย่างย่งั ยนื (Productive Welfare)

: คุณคา่ และศักดศ์ิ รีความเปน็ มนุษย์ ส า ร บั ญ

จะดีกว่านี้ไหม? ถ้า... 51
บรรณานกุ รม 53
คณะผู้จดั ทา 56

สวัสดกิ ารเพ่ือการพัฒนาและพง่ึ ตนเองอยา่ งยงั่ ยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 1
: คณุ ค่าและศักดศ์ิ รีความเป็นมนษุ ย์

เกรน่ิ นา

ถ้าหากมีคนถามคุณว่า “สังคมสงเคราะห์คืออะไร” คุณจะนึก
ถึงอะไรเป็นอย่างแรก การช่วยเหลือ การเยียวยา หรือว่าการให้ ถ้ามีคา
เหล่านี้ผุดขึ้นมาระหว่างที่คุณหาคาตอบอยู่นั้น ขอตอบว่า…คุณมาถูก
ทางแลว้ แต่!…นั่นนับว่ายังไมถ่ ูกต้องท้ังหมด เพราะเบ้ืองลึกเบ้ืองหลังของ
งานสังคมสงเคราะห์นี้มีอะไรมากกว่าที่คิด บทความน้ีจะพาเข้าไปสู่โลก
แห่งงานสงั คมสงเคราะห…์ โลกแห่งการใหท้ ่ียิง่ ใหญ่สดุ ๆ

“สังคมสงเคราะห์” เป็นแนวทางการช่วยเหลือในรูปแบบของ
การ “ให้” ให้เขาทายังไงละ เพ่ือท่ีเขาจะได้คาว่า“ย่ังยืน” ให้เขาสามารถ
พึ่งตัวเองได้ และไม่ใช่ช่วยเหลือแบบให้ทาน ช่วยเหลือในงานกุศล แต่
หลายๆคน รู้ไหมว่า งานสังคมสงเคราะห์น้ี ถือเป็นงานที่สามารถสร้าง
บุคคลของชาติให้มีคุณค่าขึ้นมาได้ สร้างบุคลากรให้เข้มแข็ง มีหนทาง
กาลังใจ แนวทางการสู้ชีวติ เพ่ือสามารถพัฒนาตนเอง ไม่มองว่าตนเอง
ด้อยกว่าบุคคลอ่ืนท่ัวๆไป มองเห็นในศักด์ิศรีของตน ศักยภาพของตน
เชื่อม่ันเสมอว่าตนเองก็มีดี มีหลายๆอย่างที่คนอ่ืนไม่มี น่ีแหละ หนทาง
ของงานสังคมสงเคราะห์

ทั้งน้ี งานสังคมสงเคราะห์เป็นกระบวนการท่ีสาคัญ มีความ

สอดคล้องเช่ือมร้อยกับสวสั ดิการเพ่ือการพัฒนาและพึ่งตนเองอย่างย่ังยืน

(Productive Welfare) ซ่ึงเป็นการเปล่ียนรูปแบบสวัสดิการสังคม

สวัสดิการเพ่ือการพฒั นาและพึ่งตนเองอย่างยง่ั ยืน (Productive Welfare)

: คุณคา่ และศกั ดศ์ิ รีความเป็นมนษุ ย์ ห น้ า | 2

จากการให้เปล่า เป็นรูปแบบสวัสดิการสังคมที่ทาให้ผู้ใช้บริการเข้ามามี
ส่วนร่วมในการพัฒนาตนเอง ทาให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดี พ่ึงตนเองได้
อย่างมีศักด์ิศรี สะท้อนถึงแก่นแท้ของงานสังคมสงเคราะห์ ที่ว่า
“ช่วยเขาเพ่ือให้เขาช่วยตนเองได้ (help them to help themselves)”

ตัวอย่างความสาเร็จท่ีนาแนวคิด สวัสดิการเพ่ือการพัฒนาและ
พ่ีงตนเองอย่างย่ังยืนไปใช้ ได้แก่ หน่วยงาน ONE HOME พม.
จังหวัดภูเก็ต ซ่ึงเป็นหน่วยงานนาร่อง ที่นาแนวคิดสวัสดิการเพื่อการ
พั ฒ น าแล ะพ่ึ งต น เอ งอ ย่ างยั่ งยื น ( Productive Welfare)
ไปขับเคลื่อนโดยใช้หลักการทางานสังคมสงเคราะห์ ประยุกต์ให้
เหมาะสมกับริบทพื้นที่ จนสามารถช่วยเหลือและพัฒนาให้ผู้ประสบ
ปัญหาทางสังคมพ่ึงตนเองได้ในระดับหนึ่ง กระบวนการทางานดังกล่าวน้ี
มีปรัชญา หลักการ แนวคิด และเทคนิคการทางานแบบง่าย ไม่ยุ่งยาก
สลับซับซ้อน ทุกคน ทุกหน่วยงาน/องค์กร สามารถนาไปปรับใช้
ประโยชน์ในงานของตนเองได้ นับได้ว่า เป็นกระบวนการทางานท่ีดีพอ
และพอดกี บั ดนิ แดนแหง่ ไขม่ กุ อนั ดามันแหง่ น้ี

สวสั ดกิ ารเพ่ือการพฒั นาและพ่ึงตนเองอย่างยง่ั ยืน (Productive Welfare) ห น้ า | 3
: คุณคา่ และศักดศ์ิ รีความเป็นมนุษย์

คุณคา่ งาน สงั คมสงเคราะห์ และ สวสั ดกิ ารสังคม

ในสังคมมนุษย์ การช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน เกิดขึ้น
นับต้ังแต่มนุษย์ได้มาอยู่รวมกันเป็นหมู่คณ ะเป็นสังคมและเป็น
ประเทศชาติ ซ่ึงในระยะแรกการช่วยเหลือเก้ือกูลกันเกิดข้ึนระหว่าง
สมาชิกในครอบครัว ต่อมาเมื่อครอบครัวประสบปัญหาความเดือดร้อน
มากข้ึนสมาชิกในครอบครัวไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ญาติพี่น้อง
เพ่ือนบ้าน มิตรสหายก็จะช่วยกันแก้ไขปัญหา เม่ือปัญหาสลับซับซ้อน
มากยิ่งขึ้น ทาให้คนในชุมชน และสังคมเร่ิมหันมาสนใจในการ
หาแนวทางในการช่วยเหลือบุคคลที่ประสบความทุกข์ยากเดือดร้อน
เปน็ รปู ธรรม ทาให้มีการจดั ตง้ั กลุม่ หรอื องค์กรขึน้ มา เพ่อื ให้การชว่ ยเหลอื บรรเทา
หรือแก้ไขปญั หาได้ผลดยี ่ิงข้ึน ซึง่ เปน็ ที่มาของการสังคมสงเคราะห์

ปจั จุบันเป็นทีย่ อมรบั กนั ทว่ั ไปวา่ งานสังคมสงเคราะห์เป็นงานที่
สาคัญที่จะขาดเสียไม่ได้ในสังคมทุกสังคม และทุกประเทศ เพราะมนุษย์
เราเริ่มป ระจักษ์ความจริงว่า ปัญ หาต่างๆ เช่น โรคภัยไข้เจ็บ
อาชญากรรม ความไม่รู้ ความยากจน การประสบภัยพิบัติต่างๆ มิได้
ส้ินสุดลงเองตามธรรมชาติ การสังคมสงเคราะห์จึงเป็นความพยายาม
ก้าวหนึ่งท่ีจะช่วยระงับและแก้ไขปัญหาสังคมดังกล่าว ให้ผ่อนคลาย
ความรนุ แรงลง ซง่ึ จะกอ่ ให้เกิดความผาสกุ แก่ชมุ ชนนัน้ ๆ

สวสั ดกิ ารเพื่อการพัฒนาและพึ่งตนเองอยา่ งยงั่ ยืน (Productive Welfare) ห น้ า | 4
: คุณค่าและศกั ดิศ์ รีความเป็นมนษุ ย์

ความหมายของการสงั คมสงเคราะห์
(Social Work)

ได้มีผู้ให้ความหมายของการสังคมสงเคราะห์ไว้มากมายหลาย
ท่านดว้ ยกนั ดังน้ี

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช
มหาราช บรมนาถบพิตร พระมหากษัตริย์รัชกาลท่ี 9 ทรงมีพระราช
ดารัสในพิธีเปิดการประชุมการสังคมสงเคราะห์แห่งชาติ คร้ังที่ 2
เมือ่ วันที่ 26 มีนาคม 2505 ความว่า

" การสังคมสงเคราะห์น้ัน มีความหมายกว้างขวางมาก กิน
ความถงึ การดาเนนิ การทุกอยา่ งทีจ่ ะชว่ ยเก้อื กูลเพ่ือนมนุษย์ หรือกลุ่มชน
ท่ีร่วมกันเป็นสังคม เป็นชาติ และผู้ไม่สามารถช่วยตัวเองได้ ให้มี
ความสุขท้ังทางกายและจิตใจ ให้ได้มีปัจจัยอันจาเป็นแก่การครองชีพคือ
อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และการบาบัดโรคภัยไข้เจ็บ ได้รับ
การศึกษาอบรมตามควร ตลอดจน มีความรู้ที่จะนามาเล้ียงชีพ
โดยสจุ รติ เพ่ือความเรยี บร้อยและความเป็นปึกแผ่นของสังคม..."

คณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนางานสังคมสงเคราะห์แห่งชาติ
ให้ความหมายไว้ว่า การสังคมสงเคราะห์ หมายถึง ศาสตร์และศิลป์
ในการป้องกัน แก้ไข ฟ้ืนฟู และพัฒนาบุคคล กลุ่ม และชุมชน
ท้ังท่ีประสบและไม่ประสบปัญหาความ เดือดร้อน ให้สามารถช่วยเหลือ
ตนเองและสงั คมได้

สวสั ดิการเพ่ือการพฒั นาและพงึ่ ตนเองอยา่ งย่ังยืน (Productive Welfare) ห น้ า | 5
: คณุ คา่ และศักดศ์ิ รีความเป็นมนษุ ย์

ปรชั ญาและแนวคดิ
ของงานสงั คมสงเคราะห์

งานสังคมสงเคราะห์ เนน้ ปรชั ญาท่ีวา่ “ช่วยเขาให้เขาชว่ ยตนเอง
ได้” (help them to help themselves) ซ่ึงการช่วยในลักษณะนี้
หมายถึง ความพยายามที่จะให้บุคคลได้ใช้ความสามารถในการแก้ไข
ปัญหาต่างๆ ได้โดยใช้วิจารณญาณของตนเอง ซึ่งจะมีนักสังคม
สงเคราะห์เป็นเพียงผู้คอยช้ีแนะแนวทางให้ โดยยึดหลักการทางาน
รว่ มกนั (Work with) กบั ผู้รบั บริการ

แต่เม่ือแนวโนม้ ของสังคมเปล่ียนแปลงไป และปัญหาของมนุษย์มี
ความสลับซับซ้อนมากย่ิงข้ึน มีการมองว่าน่าจะช่วยเหลือท้ัง “คน”
และ “สังคม” เพราะถ้าช่วยเหลือแต่คนโดยที่ปัญหาสังคมมีอยคู่ งเดิมแล้ว
ปัญหาคนก็จะแก้ไขไม่ได้ ดังนั้น การสังคมสงเคราะห์ยุคใหม่ จึงเป็น
กระบวนการช่วยเหลือบุคคล กลุ่ม และชุมชนที่เดือดร้อน ให้ช่วยตนเอง
ได้ มองว่าสาเหตุของความเดือดร้อนมิได้มาจากตัวเขาเองเท่าน้ัน
แต่มาจากสังคมด้วย ซ่ึงอาจจะเป็นบุคคลปกติที่ต้องการการพัฒนา
ศักยภาพของตนในด้านความเป็นอยู่ และต้องการจะป้องกันปัญหาและ
ความเดอื ดร้อนไว้ลว่ งหนา้ คนกลุ่มนี้ควรเขม้ แขง็ พอ พรอ้ มท่ีจะชว่ ยเหลือ
บุคคลกลุม่ อ่นื ซึ่งเปน็ กลุ่มท่ตี อ้ งการรับบรกิ ารสังคมสงเคราะห์ด้วย

สวัสดิการเพื่อการพฒั นาและพึง่ ตนเองอย่างยัง่ ยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 6
: คณุ ค่าและศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์

หลักการสาคญั
ในงานสงั คมสงเคราะห์

หลักการสาคัญในงานสังคมสงเคราะห์ ได้มาจากปรัชญาของ
งานสังคมสงเคราะห์ เป็นการให้ความช่วยเหลือแก่คนที่ไม่สามารถช่วย
ตนเองได้ เช่น คนพิการทุพลภาพ หรือผู้ท่ีประสบเคราะห์กรรม
โดยเป็นการช่วยที่ตรงกับความต้องการที่แท้จริง รวมทั้งผู้ใช้บริการต้อง
เขา้ มามสี ว่ นร่วมในกระบวนการแกไ้ ขปัญหาร่วมกันทกุ ขั้นตอน นบั ตัง้ แต่
การมองเห็นปัญหาร่วมกัน การเข้าใจปัญหาร่วมกัน ตลอดจนร่วมมือ
กันแก้ไขปัญหา ไม่ใช่นักสังคมสงเคราะห์จะต้องแก้ไขปัญหาให้หรือ
กระทาให้ผู้ใช้บริการแต่เพียงฝ่ายเดียว การตัดสินใจควรเป็นหน้าท่ีของ
ผู้ใช้บริการ ว่าจะเลือกทางออกอย่างไรจึงจะแก้ไขปัญหาเหล่าน้ันได้
ท้ังนี้ นกั สังคมสงเคราะห์ จะต้องยดึ ม่ันหลักความเท่าเทียมกนั ของมนุษย์
ที่ผู้ใช้บริการเป็นสมาชิกคนหน่ึงของสังคม ย่อมมีเกียรติยศเสมอภาคกัน
ในการท่ีจะได้รับการช่วยเหลือตามความจาเป็น โดยไม่มีการรังเกียจ
แบ่งแยกเช้ือชาติ ศาสนาและจาเป็นอย่างย่ิงที่นักสังคมสงเคราะห์จักต้อง
รักษาความลับของผู้ใช้บริการ ไม่เปิดเผยต่อผู้อื่น ในกรณีที่จาเป็นต้อง
เปิดเผย จะทาได้ระหว่างนักวิชาชีพหรือผู้ร่วมงานเป็นทีม เช่น แพทย์
พยาบาล ฯลฯ เพ่ือประโยชน์ในการช่วยเหลือผู้ใช้บริการเอง ทั้งหมดนี้
ก็เพื่อช่วยเหลือและพัฒนาให้บุคคล กลุ่ม และชุมชนมีความสามารถ
ใน ก ารดาเนิ น ชีวิต ของต น เองได้อย่างสร้างสรรค์ เป็ น ป ก ติสุข

สวัสดกิ ารเพ่ือการพฒั นาและพง่ึ ตนเองอย่างยัง่ ยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 7
: คณุ คา่ และศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์

มีกาลังใจ ในการต่อสู้เอาชนะความยากลาบาก ปรับตัวเองให้เข้า
กับสิ่งแวดลอ้ ม จนสามารถฟนั ฝ่าอปุ สรรคตา่ งๆไดด้ ว้ ยตนเอง

ทักษะการปฏบิ ตั ิ
งานสงั คมสงเคราะห์

“วิชาชีพสังคมสงเคราะห์” เป็นหน่ึงในวิชาชีพท่ีต้องทางาน
เกี่ยวข้องกับ “มนุษย์” โดยเฉพาะ “ผูด้ ้อยโอกาส” หรอื ผู้ท่อี ยู่ในภาวะท่ี
ไมส่ ามารถช่วยเหลือตนเองได้ในสงั คม ซ่ึงจาเป็นต้องใชค้ วามรแู้ ละทกั ษะ
ทางสงั คมสงเคราะห์ในการปฏบิ ัตหิ น้าที่ เพือ่ ปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาของ
บุคคล ครอบครัว กลุ่มคน หรือชุมชน ให้สามารถทาหน้าท่ีทางสังคม
และดารงชีวิตได้อย่างปกติสุข เริ่มต้นท่ี ทักษะการสังเกต เป็นทักษะข้ัน
พื้นฐานที่จาเป็นสาหรับนักสังคมสงเคราะห์ มักเกิดควบคู่กับทักษะการ
สัมภาษณ์ นักสังคมสงเคราะห์จะสังเกตผู้ใช้บริการได้จากพฤติกรรม
ทัศนคติ และปฏิกิริยาตอบโต้ จากน้ันจึง สัมภาษณ์ เพ่ือทาให้ได้มาซ่ึง
ขอ้ มูลต่างๆตามวัตถปุ ระสงค์ที่ต้ัง และต้องมี การเยี่ยมบ้าน เพื่อแสวงหา
ข้อเท็จจริงประกอบการสมั ภาษณ์ ช่วยให้การติดตามประเมินผลมีความ
สมบรู ณ์มากขึ้น ช่วยให้เข้าใจสถานการณ์ของปัญหาทมี่ สี ่วนเก่ยี วข้องกับ
ส่ิงแวดล้อม และยังเป็นการสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างนั กสังคม
สงเคราะห์และผู้ใช้บริการ อีกหน่ึงทักษะท่ีจะขาดเสียไม่ได้สาหรับ
นักสังคมสงเคราะห์ คือ ทักษะการบันทึก เพื่อเป็นหลักฐาน
ประกอบการอ้างอิงและตัดสินใจ สะท้อนให้เห็นวัตถุประสงค์ เป้าหมาย

สวสั ดิการเพ่ือการพฒั นาและพ่งึ ตนเองอยา่ งยงั่ ยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 8
: คณุ ค่าและศักด์ิศรีความเปน็ มนุษย์

แผนงาน กิจกรรม ความก้าวหน้า ตลอดจนความต่อเน่ืองในการ
ปฏิบัติงาน นักสังคมสงเคราะห์คงไม่สามารถช่วยเหลือผู้ประสบปัญหา
ทางสังคมได้เพียงลาพัง ฉะน้ันจึงต้องมี ทักษะการส่งต่อ เป็นการ
เชื่อมโยงทรัพยากรที่มีอยู่ในสังคมกับความต้องการของผู้ใช้บริการ การ
ส่งต่อภายในหนว่ ยงานเดียวกนั และการส่งต่อระหว่างหน่วยงาน เปน็ ต้น
ทักษะสุดท้าย คือ ทักษะการยุติเรื่อง นักสังคมสงเคราะห์จะยุติเร่ืองนั้น
ได้จากอาการที่หายไปของผู้ใช้บริการ และการเปลี่ยนแปลงบุคลิกภาพ
ของผู้ใช้บริการ ตลอดจนการเปลยี่ นแปลงสถานการณท์ างสงั คม

อาจสรุปได้ว่า รูปแบบการทางานภายใต้กระบวนการสังคม
สงเคราะห์มีความสัมพันธ์ท้ังในเชิงปัจเจกบุคคลและเชิงนโยบายท่ีมีการ
ปรบั เปลี่ยนให้สอดคล้องและสนองความต้องการของประชาชนให้ได้มาก
ท่ีสุด แม้สิ่งท่ีจัดสรรและดาเนินอยู่ในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นสวัสดิการ
รูป แบ บ ต่ างๆเช่น เงิน สงเคราะห์ สิท ธิ์ก ารรัก ษ าพ ยาบ าลใน
สถานพยาบาลของรัฐ หรอื เงินอุดหนุนตา่ งๆจะสามารถช่วยเหลือคนได้
ในระดับหนึ่ง แต่ไม่ได้หมายความว่าจะสามารถตอบโจทย์ความต้องการ
ของทุกคนได้ แต่ทว่า เป็นส่ิงท่ีรัฐต้องทาเพื่อให้เป็น หลักประกัน และ
กาแพง ทีใ่ หค้ นพักพงิ ได้ ไมว่ า่ คนเหลา่ นัน้ จะตอ้ งการหรือไม่

งานสังคมสงเคราะห์จึงเป็นส่ิงท่ีเก่ียวข้องกับชีวิตประจาวัน
ของผู้คน ไม่ว่าจะอยู่ในสถานภาพทางสังคมแบบใด สิทธิ สวัสดิการ
และ ความช่วยเหลือพร้อมท่ีจะส่งต่อและเคียงข้างประชาชนเสมอ ภายใต้
เง่ือนไขท้ังสถาบันทางสังคม โครงสร้าง และ กฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง
เพ่ือให้ประชาชนพ่ึงพิงและมีความม่ันคง ทั้งยามสุขและยามทุกข์

สวัสดกิ ารเพื่อการพัฒนาและพง่ึ ตนเองอยา่ งยัง่ ยืน (Productive Welfare) ห น้ า | 9
: คุณค่าและศกั ดิศ์ รีความเป็นมนุษย์

และ อาจกล่าวได้ว่า นักสังคมสงเคราะห์ หรือ คนท่ีทางานด้านสังคม
สงเคราะห์ไม่ว่าจะสาขาอาชีพใดก็ตาม พร้อมท่ีจะเข้าใจ ปรับตัว
และ เคียงข้างเพ่ือให้ประชาชนสามารถดาเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมี
ความสขุ และมหี ลักประกนั

สวสั ดกิ ารสงั คม
(Social Welfare)

สวัสดิการสังคม เป็นหลักสาคัญต่อประชาชนในสังคม การที่
บุคคลต้ังแต่สองคนขึ้นไปมาอยูร่ ่วมกัน ทาให้เกดิ ความสัมพันธ์ซึ่งกันและ
กันหลายรปู แบบ จากระดับท้องถ่นิ กลายเป็นระดับประเทศและสงั คมโลก
ซ่ึงเหล่าน้ีมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีระบบการปกครองและดูแล
เพ่ือท่ีจะให้คนในสังคมอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุข สังคม ณ ปัจจุบัน
ไม่ว่าประเทศไหนล้วนแล้วจะมีสวัสดิการสังคมในประเทศตน ซ่ึงการมี
สวัสดิการสังคมท่ีดีภายในประเทศก็เป็นตัวชี้วัดท่ีจะทาให้ประเทศน้ันมี
ศักยภาพและสังคมมีความเจริญเติบโตไปในทางท่ีดีขึ้นได้ รัฐบาลจึง
มหี นา้ ท่หี ลกั ในการจดั สวัสดิการสังคมใหแ้ กป่ ระชาชนในประเทศ

สวัสดิการสังคม (Social Welfare) หมายถึง ระบบการ
จดั บริการทางสังคมซึง่ เกยี่ วกับการป้องกนั การแกไ้ ขปัญหา การพฒั นา
และการส่งเสริมความมั่นคงทางสังคม เพื่อตอบสนองความจาเป็น
ขั้นพ้ืนฐานของประชาชน ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและพึ่งตนเองได้อย่าง

สวสั ดิการเพื่อการพัฒนาและพงึ่ ตนเองอยา่ งยั่งยนื (Productive Welfare)

: คณุ คา่ และศักดศ์ิ รีความเปน็ มนษุ ย์ ห น้ า | 10

ทั่วถึง เหมาะสม เป็นธรรม และให้เป็นไปตามมาตรฐาน ท้ังทางด้าน
การศึกษา สุขภาพอนามัย ท่ีอยู่อาศัย การทางาน และการมีรายได้
กีฬาและนันทนาการ กระบวนการยุติธรรม และบริการทางสังคมท่ัวไป
โดยคานึงถึงศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิท่ีประชาชนจะต้องได้รับ
และการมีสว่ นรว่ มในการจดั สวสั ดกิ ารสงั คมทกุ ระดับ

ความหมายของการจดั สวัสดกิ ารสงั คม แบง่ เปน็ 2 แบบ คอื

1) ความหมายแบบกว้าง (Protective Welfare) ท่ีเน้น
การจัด “รัฐสวัสดิการ” (Welfare State) เพื่อลดความเหลื่อมล้า
ทางสังคม โดยการเก็บภาษีจากคนรวยให้มากหรือเก็บภาษีในอัตรา
ก้าวหนา้ เพ่ือนาไป “การกระจายซ้า” (Redistribution) ให้คนจน

2) ความหมายแบบแคบ (Productive Welfare) เน้นให้
ประชาชนทุกคนมีงานทา
มี ร า ย ไ ด้ ส า ม า ร ถ
พ่ึงตนเองได้ ช่วยลดการ
พึ่ ง พึ ง จ า ก ภ า ค รั ฐ
เมื่อประชาชนมีศักยภาพ
ในการทางานเลี้ยงดูตนเอง
ได้ นอกจากจะมีเงินแล้ว
ยังทาให้มีคุณค่ามีศักด์ิศรี
ด้วย

สวัสดิการเพื่อการพัฒนาและพง่ึ ตนเองอยา่ งยง่ั ยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 11
: คณุ คา่ และศกั ด์ิศรีความเป็นมนษุ ย์

ปัจจุบันการจัดสวัสดิการสังคมของไทย มีความครอบคลุมและ
สามารถตอบสนองความต้องการของแต่ละกลุ่มเป้าหมายและในเชิงพ้ืนท่ี
มากข้ึน โดยมีการดาเนินงานพัฒนาระบบสวัสดิการสังคม 4 ระบบ
ประกอบด้วย

1) ระบบบริการสังคม (Social Service) บริการโดยรัฐ
เพ่ือตอบสนองความต้องการพื้นฐานของประชาชน 4 ด้านหลัก ได้แก่
การศึกษาฟรี บัตรประกันสุขภาพถว้ นหน้า สิ่งอานวยความสะดวก และ
ท่อี ยู่อาศัย

2) ระบบการช่วยเหลือทางสังคม (Social Assistance)
ภาครฐั ให้การสงเคราะห์แก่กลมุ่ เด็ก และเยาวชน ผู้สูงอายุ ผูพ้ ิการ สตรี
และกลุ่มผ้ดู อ้ ยโอกาส ที่มปี ญั หาความเดือดร้อน

3) ระบบประกันสังคม (Social Insurance) เป็นการจัด
สวัสดิการสังคมโดยภาครัฐ เพ่ือคุ้มครองป้องกันประชาชนท่ีมีรายได้
ไม่ให้ได้รบั ความเดอื ดร้อน เมือ่ ต้องสญู เสยี รายไดท้ ง้ั หมดหรือบางส่วน

4) ระบบการส่งเสริมสนับสนุนหุ้นส่วนทางสังคม (Social
Partnership) เป็นการส่งเสริมความเข้มแข็งของครอบครัว ชุมชน
ท้องถ่ิน ประชาสังคม NGOs อาสาสมัคร และการส่งเสริมให้ภาค
ธุรกิจเขา้ มาเป็นหุ้นส่วนในการจัดสวสั ดิการสงั คม ภายใต้แนวคิด ความ
รับผิดชอบต่อสังคม หรือ Corperate Social Responsibility
(CSR) และมีการพัฒ นาสู่การทาธุรกิจเพ่ือสังคม หรือ Social
Enterprise (SE)

สวัสดกิ ารเพื่อการพฒั นาและพ่ึงตนเองอยา่ งย่งั ยืน (Productive Welfare) ห น้ า | 12
: คุณคา่ และศกั ดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

สวัสดิการสังคมเก่ียวข้องกับชีวิต “จากครรภ์มารดาถึงเชิง
ตะกอน” การจะทาให้คนอยู่ดีมีสุข จึงต้องมีระบบสวัสดิการรองรับ
ตงั้ แต่เกิดจนตาย ซึ่งในการจัดสวัสดิการน้ันอยู่บนหลักการพื้นฐาน คือ
เชื่อในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ โดยการจัดสวัสดิการสังคมต้องมองให้
ครอบคลุม 3 ระดบั ช้ัน คือ

1. ถ้าไม่มีอะไรเลย จะช่วยอย่างไรให้เขาอยรู่ อด

2. เมอ่ื เขามีแล้วทาอย่างไรให้เขาชว่ ยตัวเองได้

3. เมอ่ื เขาช่วยตวั เองไดแ้ ล้วเขาจะไปช่วยคนอื่นได้อย่างไร

ฉะนั้น การขับเคล่ือน Productive Welfare จะต้องไม่
มองแค่ช้ันที่สองเท่าน้ัน ถ้าหากเขายังไม่มีอะไรเลยก็ต้องให้เขาก่อน
(ชั้นที่หน่ึง) แล้วค่อยสอนให้เขาช่วยเหลือตัวเอง (ชั้นที่สอง) ไม่เช่นน้ัน
มนั จะเกิดช่องวา่ งและจะไปถึงชน้ั ที่สามไม่ได้ ท่ีสาคัญคือ การไม่ทิ้งใครไว้
ข้างหลัง และต้องให้แต้มต่อกับคนท่ีด้อยโอกาส น่ันคือ การให้
ทรัพยากรแก่เขามากกว่าคนท่ัวไป เพ่ือให้เขามีโอกาสก้าวข้ึนไปทัดเทียม
คนอืน่ ได้

สวัสดิการเพ่ือการพฒั นาและพ่งึ ตนเองอยา่ งยัง่ ยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 13

: คุณคา่ และศกั ดศ์ิ รีความเป็นมนษุ ย์

“Productive Welfare” สาคัญไฉน...???

จากกระแสการพัฒนาที่ผ่านมา แม้ว่าประเทศไทยจะประสบ
ความสาเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจ จนรายได้ของประเทศขยับจาก
ประเทศท่ีมีรายได้น้อยไปสู่ประเทศท่ีมีรายได้ปานกลาง แต่จากการ
ติดตามประเมินผลการพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2555-2559) พบว่า ความเหล่ือม
ล้าทางรายได้ระหว่างคนจนกับคนรวยมีแนวโน้มดีขึ้น ประชาชนเข้าถึง
บริการทางสังคมและได้รับการคุ้มครองทางสังคมเพ่ิมข้ึน แต่อย่างไรก็
ตาม กลุ่มผู้ด้อยโอกาสก็ยังไม่สามารถเข้าถึงบริการทางสังคมได้อย่าง
ท่ัวถึง ซึ่งในอนาคตมีแนวโน้มที่จะเกิดความเสี่ยงท่ีอาจส่งผลให้เกิด
ช่องว่างและความไม่เป็นธรรมในสังคมมากข้ึน ทั้งจากการเปลี่ยนแปลง
ในระดับโลก ระดับภูมิภาค และ ระดับประชาคมอาเซียน กล่าวคือ
ก ร ะแ ส ก าร พั ฒ น าร ะห ว่างป ร ะเท ศ ได้ เริ่ ม หั น ก ลั บ ม าม อ งฐ าน สิ ท ธิ
(Rights Based) ท่ีประชาชนพึงได้รับการคุ้มครองดูแลจากรัฐและ
การลดความเหลื่อมล้าและสร้างความเป็นธรรมในสังคม จึงเป็นประเด็น
สาคัญที่ประเทศไทย ต้องหันมาทบทวนและกาหนดทิศทางหรือ
นโยบายในการส่งเสริมการจัด “สวัสดิการเพ่ือการพัฒนาและการ
พ่ึงตนเองอย่างย่ังยืน” (Productive Welfare) ให้เกิดการปฏิบัติ
อย่างเป็นรูปธรรม ท้ังในระดับหน่วยงาน องค์กร พื้นท่ี ท้องถ่ิน
และชุมชน เพ่ือเสริมสร้างหลักประกันและความมั่นคงในชีวิตของ
ประชาชนครอบคลมุ ทุกกลมุ่ เปา้ หมาย ทวั่ ถึงทกุ พืน้ ที่

สวสั ดกิ ารเพื่อการพัฒนาและพง่ึ ตนเองอยา่ งยัง่ ยืน (Productive Welfare) ห น้ า | 14
: คุณค่าและศกั ด์ศิ รีความเปน็ มนษุ ย์

แล้วคาว่า “Productive Welfare” คืออะไร ทาไมใครๆ
ถึงได้พูดถงึ ทาไมถงึ ได้รบั ความสนใจมากในช่วงทผี่ า่ นมา คาน้ีอาจเป็น
คาใหม่ท่ีไม่คุ้นหูนักสาหรับใครหลายคน แต่สาหรับคนที่ทางานสังคม
สงเคราะห์ จะเข้าใจได้ในทันทีว่าหมายถึงอะไร และมีกระบวนการ
อยา่ งไรเพอ่ื ให้บรรลเุ ปา้ หมายของ “Productive Welfare”

“Productive Welfare” คือ สวัสดิการท่ีทาแล้วไม่เกิด
การสูญเปล่า แต่ก่อให้เกิดผลผลิตในรูปแบบต่างๆ ทาให้ผู้ใช้บริการ
ครอบครัว ชุมชนและสังคม ได้รับการพัฒนาศักยภาพ มีหลักประกัน
ทางสังคม และเกิดการพัฒนา จนสามารถพ่ึงตนเองได้อยา่ งย่ังยืน โดย
คานึงถึงศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิท่ีประชาชนจะได้รับ การมีส่วน
ร่วมในการจัดสวัสดิการสังคมทุกระดับ มุ่งหวังท่ีจะเห็นกลุ่มเป้าหมาย
กลับกลายเป็นผู้ให้ในสังคม และเป็นการใช้งบประมาณอย่างคุ้มค่าและ
สามารถลดภาระในการใชจ้ า่ ยของภาครัฐ

น โย บ าย ส วัส ดิ ก าร เพื่ อ ก าร พั ฒ น าแล ะพึ่ งต น เอ ง อ ย่ างย่ั งยื น
(Productive Welfare) เสมือนเป็นทางเลือกในการจัดสวัสดิการ
ให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนที่มีเง่ือนไข คือ ประชาชนที่ได้รับความ
ช่วยเหลือต้องทางานที่บุคลากร อาทิ นักสังคมสงเคราะห์ นักจัดหางาน
ของหน่วยงานที่เกย่ี วข้องแนะนา หรอื มฉิ ะน้นั ก็ต้องเขา้ รบั การฝกึ อบรม
อาชีพในลักษณะของการพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อให้ประชาชนมีความรู้
และทักษะการทางานท่ีสูงขึ้นหรอื เหมาะสมกับการจ้างงานมากขึน้ ทาให้
ประชาชนเข้าร่วมในตลาดแรงงานได้อย่างสมศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์
ดั งน้ั น ส วัส ดิ ก าร เพ่ื อ ก าร พั ฒ น าแล ะพึ่ งต น เอ งอ ย่ าง ย่ั งยื น

สวัสดกิ ารเพ่ือการพฒั นาและพง่ึ ตนเองอยา่ งยงั่ ยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 15
: คณุ คา่ และศักด์ศิ รีความเปน็ มนุษย์

จึงเป็นการลดภาระงบประมาณที่เป็นการช่วยเหลือแบบบรรเทาทุกข์ชั่ว
คร้ังคราว ขณะเดียวกันก็มีคุณค่าเป็นการเพ่ิมโอกาสให้ประชาชน
สามารถมสี ่วนรว่ มในการพัฒนาตนเอง เมื่อประชาชนมงี านทา มีรายได้
จึงมีความม่ันคงของชีวิตที่มีความยั่งยืน สวัสดิการเพื่อการพัฒนาและ
พ่ึงตนเองอย่างย่ังยืน จึงสอดคล้องกับการพัฒนาท่ี มั่นคง มั่งค่ัง และ
ยง่ั ยนื

อยา่ งไรกต็ าม สวัสดิการเพื่อการพัฒนาและพึ่งตนเองอย่างยั่งยืน
ต้ อ ง ไ ม่ ใ ช่ ท า ง เลื อ ก ท่ี ป ฏิ เส ธ ก า ร จั ด ส วั ส ดิ ก า ร ที่ เน้ น ก า ร คุ้ ม ค ร อ ง
(Protective Welfare) ทว่าต้องมีการดาเนินงานอย่างควบคู่กันไป
ท้ังนี้ประชาชนทุกคนต้องได้รับสิทธิในการดูแลสุขภาพ การศึกษา และ
อื่นๆอย่างถ้วนหน้าและท่ัวถึง เพื่อประชาชนจะได้มีโอกาสพัฒนาตนเอง
เปน็ กาลงั ผลิตทสี่ าคัญและมีคณุ ค่าความเป็นมนุษยใ์ นอนาคตอย่างยงั่ ยืน

สวัสดกิ ารเพื่อการพัฒนาและพง่ึ ตนเองอยา่ งยงั่ ยืน (Productive Welfare) ห น้ า | 16
: คณุ คา่ และศักด์ศิ รีความเปน็ มนษุ ย์

ส วั ส ดิ ก า ร เพ่ื อ ก าร พั ฒ น า แล ะพึ่ งต น เอ งอ ย่ างย่ั งยื น
(Protective Welfare) จะไม่เป็นเพียงแนวคิดที่วาดฝันสวยงามของ
นักวิชาการอีกต่อไป แต่สามารถนาไปปฏิบัติได้จริง เม่ือกระทรวงการ
พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ โดยกรมพัฒนาสังคมและ
สวัสดิการได้เสนอ

แนวคิดการส่งเสริมการจดั สวัสดิการสังคมแบบ “Productive
Welfare” ต่อยอดจากโครงการ “Family Data” เปิดประตูเยี่ยม
บ้านสร้างสะพานสู่สวัสดิการ โดยกาหนดคุณสมบัติกลุ่มเป้าหมายท่ีได้
ลงทะเบียนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ปี 2560 เป็นผู้ไม่มีรายได้ มีหนี้สิน
เพ่ือการอุปโภคบริโภค และมีหน้ีสินนอกระบบ รวมจานวน ดาเนินการ
ในปี 2561 จานวน 126,394 คน (ครัวเรือน) ซ่ึงเป็นสมาชิกใน
ครัวเรือนดังกล่าว ซึ่งกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ได้สารวจและ
บันทึกข้อมูลในระบบฐานข้อมูลได้ ทั้งสิ้น 41,000 คน (ข้อมูล
ณ วันที่ 26 พ.ย. 61) โดยมีความต้องการรับการช่วยเหลือทั่วไป
จานวน 30,647 คน เช่น ต้องการคาปรึกษา การประสานส่งต่อ
เพ่ืออานวยความสะดวกในการติดต่อราชการเพ่ือจัดทาเอกสาร เช่น
บัตรคนพิการ และเป็นผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือที่จาเป็นเร่งด่วน
จานวน 10,353 คน ซึ่งในรายที่มีความจาเป็นเร่งด่วนมาก กรม
พัฒนาสังคมและสวัสดิการ ได้ใช้รูปแบบการส่งเสริมการจัดสวัสดิการ
สังคมแบบ “Productive Welfare” เข้าไปใหก้ ารช่วยเหลอื

สวัสดกิ ารเพื่อการพฒั นาและพ่งึ ตนเองอยา่ งยั่งยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 17
: คุณค่าและศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์

“Productive Welfare” มี 5 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่

1) Civic Responsibility ใช้เครือข่ายชุมชนและทุกภาค
ส่วนในการขับเคลื่อนการจัดสวัสดิการสังคม เช่น องค์กรส่งเสริมความ
รั บ ผิ ด ช อ บ ท า ง สั ง ค ม ภ า ค ธุ ร กิ จ Corperate Social
Responsibility (CSR) โด ย ก าร Matching ร ะ ห ว่ างค ว า ม
ต้องการจาเป็นของผู้ประสบปัญหา กับความต้องการช่วยเหลือสังคมของ
ภาคธุรกิจ เช่น ธนาคารออมสินมอบทุนการศึกษาแก่นักเรียนยากจน
หรือความช่วยเหลือจากองค์กรธุรกิจเพื่อสังคม Social Enterprise
(SE)

2) Real Opportunity เป็นการจัดสวัสดิการที่ตรงกับ
สภาพปัญหาและความต้องการจาเป็น

3) Empowerment เน้นการเสริมพลังผู้ประสบปัญหาทาง
สังคม เชน่ การสรา้ งโอกาสทางการศกึ ษา / อาชีพ

4) Case Management ใช้กระบวนการจัดการรายกรณี
(CM) โดยทีมสหวิชาชีพ ( Interdisciplinary) เช่น แพทย์ นัก
สังคมสงเคราะห์ นักจติ วิทยา นักกายภาพบาบัด เป็นตน้

5) Innovation / IT โดยในส่วนของกรมพัฒนาสังคมและ
สวัสดิการ ได้จัดทาและพัฒนา Appication ในการช่วยเหลือและการ
ติดตามการใหค้ วามช่วยเหลอื

สวสั ดกิ ารเพ่ือการพัฒนาและพึ่งตนเองอยา่ งยง่ั ยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 18
: คณุ คา่ และศกั ดิศ์ รีความเปน็ มนษุ ย์

“Productive Welfare” จึงเป็นการส่งเสริมให้ประชาชน
สร้างทางเลือกของระบบสวัสดิการพึ่งตนเอง โดยการพัฒนาระบบ
ช่วยเหลือตนเอง โดยใช้เทคโนโลยีนวัตกรรมสมัยใหม่เข้ามาขับเคลื่อน
ได้แก่ ระบบข้อมูลขนาดใหญ่ (BigData) เช่น ฐานข้อมูลผู้ลงทะเบียน
สวัสดิการแห่งรัฐ ฐ านข้อมูลทะเบียน ราษฎ ร์ และฐาน ข้อมูล
กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการช่วยเหลือและใช้เทคโนโลยีวิเคราะห์ข้อมูล
(Business Intelligence) เป็นระบบบริหารจัดการความช่วยเหลือ
(Innovation Case Managerment) รวมท้ังติดตาม แจ้งเตือน
ประสาน ประสานความร่วมมือหน่วยงานผ่านเทคโนโยลี Mobile
Application และมีนวัตกรรมการประเมินตนเองของผู้รับบริการและ
ทีมสหวิชาชีพ (Self-Assessment) ที่ใช้งานง่าย ซ่ึงจะทาให้เกิด
การพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนื่องตลอดชวี ติ

สวัสดกิ ารเพื่อการพฒั นาและพึ่งตนเองอยา่ งยงั่ ยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 19
: คณุ ค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์

อาจจะกล่าวได้ว่า สวัสดิการสังคม Productive Welfare
และงานสังคมสงเคราะห์ มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงจนไม่สามารถแยกออก
จากกันได้ สวัสดิการสังคมเป็นเป้าหมายทางสังคมที่จะนาไปสู่การ
พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ท่ีจะช่วยให้เกิดความเป็นอยู่ท่ีดี
ของคนในสังคม สวัสดิการสังคมมีความหมายกว้างและถือเป็นร่มใหญ่
ของงานสังคมสงเคราะห์ และงานสังคมสงเคราะห์เปน็ บริการในรูปแบบ
ของโครงการ/กิจกรรม/บริการ ท่ีเป็นส่วนหนึ่งของงานสวัสดกิ ารสังคม
แต่ก็เป็นส่วนท่มี ีความสาคัญอย่างยิ่งยวด เป็นฟันเฟืองท่ีจะขับเคลื่อนงาน
โดยใช้แนวความคิด “สวัสดิการเพ่ือการพัฒนาและการพึ่งตนเองอย่าง
ย่ังยืน (Productive Welfare) เป็นแนวทางการดาเนินงานด้าน
การพฒั นา เพ่ือให้ประชาชนและผู้ประสบปัญหาทางสังคมได้รับการดูแล
ช่วยเหลือท่ีเหมาะสม สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณค่าและ
ศักดิ์ศรีความเปน็ มนษุ ย์อยา่ งเทา่ เทยี มกัน

สวสั ดิการเพ่ือการพฒั นาและพง่ึ ตนเองอยา่ งย่ังยืน (Productive Welfare) ห น้ า | 20
: คณุ คา่ และศกั ดศิ์ รีความเป็นมนษุ ย์

ถอดรหสั Productive Welfare สกู่ ารขบั เคลอ่ื นในพน้ื ที่

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในฐานะ
กระทรวงเจ้าภาพหลักในการดาเนินงานด้านสังคม เพ่ือการพัฒนา
คุณภาพชีวิต เสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ประชาชน ชุมชน และสังคม
ได้กาหนดวิสยั ทัศน์ พม. เป็นผู้นาด้านสังคมของไทยและอาเซยี นมุ่งสู่คน
อยู่ดีมีสุขในสังคมคุณภาพ” และกาหนดยุทธศาสตร์ พม. 5 ปี
(พ.ศ. 2560 – 2564) : ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมโอกาสการเข้าถึง
บริการทางสังคมบนพื้นฐานความพอพียง โดยมีพันธกิจหลัก 4
ประการ คือพัฒนาคนและสังคมให้มีคุณภาพเต็มศักยภาพและมี
ภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง เสริมสร้างเครือข่ายจากทุกภาคส่วนใน
การมีส่วนร่วมพัฒนาสังคม พัฒนาองค์ความรู้ ขีดความสามารถและ
ระบบการบริหารจัดการด้านการพัฒนาสังคมและจัดระบบสวัสดิการท่ี
เหมาะสมกับบริบทของประเทศ ไทย เพื่อให้ประชาชนมีหลักประกันและ
มคี วามมน่ั คงในชวี ิต

ดังน้ัน ในปีงบประมาณ 2562 กระทรวงการพัฒนาสังคม
และความม่ันคงของมนุษย์ โดย กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ จึงได้
เสนอแนวคิดการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแบบ “Productive
Welfare” นาข้อมูลจากโครงการ “Family Data” เปิดประตูเย่ียม
บ้านสร้างสะพานสู่สวัสดิการ มาจัดทาเมนูการช่วยเหลอื โดยบูรณาการ
กับเครือข่ายและการจัดการรายกรณี (Case management) ใน

สวสั ดกิ ารเพื่อการพัฒนาและพ่งึ ตนเองอยา่ งยัง่ ยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 21
: คณุ คา่ และศักด์ิศรีความเป็นมนษุ ย์

พ้ืนท่ี นาร่อง 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดขอนแก่น เพชรบูรณ์ สุโขทัย
น่าน ราชบุรี ภูเก็ต และจังหวัดสงขลา โดยมี Quick win ท่ีจังหวัด
ราชบุรี

“หลักๆคือ เราดูจากช่ือ “สวัสดิการเพื่อการพัฒนาและพึ่งตนเอง
อย่างยั่งยืน (Productive Welfare)” คือ ทาอย่างไรให้เขา
พึ่งตนเองได้อย่างย่งั ยืน ซึ่งตรงกับปรัชญาของงานสังคมสงเคราะห์
ช่ ว ย เข าเพ่ื อ ให้ เข าช่ วย ต น เอ งได้ ” (help them to help
themselves) ใช้หลักการสังคมสงเคราะห์มาเป็นท่ีตั้ง ต้อง
วิเคราะหค์ วามต้องการของคน และใช้ ผูจ้ ัดการรายกรณี (Case
manager) เป็นกลไกในการให้ความชว่ ยเหลือ

นายกิตติ อินทรกุล พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
จังหวัดภูเก็ต ได้ให้คาแนะนา จุดประกายความคิด เป็นแนวทางการ
เริ่มต้นการดาเนินงาน แก่ทีม One Home พม. จังหวัดภูเก็ต เมื่อ
ได้รับนโยบายให้นาแนวคิดการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแบบ
“Productive Welfare” มาขับเคลื่อนเพื่อชว่ ยเหลือผู้ประสบปัญหา
ทางสังคมในพื้นที่ จากนั้น ทีม One Home พม. จังหวัดภูเก็ต ได้มี
การศึกษา ทบทวน หาข้อมูลรายละเอียดเพ่ิมเติม และปรับแนวคิด

สวสั ดกิ ารเพ่ือการพฒั นาและพง่ึ ตนเองอย่างยงั่ ยืน (Productive Welfare)

: คุณค่าและศักดิ์ศรีความเปน็ มนษุ ย์ ห น้ า | 22

“Productive Welfare” ให้เหมาะสมกับบริบทของหน่วยงานและ
พ้นื ที่ โดยมกี ระบวนการขับเคล่ือน ดงั นี้

1) คัดเลือกพ้ืนท่ีนาร่อง โดยคัดเลือกพื้นท่ีท่ีมีความเข้มแข็ง มี
เครือข่าย อาสาสมัครท่ีให้ความร่วมมือ และเป็นตาบล ต้นแบบการจัด
สวัสดิการสังคมของกระทรวง พม. ( Social Smart City) เพ่ือลด
ความซ้าซ้อนในการทางาน ซึ่งในปีงบประมาณ 2562 ได้คัดเลือก
ตาบลปา่ คลอก อาเภอถลาง จังหวดั ภเู ก็ต เป็นพืน้ ทน่ี ารอ่ ง

2) แต่งต้ังคณะทางานขับเคลื่อน การจัดสวัสดิการเพ่ือการ
พัฒนาและพ่ึงตนเองได้อย่างย่ังยืน (Productive Welfare) ระดับ
พ้ืนที่ ภายใต้ คณะอนุกรรมการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม
ของภาคธรุ กิจจังหวัดภูเกต็

3) แบ่งทีมงานและพนื้ ที่การทางาน โดยแบ่งเปน็ ท้ังหมด 5 ทีม
ได้แก่ พมจ.ภูเก็ต แบ่งเป็น 2 ทีม บ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัด
ภูเก็ต ศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจังหวัดภูเก็ต และศูนย์พัฒนาการจัด
สวัสดิการสังคมผู้สูงอายุภูเก็ต หน่วยงานละ 1 ทีม โดยในแต่ละทีม
ประกอบด้วย นักสังคมสงเคราะห์ นักพัฒนาสังคม อาสาสมัครพัฒนา
สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
และเครอื ข่ายในพืน้ ท่ี เขา้ มามีส่วนร่วมในการดาเนนิ งานทกุ ขั้นตอน

4) อบรมพัฒนาศักยภาพ อพม. และเครือข่ายในพื้นที่ เพื่อให้
เกิดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฎิบัติหน้าท่ีผู้จัดการรายกรณี
(Case manager) พร้อมท้ังปรับเปล่ียนแนวคิด และทัศนคติการ

สวสั ดกิ ารเพื่อการพัฒนาและพง่ึ ตนเองอย่างยั่งยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 23
: คณุ คา่ และศกั ดิ์ศรีความเปน็ มนุษย์

ปฏิบัติงานให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน โดย จนท.พม. 1 คน
รับผิดชอบดูแล อพม. 2 คน และ อพม.1 คน รับผดิ ชอบดูแลผู้ประสบ
ปัญหาทางสังคม 4 คน สาหรับพ้ืนที่ท่ีไม่มี อพม. สามารถสร้าง
เครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วม เช่น อสม. ผู้นาชุมชน ผู้นาทางศาสนา
สภาเด็กและเยาวชนและสภาองค์กรชุมชน เป็นต้น โดยมีนักสังคม
สงเคราะห์ /นกั พัฒนาสังคม เป็นผูใ้ ห้คาแนะนาในการทางาน

ผจู้ ดั การรายกรณคี อื ใคร ? ทาหนา้ ทอี่ ะไรหนอ ?

ก า ร จั ด ก า ร ร า ย ก ร ณี ( Case management)
เป็นกระบวนการที่สาคัญกระบวนการหนึ่งในงานสังคมสงเคราะห์
เพ่ือให้การทางานมีความสาเร็จเพิ่มมากข้ึน ครอบคลุมและเป็น
ประโยชน์ต่อกลุม่ เป้าหมาย เกิดการให้บริการทด่ี ีที่สดุ แก่ผู้ใช้บริการ
การจัดการรายกรณีจึงจาเป็นต้องสร้างผู้ปฏิบัติงานท่ีมีบทบาทใน
การดาเนินงานท่ีหลากหลาย รวมถึงเป็นผู้ที่คอยประสานงานกับ
วิชาชีพอื่นๆท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือให้การดาเนินการวางแผนให้ความ
ช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อนประสบความสาเร็จได้
รวมท้ังเป็นผู้ที่จะคอยติดตามและประเมินผลผู้ใช้บริการจนส้ินสุด
กระบวนการ ซ่ึงผู้ที่เป็นผู้ปฎิบัติงานนี้ เรียกว่า “ผู้จัดการราย
กรณี” (Case manager)

สวสั ดกิ ารเพ่ือการพัฒนาและพึ่งตนเองอยา่ งย่งั ยืน (Productive Welfare) ห น้ า | 24
: คุณค่าและศักดิ์ศรีความเปน็ มนุษย์

กระบวนการดาเนินงานด้านการจัดการรายกรณี
ของผู้จัดการรายกรณี (Case Manager) มี กระบวนงาน
หลัก ได้แก่

 กระบวนการรับทราบสถานการณ์ปัญหาของ
ผู้ใช้บริการ มีการแสวงหาข้อเท็จจริงเบ้ืองต้นอย่างรอบด้าน
จากผูเ้ ก่ยี วข้อง

 กระบวนการคดั กรองและสง่ ต่อ เป็นการพจิ ารณา
จากสภาพปัญหาที่ต้องได้รับการช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน และคัด
กรองผใู้ ช้บริการตามสถานการณ์ปญั หาร่วมกัน หากพบว่าเป็น
กรณีที่ผู้ใช้บริการมีความบอบชา้ มาก อาจต้องมีการสง่ ต่อไปยัง
วชิ าชพี เฉพาะทาง หรอื สถานทที่ ่ีเหมาะสมปลอดภยั

 กระบวนการประเมินสภาวะ ผู้จัดการรายกรณีนา
ข้อมูลที่ได้มาจัดรวบรวมเป็นประเด็นต่างๆ และใช้ความรู้
พ้ืนฐานทางสังคมสงเคราะห์ มาวินิจฉัยและประเมินปัญหา
ได้แก่ การประเมินสภาวะกาย จิต สังคม สภาวะครอบครัว
สภาวะแวดลอ้ ม เป็นตน้

สวสั ดกิ ารเพื่อการพฒั นาและพึ่งตนเองอยา่ งยัง่ ยืน (Productive Welfare)

: คณุ คา่ และศกั ด์ิศรีความเป็นมนุษย์ ห น้ า | 25

 การจัดทาแผนการบริการ เป็นการกาหนด
ทางเลอื กในการใหบ้ ริการ ระยะสนั้ ระยะยาวทต่ี อ่ เนือ่ ง

 การดาเนินงานตามแผนข้อตกลงร่วมกันระหว่าง
ผ้ใู ช้บริการ และทมี สหวชิ าชพี ตามกรอบระยะเวลาทีก่ าหนด

 การกากับติดตาม ความก้าวหน้าในการให้บริการ
ต่อผู้ใช้บริการอย่างสม่าเสมอ เพื่อให้เกิดความม่ันใจว่าการให้
ความช่วยเหลือเป็นไปอย่างต่อเนื่องตรงตามที่ระบุไว้ในแผนที่
กาหนดไว้

 การทบทวนและประเมินซ้า เป็นการทบทวนการ
ให้ความช่วยเหลือ และประเมินซ้าในกรณีที่ประสบปัญหาหรือ
ข้อจากดั ในการดาเนนิ การตามแผน

 การยุติก ารบ ริก าร เมื่อมีการทบ ทวน การ
ให้บริการตามแผนที่กาหนด และพบว่าผู้ใช้บริการสามารถใช้
ชวี ติ ไดอ้ ย่างปกติสุข โดยต้องมีการติดตามผลเป็นระยะตามเวลา
ทีเ่ หมาะสม

สวสั ดกิ ารเพ่ือการพัฒนาและพ่งึ ตนเองอยา่ งยั่งยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 26
: คุณคา่ และศักดศ์ิ รีความเป็นมนษุ ย์

5) เมื่อ อพม. ผ่านการฝึกอบรมแล้ว ก็จะเข้าสู่ข้ันตอนการ
สารวจและคัดกรองกลุ่มเป้าหมายในพื้นท่ี โดยมีเกณฑ์การคัดกรอง
เบื้องตน้ เช่น เป็นผูท้ ี่ได้ลงทะเบียน บัตรสวัสดกิ ารแห่งรัฐ ปี 2560 มี
ปัญหาสลับซับซ้อน ไม่มีอาชีพ ไม่มีรายได้ มีหน้ีสินเพื่อการอุปโภค
บริโภค มีหน้ีสินนอกระบบ มีปัญหาความสัมพันธ์ในครอบครัว หรือมี
เดก็ คนพิการและผู้สงู อายอุ ยใู่ นครอบครัว โดยจะต้องผา่ นการพิจาณา
และเห็นชอบร่วมกันจาก อพม. ผูน้ าชมุ ชนและเครือขา่ ยในพืน้ ท่ี

6) อพม. ผู้นาชุมชนและเครือข่ายในพ้ืนท่ี นาเสนอ ข้อมูล
กลุ่มเป้าหมายท่ีผ่านการคัดกรองเบื้องต้น โดยมีทีม พม. ร่วมพูดคุยถึง
สภาพปญั หาความต้องการ และจัดลาดับความจาเปน็ เร่งด่วนของปญั หา
ความเดือดร้อน พร้อมทั้งวางแผน ประเมินความพร้อมเพ่ือกาหนด
ทางเลือกในการให้การช่วยเหลือทั้งระยะส้ันและระยะยาว เน้นให้การ
ช่วยเหลือแบบคู่ขนานไปกับงานประจาท่ีทาอยู่ นาบริการต่างๆตาม
ภ าร กิ จ ข อ งก ร ะท ร วง ก าร พั ฒ น าสั งค ม แ ล ะค วาม มั่ น ค งข อ งม นุ ษ ย์
มาพิจารณาให้การช่วยเหลอื เป็นลาดับแรก เช่น เงินสงเคราะห์ประเภท
ต่างๆ การซ่อมแซมท่ีอย่อู าศัย เงินทุนประกอบอาชีพ เป็นต้น ตลอดจน
การประสานขอความร่วมมือให้เครือข่ายภาคเอกชนและภาคประชาชน
เข้ามามีส่วนร่วมในการให้การช่วยเหลือด้วย โดยให้การช่วยเหลือใน
หลากหลากรูปแบบ ไดแ้ ก่

Protective Welfare สวัสดิการที่เน้นการป้องกัน
และคุ้มครองคนในสังคม ประชาชนทุกคนต้องได้รับสิทธิในบริการ
ข้นั พืน้ ฐานอยา่ งทั่วถึง

สวสั ดิการเพื่อการพัฒนาและพึ่งตนเองอย่างย่ังยืน (Productive Welfare)

: คุณค่าและศักดิ์ศรีความเปน็ มนุษย์ ห น้ า | 27

Productive Welfare สวัสดกิ ารทเ่ี น้นการพฒั นา
ศักยภาพทักษะผู้ประสบปัญหาทางสังคมตามความต้องการ ความสนใจ
ความถนัดและสอดคล้องกบั บริบทในพืน้ ที่ เพือ่ ใหเ้ กิดความย่งั ยนื

Workfare สวัสดิการผ่านการทางาน ผู้ประสบ
ปัญหาทางสังคมต้องมีส่วนร่วมในกระบวนการที่จะต้องแสดงให้เห็นถึง
ความตั้งใจท่ีจะหางานทาหรือทางานง่ายๆในช่วงท่ีขอรับเงินสงเคราะห์
แทนทีจ่ ะรอรบั เงนิ อยู่ฝ่ายเดยี ว

7) กรณีให้การช่วยเหลือเป็นเงินสงเคราะห์ ประเภทต่างๆ
หน่วยงาน พม. แต่ ละหน่วยงานนาเสนอข้อมูลกลุ่มเป้าหมายให้
คณะกรรมการ One Home ของจังหวดั พจิ ารณากลัน่ กรอง

8) เม่ือได้รับการอนุมัติให้การช่วยเหลือ จากคณะกรรมการ
กล่ันกรองของจังหวัดแล้ว ก็จะเข้าสู่กระบวนการให้การช่วยเหลือ โดยทีม
พม. อพม. และเครือข่ายในพื้นที่ลงเย่ียมบ้านผู้ประสบปัญหาทางสังคม
เพอื่ ให้การชว่ ยเหลือแบบมเี งื่อนไขให้สามารถพง่ึ ตนเองไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื ตอ่ ไป

9) ในระหว่างการให้ความช่วยเหลือ ทีม พม. อพม. และ
เครือข่ายในพื้นท่ีได้ติดตามความก้าวหน้า ได้ให้คาปรึกษาแนะนา
ประสานส่งต่อ ติดตามผลการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม
อย่างต่อเนือ่ ง อย่างน้อยเดอื นละ 1-2 ครั้ง

10) ทีม พม. อพม. และเครือข่ายในพ้ืนที่ มีการถอดบทเรียน
ความสาเร็จ ปัญหาที่เกิดขึ้น ร่วมกันหาแนวทางแก้ไขปัญหา เพ่ือให้การ
ช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาได้อย่างถูกต้องครบถ้วน อย่างน้อยเดือนละ
1 ครง้ั

สวัสดกิ ารเพื่อการพัฒนาและพึ่งตนเองอยา่ งย่ังยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 28
: คุณคา่ และศกั ด์ศิ รีความเปน็ มนษุ ย์

Think เดียว ก็เปลย่ี นได้

“ Case Productive Welfare ไม่สามารถ
ทาได้ในทุกคน ผู้ประสบปัญหาทางสังคม ต้องมี
Mind Set ท่ีต้องการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาตัวเอง
เราไมไ่ ด้วิง่ ไปหาเขา เขาจะตอ้ งเดินเข้ามาหาเรากอ่ น”

ในการลงพ้ืนท่ีสารวจและคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย มีส่ิงสาคัญที่
อพม. ต้องคานึงถึง คือ ต้องชี้แจง ให้กลุ่มเป้าหมายเข้าใจถึงข้ันตอน
กระบวนการช่วยเหลืออย่างมีเงื่อนไขเพื่อให้พ่ึงตนเองได้ กลุ่มเป้าหมาย
ตอ้ งสมคั รใจและยอมรบั เงอ่ื นไขในการพฒั นา

“ กระบวนการคิดของคนนั้นสาคัญ
ได้เงินสงเคราะห์เหมือนกัน แต่วิธีใช้เงินสงเคราะห์
ไม่เหมือนกัน ถ้าเอาเงินสงเคราะห์เป็นตัวตั้งใน
การช่วยเหลือก็จบต้ังแต่ความคิดแรกแล้ว ถ้าคุณ
โยนเงินให้เขาฟรีๆเขาก็จะขอเงินอยู่น่ันแหละ แต่ให้
ใช้เงินเป็นเง่ือนไข/เครื่องมือ ในการพัฒ นา
คณุ ภาพชวี ติ ไม่ใช่ตัวหลักในการแก้ไขปญั หา”

สวสั ดกิ ารเพื่อการพฒั นาและพ่งึ ตนเองอย่างย่ังยืน (Productive Welfare) ห น้ า | 29
: คุณค่าและศกั ดศิ์ รีความเป็นมนษุ ย์

ก่อนจะเข้าสู่กระบวนการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทาง
สังคม จาเป็นที่เจ้าหน้าที่ผู้ปฎิบัติงาน และ อพม. ต้องมีแนวคิดการ
ทางาน Productive Welfare ท่ีเป็นไปในแนวเดียวกัน เพราะคา
ว่า “สังคมสงเคราะห์” ไม่ใช่ “สงเคราะห์สังคม” Productive
Welfare เป็นกระบวนการที่สอดแทรกในการทางานของคน พม. ถือ
เปน็ เปา้ หมายหลักในการทางาน ไม่ใชง่ านใหม่แตอ่ ยา่ งใด แตบ่ างคนอาจ
หลงลืม หรือละเลยความคิดดังกล่าวไป จึงทาให้ภาพจาของคนท่ัวไปที่
มองภาพกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นแค่
การสงเคราะห์ช่วยเหลอื โดยให้เงินสงเคราะห์เท่านั้น ดังน้ัน ผู้ปฎิบัตงิ าน
ควรใช้เงินสงเคราะห์เป็นเครื่องมือ/เง่ือนไขในการที่จะพัฒนาผู้ประสบ
ปญั หาทางสงั คมใหพ้ ่ึงตนเองไดอ้ ย่างยั่งยนื

“ คน พม. จะต้องมี Think แว๊บ
หาผู้นาที่แท้จริงในบ้านให้ได้ก่อน เขาจะเป็น
กุ ญ แ จ ห ลั ก ถ้ า ค น น้ี อ ย า ก เป ลี่ ย น
กระบวนการทุกอยา่ งกไ็ ปได้”

การที่จะทางานกับผู้ประสบปัญหาทางสังคมและครอบครัวให้
ประสบความสาเร็จ ผู้ปฏิบัติงานจะต้องไหวพริบ มีการสังเกตและ
วิเคราะห์อย่างละเอียดถี่ถ้วน ว่าบุคคลใดในครอบครัวนั้นท่ีเป็นผู้นาท่ี
แท้จริง และเข้าไปพูดคุยทาความเข้าใจ เมื่อผู้นาที่แท้จริงมีความตอ้ งการ
ที่จะเปลี่ยนแปลง/พัฒนา บุคคลอ่ืนๆในครอบครัวก็จะสมัครใจท่ีจะเข้า
ร่วมพัฒนาตามไปด้วย

สวัสดกิ ารเพื่อการพัฒนาและพึ่งตนเองอยา่ งยั่งยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 30
: คุณค่าและศกั ดศ์ิ รีความเปน็ มนษุ ย์

“อย่าใช้เงินสงเคราะห์ ไปสร้าง
ปัญหาให้เขาเพิ่มมากข้ึน แต่เราไปย่ืน
เงื่อนไข ให้เปล่ียนพฤติกรรม เพื่อตัด
วงจรปัญหาที่จะเกิดตามมา เพราะทุก
ปญั หาจะยอ้ นกลับมาสู่ พม.”

ส วั ส ดิ ก า ร เพื่ อ ก าร พั ฒ น า แล ะพ่ึ งต น เอ งอ ย่ างย่ั งยื น
(Productive Welfare) ผู้ป ฏิ บั ติ งาน และ อพ ม . จะต้ องคิ ด
วิเคราะห์ ประเมินความต้องการ และปัญหาของผู้ประสบปัญหาทาง
สงั คมให้ได้ วา่ เขาจาเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือรูปแบบใด การช่วยเหลือ
ที่ตรงกับความต้องการที่แท้จริงและดึงศักยภาพที่มีอยู่ออกมาพัฒนา
จะทาให้เขายืนได้ด้วยตนเองอย่างภาคภูมิใจ เพราะมีความเป็นไปได้ที่
การช่วยเหลือรูปแบบหน่ึงอาจไปสร้างปัญหา หรือส่งผลกระทบทางลบ
ให้กบั เขาเพม่ิ ขึ้น เมื่อผปู้ ระสบปญั หาทางสงั คมไม่สามารถดารงชีวิตอย่ใู น
สังคมได้อย่างปกติสุข สุดท้ายก็คงหนีไม่พ้นหน้าที่ของกระทรวง
การพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ทตี่ ้องเข้าไปให้การช่วยเหลือ
เยยี วยา

สวสั ดิการเพื่อการพฒั นาและพึง่ ตนเองอย่างยั่งยืน (Productive Welfare) ห น้ า | 31
: คณุ คา่ และศักดิ์ศรีความเปน็ มนษุ ย์

วันเวลาแหง่ ความสาเรจ็ จาก “ผู้รบั ” สู่ “ผใู้ ห”้

“ 1 คนของพ่ี พี่ว่าสาเร็จ” นี่คือ..คาพูดของเจ้าหน้าท่ี

สนง.พมจ.ภูเกต็ ที่สะท้อนใหเ้ ห็นถึงความภาคภูมิใจในการทางาน ที่คร้ัง
หนึ่งเขาได้มีโอกาสเข้าไปมีส่วนร่วมนาแนวคิดสวัสดิการเพ่ือการพัฒนา
และพ่ึงตนเองอย่างยั่งยืน (Productive Welfare) ไปใช้ในการ
ช่วยเหลือผปู้ ระสบปญั หาทางสังคมจนเขาสามารถพ่ึงตนเองได้ และพรอ้ ม
ทจี่ ะชว่ ยเหลือคนอืน่ ต่อไป เปลี่ยนจาก “ผรู้ ับ” เป็น “ผู้ให”้

กระบ วน ก ารช่วยเหลือพั ฒ น าเพื่ อให้พึ่งตน เองได้ เป็ น
กระบวนการพัฒนาให้คนๆหนึ่งท่ีกาลังประสบปัญหาความเดือดร้อน
ทุกข์ยากแสนสาหัส และไร้ซ่ึงหนทางในการเอาชีวิตรอดในสังคมที่
โหดร้าย ได้มองเห็นแสงสว่างท่ีปลายอุโมงค์ เป็นการสร้างโอกาสให้เขามี
คุณค่าขึ้นมาอีกครั้ง ให้เขามีความเข้มแข็งเพียงพอท่ีจะสามารถอยู่ในสังคมน้ีได้
อยา่ งภาคภูมิใจ และมีศักดิศ์ รคี วามเป็นมนุษยเ์ท่าเทยี มกับทุกคน แตอ่ ย่างไรกต็ าม
กระบวนการพัฒนาน้ีก็ไม่สามารถคาดการณ์ระยะเวลาได้ว่าจะสาเร็จเมื่อไหร่
บางราย เม่ือให้ความชว่ ยเหลือไปแล้วอาจจะไม่สามารถพึ่งตนเองได้ตอ้ งพึ่งพิงภาครัฐ
ตอ่ ไป บางรายอาจต้องใช้เวลายาวนานกว่าท่ีจะพึง่ ตนเองได้ แต่เด๋ียวกอ่ น! ..
ยังมีผู้ประสบปัญหาทางสังคมรายหน่ึง ที่ สนง.พมจ. ภูเก็ต ได้ให้ความ
ช่วยเหลือ เขาสามารถพ่ึงพาตนเองได้ โดยใช้ระยะเวลาไม่นานเพียงแค่
6-7 เดือนเท่านั้น เพราะอะไร ทาไมถึงเป็นเช่นน้ัน บทความนี้จะเฉลย
คาตอบให้ทกุ คนได้รู้

สวัสดิการเพื่อการพฒั นาและพง่ึ ตนเองอยา่ งย่ังยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 32
: คณุ ค่าและศกั ด์ศิ รีความเปน็ มนษุ ย์

ครอบครวั แสนเปราะบางทา่ มกลางความศวิ ไิ ลซ์

จังหวัดภูเก็ต ได้รับการขนานนามว่า“ดินแดนแห่งไข่มุกอันดามัน”
เป็นดินแดนที่มีความรุ่งโรจน์ และม่ังค่ังจากแหล่งท่องเที่ยวที่สวยงาม
ตระการตา มีรายได้จากการท่ีนักท่องเที่ยวท้ังชาวไทยและชาวต่างชาติ
หลั่งไหลไปเย่ียมเยือนปีละหลายล้านคน แม้ว่าจังหวัดภูเก็ตจะมีสภาพ
เศรษฐกิจที่ดี แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าทุกคนที่อยู่ในจังหวัดจะมีสภาพ
ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีตามไปด้วย ยังคงมีคนอีกจานวนไม่น้อยท่ีมีปัญหา
ความเดือดร้อน ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ กาลังรอคอยความหวังว่า
จะได้รับการช่วยเหลือให้พ้นจากความทุกข์ ดังเช่น ครอบครัวเล็กๆของ
เธอคนนี้ เธอคนน้ี คือผู้ประสบปัญหาทางสังคม หรือท่ีคน พม. เรียก
ติดปากว่า Case อาศัยอยู่ตาบลรัษฎา อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต
สมาชิกในครอบครัวประกอบด้วย สามี บุตรจานวน 3 คน และบิดา
มารดาที่กาลังเข้าสู่วัยสูงอายุ ซึ่งเจ็บป่วยมีโรคประจาตัวรุมเร้าหลายโรค
เชน่ โรค หัวใจ สว่ นบดิ ามีปัญหาทางการมองเห็น

อาชีพหลักของครอบครัว คือ ขายก๋วยเต๋ียว แต่ไม่สามารถเปิด
ขายไดท้ ุกวัน เน่ืองจากบดิ ามารดาสขุ ภาพไมแ่ ข็งแรง สว่ น Case ก็ต้อง
เลี้ยงดูบุตรที่ยังเล็กอยู่จึงไม่ได้ช่วยงานท่ีบ้านมากนัก มีเพียงสามีของ
Case ท่ีมีอาชีพช่างซ่อมเคร่ืองใช้ไฟฟ้า ที่ออกไปทางานนอกบ้านได้
แตก่ ็มรี ายได้ท่ีไมแ่ นน่ อน บางวันมีรายได้ บางวนั ก็ไมม่ ี ทาให้รายได้ทีห่ า

สวัสดกิ ารเพื่อการพัฒนาและพึ่งตนเองอย่างยงั่ ยืน (Productive Welfare) ห น้ า | 33
: คุณค่าและศกั ดศิ์ รีความเปน็ มนุษย์

ม า ไ ด้ ไ ม่ เพี ย ง พ อ กั บ ก า ร เล้ี ย ง ป า ก เลี้ ย ง ท้ อ ง ข อ ง ส ม า ชิ ก ท้ั ง ห ม ด ใ น
ครอบครัว พวกเขาจะสามารถมีชีวิตอยู่รอดท่ามกลางเมืองกรุงท่ีศิวิไลซ์
มีอาหารประทังชีวิตท่ีแสนเปราะบางน้ีไปได้อีกนานแค่ไหน และยังต้อง
เจอปัญหาอุปสรรคที่หนักหนาสาหัสกว่าน้ีอีกหรือไม่ เป็นคาถามที่ก้อง
อยใู่ นใจ

ปฐมบทแหง่ ความหวงั

แล้ววันหน่ึงเหมือนฟ้ามีตา ทาง สนง.พมจ.ภูเก็ต ได้ลงพื้นท่ี
สารวจชุมชน เพื่อช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาความยากลาบาก และได้มี
ก า ร พู ด คุ ย เก่ี ย ว กั บ โค ร ง ก า ร ฝึ ก อ บ ร ม อ า ชี พ ให้ กั บ ผู้ มี ร า ย ได้ น้ อ ย ที่
ลงทะเบียนบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ เช่น ปลูกผัก เพาะเห็ด และ ทาขนม
ซึ่งตัว Case ก็เป็นหน่ึงในผู้ที่มีสิทธ์ิเข้ารับการฝึกอบรมอาชีพในครั้งน้ี
มองดูผิวเผินก็คงเหมือนภาครัฐชักชวนให้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม
ท่ี จัดขึ้น ทั่ วไป แต่ ไม่ ใช่อย่างที่ คิ ด ก ารฝึ ก อบ รม อาชีพ ค ร้ังนี้
มีความหมายมากมายกว่านั้น ถือเป็นจุดพลิกผันชีวิตของคนคนหน่ึง
จากหน้ามือเป็นหลังมือเลยทีเดียว อาจจะเน่ืองด้วยลักษณะเฉพาะของตัว
Case ที่มีความแตกต่างจากกลุ่มเป้าหมายคนอื่นๆ เขาเดินเข้ามา
สอบถาม แสดงให้เห็นถึงความต้องการที่อยากจะฝึกอาชีพ อยากจะ
เปลยี่ นแปลงพฒั นาตนเอง

“ต้องทาให้ Case เปดิ ประตกู ่อน แลว้ เราจึงจะเข้าไปพฒั นาได้ ”

สวสั ดกิ ารเพ่ือการพฒั นาและพ่ึงตนเองอย่างย่งั ยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 34
: คณุ คา่ และศักดิศ์ รีความเปน็ มนุษย์

ตบมือข้างเดียวมันคงไม่ดัง เสมือนกระบวนการให้ ความ
ช่วยเหลือต้องอาศัยการมีส่วนร่วมท้ัง ผู้ให้และผู้รับ การพ่ึงตนเองของ
ผู้รับจึงจะบังเกิดผลได้จริง เม่ือผู้ให้มีความมุ่งมั่น ต้ังใจและมีทรัพยากร
ท่ีจะสนับสนุนอยู่ในมือ และผู้รับมีความสมัครใจ เต็มใจและมีความ
พร้อมที่จะยอมรับเง่ือนไขสู่การเปล่ียนแปลง เพื่อสร้างชีวิตที่ดีกว่า
กระบวนการพฒั นาเพอ่ื พ่ึงตนเองได้อยา่ งย่ังยืนจงึ เร่มิ ข้ึน

สใู่ จกลางปญั หา

ในระหว่างที่ Case เข้ารับการฝึกอบรมอาชีพ ทางทีม พม.
อพม. และเครือข่ายในพ้ืนท่ี ได้ลงไปเยี่ยมบ้านเพื่อรับทราบสถานการณ์
ปญั หาและแสวงหาข้อเท็จจริงเบ้ืองต้นอย่างรอบดา้ น พบว่าครอบครัวน้ี
มีปัญหามากมายและสลับซับซ้อน ได้แก่ ในครอบครัวมีผู้สูงอายุและเด็ก
ท่ีอยู่ในภาวะพึ่งพิง คือมารดา เจ็บป่วยด้วยโรคประจาตัว บิดามีปัญหา
ทางการมองเห็น และมีบุตรท่ีกาลังอยู่ในวัยเด็กและกาลังศึกษาเล่าเรียน
ตัว Case ไม่มีงานทา ไม่มีรายได้ ท้ังครอบครัวต้องพ่ึงพารายได้จาก
สามี ซึ่งมีงานไม่แน่นอน ทาให้มีรายจ่ายมากกว่ารายรับ รายได้ไม่
เพียงพอแก่การครองชีพ อีกทั้ง เข้าไม่ถึงสิทธ์ิและสวสั ดิการของภาครัฐ
เช่น การลงทะเบียนโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเล้ียงดูเด็กแรกเกิด
นอกจากนี้ยังพบปัญหาท่ีสาคัญอีกประการ คือ ปัญหาหน้ีนอกระบบ
จานวน 30,000.-บาท ต้องจ่ายดอกเบี้ยเดือนละ 3,000.-บาท และ

สวสั ดกิ ารเพื่อการพัฒนาและพึง่ ตนเองอย่างยงั่ ยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 35
: คณุ คา่ และศกั ด์ศิ รีความเป็นมนุษย์

ได้นาโฉนดท่ีดินบ้านท่ีพักอาศัยไปจานองไว้กับเจ้าหน้ีเงินกู้ หากไม่จ่าย
ดอกเบย้ี ตามระยะเวลาทก่ี าหนด ก็อาจจะถูกยึดโฉนดที่ดนิ ได้

“ปญั หาหนน้ี อกระบบ เหมอื นมะเรง็ รา้ ย ถา้ ไมร่ กั ษาใหห้ าย
กจ็ ะไมส่ ามารถเรมิ่ ตน้ ชวี ติ ใหมไ่ ด้”

ทางเลอื ก สู่ ทางรอด

ทีม พม. อพม. และเครือข่ายในพ้ืนท่ี ได้นาข้อมูลที่ได้จากการ
แสวงหาข้อเท็จจริง มาวินิจฉัยและประเมินปัญหาท่ีต้องได้รับการ
ช่วยเหลือเร่งด่วน พบว่า ปัญหาหน้ีนอกระบบเป็นปัญหาสาคัญลาดับ
แรก หากไม่ได้รับการแก้ไขให้หมดสิ้นไป จะทาให้เกิดปัญหาอ่ืนๆตามมา
อีกมากมาย นอกจากนี้ต้องพัฒนาให้ Case และสามีมีงานทา ตามท่ี
เขาถนัดและสนใจ ซ่ึงทีม พม. จักต้องค้นหาทักษะ ความสามารถที่เขา
มีอยู่ในตัวเอง เพ่ือให้มีรายได้เลยี้ งดูคนในครอบครัว จึงได้มีการวางแผน
งาน กาหนดทางเลอื กและวางเง่อื นไขในการให้การชว่ ยเหลอื ดังนี้

เงื่อนไขแรก ภายใน 1 สัปดาห์ Case ต้องไปลงทะเบียน
โครงการเงินอุดหนุนเพ่ือการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดให้กับบุตรที่มีสิทธิ์
เพื่อให้มีรายได้อีกทางหน่ึงไวเ้ ล้ียงดูบุตร ซึ่งทาง อพม.ในพื้นท่ีได้ติดตาม
สอบถามทางเทศบาลตาบลรัษฎาอย่างต่อเน่ือง พบว่า Case ได้
ดาเนินการตามระยะเวลาท่ีกาหนด ในระหว่างนั้น ทางทีม พม. ก็ได้
สร้างความไว้วางใจ ให้คาปรึกษา แนะนา และช่วยเหลือบรรเทาความ

สวสั ดิการเพื่อการพัฒนาและพ่งึ ตนเองอย่างยั่งยืน (Productive Welfare) ห น้ า | 36
: คุณคา่ และศักดิศ์ รีความเป็นมนษุ ย์

เดือดร้อนเฉพาะหน้าเป็นระยะๆ เช่น จัดหาข้าวสาร อาหารแห้ง โดย
ประสานขอความร่วมมือจากองค์กรส่งเสริมความรับผิดชอบทางสังคม
ภ า ค ธุ ร กิ จ Corperate Social Responsibility (CSR) ใน
จงั หวดั ภูเกต็

“เราไม่มองว่าเขาคือ Case แต่เรามองว่าเขาคือเพื่อน
เขาสามารถคยุ กบั เราไดท้ กุ อยา่ ง เราเป็นหว่ งเขาจริงๆ และแสดง
ใหเ้ ขาเห็นว่าเราเปน็ ที่ปรกึ ษาพร้อมจะอยขู่ ้างๆเขา”

เง่ือนไขต่อมา คือ การให้ความช่วยเหลือเป็นเงินสงเคราะห์
จานวน 3,000.- บาท แต่มีเง่ือนไข คือ ต้องนาไปชาระดอกเบ้ียหนี้
นอกระบบเท่าน้ัน หลังจากได้เงินไประยะเวลาหนึ่ง Case ได้เข้ามา
ปรึกษา เจ้าหน้าที่ ว่า เขาไม่ได้นาเงินสงเคราะห์ ไปชาระดอกเบี้ยหนี้
นอกระบบตามที่ได้สัญญาไว้ เนอ่ื งจากบิดาโดนฟ้องร้องคดเี ร่ืองการบุก
รุกท่ีดิน ต้องชาระค่าปรับ จานวน 7,000.-บาท จึงจาเป็นต้องใช้เงิน
สงเคราะห์ชาระค่าปรับดังกล่าว ส่ิงนี่แสดงออกให้เห็นว่า Case
มีความซอื่ สัตย์จริงใจและไม่ปดิ บงั ข้อมลู ต้องการที่จะพฒั นาตนเองอย่าง
แท้จริง อีกท้ังยังเป็นการพัฒนาความสัมพันธ์ สร้างความเชื่อใจและ
ไวว้ างใจระหวา่ งทีม พม. กบั Case มากย่ิงขนึ้

ทีม พม. และ อพม. ได้ร่วมกันหาทางแก้ไขปัญหาทาอย่างไรให้
หน้ีนอกระบบเข้าสู่ในระบบ อีกท้ังหาอาชีพเสริม ให้ Case เพื่อให้มี
รายได้เพิ่มขึ้น โดยให้ Case หาข้อมูล เพื่อหาช่องทางแก้หนี้ จนไปเจอ
โครงการของธนาคารออมสิน เป็นโครงการธนาคารประชาชนสาหรับ

สวัสดกิ ารเพื่อการพฒั นาและพ่ึงตนเองอยา่ งย่งั ยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 37
: คณุ ค่าและศักดศ์ิ รีความเปน็ มนษุ ย์

ผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ให้ วงเงินกู้ไม่เกินรายละ 50,000 บาท
ผ่อนชาระ 3-5 ปี ซ่ึงการกู้เงินจากธนาคารมีปัญหาติดขัดเรื่องเอกสาร
หลายอย่าง ทางทีม พม. ก็ได้ให้การช่วยเหลือ เช่น สอนทาบัญชีรับ
จ่าย สอนการออม วางแผนการเงิน วางแผนทุกรายละเอียด ทั้งค่ากิน
คา่ น้า ค่าไฟ ค่านม ทุกอย่างท่ีต้องรับและจ่ายในทุกๆเดือน ซ่ึงเป็นสิ่งท่ี
สาคัญมากที่ทีม พม.ต้องพยายามทาให้ Case เห็นความสาคัญกับสิ่งน้ี
จนในทส่ี ดุ สามารถยืน่ เอกสารกเู้ งินกับทางธนาคารออมสินได้

ระหว่างรอเงินก้จู ากธนาคาร ทางทมี พม. ก็ไม่ได้นิ่งนอนใจแต่
อย่างใด ยังคงเสาะหาหนทางเพื่อให้การช่วยเหลือต่อไป โดยได้ให้การ
ช่วยเหลือเป็นเงินทุนประกอบอาชีพ จานวน 5,000 .- บาท สืบเนื่อง
จาก Case ต้องการมีอาชีพเสริม โดยนาอาชีพที่ได้รับการฝึกอบรม
คือ การเพาะเห็ด มาสร้างรายได้ เจ้าหน้าท่ีได้ให้ Case วางแผนการ
ใช้จ่ายเงิน และติดต่อประสานงานเร่ืองการเพาะเห็ดด้วยตนเอง ได้
ข้อสรุปว่า ต้องจัดซื้ออุปกรณ์สาหรับเพาะเห็ด จานวน 2,000.-บาท
ส่วนเงินที่เหลือ จานวน 3,000.-บาท จะนาไปชาระเงินต้นหนี้นอก
ระบบ แต่เจา้ หนเ้ี งนิ กู้นอกระบบไม่ยินยอมรบั เงินดังกล่าว หากตอ้ งการ
ชาระเงินต้นต้องชาระเป็นเงินทั้งส้ิน 6,000.-บาท ปัญหาหน้ีนอก
ระบบก็ยังคงดาเนินต่อไปจนกว่าจะได้เงินกู้จากธนาคารออมสินมาชาระ
หนีค้ งค้างท้ังหมด นอกจากตวั Case จะได้รับการช่วยเหลือแล้ว สามี
ของCase ก็ได้รับการช่วยเหลือด้วย โดยทีม พม.ได้นาข้อมูลเก่ียวกับ
อาชีพและเบอร์โทรศัพย์ ส่งต่อข้อมูลผ่านทางออนไลน์ เพ่ือให้มีช่องทาง
การจ้างงานเพิ่มมากขึน้

สวัสดิการเพ่ือการพัฒนาและพง่ึ ตนเองอยา่ งยัง่ ยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 38
: คุณค่าและศกั ดศ์ิ รีความเป็นมนษุ ย์

“ลขิ ติ ฟา้ ” หรอื จะสู้ “มานะตน”

จากการติดตามผลการให้ความช่วยเหลือ Case ได้แสดงให้
เห็นว่ามีความกระตือรือร้นต้องการที่จะพัฒนาตัวเองให้ดียิ่งข้ึน จน
สามารถพึ่งตัวเองได้ดีในระดับหนึ่ง คือ ต้องการหารายได้เพิ่มข้ึน
นอกจากการเพาะเหด็ จึงไดค้ ้นหาตวั เอง พบวา่ มีความสามารถในการ
ทาขนม จึงได้เร่ิมทาขนมบราวนี่ โดยใช้อุปกรณท์ ่ีมีในบ้าน ใชว้ ธิ ีการนึ่ง
ขนมแทนการใช้เตาอบที่มีราคาแพง โดยทีม พม. ได้ช่วยหาตลาด
แนะนาการควบคุมคุณภาพ รสชาติและความสะอาด และมีเครือข่ายใน
พืน้ ท่ี เข้ามาสนบั สนุนสั่งขนมบราวนี่เป็นจานวนมาก ทาให้เริ่มมรี ายได้
เพ่ิมข้นึ

ทีม พม. ได้ชวนคิดชวนคุยให้ Case คิดหางานหลัก เพ่ือให้มี
รายได้ที่มั่นคง แรกๆ Case ปฏิเสธท่ีจะหางานเพิ่ม แต่พอผ่านอะไร
ไปด้วยกัน เขาก็รู้แล้วว่าทางไหนท่ีเขาต้องเดินต่อ ให้เวลาเขา ไม่บีบจน
อึดอัด และ ก็ต้องไม่ละเลย ต่อมา Case เร่ิมมีความคิดท่ีอยากจะ
หางานหลัก และให้สามีทาขนมเป็นอาชีพเสริมต่อไป จนในที่สุดก็ได้
ทางานเป็นแม่บ้านในสถานประกอบการแห่งหนึ่ง แม้ว่าจะเป็นงานที่
หนัก จนบางคร้ังเกิดความเหนื่อยล้าและท้อถอย แต่ก็เพราะได้กาลังใจ
และคาปรึกษาแนะนาอย่างจริงใจจากทีม พม. ทาให้ Case อดทน
ต่อสู้ฟนั ฟา่ ปญั หาอปุ สรรคมาได้

“รสู้ กึ ดใี จ ท่ใี นวันท่ีคณุ ทุกข์ที่สุด คุณนึกถงึ เรา”

สวสั ดิการเพ่ือการพัฒนาและพึง่ ตนเองอยา่ งยั่งยืน (Productive Welfare) ห น้ า | 39
: คุณคา่ และศักด์ศิ รีความเปน็ มนษุ ย์

หลังจากนั้น Case ได้งานใหม่เป็นพนักงานช่ัวคราวของ
โรงแรมแห่งหน่ึงแถวป่าตอง ได้เงินเดือน 9,000.-บาท Case มีความ
มุ่งมั่นและตั้งใจอย่างมากที่จะทางานที่มีรายได้มั่นคง แม้ว่าสถานท่ี
ทางานจะอยู่ไกลจากบ้านพักอาศัยมาก แต่ก็ยินดีท่ีจะเดินทางไปทางาน
และแล้ววันเวลาแห่งการรอคอยก็มาถึง ธนาคารแจ้งให้ไปรับเงนิ กูท้ ี่ได้ยื่น
เรื่องไว้ ได้เงินมาชาระหน้ีนอกระบบ จากเดิมที่ต้องจ่ายดอกเบี้ยหนี้นอก
ระบบ จานวน 3,000.-บาท/เดือน เปล่ียนมาเป็นชาระหน้ีกับธนาคาร
ออมสนิ เพยี งเดือนละ 1,000.- กว่าบาท และยังได้โฉนดท่ีดนิ บา้ นท่ีพัก
อาศัยคืนมาอีกด้วย ท้ังนี้ Case ได้ให้คาสัญญากับ ทีม พม. ว่าจะไม่
ไปกู้เงินนอกระบบอีกต่อไป เม่ือได้บ้านท่ีเปรียบเสมือนท่ีพักพิงทางกาย
และทางใจกลับคืนมา ความสุข ความอบอุ่น และความม่ันคงก็เร่ิม
กลับมาสคู่ รอบครัวนอ้ี ีกคร้งั

วันเวลาผ่านไป Case ยังคง ขยัน อดทน ประหยัด อดออม
พยายามช่วยเหลือตนเองมาโดยตลอด ไม่เคยเรียกร้องขอความช่วยเหลือ
เพ่ิมเติม ทางานทั้งงานประจาและงานเสริมอย่างไม่เคยย่อท้อ ทาให้มี
รายได้มาจากหลายช่องทาง ท้ังจากการเพาะเห็ด การทาขนมบราวน่ี
และจากงานประจา ส่วนสามีก็มีรายได้เพิ่มมากขึ้น เพราะได้รับการ
ช่วยเหลือจากทีม พ ม. เช่น หาลูกค้ามาให้ และให้เอาอะไหล่
เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าทชี่ ารุดไปจาหน่าย เปน็ ต้น จนกระท่ังวันหนึ่งความอดทน
ค ว า ม เพี ย ร พ ย า ย า ม แ ล ะ ไ ม่ ย่ อ ท้ อ ต่ อ อุ ป ส ร ร ค ที่ ผ่ า น ม า ก็ น า ไ ป สู่
ความสาเร็จ Case ได้รับการบรรจุเป็นพนักงานประจา มีรายได้และ
สวัสดิการเพ่ิมมากขึ้น ชีวิตของ Case และครอบครัวเร่ิมเปล่ียนไป

สวัสดิการเพื่อการพัฒนาและพ่ึงตนเองอยา่ งยงั่ ยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 40
: คณุ คา่ และศักดศิ์ รีความเป็นมนษุ ย์

ในทางที่ดีข้ึนเรื่อยๆ ปัจจุบันแม้ว่าจะยังคงมีหนี้สินอยู่บ้าง เช่น
หน้ีธนาคารออมสิน หน้ีกองทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา แต่ Case
ก็สามารถบริหารจัดการรายรับและรายจ่ายในครัวเรือนได้ มีหน้ีสิน
น้อยลง มีรายได้เพ่ิมข้ึน มีเงินออมสาหรับอนาคต ทาให้ชีวิตความ
เป็นอยู่ดีข้ึนตามลาดับ เมื่อมีความมั่นคงทางกายและทางใจ จึงพร้อมที่
จะเปน็ “ผใู้ ห”้ แก่ “ผูอ้ ่ืน” เช่น เล้ียงอาหารเด็กยากจน และทากิจกรรม
จิตอาสา เป็นต้น อาจจะกล่าวได้ว่า กระบวนการให้การช่วยเหลือมาถึง
ขนั้ ตอนสุดทา้ ย คือ การยุตกิ ารให้บริการ“Case หลุดจากภาวะพึ่งพิง”
สามารถพึง่ พาตนเองไดใ้ นทีส่ ุด

“เขาไมต่ ้องมาพดู ขอบคณุ แตส่ งิ่ ทเ่ี ขาแสดงออกทาให้รวู้ ่า
ขอบคณุ คอื เขาเปลีย่ นจากผูร้ บั เปน็ ผ้ใู ห้”

สวัสดิการเพื่อการพฒั นาและพึ่งตนเองอยา่ งย่ังยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 41
: คุณคา่ และศักดศ์ิ รีความเปน็ มนษุ ย์

ก้าวตามรอยเท้าพอ่ ... หนทางกอ่ ความยง่ั ยนื

เมื่อศึกษาถึงแนวคิดสวัสดิการเพ่ือการพัฒนาและพึ่งตนเองอย่าง
ย่งั ยืน (Productive Welfare) อย่างถ่องแท้ ผนวกกับกระบวนการ
ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมท่ีทาง ทีม พม ภูเก็ต
นาไปใช้จนประสบความสาเร็จ จะค้นพบว่า หนทางไปส่แู ก่นแท้ของการ
พัฒนาเพ่ือให้พ่ึงตนเองได้อย่างยั่งยืน คือ การน้อมนาแนวคิดหรือ
หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอ
ดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระมหากษัตริย์รัชกาลท่ี 9
มาประยุกต์ในการทางานให้เกิดประโยชน์ ต่อกระบวนการให้ความ
ชว่ ยเหลอื ผู้ประสบปญั หาทางสังคม ดังนี้

 ศึกษาข้อมูลให้เป็นระบบ "ทางานอย่างผู้รู้จริง" ต้อง

ศึกษาข้อมูลรายละเอียดอย่างเป็นระบบรอบด้านจากข้อมูลเบื้องต้น เพื่อ

นาข้อมูลเหล่านั้นไปใช้ประโยชน์ได้จริงอย่างถูกต้อง รวดเร็ว และตรง
ตามเป้าหมาย

 ระเบิดจากข้างใน จะทาการใดๆ ต้องเร่ิมจากคนท่ี

เกี่ยวข้องเสียก่อน ต้องสร้างความเข้มแข็งจากภายในให้เกิดความเข้าใจ

สวสั ดกิ ารเพ่ือการพัฒนาและพึ่งตนเองอยา่ งยงั่ ยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 42

: คณุ ค่าและศักดิ์ศรีความเปน็ มนุษย์

และอยากทา รับรูถ้ ึงเป้าหมายและวธิ ีการต่อไปรว่ มกัน ไม่ใช่การสง่ั ให้ทา
คนไม่เข้าใจก็อาจจะไม่ทาก็เป็นได้ รวมถึง ต้องสร้างความเข้มแข็งให้กับ

ผู้ประสบปัญหาทางสังคมท่ีเราเข้าไปพัฒนา ให้สมัครใจและมีสภาพ

พร้อมท่ีจะรับการพัฒนาเสียก่อน แล้วจึงค่อยเข้าสู่กระบวนการพัฒนา

ตอ่ ไป
 แก้ปัญหาท่ีจุดเล็ก การมองปัญหาให้มองภาพรวม

แต่การแก้ไขปัญหา เราจะพบว่ามีปัญหามากมายจนไม่รู้จะทาอะไรก่อน

มีทง้ั ปัญหาใหญ่ๆ จนถึงปัญหาเล็กน้อย ถา้ เราจะแก้ปัญหาใหญ่ก่อนอาจ

ต้องใช้ทรัพยากรมากมาย แต่ถ้าเราแก้ปัญหาเล็กๆท่ีมีความสาคัญก่อน
ปัญหาใหญ่ทว่ี า่ อาจจะคอ่ ยๆ เล็กลงกเ็ ปน็ ได้

 ทาตามลาดบั ขน้ั เริ่มต้นจากการลงมือทาในส่ิงที่จาเป็น

กอ่ นเม่ือสาเรจ็ แล้วก็เร่ิมลงมือส่ิงท่ีจาเป็นลาดับต่อไป ดว้ ยความรอบคอบ
และระมัดระวัง ถา้ ทาตามหลกั นี้ได้ งานทกุ ส่ิงกจ็ ะสาเร็จได้โดยง่าย

 ภูมิสังคม งานอย่างเดียวกันในสถานการณ์ / สถานท่ี
ท่ีต่างกัน การทางานหรือการแก้ไขปัญหาอาจไม่เหมือนกัน เราไม่อาจ

นาวิธีการเดียว ไปใช้กับปัญหาทุกปัญหาได้ ต้องศึกษา ว่าคนที่ทางาน

รว่ มกับเราเปน็ อย่างไร จะทาอย่างไร เพ่อื ใหเ้ ค้าให้ความรว่ มมือกับเราจน
งานสาเรจ็ ได้

 ทางานแบบองค์รวม ในการทางานต้องใช้วิธีคิดอย่าง

เป็นองค์รวม คือการมองส่งิ ต่างๆ ท่ีเกดิ อย่างเป็นระบบครบวงจร ทุกส่ิง
ทกุ อยา่ งมมี ติ เิ ช่อื มต่อกัน มองส่ิงท่เี กดิ ขึ้นและแนวทางแกไ้ ขอย่างเช่อื มโยง

สวสั ดิการเพ่ือการพัฒนาและพ่งึ ตนเองอย่างยั่งยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 43
: คณุ คา่ และศกั ดศ์ิ รีความเป็นมนษุ ย์

 ไม่ติดตารา เม่ือเราจะทาการใดนั้น ควรทางานอย่าง
ยดื หยุ่นกบั สภาพและสถานการณ์น้นั ๆ ไมใ่ ช่การยึดติดอยู่กับแค่ในตารา

วชิ าการหรือวธิ กี ารทางานแบบเดิมๆ
 รู้จักประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด ในการ

พัฒนาและช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม ใช้หลักในการแก้ปัญหา

ด้วยความเรียบง่ายและประหยัด สามารถทาได้ด้วยตนเอง หาได้ใน

ท้องถ่ินและประยุกต์ใช้ส่ิงที่มีอยู่น้ันมาแก้ไข ปรับปรุง โดยไม่ต้องลงทุน
สูงหรือใช้เทคโนโลยีที่ยงุ่ ยากมากนัก

 ทาให้ง่าย คดิ ค้น ดัดแปลง ปรับปรงุ และแกไ้ ขงาน เพ่ือ
ไม่ให้ยุ่งยากซับซ้อนและที่สาคัญอย่างยิ่งคือ สอดคล้องกับสภาพความ

เปน็ อยู่ของผปู้ ระสบปัญหาทางสังคมและระบบนิเวศโดยรวม
 การมีส่วนร่วม ผู้ประสบปัญหาทางสังคมต้องเข้ามามี

ส่วนร่วมในกระบวนการแก้ไขปัญหาร่วมกันทุกข้ันตอน นับตั้งแต่การ

มองเห็นปัญหาร่วมกัน การเข้าใจปัญหาร่วมกัน ตลอดจนร่วมมือกัน

แก้ไขปัญหา ตลอดจน ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทั้ง
ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน

 ประโยชน์ส่วนรวม บางครั้งในการทางานเราอาจต้อง
ทางานมากกว่าคนอื่น เหนื่อยกว่าคนอ่ืน หรืองานที่ได้รับมอบหมาย

ซับซ้อนและยากกว่าผู้ร่วมงานคนอ่ืน ต้องมองว่า ถ้าทาแล้วทาให้งาน

สาเร็จได้ ก็ต้องทา อย่านึกแต่ว่าทาไมต้องทางานยาก งานหนักกว่าคน
อื่น งานประสบความสาเร็จ ตวั เราก็ประสบความสาเรจ็ ไปดว้ ย

สวสั ดกิ ารเพ่ือการพัฒนาและพึง่ ตนเองอย่างย่งั ยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 44
: คณุ คา่ และศักดศิ์ รีความเป็นมนษุ ย์

 บริการที่จุดเดียว เปล่ียนการทางานที่มักจะแบ่งแยกกัน
ทามาเป็นการร่วมมือร่วมใจโดยไม่มีเจ้าของและสามารถอานวยประโยชน์

สูงสุดให้กับประชาชน รู้รักสามัคคีด้วยการปรับลดช่องว่างระหว่าง

หนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้อง
 ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ พระองค์ทรงเข้าใจ

ธรรมชาติ และต้องการให้ประชาชนใกล้ชิดกับธรรมชาติ มองปัญหา

ธรรมชาติอย่างละเอียด ซึ่งหากต้องการแก้ไขธรรมชาติ จะต้องใช้
ธรรมชาติช่วยเหลือ เชน่ การแก้ไขปัญหาป่าเสอ่ื มโทรม ดว้ ยการปลูกป่า

โดยไม่ต้องปลูก โดยให้ธรรมชาติช่วยในการฟื้นฟูธรรมชาติสาเร็จ
ตวั เรากป็ ระสบความสาเรจ็

 ใช้อธรรมปราบอธรรม ของทุกอย่างในโลกน้ีมีดีเสมอ

ขน้ึ กับ การมองของคนเรา บางครง้ั เรอื่ งหรือเหตกุ ารณ์ท่ไี ม่ดี ก็จะมีแง่ดี
หรือประโยชน์ในเร่ืองนั้นเสมอ คนบางคนท่ีเราคิดว่าไม่ดี มีข้อเสียเยอะ

ถ้าเรามองต่างมุม ข้อเสียของเขาเราอาจนามาใช้ ประโยชน์ได้ถ้ารู้จักคิด
รู้จกั มอง

 ปลูกป่าในใจคน การจะทาการใดสาเร็จต้องปลูก

จติ สานกึ ของคนเสยี กอ่ น ตอ้ งให้เห็นคณุ คา่ เห็นประโยชนก์ ับสง่ิ ที่จะทา
 ขาดทุนคือกาไร “การให้” และ “การเสียสละ” เป็น

การกระทาอันมีผลเป็นกาไร คอื ความอยู่ดีมีสขุ ของราษฎร
 การพึ่งพาตนเอง ซึ่งเป็นหัวใจหลักของ Productive

Welfare เป็นการแก้ไขปัญหาในเบื้องต้นด้วยการแก้ไขปัญหาเฉพาะ

หน้า เพื่อให้มีความแข็งแรงพอที่จะดารงชีวิตได้ต่อไป แล้วข้ันต่อไปก็คือ

สวัสดกิ ารเพ่ือการพฒั นาและพง่ึ ตนเองอยา่ งยงั่ ยืน (Productive Welfare)

: คุณค่าและศักดศิ์ รีความเปน็ มนุษย์ ห น้ า | 45

การพัฒนาให้ประชาชนสามารถอยู่ในสังคมได้ตามสภาพแวดล้อมและ
สามารถพึ่งตนเองได้ในที่สดุ

 พออยู่พอกิน ให้ผู้ประสบปัญหาทางสังคมสามารถอยู่

อย่าง “พออยู่พอกิน” ให้ได้เสียก่อน แล้วจึงค่อยขยับขยายให้มีขีด
สมรรถนะทก่ี ้าวหนา้ ตอ่ ไป

 เศรษฐกิจพอเพียง หลักการพัฒนาตามแนวคิดของ

เศรษฐกิจพอเพียงน้ัน ยึดตามหลักทางสายกลางและความไม่ประมาท
โดยต้องมีความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสรา้ งภมู คิ ุ้มกนั ทีด่ ีในตัว

มาพิจารณาประกอบร่วมด้วยเสมอ รวมทั้งการวางแผนการตัดสินใจ
และการกระทาต่าง ๆ ก็ต้องมีความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรม

เปน็ พนื้ ฐาน
 ความซ่ือสัตย์สุจริต จริงใจต่อกัน กระบวนการพัฒนา

อย่างมีเงอ่ื นไขเพ่ือให้พึ่งตนเองไดจ้ ะประสบความสาเร็จ ก็ต่อเม่ือผูป้ ระสบ

ปัญหาทางสังคมมีความซ่ือสัตย์สุจริตต่อตนเอง รวมทั้งผู้ประสบทาง
สงั คมและเจ้าหน้าทีท่ ่ีให้การช่วยเหลือมคี วามจริงใจซึ่งกนั และกัน

 ทางานอย่างมีความสุข ทางานโดยคานึงถึงความสุขท่ี

เกิดจากการไดท้ าประโยชนใ์ ห้กบั ผ้อู ืน่
 ความเพียร การเร่ิมต้นทางานหรือทาสิ่งใดน้ันอาจจะ

ไม่ได้มีความพร้อม ต้องอาศัยความอดทนและความมุ่งม่ัน ดังเช่น การ

ชว่ ยเหลือให้คนท่ีประสบปัญหาความเดือดร้อน สามารถแก้ไขปัญหาของ
ตนเองและพ่ึงตนเองได้นั้น อาจต้องใช้เวลาในการให้ความช่วยเหลือเป็น

ระยะเวลานาน


Click to View FlipBook Version