The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วย2_องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jubjang_dz, 2022-07-12 07:56:08

หน่วย2_องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต

หน่วย2_องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต

2หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี

องค์ประกอบของส่งิ มีชวี ติ

ตวั ชี้วดั
• อธบิ ายโครงสรา้ งและสมบตั ิของเยื่อหุม้ เซลลท์ ี่สัมพันธก์ ับการลาเลียงสาร และเปรยี บเทยี บการลาเลียงสารผ่านเยื่อหมุ้ เซลล์แบบตา่ งๆ

โครงสรา้ งพ้ืนฐานของเซลล์

สง่ิ ตา่ งๆ บนโลก ท้ังพืช สตั ว์ และมนุษย์ประกอบขึ้นจากหนว่ ยพ้นื ฐานทเ่ี หมือนกนั คอื เซลล์ (cell)

เซลล์ส่วนใหญจ่ ะมีขนาดเล็ก เซลล์ไม่สามารถมองเห็นไดด้ ้วยตาเปลา่ ต้องอาศัยอปุ กรณ์

ในการศกึ ษารปู ร่าง และลกั ษณะ ไดแ้ ก่

“กลอ้ งจุลทรรศน์”

โครงสรา้ งพื้นฐานของเซลล์

โครงสรา้ งพื้นฐานของเซลล์

โครงสรา้ งพื้นฐานของเซลล์

โครงสรา้ งพื้นฐานของเซลล์

ทบทวน โครงสรา้ งพนื้ ฐานของเซลล์
และสอบเกบ็ คะแนน

โครงสร้างพื้นฐานของเซลล์ 1. นวิ เคลียส 2. ไซโทพลาซึม 3. สว่ นทห่ี ่อห้มุ เซลล์

ลักษณะเปน็ ทรงกลมอยูก่ ลางเซลล์ ลักษณะเป็นของเหลว ประกอบดว้ ยออร์แกเนลล์ โครงสร้างทหี่ อ่ หมุ้ ไซโทพลาซึม และแสดงขอบเขต

ทาหนา้ ที่ควบคมุ กจิ กรรมต่างๆ ของเซลล์ ตา่ งๆ ท่ีมหี นา้ ท่แี ตกตา่ งกัน ของเซลล์

กอลจิคอมเพลก็ ซ์

เติมกลมุ่ คารโ์ บไฮเดรตให้กบั โปรตีนและไขมนั

ไมโทคอนเดรีย เซลล์พชื

ไลโซโซม สร้างพลงั งานใหแ้ กเ่ ซลล์

ย่อยสลายสารอาหาร และทาลายส่งิ แปลกปลอม

เอนโดพลาสมิกเรตคิ ลู ัม

ผลติ และลาเลยี งสารภายในเซลล์

เซลลส์ ัตว์ ไรโบโซม แวควิ โอล คลอโรพลาสต์

เซนทรโิ อล สงั เคราะหโ์ ปรตีน สะสมสารต่าง ๆ ภายในเซลล์ สร้างอาหารใหแ้ กเ่ ซลลพ์ ชื

แยกโครมาทดิ ระหว่างการแบง่ เซลล์ เยอ่ื หุม้ เซลล์

หอ่ หมุ้ เซลล์ และควมคมุ การผ่านเข้าออกของสาร

ผนังเซลล์

หอ่ หุม้ เซลล์ และชว่ ยให้เซลล์คงรูป

สว่ นทห่ี ุ้มเซลล์

1 เยอื่ หุ้มเซลล์

เยอ่ื ทมี่ ลี กั ษณะบาง ประกอบด้วยสารประเภทฟอสโฟลพิ ิด (phospholipid) เรยี งตวั กัน 2 ช้นั เรียกว่า ลิพิดไบเลเยอร์ (lipid bilayer) และมโี ปรตีนจะแทรกในชนั้ ของฟอสโฟลพิ ิด
มคี ุณสมบัตเิ ป็นเยือ่ เลอื กผา่ น (semipermeable membrane) ทย่ี อมใหส้ ารบางชนดิ ผา่ นเข้า-ออกได้ จึงสามารถควบคมุ แรงดันและปรมิ าณสารต่าง ๆ ภายในเซลล์

คอเลสเตอรอล (cholestesterol) ไกลโคโปรตนี (glycoprotein) ไกลโคลิพดิ (glycolipid)
อนุพันธ์ของลิพิดที่มสี มบตั ิคลา้ ยลพิ ดิ โปรตนี ท่ีจับกบั คาร์โบไฮเดรต ลพิ ิดทีจ่ บั กบั คาร์โบไฮเดรต
แต่มโี ครงสร้างแตกต่างจากลิพิดทั่วไป
ฟอสโฟลพิ ิ (phospholipid)
เย่อื หุ้มเซลล์ เรียงตัว 2 ช้ัน หันด้านท่ีมีข้ัว มีสมบัติชอบน้าออกด้านนอก
พบทงั้ เซลล์พชื และเซลลส์ ตั ว์ และหนั ดา้ นทไ่ี มม่ ีขัว้ ซึง่ มีสมบตั ไิ ม่ชอบนา้ เขา้ ดา้ นใน

ผนงั เซลล์ โปรตีน (protein)
พบเฉพาะเซลล์พืช แทรกกระจายอยูท่ ัว่ ไปในเยอื่ ห้มุ เซลล์

2 ผนังเซลล์

โครงสร้างท่ีอยู่ด้านนอกของเซลล์พืชทุกชนิด โดยห่อหุ้มเย่ือหุ้มเซลล์อีกชั้นหน่ึง ทาหน้าท่ีเพ่ิมความแข็งแรงให้แก่เซลล์พืช และทา ให้เซลล์สามารถคงรูปร่างอยู่ได้ ผนังเซลล์
ประกอบด้วยสารจาพวกคารโ์ บไฮเดรตเป็นส่วนใหญ่ เชน่ เซลลโู ลส (cellulose)

ไซโทพลาซึม

ส่วนประกอบทั้งหมดท่อี ยู่ภายในเซลล์ ยกเวน้ นิวเคลยี ส มลี กั ษณะเปน็ ของเหลว ภายในมีโครงสรา้ งที่เรียกว่า ออร์แกเนลล์ (organelle) กระจายอยู่ ซ่งึ มหี นา้ ทแ่ี ตกตา่ งกัน ดงั นี้

1 ร่างแหเอนโดพลาซมึ (endoplasmic reticulum : ER) ร่างแหเอนโดพลาซมึ แบบเรียบ

ร่างแหเอนโดพลาซึมแบบขรุขระ (smooth endoplasmic reticulum: SER)

(rough endoplasmic reticulum : RER) ชนิดทีไ่ มม่ ีไรโบโซมเกาะอยู่ ทาหน้าทีส่ ังเคราะหไ์ ขมนั
และกาจดั สารพิษ
ชนิดที่มีไรโบโซมเกาะอยู่ ทาหน้าทสี่ งั เคราะหโ์ ปรตนี

2 กอจจคิ อมเพลก็ ซ์ (Golgi complex)

มีลักษณะเปน็ ถงุ กลมแบนทีบ่ ริเวณขอบโป่งพองออกเปน็ ถุง เรียกวา่ เวสิเคิล (vesicle) ทาหนา้ เติมกลมุ่ คาร์โบไฮเดรตใหก้ ับ
โปรตนี กลายเป็นไกลโคโปรตีน (glycoprotein) และเตมิ กล่มุ คาร์โบไฮเดรตใหก้ ับลิพดิ กลายเป็นไกลโคลิพิด (glycolipid)

ไซโทพลาซมึ

3 ไมโทคอนเดรยี (mitochondria)

มีเย่อื หุ้ม 2 ชัน้ ช้ันนอกมผี ิวเรยี บทาหน้าท่ีควบคุมการผ่านเขา้ -ออกของสาร สว่ นชัน้ ในพบั ทบไปมาเข้าไปดา้ นใน ภายในมขี องเหลว
ทีป่ ระกอบดว้ ยสารหลายชนดิ บรรจอุ ยู่ ทาหน้าท่เี ปน็ แหลง่ สรา้ งพลงั งานให้แกเ่ ซลล์ (power house of cell)

4 แวควิ โอล (vacuole) คอนแทรก็ ไทล์แวคิวโอล (contractile vacuole)
พบในโพรโทซัวนา้ จืดหลายชนดิ เชน่ อะมีบา พารามีเซียม ทาหน้าท่ี
แซบแวคิวโอล (sap vacuole) รกั ษาสมดุลน้าในเซลล์ และกาจดั ของเสยี ทล่ี ะลายนา้ ออกจากเซลล์
พบในเซลลพ์ ชื ทาหนา้ ทส่ี ะสมสารตา่ งๆ เช่น
สารสี ไอออน น้าตาล สารพษิ ฟดู แวคิวโอล (food vacuole)
พบในโพรโทซัว เช่น อะมีบา และพารามีเซียม ทาหน้าที่บรรจุ
อาหารท่ีเกดิ จากการนาอาหารเข้าส่เู ซลล์

ไซโทพลาซึม

5 คลอโรพลาสต์ (chloroplast)

มเี ยื่อหมุ้ 2 ชน้ั พบเฉพาะในเซลลพ์ ืชและสาหรา่ ยบางชนิด ทาหนา้ ท่ีสรา้ งอาหารให้แก่เซลลผ์ า่ นกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
ภายในมีสารสที ่เี กี่ยวข้องกับการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง เรียกวา่ คลอโรฟิลล์ (chlorophyll)

6 ไรโบโซม (ribosome) 7 ไลโซโซม (lysosome) 8 เซนทริโอล (centriole)

เป็นองค์ประกอบของเซลล์ แต่ไม่ใช่ออร์แกเนลล์ เวสิเคิลท่ีทาหน้าท่ีย่อยสลายอนุภาคและโมเลกุลของ ท่อทรงกระบอก 2 อันวางตั้งฉากกัน ทาหน้าแยก
พบกระจายในไซโทพลาซึม ทาหน้าท่ีสร้างโปรตีนสาหรับ สารอาหารภายในเซลล์ ทาลายเช้ือโรคและสิ่งแปลกปลอม โครมาทิดออกจากกันในระหว่างการแบ่งเซลล์ โดยพบ
ใช้ภายในเซลล์ และเกาะอยู่บนร่างแหเอนโดพลาซึม ต่าง ๆ ท่เี ขา้ ส่เู ซลล์ พบเฉพาะในเซลล์สตั ว์เท่านนั้ เฉพาะในเซลลส์ ัตว์และเซลล์โพรทสิ ตบ์ างชนดิ เทา่ น้ัน
ทาหน้าทสี่ รา้ งโปรตีนและเอนไซม์

นวิ เคลยี ส เยอื่ หุ้มนิวเคลยี ส (nuclear membrane)

มีลักษณะเปน็ ทรงกลม อยู่บรเิ วณกลางเซลล์ มโี ครงสรา้ งสาคญั 3 สว่ น ดังน้ี เยอ่ื บาง ๆ ทาหนา้ ที่เป็นทางผ่านของสารต่าง ๆ ระหว่างไซโทพลาซึม
กบั นวิ เคลียส
นวิ คลโี อลสั (nucleolus)
โครมาทนิ (chromatin)
ก้อนหนาทึบอยู่กลางนิวเคลียส ทาหน้าที่
สังเคราะห์สารบางชนิด เส้นใยเล็กๆ พันกันเป็นร่างแห แต่ในขณะที่แบ่งเซลล์จะหดส้ัน
เป็นแท่งโครโมโซม ทาหน้าที่ควบคุมกิจกรรมต่างๆ ภายในเซลล์ และ
กาหนดลกั ษณะทางพันธกุ รรมของส่งิ มชี วี ิต

คาถาม

เฉลย

คาถาม

เฉลย

คาถาม

เฉลย

คาถาม

เฉลย

คาถาม

เฉลย

คาถาม

เฉลย

คาถาม

เฉลย





การลาเลยี งสารผ่านเซลล์

การแพร่ (diffusion)

การเคล่ือนท่ขี องอนุภาคสารจากบรเิ วณทีม่ ีความเข้มข้นสูงไปสูบ่ ริเวณที่มคี วามเขม้ ข้นต่า
ตัวอยา่ งเชน่ การแพร่ของแกส๊ ออกซิเจนจากถุงลมปอดเขา้ ส่เู ซลลเ์ ม็ดเลือดแดง

การแพรข่ องแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดจ์ ากเซลลเ์ มด็ เลือดแดงออกสู่ถงุ ลมปอด

การลาเลียงสารผ่านเซลล์

การแพรแ่ บบฟาซลิ เิ ทต (facilitated diffusion)

การเคลอื่ นทีข่ องสารจากบรเิ วณทมี่ ีความเขม้ ขน้ สูงไปส่บู รเิ วณทม่ี ีความเข้มข้นต่า ผ่านช่องโปรตนี ตัวพาที่อยู่ภายในเย่อื ห้มุ เซลล์ และไมต่ อ้ ง อาศัยพลงั งาน
ตัวอยา่ งเช่น การลาเลยี งนา้ ตาลกลโู คสเขา้ สู่เซลลเ์ มด็ เลือดแดง

การลาเลยี งสารผ่านเซลล์

การลาเลียงโดยใชพ้ ลังงาน หรือ แอกทีฟทรานสปอร์ต (active transport)

การเคล่ือนทสี่ ารจากบรเิ วณทีม่ ีความเขม้ ข้นตา่ ไปสู่บริเวณทม่ี คี วามเข้มข้นสงู โดยผ่านช่องโปรตนี ตวั พาภายในเยื่อหมุ้ เซลล์ และอาศัยพลงั งาน
ตัวอยา่ งเช่น การดดู ซมึ สารอาหารของรากพืช

การลาเลียงโซเดยี มโพแทสเซียมของเซลล์

ATP

การลาเลยี งสารขนาดใหญ่


Click to View FlipBook Version