สวสั ดิการเพ่ือการพฒั นาและพึง่ ตนเองอย่างยง่ั ยืน (Productive Welfare) ห น้ า | 46
: คุณค่าและศกั ด์ศิ รีความเป็นมนุษย์
รู้ รัก สามัคคี รู้ คือ รู้ปัญหาและรู้วิธีแก้ปัญหานั้น
รัก คอื เมือ่ เรารู้ถงึ ปญั หาและวธิ ีแก้แล้ว เราต้องมีความรัก ที่จะลงมือทา
ลงมือแก้ไขปัญหานั้น สามัคคี คือ การแก้ไขปัญหาต่างๆ ไม่สามารถ
ลงมอื ทาคนเดียวได้ ตอ้ งอาศยั ความรว่ มมือรว่ มใจกนั
อีก ห นึ่ งห ลัก ก ารท่ี ผู้ป ฏิ บัติ งาน ได้ น าไป ป ระยุก ต์ใช้ใน
กระบวนการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสั งคม และมี
ความสาคัญไม่ ย่งิ หยอ่ นไปกว่าหลักการท่กี ล่าวมาทั้งหมดข้างต้น นั่นคือ
หลักการ “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” เป็นวิธีการแห่งศาสตร์พระราชาเพื่อ
การพฒั นาที่ยั่งยนื
• เข้าใจ : ทาอะไรต้องเข้าใจ
ปัญ หา เข้าใจหน ทางแก้ไขปัญ หา
เข้าใจกระบวนการจัดการ และปรับ
ความเข้าใจระหว่างผู้ให้ผู้รับเสียก่อน
ให้เขา้ ใจ
• เข้าถึง : เม่ือเข้าใจระหว่างกันทุกประการครบถ้วนแล้ว
ต้องเข้าถงึ การกระทา สรา้ งการมีสว่ นร่วมจากผเู้ กี่ยวข้อง เขา้ ถงึ เครอ่ื งไม้
เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์และความสามัคคีร่วมจิตร่วมใจของผู้ปฏิบัติ
รว่ มมอื รว่ มไมก้ นั ทางาน
• พัฒนา : เมื่อต่างฝ่ายต่างเข้าใจกันแล้ว เข้าถึงกันแล้ว
การพัฒนาก็จะดาเนินการไปอย่างยั่งยืน ไม่ส่งผลกระทบทางลบต่อผู้มี
ส่วนได้สว่ นเสีย หากแต่นาไปสคู่ วามสมดุล ม่นั คง และยงั่ ยนื
สวัสดกิ ารเพื่อการพัฒนาและพง่ึ ตนเองอยา่ งยัง่ ยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 47
: คณุ คา่ และศกั ดศ์ิ รีความเป็นมนุษย์
เบอื้ งลึก เบือ้ งหลงั ความสาเรจ็ ... มใี ครบา้ ง?
ผบู้ รหิ าร
ผู้บริหารให้ความสาคัญและให้การสนับสนุนในการนา
แนวคิดสวัสดิการเพื่อการพัฒนาและพ่ึงตนเองอย่างยั่งยืน (Productive
Welfare) มาเป็นแนวทางในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทาง
สังคม พร้อมท้ังมีการติดตามความก้าวหน้า ปัญหา อุปสรรคและให้
คาแนะนา สรา้ งขวัญกาลังใจในการทางานอย่างต่อเน่ืองสม่าเสมอ
ทีม พม.
เจ้าหน้าที่ตระหนักในหน้าที่ มีความรับผิดชอบ
มีทักษะในการแสวงหาทรัพยากร มีแนวทางในการดาเนินงานภายใต้
ข้อจากัดและคิดพัฒนา/ปรับปรุงงานให้มีคุณภาพ โดยคานึงถึง
ประโยชนส์ ูงสดุ ของ ผู้ประสบปญั หาทางสังคมเป็นสาคัญ
มีการแต่งต้ังคณะทางานขับเคลื่อนการจัดสวัสดิการ
เพ่ือการพัฒนาและพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน (Productive Welfare)
ระดับพ้ืนท่ี ภายใต้คณะอนุกรรมการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคม
จังหวัดภูเก็ต ทาให้สอดรับกับการดาเนินงานและการส่งต่อความ
ช่วยเหลอื ไดส้ ะดวกรวดเรว็ ยิ่งข้ึน
แต่ละหน่วยงานมีการมอบหมายเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ
หลัก และแบ่งพื้นที่การทางาน ทาให้เกิดความสะดวกคล่องตัวในการ
ประสานงาน
สวัสดกิ ารเพื่อการพฒั นาและพึง่ ตนเองอย่างยงั่ ยืน (Productive Welfare) ห น้ า | 48
: คณุ ค่าและศกั ดิ์ศรีความเป็นมนษุ ย์
มรี ปู แบบการทางานในลกั ษณะ “ทีม พม” สามารถส่ง
ต่องาน ข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย ข้อมูลการขอรับคาปรึกษา และข้อมูลการ
ขอรับการชว่ ยเหลือของพน้ื ทีไ่ ด้
มีการประชุมวางแผน กาหนดทิศทางการทางาน
เพื่อลดความซ้าซ้อนของงาน รวมท้ังมีการติดตามประเมินผล ถอด
บทเรียนการทางานร่วมกันระหวา่ งทีม พม. อพม. และเครือข่ายในพ้ืนที่
อย่างต่อเนอ่ื งทาให้เกิดการเรียนรู้และแลกเปลีย่ นประสบการณ์ซ่ึงกนั และ
กัน อันจะนาไปสู่การพัฒ นากระบวนการให้ความช่วยเหลือที่มี
ประสทิ ธิภาพมากยิ่งขน้ึ
พ้ืนที่ที่มีผู้ประสบปัญหาทางสังคม แต่ไม่มี อพม.
ทางทีม พม. สามารถดึงเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยเหลือ
ผู้ประสบปัญหาทางสังคมได้เฉกเช่นเดียวกับการทางานของ อพม.
เช่น อสม. ผู้นาชุมชน ผู้นาทางศาสนาและสภาเด็กและเยาวชน เป็นต้น
โดยมี นักสังคมสงเคราะห์ /นักพัฒนาสังคม เป็นผู้ให้คาแนะนาในการ
ขับเคลอื่ นงาน
เครือข่าย
เครือข่าย อพม. และเครือข่ายในพ้ืนท่ี มีความเข้มแข็ง
เสียสละและสนใจเรยี นรู้งานอยา่ งตอ่ เนือ่ ง
มีเครือข่ายองค์กรส่งเสริมความรับผิดชอบทางสังคม
ภ า ค ธุ ร กิ จ Corperate Social Responsibility (CSR)
และองค์กรภาคประชาสังคมท่ีเข้มแข็ง เข้ามามีส่วนร่วมในการให้การ
ชว่ ยเหลอื ผู้ประสบปญั หาทางสังคมอยา่ งเต็มกาลังความสามารถ
สวสั ดกิ ารเพ่ือการพฒั นาและพ่ึงตนเองอยา่ งย่ังยืน (Productive Welfare) ห น้ า | 49
: คณุ คา่ และศกั ด์ศิ รีความเป็นมนษุ ย์
ผูป้ ระสบปัญหาทางสังคม
มีความกระตือรือร้นต้องการพัฒ นาตนเอง และ
พยายามไขว่คว้าแสวงหาโอกาสที่จะทาให้มีชีวิตท่ีดีกว่าเดิม ท่ีสาคัญต้อง
สมัครใจและยอมรับเงื่อนไขการพัฒนาเพือ่ การพ่งึ ตนเอง
สวสั ดิการเพื่อการพฒั นาและพงึ่ ตนเองอยา่ งยั่งยืน (Productive Welfare) ห น้ า | 50
: คุณคา่ และศกั ด์ศิ รีความเปน็ มนุษย์
ขวากหนามทต่ี อ้ งกา้ วผ่าน
ความไม่ชัดเจนของนโยบาย รวมทั้งขาดการบูรณาการการส่ง
ตอ่ ขอ้ มูลผู้ประสบปัญหาทางสังคมจากฐานข้อมูล โครงการ “Family
Data” เปิดประตูเยี่ยมบ้านสร้างสร้างสะพานสู่สวัสดิการ ของกรม
พัฒนาสังคมและสวัสดิการ ทาให้ไม่สามารถนาแนวคิดสวัสดิการเพ่ือ
การพัฒ นาและพึ่งตนเองอย่างย่ังยืน (Productive Welfare)
ไปขบั เคล่ือนงานได้ตามเปา้ หมายของกระทรวง
ผูป้ ฏบิ ัตงิ านบางคน ยงั ขาดความเข้าใจกระบวนการทางานและ
ไม่ ให้ ค วาม ส าคั ญ กั บ แ น วคิ ด ก าร จั ด ส วัส ดิ ก าร เพื่ อ ก าร พั ฒ น าแ ล ะ
พง่ึ ตนเองได้อย่างยั่งยนื
ชุมชนคัดเลือกผู้ประสบปัญหาทางสังคม ท่ีไม่ได้สมัครใจและ
ยอมรับเงื่อนไขการพัฒนาเพื่อการพึ่งตนเองต้ังแต่ต้น หรือไม่ได้มีความ
ยากลาบากอย่างแทจ้ รงิ
ผู้ประสบปัญหาทางสังคม มีปัจจัยเหนือการควบคุมของ
เจ้าหน้าท่ี ทาให้การทางานไม่ประสบผลสาเร็จเท่าที่ควร
ทรัพยากรที่ให้ความช่วยเหลือ ไม่ตอบโจทย์ความต้องการของ
ผปู้ ระสบปัญหาทางสงั คม
ผู้ประสบปัญหาทางสังคม ขาดความเชื่อม่ันในตัวเจ้าหน้าท่ี
ภาครัฐ วา่ จะสามารถช่วยเหลือให้เขาสามารถพงึ่ ตนเองได้จรงิ
สวสั ดิการเพ่ือการพัฒนาและพง่ึ ตนเองอยา่ งย่ังยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 51
: คณุ ค่าและศักด์ิศรีความเปน็ มนุษย์
จะดกี ว่านไ้ี หม? ถา้ ...
สวัสดิการเพ่ือการพัฒนาและพ่ึงตนเองอย่างย่ังยืน ต้องไม่ใช่
ทางเลือกที่ปฏิเสธการจัดสวัสดิการที่เน้นการคุ้มครอง (Protective
Welfare) ทว่าต้องมีการดาเนินงานอย่างควบคู่กันไป ท้ังนี้ประชาชน
ทุกคนต้องได้รับสิทธิในบริการขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึง เพ่ือประชาชนจะ
ได้มีโอกาสพัฒนาตนเอง เป็นกาลังผลิตที่สาคัญและมีคุณค่าความเป็น
มนุษย์ในอนาคตอย่างย่งั ยืน
สวัสดิการเพื่อการพัฒ นาและการพ่ึงตนเองอย่างยั่งยืน
(Productive Welfare) จะบังเกิดผลสาเร็จตามที่มุ่งหวังได้ ต้อง
มกี ารปรับเปลย่ี นแนวความคิดของผู้ปฎิบัตงิ าน ให้เขา้ ใจในแนวความคิด
ดังกล่าวอย่างถ่องแท้เสียก่อน จึงจะสามารถถ่ายทอดให้แก่ผู้อ่ืน รวมถึง
สามารถนาไปขับเคลื่อนกระบวนการให้การช่วยเหลอื ผู้ประสบปัญหาทาง
สังคม เพื่อให้เกิดการพัฒนาและพ่ึงตัวเองได้อย่างย่ังยืนอย่างแท้จริง
อีกทั้ง ยังเป็นการสร้างภาพลักษณ์ท่ีดีให้กับคน พม. สร้างการยอมรับ
และความไวว้ างใจ ลดปัญหาการขาดความเชอื่ มั่นในตวั เจา้ หน้าท่ีภาครัฐ
พฒั นาระบบฐานขอ้ มูลกลาง (Database) เพื่อจัดเก็บข้อมูล
ผู้ประสบปัญหาทางสังคมทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเชื่อมกับฐานข้อมูล
ผลู้ งทะเบียนสวัสดิการแห่งรัฐ ฐานข้อมูลทะเบยี นราษฎร์ และฐานข้อมูล
เดิมของแตล่ ะกรมมาไว้สว่ นกลาง รวมท้ังให้เข้าถึงขอ้ มูลได้ง่ายและสะดวก
สวัสดิการเพื่อการพัฒนาและพงึ่ ตนเองอย่างยง่ั ยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 52
: คุณคา่ และศักดศ์ิ รีความเป็นมนุษย์
ทาให้การช่วยเหลือเข้าถึงตรงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างถูกต้องแม่นยาและ
รวดเรว็ ทันตอ่ สถานการณ์
ควรมีการวางแผนและติดตามประเมินผลการดาเนินงานของ
จังหวัดนาร่องท้ัง 7 จังหวัดอย่างต่อเนื่อง เพ่ือความยั่งยืน และเพ่ิม
ประสทิ ธภิ าพการทางานในพนื้ ท่อี ย่างแท้จริง
ควรใช้เทคโนโลยีเข้ามามีส่วนช่วยในการวางระบบการติดตาม
ประเมินผลผู้ประสบปัญหาทางสังคม จะต้องมีการประเมินตนเองและ
รายงานผลเป็นระยะๆ โดยมีทีมสหวิชาชีพหรือผู้จัดการรายกรณีติดตาม
ผลอย่างตอ่ เนือ่ ง
จัดให้มีช่องทางการสื่อสารระหว่างส่วนกลางและส่วนภูมิภาคที่
ชัดเจน ถึงแนวทางการปฏิบัติในส่วนภูมิภาค รวมถึงการรับฟังปัญหา
และอุปสรรคในการทางานของแต่ละพื้นท่ีและหาแนวทางแก้ไขปัญหา
รว่ มกนั
แนวคิดสวัสดิการเพื่อการพัฒนาและการพ่ึงตนเองอย่างยั่งยืน
(Productive Welfare) เป็นแนวคิดท่ีดีและก่อให้เกิดประโยชน์
สูงสุดแก่ประชาชน อีกทั้งมีการพัฒนาใช้เทคโนโลยีนวัตกรรมสมัยใหม่
เข้ามาขับเคลื่อน จึงควรกาหนดให้เป็นนโยบายท่ีสาคัญของกระทรวงฯ
และผลักดันอย่างจริงจังให้ทุกหน่วยงานนาไปขับเคล่ือนเพ่ือให้เกิดผล
สาเรจ็ อย่างเปน็ รปู ธรรม
สวัสดกิ ารเพ่ือการพัฒนาและพ่ึงตนเองอย่างยัง่ ยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 53
: คณุ ค่าและศกั ดศ์ิ รีความเป็นมนุษย์
บรรณานกุ รม
https://www.thailandplus.tv/archives/41797 .สื บ ค้ น 11
กุมภาพันธ์ 2563.
http://www.dsdw2016.dsdw.go.th/buzzfile/2019022015
2528-395.pdf .สบื คน้ 11 กุมภาพันธ์ 2563.
https://socadmin.tu.ac.th/uploads/socadmin/file_research/r
esearch_Split/1.pdf .สบื ค้น 11 กมุ ภาพนั ธ์ 2563.
http://203.113.103.174/doc_pr/20200122113352.pdf
.สืบค้น 17 กมุ ภาพนั ธ์ 2563.
นภา เศรษฐกร. (2562). Productive welfare: สวัสดิการเพื่อ
การพัฒนาและการพึ่งตนเองอย่างย่ังยืน. เอกสารประกอบงาน
วันปกรณ์ 62 และพิธีมอบประกาศเกียรติคุณนักสังคม
สงเคราะห์ดีเด่น ประจาปี พ.ศ.2561 วันท่ี 12 กุมภาพันธ์
2562 ณ กรมการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ. กรุงเทพฯ:
มูลนิธศิ าสตราจารยป์ กรณ์ องั ศุสงิ ห์
กิติพัฒ น์ นนทปัทมะดุลย์. (2562). สวัสดิการท่ีเน้นผลิตภาพ
(Productive Welfare): ความเข้าใจเบื้องต้น. เอกสาร
ประกอบ งานวันปกรณ์ 62 และพิธีมอบประกาศเกียรติคุณ
สวัสดิการเพื่อการพฒั นาและพงึ่ ตนเองอยา่ งย่ังยนื (Productive Welfare) ห น้ า | 54
: คุณคา่ และศักด์ศิ รีความเปน็ มนษุ ย์
นั ก สั งค ม ส งเค ร า ะห์ ดี เด่ น ป ร ะจ าปี พ .ศ . 2561.
12 กุมภาพันธ์ 62 ณ กรมการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ.
กรงุ เทพฯ: มูลนิธิศาสตราจารยป์ กรณ์ องั ศสุ ิงห์
https://socadmin.tu.ac.th/uploads/socadmin/file_document/
Proceedings%2066.pdf .สบื คน้ 17 กุมภาพนั ธ์ 2563.
http://www.dsdw2016.dsdw.go.th/doc_pr/20181116101317.pdf
.สบื คน้ 17 กมุ ภาพนั ธ์ 2563.
http://www.dsdw2016.dsdw.go.th/doc_pr/20140910142
221.pdf .สืบค้น 17 กมุ ภาพันธ์ 2563.
http://blog.bru.ac.th/wp-content/uploads/bp-
attachments/10538/ppt-
%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%
B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3
%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B
8%A1-8.pdf. สืบคน้ 18 กมุ ภาพนั ธ์ 2563.
https://www.slideshare.net/sutthiluckkaewboonrurn/
23-67568561 .สบื ค้น 18 กุมภาพนั ธ์ 2563.
http://www.rdpb.go.th/th/King/%E0%B8%AB%E0%B8%A
5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%B
2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%
สวัสดกิ ารเพ่ือการพฒั นาและพง่ึ ตนเองอยา่ งยั่งยืน (Productive Welfare) ห น้ า | 55
: คุณค่าและศกั ดิ์ศรีความเปน็ มนุษย์
87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99-
c24/%E0%B9%92%E0%B9%90-
%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B
2%E0%B9%83%E0%B8%88-
%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%B
2%E0%B8%96%E0%B8%B6%E0%B8%87-
%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99
%E0%B8%B2-v9172 .สบื ค้น 18 กมุ ภาพนั ธ์ 2563.
สวัสดกิ ารเพ่ือการพฒั นาและพึง่ ตนเองอย่างย่ังยืน (Productive Welfare) ห น้ า | 56
: คุณคา่ และศักด์ิศรีความเปน็ มนุษย์
คณะผจู้ ัดทา
คณะท่ปี รกึ ษา
นางสาวซาราห์ บินเย๊าะ ผู้อานวยการสานักงานส่งเสริม
และสนบั สนุนวชิ าการ 10
นายกติ ติ อินทรกลุ พั ฒ น าสั ง ค ม แ ล ะค ว าม มั่ น ค ง
ของมนุษยจ์ งั หวดั ภูเกต็
นางสาวจติ รลดา สงั ข์พันธ์ นกั พฒั นาสังคมชานาญการพิเศษ
นางสาวนริ ามน ขอศานติวชิ ัย นกั พัฒนาสงั คมชานาญการ
ผจู้ ดั ทา นางสาวพนิดา แซต่ ัง้ นักพฒั นาสังคมชานาญการ
ผอู้ อกแบบ นางสาวอรชนก เกื้อเดช เจา้ หน้าทีศ่ นู ยบ์ รกิ ารวิชาการฯ
จัดพมิ พแ์ ละเผยแพร่
สานักงานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ วิชาการ 10 จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี
สานกั งานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์
33 หมู่ 1 ตาบลขนุ ทะเล อาเภอเมอื ง จงั หวัดสุราษฎร์ธานี 84100
โทรศัพท์ 0-7735-5023 โทรสาร 0-7735-5705
E-mail : [email protected]
http://tpso-10.m-society.go.th
Facebook : ศนู ยว์ ิชาการพัฒนาสงั คม สสว.สบิ สุราษฎร์ธานี
ปที ี่ผลติ มถิ นุ ายน 2563
พิมพท์ ่ี สานักงานส่งเสรมิ และสนับสนนุ วชิ าการ 10
Website : tpso-10
สำนักงานสงเสริมและสนบัสนนุวชิาการ10
33ม.1ต.ขุนทะเลอ.เมอืงจ.สุราษฎรธานี84100
โทรศพีท:077-355022-3โทรสาร:077-355705
E-mail:[email protected]
Website:tpso-10.m-society.go.th