The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (โครงการกลุ่ม 1 - เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Apple Malus Domestica, 2022-07-06 19:43:36

โครงการKBU-CG1-Final

หลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (โครงการกลุ่ม 1 - เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล)

Keywords: ผู้ดูแลผู้สูงอายุ,Caregiver,การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ,บัณฑิตพันธุ์ใหม,่

บั ณ ฑิ ต พั น ธุ์ ใ ห ม่ ( N o n - d e g r e e )

โครงการ

เ ที่ ย ว ส นุ ก สุ ข ใ จ
ผู้ ดู แ ล ห่ ว ง ใ ย
ญ า ติ ไ ร้ กั ง ว ล

จั ด ทำ โ ด ย ค ณ ะ ทำ ง า น ก ลุ่ ม วั น ท อ ง

โ ค ร ง ก า ร นี้ เ ป็ น ส่ ว น ห นึ่ ง ข อ ง
หลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุเพื่ อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

พ.ศ. 2565

หลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต รุ่น 1 พ.ศ. 2565 (หลักสูตรประกาศนียบัตร 190
ชั่วโมง) >> ประธานหลักสูตร: รศ.ดร.รัตนา จารุวรรโณ > ผู้ประสานงานหลักสูตร: อ.ดร.จารุภา จิรโสภณ >> คณาจารย์: อ.ดร.ชุติมา ปัญญาพินิจนุกูร
อ.จีราพร พระคุณอนันต์ อ.ดาววรรณ์ คุณยิ่งยศ อ.ดร.กนกวรรณ ศิลปกรรมพิเศษ อ.จิตรดา สมประเสริฐ อ.ดร.ชัยมงคล โฆษิตสุริยะพันธุ์ อ.ขวัญณภัทร
ขนอนคราม อ.ณหฤทัย นฤมานโภคิน อ.เทียนทอง หาระบุตร ผศ.มนวิภา สาครินทร์ >> ได้รับการสนับสนุนจากโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่ (Non-degree)
สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม >> ออกแบบปก/รูปเล่ม : วิชญดา ทองแดง

โโคครรงงกกาารร

เ ที่ ย ว ส นุ ก สุ ข ใ จ
ผู้ ดู แ ล ห่ ว ง ใ ย
ญ า ติ ไ ร้ กั ง ว ล

สารบัญ


01
โครงการ

01 ชื่อโครงการ
ผู้รับผิดชอบโครงการ
01 หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์
02
การท่องเที่ยว
05
กลุ่มเป้าหมาย/ตัวชี้วัด

02
สถานที่ท่องเที่ยวและสถานบริการสุขภาพ


ระยะเวลาในการเดินทางท่องเที่ยว

07 การดำเนินการ

08 วิธีการดำเนินโครงการ
งบประมาณ
16 การประเมินโครงการ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ

03
เอกสารอ้างอิง



18

20

22

22

23


04 ภาคผนวก


ภาคผนวก ก


ผู้ ช่ ว ย เ ห ลื อ ดู แ ล ผู้ สู ง อ า ยุ ที่ มี ภ า ว ะ พึ่ ง พิ ง

24 แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในการท่องเที่ยว

เ ชิ ง สุ ข ภ า พ แ บ บ พั ก ค้ า ง

ข้อมูลผู้สูงอายุและตารางคำนวณแคลอรีอาหาร

สำหรับผู้สูงอายุ



ภาคผนวก ข
ประเภทแหล่งท่องเที่ยว

โปรแกรมทัวร์ "เพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ์" 3 วัน 2 คืน


ภาคผนวก ค
51 แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ แ ล ะ ค ว า ม ป ร ะ ทั บ ใ จ ข อ ง

ผู้สูงอายุที่ร่วมโครงการต่อการดูแลผู้สูงอายุ

เ พื่ อ ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ ชิ ง สุ ข ภ า พ




67

คำ นำ

จากสถานการณ์ทั่วโลกพบว่า มีประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว รวมทั้งประเทศไทยที่จะเข้า
สู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) ในช่วง พ.ศ. 2567-2568 นั้น การท่องเที่ยวเป็น
ตัวบ่งชี้ที่สำคัญของการมีอายุยืนยาวอย่างมีคุณภาพ จึงควรต้องมีการพัฒนาการท่องเที่ยวสำหรับ
ผู้สูงอายุให้สอดคล้องกับความต้องการ ปัจจุบันการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพเป็นที่นิยมของการท่อง
เที่ยวที่เติบโตไปพร้อมกัน การแสวงหาความสุขภาพและสุขภาวะที่ดี โดยอุปสงค์ของนักท่องเที่ยว
แนวนี้มีเพิ่มมากขึ้น ในขณะที่ผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยวต่างพยายามเพิ่มรายการท่องเที่ยวหรือ
โปรแกรมทัวร์ใหม่ ๆ ที่เน้นการให้บริการ โดยมีผู้ดูแลผู้สูงอายุอย่างใกล้ชิดตลอดการเดินทาง

นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุมีลักษณะพิเศษ คือ มีเวลาในการท่องเที่ยวที่ยาวนานกว่านักท่องเที่ยว
กลุ่มอื่นๆ เน้นการท่องเที่ยวและบริการที่มีคุณภาพดีและคุ้มค่า ให้ความสำคัญกับความพึงพอใจ
เป็นหลัก ไม่กังวลต่อค่าใช้จ่ายในการเดินทาง เลือกกิจกรรมที่เหมาะกับวัยและสุขภาพ มีความ
ละเอียดรอบคอบในการเลือกซื้อสินค้าและบริการ จึงจำเป็นต้องมีนโยบายที่ชัดเจนในการรองรับ
การท่องเที่ยวสำหรับผู้สูงอายุ ได้แก่ การส่งเสริมประชาสัมพันธ์สู่กลุ่มเป้าหมายที่มีศักยภาพ การ
จัดโปรแกรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวก นวัตกรรม และ
เทคโนโลยีด้านการท่องเที่ยวให้ได้มาตรฐาน การพัฒนาบริการการท่องเที่ยวสำหรับผู้สูงอายุให้ได้
มาตรฐาน การศึกษาและประเมินความต้องการด้านการรองรับการพัฒนาการท่องเที่ยวสำหรับ
ผู้สูงอายุ รวมถึงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ

ด้วยเหตุที่ผู้สูงอายุมีประสบการณ์มากจึงทำให้มีความต้องการด้านการท่องเที่ยวหลากหลาย
รวมถึงผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยวจึงควรมีวิสัยทัศน์ที่สร้างความประทับใจ ความพึงพอใจ
และอำนวยความสะดวกต่อนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุในด้านต่าง ๆ เช่น ห้องน้ำ ทางเดิน ที่นั่งพัก
รถเข็น บุคลากรผู้ดูแลคอยให้ความช่วยเหลือ ขณะเดียวกันยังต้องพัฒนาทั้งในเรื่องของที่พัก
แหล่งท่องเที่ยว ตลอดจนมาตรฐานการบริการแบบไทยในการเอาใจใส่ดูแลผู้สูงอายุ ผนวกกับการ
ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพด้วยธรรมชาติ ตลอดจนภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิถีไทยสืบไป

คณะทำงานกลุ่มวันทอง

มิถุนายน 2565

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล

โครงการ

01 ชื่อโครงการ
01 ผู้รับผิดชอบโครงการ
02 หลักการและเหตุผล
05 วัตถุประสงค์

01

ชื่อโครงการ

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล

ผู้รับผิดชอบโครงการ
1. นางสาวกมลทิพย์ แซ่เล้า
2. พว. กิตติมา มุสิกวัด
3. นางสาวฐิตารัตน์ อุดมเดชะ
4. นางสาวนุสรา เด่นซอ
5. นางสาวพรนพัส เกษมทวีทรัพย์
6. นางสาววิชญดา ทองแดง
7. นางสาวสิริรัตน์ คำดี
8. นางสวเสาวนีย์ คำทูล
9. นายอรรถสิทธิ์ ศรีโชติ
10. นางสาวอิศริยา อินทฤทธิ์
เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล
01

ผู้สูงอายุ ติดสกัลงุ่มคม การท่องเที่ยว ผู้ดูแลฯ
60+ เชิงสุขภาพ
(Caregiver)

โครงการ “เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล”

หลักการและเหตุผล
เนื่องจากจำนวนผู้สูงอายุในประเทศไทยเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ใน การที่ประชากรมีอายุยืนยาวเป็นตัวบ่งชี้ภาวะสุขภาพที่ดี

พ.ศ. 2559 มีผู้สูงอายุคิดเป็นร้อยละ 13.2 ของจำนวน ผู้สูงอายุที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีส่วนใหญ่จะทำกิจกรรมต่าง ๆ เช่น

ประชากรทั้งประเทศ หากพิจารณาคำนิยามขององค์การ สันทนาการ งานอดิเรก ท่องเที่ยว เป็นต้น การท่องเที่ยวจึง

สหประชาชาติ (United Nations: UN) ที่กำหนดว่าประเทศใด เป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งในการดำเนินชีวิตที่มีคุณภาพ ทั้งนี้

มีประชากรอายุเกิน 60 ปี สัดส่วนเกินร้อยละ 10 ของ ผู้เดินทางท่องเที่ยวไม่จำกัดเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุ ก็เดินทาง

ประชากรทั้งประเทศ ถือว่าประเทศนั้นก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้เช่นกัน ในรอบหลายปีที่ผ่าน

แล้ว และเมื่อสัดส่วนประชากรที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปเพิ่มเป็น มาจะเห็นแนวโน้มจำนวนผู้สูงอายุที่เดินทางท่องเที่ยวมีมาก

ร้อยละ 20 ของประชากรทั้งประเทศก็จะเป็นสังคมผู้สูงอายุ ขึ้น โดยแปรตามสถิติการเพิ่มของประชากรผู้สูงอายุ ที่น่า

โดยสมบูรณ์(Aged Society) ส่งผลให้สำนักงานสถิติแห่งชาติ สนใจมากก็คือกลุ่มผู้สูงอายุโดยเฉพาะกลุ่มติดสังคม ถือเป็น

คาดว่า ประเทศไทยจะก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในช่วง นักท่องเที่ยวคุณภาพกลุ่มใหญ่ที่มีกำลังซื้อสูง

พ.ศ. 2567-2568 องค์การการท่องเที่ยวโลก (UNWTO) ประมาณการว่า

ประเทศไทยกำหนดนิยาม “ผู้สูงอายุ” ไว้ในพระราช ในอีก 25 ปีข้างหน้า หรือ พ.ศ. 2573 ทั่วโลกจะมีจำนวน

บัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 มาตรา 3 โดยระบุว่า “ผู้สูง นักท่องเที่ยวผู้สูงอายุมากถึง 611 ล้านคน (ภราเดช พยัฆ-

อายุ” หมายความว่า บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์ขึ้นไป วิเชียร, 2560) ด้[1ว]ยตัวเลขของนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น

และมีสัญชาติไทย ทั้งนี้หากใช้เกณฑ์อายุจะแบ่งผู้สูงอายุตาม อย่างรวดเร็วนี้เอง ทำให้ผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยวหันมา

อายุได้ 3 กลุ่ม คือ ผู้สูงอายุช่วงต้น อายุ 60-69 ปี ผู้สูงอายุ ให้ความสนใจในการบริการนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ หรือบ้าง

ช่วงกลาง อายุ 70-79 ปี และผู้สูงอายุช่วงปลาย อายุ 80 ปี เรียกว่า “นักท่องเที่ยววัยเก๋า” โดยเน้นการพัฒนาทางด้านการ

ขึ้นไป ขณะที่เกณฑ์ด้านพฤติกรรมจะแบ่งผู้สูงอายุได้ 3 กลุ่ม บริการ ด้วยการเสริมให้มีผู้ดูแลผู้สูงอายุระหว่างการท่องเที่ยว

เช่นกัน คือ กลุ่มติดบ้าน กลุ่มติดเตียง และกลุ่มติดสังคม ซึ่ง (Caregiver)

กลุ่มหลังนี้เป็นผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตนเองได้ดี ดำเนินชีวิตได้

อย่างอิสระ มีสุขภาพทั่วไปดี ไม่มีโรคเรื้อรัง หรือเป็นเพียงผู้ที่

มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค หรือเป็นผู้ที่มีโรคเรื้อรัง 1-2 โรคที่ [1ภ]ราเดช พยัฆวิเชียร อดีตผู้ว่าการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

(ททท.), อ้างถึงใน https://positioningmag.com/1112868

ยังควบคุมโรคได้ และมักเข้าร่วมกิจกรรมในสังคมสม่ำเสมอ

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล

02

ประเด็นที่ควรพิจารณาคือ ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมส่วน ประเภทการท่องเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพ (Health
ใหญ่มีเวลาท่องเที่ยวมากกว่านักท่องเที่ยววัยอื่น เนื่องจาก Promotion Tourism) เช่น นวด / อบ / ประคบสมุนไพร
ไม่มีภาระด้านการทำงานและครอบครัว มีความพร้อมทางด้าน สุวคนธบำบัด วารีบำบัด การอาบน้ำแร่หรือน้ำพุร้อน การฝึก
การเงินที่สะสมมาจากการทำงาน หรือได้รับสวัสดิการจาก กายบริหาร ฝึกปฏิบัติสมาธิ การบริการอาหารและเครื่องดื่ม
รัฐบาล จึงต้องการพักผ่อนหรือแสวงหากำไรให้ชีวิตด้วยการ เพื่อสุขภาพ ฯลฯ ส่วนประเภทของการท่องเที่ยวเชิงรักษา
เดินทางท่องเที่ยว นับเป็นโอกาสดีที่อุตสาหกรรมท่องเที่ยว ฟื้นฟูสุขภาพ (Heath Healing Tourism) เช่น ตรวจร่างกาย
ควรจะมีนโยบายและการพัฒนาในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะการ รักษาโรค ทำฟันและรักษาสุขภาพฟัน ผ่าตัดเสริมความงาม
พัฒนาบุคลากรผู้ดูแลผู้สูงอายุเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ผ่าตัดแปลงเพศ เป็นต้น โดยทั่วไปผู้สูงอายุจึงมักนิยมเดินทาง
ท่องเที่ยวตามโปรแกรมทัวร์ส่งเสริมสุขภาพ ที่ได้บรรจุรูปแบบ
มีเวลา มีเงิน พักผ่อน กิจกรรมไว้หลากหลาย และเลือกพักแรมในสถานที่พักตาก
& อากาศประเภทโรงแรม หรือรีสอร์ตที่มีศูนย์สุขภาพหรือศูนย์
กีฬาให้บริการส่งเสริมสุขภาพมีมาตรฐานคุณภาพอย่างแท้จริง
กำไรชีวิต
จุดประสงค์ของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ คือ การส่งเสริม
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ให้นิยามการ บำรุงรักษาสุขภาพกายและสุขภาพจิต บำบัดรักษาพยาบาล
ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Health Promotion Tourism) ไว้แล้ว และฟื้นฟูสุขภาพ ตลอดจนมีโอกาสแลกเปลี่ยนประสบการณ์
ว่า “เป็นการเดินทางท่องเที่ยวเพื่อเยี่ยมชมสถานที่ท่องเที่ยวที่ และสังสรรค์ทางสังคมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพที่ดีกับผู้อื่นใน
สวยงาม ในแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติและวัฒนธรรมตลอดจน ระหว่างการท่องเที่ยว ซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
การเรียนรู้วิถีชีวิตและพักผ่อนหย่อนใจ โดยแบ่งเวลาส่วนหนึ่ง ทัศนคติ และค่านิยมในการส่งเสริมและรักษาฟื้นฟูสุขภาพให้
จากการเดินทางท่องเที่ยว เพื่อทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ สมบูรณ์ด้วยตัวเองมากยิ่งขึ้น
และกิจกรรมการรักษาฟื้นฟูสุขภาพ”

การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

(Health Promotion Tourism)
เพื่อส่งเสริมสุขภาพและรักษาฟื้ นฟูสุขภาพ

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล

03

ประเด็นหลักที่คณะทำงานกลุ่มวันทองมุ่งเน้นให้ความ ดังนั้น คณะทำงานกลุ่มวันทองเล็งเห็นความสำคัญของ
สำคัญคือเพื่อรองรับนักท่องเที่ยวกลุ่มผู้สูงอายุติดสังคม และ กลุ่มผู้สูงอายุที่มีความต้องการจะเดินทางท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
ลดความวิตกกังวลของผู้สูงอายุที่มักคิดว่าตนเองเป็นภาระของ เพื่อให้รางวัลชีวิตตนเอง โดยญาติพี่น้องไม่ต้องกังวล หรือ
ลูกหลานหรือญาติ เมื่อมีความต้องการที่จะท่องเที่ยวก็ต้องรอ ห่วงใยในระหว่างการเดินทางท่องเที่ยวแต่ละครั้ง และมีกำลัง
ลูกหลานว่างเว้นจากหน้าที่การงานและภารกิจจึงจะได้ไปเที่ยว ซื้อการบริการท่องเที่ยว จึงจัดทำโครงการ “เที่ยวสนุกสุขใจ
ด้วยเหตุนี้เอง ผู้ดูแลผู้สูงอายุเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล” เป็นระยะเวลา 3 วัน 2 คืน โดย
(Caregiver) จึงเข้ามามีบทบาทสำคัญในการปฏิบัติงานเป็น เลือกแหล่งท่องเที่ยวในสองจังหวัด ได้แก่ จังหวัดเพชรบุรี ที่มี
ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุระหว่างการเดินทางท่องเที่ยว จุดเด่นด้านศิลปวัฒนธรรม อีกทั้ง ใน พ.ศ. 2564 ยูเนสโก
ยังยกย่อง “เพชรบุรี” เป็นเมืองสร้างสรรค์อาหารโลก และ
สำหรับประเทศไทยนั้นกลุ่มผู้สูงอายุถือว่าเป็นตลาดที่ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ที่มีรีสอร์ตเพื่อสุขภาพแห่งแรกของ
น่าสนใจและควรให้ความสำคัญ เนื่องจากเป็นตลาดที่ผู้ ประเทศไทยและถือเป็นต้นแบบของเอเชีย (ชีวาศรม อินเตอร์
บริโภคมีอำนาจซื้อค่อนข้างสูง มติชนออนไลน์ [2] (2560) เนชั่นแนล เฮลท์ รีสอร์ท อาณาจักรแห่งสุขภาพ) ทั้งสอง
ระบุว่านักท่องเที่ยววัยเกษียณไทยให้ความสำคัญกับการท่อง จังหวัดนี้ยังมีแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล ที่ได้รับความนิยมอย่าง
เที่ยวเชิงสันทนาการ ซึ่งทำให้ได้สัมผัสวิถีธรรมชาติของคน สูง มีโครงสร้างพื้นฐาน และสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ
ท้องถิ่นอย่างไม่เร่งรีบ และเกิดการกระจายรายได้สู่คนท้องถิ่น รองรับการเติบโตของการท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งพร้อม
นอกจากนี้ยังนิยมท่องเที่ยวนอกฤดูกาล เพื่อหลีกเลี่ยงความ รองรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ให้แก่นักท่องเที่ยวที่ต้องการ
แออัด โดยเลือกที่พักที่สะอาด ปลอดภัย สะดวกสบาย ความสุขทางกายและทางใจหลากหลายรูปแบบ
[่ 3]
[2] มติชนออนไลน์. (2560). สังคมผู้สูงอายุกับอนาคตประเทศไทย.
(Online) เข้าถึงจาก https://www.matichon.co.th/news- สำนักงานจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มงานยุทธศาสตร์และข้อมูลเพื่อ
monitor/news_575355.20102562 การพัฒนาจังหวัด. แผนพัฒนาจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ (พ.ศ.2561-
2565). ประจวบคีรีขันธ์: สำนักงาน; 2561, 49.

ด้วยเหตุผลดังกล่าว คณะทำงานกลุ่มวันทองคาดว่าการจัดทำโครงการครั้งนี้
ตอบ "ฉันยอมรับ" ที่กลางแจ้ง อ่านเพื่อค้นจหะาเว่ปา็มนีกปารรจัะดเโตยรีชยมน์สิต่ง่นอี้ไวห้ใหน้คุ่วณยหรงือาไมน่ รัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องสามารถนำไปใช้เป็น

แนวทางในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพให้กับพื้นที่อื่น

งานแต่งงานในการวางกลยุทธ์การบริหารจัดการการท่องเที่ยว
เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุทั้งในประเทศและทั่วโลก

ในสวน ให้เดินทางท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในประเทศไทยมากขึ้น
โดยมีผู้ดูแลผู้สูงอายุเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพเข้ามามีบทบาทสำคัญ

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล

04

วัตถุประสงค์

1. เพื่อให้ผู้สูงอายุเดินทางท่องเที่ยวได้อย่างมีความสุขทั้งด้านกาย ใจ สังคม และจิตวิญญาณ
2. เพื่อให้ผู้สูงอายุพึงพอใจและประทับใจในการได้รับประสบการณ์ใหม่ ๆ จากการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
3. เพื่อให้ผู้สูงอายุเกิดความปลอดภัย ไม่เกิดความเสี่ยงจากการเดินทาง และสามารถป้องกันภาวะ

แทรกซ้อนที่ป้องกันได้
4. เพื่อให้ญาติมั่นใจในการดูแลของคณะผู้ดูแลผู้สูงอายุทั้งการเตรียมตัวก่อนเดินทาง ขณะเดินทาง

และหลังเดินทาง
5. เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชนในแหล่งท่องเที่ยว และนำไปใช้เป็นแนวทางพัฒนา

แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในพื้นที่อื่น ๆ ต่อไป

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล

05

การท่องเที่ยว

07 กลุ่มเป้าหมาย/ตัวชี้วัด
08 สถานที่ท่องเที่ยว


และสถานบริการสุขภาพ
16 ระยะเวลาในการเดินทางท่องเที่ยว

02

กลุ่มเป้าหมาย/ตัวชี้วัด

1. ผู้ร่วมโครงการ ทั้งสิ้น 16 คน ประกอบด้วย
1.1 ผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 6 คน
1.1.1 ผู้สูงอายุที่มีประวัติเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจำนวน 3 คน
1.1.2 ผู้สูงอายุที่มีอาการเจ็บป่วยตามวัยจำนวน 2 คน
1.1.3 ผู้สูงอายุที่มีสุขภาพแข็งแรงจำนวน 1 คน
1.2 ผู้ดูแลผู้สูงอายุระหว่างการท่องเที่ยว (Caregiver) จำนวน 10 คน

2. ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการพึงพอใจและมีความสุขต่อการท่องเที่ยวครั้งนี้
3. ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการกลับมาใช้บริการและชักชวนเพื่อนมาร่วมเดิน

ทางท่องเที่ยวในครั้งต่อไป

ข้อมูลผู้สูงอายุในโครงการ



ชื่อ (นามสมมุติ) อายุ (ปี) โรคประจำตัว

1. นายชอบ ธรรมชาติ 65 ความดันโลหิตสูง, ไขมันในเลือดสูง

2. นางรัก ธรรมชาติ 63 เบาหวาน, ความดันโลหิตสูง, ไขมันสูง (DLD)

3. นายสง่า มานะดี 61 ตาเสื่อม, ข้อเข่าเสื่อม

4. นางสาวสายใจ สวยดี 62 ไม่มี

5. นางใจดี สุขดี 64 เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันสูง

6. นางกัน สุขอุดม 72 ข้อเข่าเสื่อม เก๊าท์

นายชอบ ธรรมชาติ นางรัก ธรรมชาติ นางสง่า มานะดี น.ส.สายใจ สวยดี นางใจดี สุขดี นางกัน สุขอุดม
64 ปี 63 ปี 61 ปี
61 ปี 64 ปี 72 ปี
ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ตาเสื่อม ไม่มีโรคประจำตัว ข้อเข่าเสื่อม
ไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง ข้อเข่าเสื่อม เบาหวาน
เกาต์
ความดันโลหิตสูง
ไขมันในเลือดสูง (DLD) ไขมันในเลือดสูง

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล

07

สถานที่ท่องเที่ยว

และสถานบริการสุขภาพ

สถานที่ท่องเที่ยว

สถานที่ท่องเที่ยวในโครงการ “เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล” คือพื้นที่จังหวัด
เพชรบุรีและจังหวัดประจวบคีรีขันธ์

คณะทำงานฯ พิจารณาสถานที่ท่องเที่ยวให้เหมาะสมกับผู้สูงอายุ เช่น มีชายฝั่งทะเลเพื่อให้
ผู้สูงอายุได้รับอากาศบริสุทธิ์จากแหล่งท่องเที่ยวใกล้เคียงทะเล เป็นพื้นที่ราบ เดินเท้าสะดวก
สถานที่โล่ง โปร่งเป็นส่วนใหญ่ อากาศไม่ร้อนอบอ้าว เป็นต้น

แหล่งท่องเที่ยวในโครงการฯ ประกอบด้วย 8 แห่ง ที่พัก 2 แห่ง และร้านอาหาร 4 แห่ง
(7 มื้อหลัก-ไม่รวมอาหารมื้อเช้าวันแรกและอาหารว่างช่วงบ่ายวันที่สามที่คณะทำงานฯจัดเตรียม
ให้รับประทานระหว่างการเดินทาง) ครอบคลุมแหล่งท่องเที่ยวจำนวนทั้งสิ้น 5 จาก 12 ประเภท
(ดูรายละเอียดสถานที่ท่องเที่ยวและประเภทแหล่งท่องเที่ยวใน ภาคผนวก ข) ดังนี้




เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล

08

สถานที่ท่องเที่ยว 8 แห่ง

จังหวัดเพชรบุรี 4 แห่ง


พระราชวังรามราชนิเวศน์ ชุมชนถ้ำรงค์ พิพิธภัณฑ์ปานถนอม

พระธาตุฉิมพลีพระเศรษฐีนวโกฏิ (วังบ้านปืน) ต.คลองกระแชง ต.ถ้ำรงค์ อ. บ้านลาด 8/1 หมู่ 1 บ้านหนองจิก
อ. เมือง โทร. 03-2428-506 โทร. 08-9822-5362 ต.หนองปรง อ. เขาย้อย
วัดข่อย ต.คลองกระแชง อ. เมือง เปิดทุกวัน 09.00-15.30 น. (ติดต่อ อบต.ถ้ำรงค์) โทร. 09-3197-8492
โทร. 06-1061-7868 (ติดต่อล่วงหน้า)
เปิดทุกวัน 06.00-17.00 น. ค่าเข้าชม 20 บาท แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ แหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม
แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์
แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ ก่อตั้ง พ.ศ. 2542 อาจารย์
ในปีที่รัชกาลที่ 5 ทรงมีพระ ชุมชนอนุรักษ์วิถีชีวิตชาวเพชร ถนอม คงยิ้มละมัย ผู้มีเชื้อสาย
ถือกันว่าพระธาตุฉิมพลีฯ สร้างโดย ชนมายุ 58 พรรษา ทรงมีพระ ที่ผูกพันกับต้นตาลโตนด เปิด ไทยทรงดำหรือไทยโซ่ง แบ่ง
รวมงานศิลปะชั้นสูงของช่างเมือง ราชประสงค์ให้สร้างพระราชวัง ให้เรียนรู้ผ่านการท่องเที่ยงเชิง พื้นที่ในบริเวณบ้านของตนเอง
เพชรมาไว้ในที่เดียว ใน พ.ศ. แบบยุโรป เพื่อใช้สำหรับแปร นิเวศและวัฒนธรรม มีอาหาร จัดทำเป็นพิพิธภัณฑ์บอกเล่า
2548 พระวัชรวิชญ์ สิริปัญโญ พระราชฐานในฤดูฝน และตั้งพระ คาวหวานเอกลักษณ์ท้องถิ่น วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ
สมัยเป็นฆราวาสได้เห็นผ้ายันต์ ราชหฤทัยว่าเมื่อพระชนมายุ 60 เช่น แกงหัวตาล ขนมตาล มรดกภูมิปัญญาของบรรพบุรษ
ฉิมพลีของวัดท่าไชยศิริ อ.บ้านลาด พรรษาจะสละราชสมบัติให้พระ โตนดทอด ฯลฯ มีประเพณี อาจารย์ถนอมยังรวมตัวกับ
จึงจินตนาการว่าเสมือนวิมานบน ราชโอรส แล้วจะเสด็จฯ มา การแสดงวัฒนธรรมท้องถิ่น ชุมชนจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้
สวรรค์ ต่อมาใน พ.ศ. 2554 จึง ประทับ ณ ที่นี้ ที่นี่มี พิพิธภัณฑ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น เยาวชนเรียนรู้วัฒนธรรมและ
เริ่มคิดสร้างถาวรวัตถุแห่งนี้ขึ้น เพื่อ สถาปนิกชาวเยอรมนีเป็นผู้ เส้นทางท่องเที่ยวทางบก น้ำ สืบสานวิถีไทยทรงดำด้วย
ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ออกแบบ แต่สร้างแล้วเสร็จใน ปั่นจักรยาน นั่งรถรางชุมชน
และสถานปฎิบัติธรรมเจริญจิต
ภาวนา สมัยรัชกาลที่ 6

จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 4 แห่ง




ร้านผ้า “โขมพัสตร์” หมู่บ้านปากน้ำปราณ&ถ.เลียบหาด อุทยานราชภักดิ์ ชีวาศรม อินเตอร์เนชั่นแนล

ซ.หัวหิน 84 อ.หัวหิน อ.ปราณบุรี ต.หนองแก อ. หัวหิน เฮลท์ รีสอร์ท ต.หัวหิน อ. หัวหิน
โทร. 0-3251-1250 โทร. 0-3253-3536
เปิดทุกวัน 09.00-17.00 น. โทร. 0-3263-1864 (อบต.) โทร. 0-3290-0607
แหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม เปิดทุกวัน 08.00-18.00 น แหล่งท่องเที่ยวเพื่อนันทนาการ/
แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ/
แหล่งท่องเที่ยวประเภทชายหาด แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ แหล่งท่องเที่ยวประเภทชายหาด

ก่อตั้งใน พ.ศ. 2491 โดยพลเอก "ปากน้ำปราณ" คือช่วงที่แม่น้ำปราณ ที่ตั้งพระบรมราชานุสาวรีย์ของ รีสอร์ตเพื่อสุขภาพแห่งแรกของ
พระวรวงค์เธอพระองค์เจ้าบวรเดช ไหลสู่ทะเล มีชาวบ้านส่วนใหญ่อาศัย พระมหากษัตริย์ไทย 7 พระองค์ ประเทศไทยและต้นแบบของเอเชีย
และหม่อมเจ้าผจงจิตร กฤดากร อยู่และประกอบอาชีพประมง หมู่บ้าน รัชกาลที่ 9 พระราชทานชื่อให้ บนพื้นที่ 17 ไร่ มีเป้าประสงค์เพื่อ
ทรงดำริจะสร้างโรงทอ ย้อม และ แห่งนี้จึงเป็นศูนย์รวมอาหารทะเลสด หมายความว่า อุทยานที่สร้าง ปรับเปลี่ยนวิถีดำเนินชีวิตผู้เข้าพักให้
พิมพ์ผ้าอย่างเช่นที่เคยทำที่ไซ่ง่อน และแห้งราคาย่อมเยา ใกล้มู่บ้านมี ขึ้นด้วยความจงรักภักดี เป็นการ มีสุขภาพดีอย่างสมดุล ทั้งร่างกาย
ทรงเลือกหัวหินเพราะทรงมีที่ดิน ถนนเลียบชายหาดความยาวหลาย เทิดทูน ประกาศเกียรติคุณพระ (Body) จิตใจ (Mind) จิตวิญญาณ
อยู่ อีกทั้งแถวนี้เป็นแหล่งปลูกฝ้าย กิโลเมตร มีต้นตาล 3 ต้นยืนเด่น มหากษัตริย์แห่งสยาม อุทยานฯ (Spirit) ผ่านการดูแลสุขภาพแบบ
ชั้นดีของประเทศ ทรงมีเจตนาให้ ตระหง่าน นับเป็นจุดเช็กอินใหม่ของ เปิดทางการเมื่อ 26 กันยายน องค์รวม 6 ประการ คือ โภชนาการ
ชาวบ้านมีงานทำ มีรายได้เลี้ยงดู นักท่องเที่ยว ถือเป็นแลนด์มาร์กของ พ.ศ. 2558 การออกกำลังกาย กายภาพบำบัด
ครอบครัวให้มีความเป็นอยู่ดีขึ้น ชายทะเลปราณบุรีในปัจจุบัน สปา แพทย์ทางเลือก และความงาม

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล

09

วิลล่ามาร็อค รีสอร์ท ปราณบุรี ที่พัก 2 แห่ง

อ.ปราณบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ คัดสรรห้องพักแบบรอยัลวิลลา ให้ปล่อยใจล่องลอยไปกับธรรมชาติแห่งท้อง
แหล่งท่องเที่ยวเพื่อนันทนาการ/ ทะเลอ่าวไทย เหมาะสำหรับพักผ่อนแบบผ่อนคลายในวันแสนสบาย
แหล่งท่องเที่ยวประเภทชายหาด ดนตรีบำบัด : รับไอพอดที่มีเพลงนับร้อยให้เลือกหลากภาษาเชื่อมต่อเครื่องขยาย
เสียงในห้องพัก เสียงเพลงจะขับกล่อมให้คุณดื่มด่ำกับความรื่นรมย์ชายทะเล
ธาราบำบัด : ปล่อยกายในสระว่ายน้ำนาจมาห์ (Najmah) กว้าง 30 เมตร กลาง
รีสอร์ต ขนานชายหาดปราณบุรี ใต้สระประดับไฟส่องแสงประกายแวววับ หรือจะ
อาบน้ำในอ่างแบบ Open Air ชาร์มส (Sharms) สุดแสนส่วนตัว หาเวลาสัมผัส
ประสบการณ์ใหม่ใน เฌอราซาด ฮัมมัม แอนด์ สปา เนรมิตบรรยากาศให้คุณเป็น
เจ้าชายเจ้าหญิงใน "พันหนึ่งราตรี" ตามเทพนิยายอาหรับสุดคลาสิก โคมไฟและ
ประตูไม้ส่งตรงจากโมร็อกโก มีอ่างน้ำร้อนและเย็นตามแบบห้องอาบน้ำโมร็อกโกที่
สมบูรณ์ มีทรีตเมนต์หลากหลาย แนะนำการนวดตัวและบำรุงผิวพรรณเพื่อผลัด
เซลล์ผิว ร่วมกิจกรรมเพื่อสุขภาพ เลือกได้ทั้งไทชิ โยคะ มวยไทย เดินออกกำลัง
กายที่ชายหาด การเพนต์เฮนน่า ฯลฯ ยังมีห้องสมุด ห้องออกกำลังกาย (เปิด 24
ชั่วโมง) และกิจกรรมเรียนทำอาหารจากเชฟผู้เชี่ยวชาญให้เลือกตามอัธยาศัย

ที่พักสไตล์ Wellness Resort ตกแต่งอย่างร่มรื่นด้วยส่วนแบบไทย อาคารต่างๆ

เป็นสไตล์ไทยโมเดิร์น จากบริษัทออกแบบอเมริกา ห้องพักตกแต่งด้วยไม้สัก ไม้ไผ่

และผ้าไหมจากจิม ทอมป์สัน เพื่อให้ผู้เข้าพักรู้สึกสงบ อบอุ่น ผ่อนคลาย และสง่า

งามในแบบไทย นั่งชมธรรมชาติบริเวณโซนร้านอาหาร ขนานไปกับสระว่ายน้ำและ

หาดทรายขาวสะอาด บำบัดดวงตาด้วยการทอดสายตาไปตามแนวชายหาดหัวหินที่

ยาวไปจนสุดเขาตะเกียบ ห้ามพลาดไฮไลต์ดูแลสุขภาพกับการบำบัดและฟื้นฟู

ร่างกายไปพร้อมพักผ่อน ตามคอนเซ็ปต์ Wellness Resort รีสอร์ตต้นแบบแห่ง

ชีวาศรม อินเตอร์เนชั่นแนล เฮลท์ รีสอร์ท แรกในเอเชีย นับจากก้าวแรกที่เข้ามาที่นี่เปรียบเสมือนการดีท็อกซ์ทั่วร่างกายทุก

อ. หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ นาที ชวนทิ้งความเครียด ความกังวลทุกสิ่งในชีวิต วางโทรศัพท์มือถือ (ทางรีสอร์ต
แหล่งท่องเที่ยวเพื่อนันทนาการ/
แหล่งท่องเที่ยวประเภทชายหาด ขอความร่วมมือไม่ใช้โทรศัพท์มือถือและไม่ถ่ายภาพในพื้นที่ส่วนกลาง) เพื่อช่วยเพิ่ม

ประสิทธิภาพให้การทำโซเชียลดีท็อกซ์อย่างเต็มที่ ก่อนพากายและใจพบ Health &

Wellness Advisor ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพพร้อมให้คำปรึกษาด้านภาวะสุขภาพ

แบบละเอียดเฉพาะบุคคล หลังจากประเมินสภาพร่างกายและพฤติกรรมแล้ว คุณจะ

ได้รับตารางแนะนำทรีตเมนต์ กิจกรรมที่เหมาะสมให้คุณได้เข้าร่วมในแต่ละวัน รวม

ถึงอาหารที่จัดโปรแกรมพิเศษ หมดห่วงกับการมีสุขภาพที่ดี เพราะทางรีสอร์ตมีทรีต

เมนต์และกิจกรรมกว่า 200 รายการ อาทิ ฟิตเนส กายภาพบำบัด สปา แพทย์

ทางเลือก และนิรันดร์ลดา เมด-สปา ที่มีห้องทรีตเมนต์ถึง 70 ห้อง โดยมีผู้

เชี่ยวชาญเฉพาะด้านดูแลใกล้ชิดอย่างเปี่ยมคุณภาพ

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล

10

ร้านอาหาร 4 แห่ง

(7 มื้อหลัก)

ห้องอาหารลูน่า ลาไนย์ ห้องอาหาร Casablanca

เชอราตัน หัวหิน รีสอร์ทแอนด์สปา วิลล่ามาร็อค รีสอร์ท ปราณบุรี
อ. หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ อ.ปราณบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์

(1 มื้อ) (2 มื้อ)

ร้านอาหารริมทะเลหัวหิน บรรยากาศดี ออกแบบสไตล์ชิลๆ มื้อค่ำชวนอิ่มหนำริมหาดปราณบุรีอันเงียบสงบ ท่ามกลาง

สบายๆ มีที่นั่งในส่วนของ outdoor และ indoor ติดริมทะเล บรรยากาศอันแสนงดงามแบบโมร็อกโก ชิมบาร์บีคิวซีฟู้ดที่คัด

เดินเล่นรับลมชมวิวที่ชายหาดได้อีกด้วย อาหารมีเมนูให้เลือก สรรอาหารทะเลสด ๆ คู่กับซอสซีฟู้ดรสจัดแบบไทย ๆ หรือ

มากมาย เช่นเซ็ตเมนู มี 4 เมนู พร้อมค็อกเทล (น้ำเปล่า ซอสซีฟู้ดในแบบโมร็อกโก มื้อเช้า เติมความอร่อยด้วยเมนู

บริการฟรี) แนะนำสเต๊กแซลมอนชิ้นโตๆ ยำกุ้งฟูรสชาติดี ผัด โมร็อกโกต้นตำรับปรุงโดยเซฟชาวโมร็อกโก อาทิ ขนมปังพิต้า

ไทยกุ้งแม่น้ำตัวโตเต็มจาน ปิดท้ายด้วยข้าวเหนียวมะม่วงหอม ร้อนๆ คู่กับเครื่องจิ้มแบบโมร็อกโก ได้แก่ ฮัมมูส ถั่วชีกพีปั่น

หวาน แสนคุ้มค่าเกินราคา บาบากานูช มะเขือม่วงปั่น ฯลฯ ลิ้มลองทาจีนไก่/ปลา-อบ

อย่างพิถีพิถัน ปรุงรสด้วยมะกอกและมะนาวดองแบบต้นตำรับ

ห้องอาหาร The Emerald/ Taste of Siam ครัวตาลโตนด (เชฟชุมชน)

และริมทะเล/ชีวาศรมฯ ณ ชุมชนถ้ำรงค์
อ. หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ อ.บ้านลาด จ. เพชรบุรี

(3 มื้อ) (1 มื้อ)

ในชีวาศรมฯ มีห้องอาหาร 2 แห่ง คือ The Emerald ให้ อาหารพื้นบ้านแบบท้องถ่ินเมืองเพชร เมนู ง่ายๆ แต่รสชาติ
บริการอาหารนานาชาติแบบ Fine Dining เสิร์ฟอาหาร จัดจ้านครบรส เลือกสรรวัตถุดิบมีชื่อเสียงของเพชรบุรี ทั้ง
Pescatarians ที่เน้นวัตถุดิบจากผัก ธัญพืช และปลา ส่วน น้ำตาลโตนด มะนาว เกลือ ที่มีแหล่งผลิตมากที่สุดในประเทศ
Taste of Siam ให้บริการอาหารนานาชาติแบบ Casual ในจังหวัดนี้มาปรุงโดยฝีมือเชฟชุมชน แนะนำแกงหัวตาล
Dining เมนูหลากหลาย เน้นคุณประโยชน์และมีแคลอรีต่ำ ทอดมันปลา ปลานึ่งสมุนไพร แกงกะทิหัวปลี ฯลฯ หากนึก
เหมาะกับสายเฮลตี้ที่ยังคงรสชาติอร่อยแบบดีต่อสุขภาพ สนุกจะลองเข้าครัวร่วมปรุงกับชุมชนเองเลยน่าอร่อยขึ้น

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล

11

สถานบริการสุขภาพ

สถานบริการสุขภาพบนเส้นทางกรุงเทพฯ-เพชรบุรี (ระยะทางจากจุดนัดหมาย : ย่านพระราม 2)

1. โรงพยาบาลมหาชัย 3 0-344-28-493 ระยะทาง 22.6 กิโลเมตร

2. โรงพยาบาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า 0-3471-4314 ระยะทาง 58.8 กิโลเมตร

สถานบริการสุขภาพใกล้วัดข่อยและพระรามราชนิเวศน์ (วังบ้านปืน) อ. เมือง จ. เพชรบุรี

(ระยะทางจากวัดข่อย/พระราชวังรามราชนิเวศน์ : วัดข่อยห่างจากพระรามราชนิเวศน์ 2.6 กม.)

3. โรงพยาบาลมหาชัยเพชรรัชต์ 0-3241-7070 ระยะทาง 1.2/2.5 กิโลเมตร

4. โรงพยาบาลสหแพทย์ 0-3241-1192 ระยะทาง 1.3/1.3 กิโลเมตร

5. โรงพยาบาลพระจอมเกล้า 0-3270-9999 ระยะทาง 1.4/3.5 กิโลเมตร

6. โรงพยาบาลค่ายรามราชนิเวศน์ 0-3242-8506 ระยะทาง 2/0.75 กิโลเมตร

สถานบริการสุขภาพ เส้นทาง อ. เมือง จ. เพชรบุรี-อ. หัวหิน จ. ประจวบคีรีขันธ์

(ระยะทางจากพระราชวังรามราชนิเวศน์)

7. โรงพยาบาลชะอำ 0-3247-1808 ระยะทาง 42.4/กิโลเมตร

สถานบริการสุขภาพในอำเภอหัวหิน จ. ประจวบคีรีขันธ์

(ใกล้เคียงห้องอาหารลูน่าลาไนย์/เชอราตันฯ-โรงงานและร้านผ้า “โขมพัสตร์”–อุทยานราชภักดิ์–ชีวาศรมฯ ในรัศมี 0–10 กิโลเมตร)

8. โรงพยาบาลกรุงเทพหัวหิน 0-3261-6800

9. โรงพยาบาลหัวหิน 3 0-3265-4575

10. โรงพยาบาลหัวหิน 0-3265-4575

สถานบริการสุขภาพใกล้เคียง Villa Marco Resort อ. ปราณบุรี จ. ประจวบคีรีขันธ์

11. รพ.สต. ปากน้ำปราณ 0-3263-1631 ระยะทาง 6.2 กิโลเมตร

12. โรงพยาบาลปราณบุรี 0-3282-5565 ระยะทาง 10.6 กิโลเมตร

13. โรงพยาบาลค่ายธนะรัชต์ 0-3262-2155 ระยะทาง 14 กิโลเมตร

สถานบริการสุขภาพใกล้เคียง อบต. ถ้ำรงค์ ชุมชนถ้ำรงค์ อ. บ้านลาด จ. เพชรบุรี

14. รพ.สต. ถ้ำรงค์ 0-3249-1041 ระยะทาง 0.2 กิโลเมตร

15. โรงพยาบาลบ้านลาด 0-3263-1631 ระยะทาง 8.6 กิโลเมตร

สถานบริการสุขภาพใกล้เคียงพิพิธภัณฑ์ปานถนอม อ. เขาย้อย จ. เพชรบุรี

16. รพ.สต. หนองปรง 0-3270-6866 ระยะทาง 2.1 กิโลเมตร

17. โรงพยาบาลเขาย้อย 0-3256-2200 ระยะทาง 9.3 กิโลเมตร

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล

12

เส้นทางท่องเที่ยว

วันแรก

กรุงเทพฯ (มื้อ 1-บนรถ) -พระธาตุฉิมพลีฯ วัดข่อย – พระราชวังรามราชนิเวศน์ (วังบ้านปืน)
– ห้องอาหารลูน่าลาไนย์/เชอราตัน หัวหิน รีสอร์ทแอนด์สปา (มื้อ 2) – โรงงานและร้านผ้า
“โขมพัสตร์” – หมู่บ้านปากน้ำปราณและถนนเลียบชายหาด – วิลล่ามาร็อค ปราณบุรี (มื้อ 3)

เส้นทางท่องเที่ยว 1

กรุงเทพฯ-เพชรบุรี-ประจวบฯ 1 จุดนัดหมาย

2 บิ๊กซี พระราม 2
3 เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ

มื้อเช้า-บนรถ

เช้า เดินทางจากกรุงเทพฯ มื้อเที่ยง
มุ่งสู่จังหวัดเพชรบุรี

4

4

5

67 2 3

พระธาตุฉิมพลีเศรษฐีนวโกฏิ วัดข่อย พระราชวังรามราชนิเวศน์ (วังบ้านปืน) ห้องอาหารลูน่าลาไนย์
อ.เมือง จ.เพชรบุรี อ.หโัรวงหแินรมจเ.ชป
อรระาจตวันบฯคีรีขันธ์
ระยะทางโดยประมาณ อ.เมือง จ.เพชรบุรี
7
บ่ายวัดข่อย-พระราชวังรามราชนิเวศน์ (วังบ้านปืน) 2.5 กม.
จุดนัดหมาย-พระธาตุฉิมพลีฯ วัดข่อย 112 กม.

พระราชวังรามราชนิเวศน์-ห้องอาหาร เชอราตันฯ 54 กม.
โรงแรมเชอราตันฯ-โขมพัสตร์ 13 กม.

โขมพัสตร์-หมู่บ้านปากน้ำปราณ (ถ.เลียบหาด) 26 กม.
ปากน้ำปราณ-วิลล่ามาร็อค ปราณบุรี 6.8 กม.

56

โรงงานและร้านผ้าพิมพ์ลาย "โขมพัสตร์" หมู่บ้านปากน้ำปราณและถนนเลียบหาด วิลล่ามาร็อก ปราณบุรี
อ. หัวหิน จ. ประจวบคีรีขันธ์ อ. ปราณบุรี จ. ประจวบคีรีขันธ์
อ. ปราณบุรี จ. ประจวบคีรีขันธ์
มื้อเย็น/ที่พัก

สถานบริการสุขภาพ

ใกล้เคียงวิลล่ามาร็อค ปราณบุรี

รพ.สต. ปากน้ำปราณ 0-3263-1631 ระยะทาง 6.2 กิโลเมตร

โรงพยาบาลปราณบุรี 0-3282-5565 ระยะทาง 10.6 กิโลเมตร

โรงพยาบาลค่ายธนะรัชต์ 0-3262-2155 ระยะทาง 14 กิโลเมตร

7

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล

13

เส้นทางท่องเที่ยว

วันที่สอง

วิลล่ามาร็อค ปราณบุรี (มื้อที่ 4) - อุทยานราชภักดิ์
– ชีวาศรม อินเตอร์เนชั่นแนล เฮลท์ รีสอร์ท

(มื้อที่ 5 และ 6)

เส้นทางท่องเที่ยว เช้า มื้อเที่ยง

ประจวบคีรีขันธ์ฯ 3

3 1 2 ห้องอาหาร Taste of Siam
2 ชีวาศอร.มหัวอิหนินเตอจร.์
เปนรชั่ะนจแวนบลคีรเีฮขัลนทธ์์ รีสอร์ท
วิลล่ามาร็อค ปราณบุรี อุทยานราชภักดิ์
1 อ. ปราณบุรี จ. ประจวบคีรีขันธ์ อ. หัวหิน จ. ประจวบคีรีขันธ์

บ่าย

ระยะทางโดยประมาณ
วิลล่ามาร็อค ปราณบุรี - อุทยานราชภักดิ 22 กม.
อุุทยานราชภักดิ์ - ชีวาศรมฯ 6.9 กม.

ชีวาศรม อินเตอร์เนชั่นแนล เฮลท์ รีสอร์ท มื้อเย็น/ที่พัก
อ. หัวหิน จ. ประจวบคีรีขันธ์

สถานบริการสุขภาพ

ใกล้เคียงชีวาศรมฯ

โรงพยาบาลกรุงเทพหัวหิน 0-3261-6800 ระยะทาง 2.7 กิโลเมตร

3 โรงพยาบาลหัวหิน 3 0-3265-4575 ระยะทาง 3.0 กิโลเมตร
โรงพยาบาลหัวหิน HH
0-3265-4575 ระยะทาง 9.7 กิโลเมตร

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล

14

เส้นทางท่องเที่ยว

วันที่สาม

ชีวาศรม อินเตอร์เนชั่นแนล เฮลท์ รีสอร์ท (มื้อที่ 7)– ชุมชนถ้ำรงค์ (มื้อที่ 8)
– พิพิธภัณฑ์ปานถนอม – กรุงเทพฯ (มื้อที่ 9-อาหารว่างบนรถ)

เส้นทางท่องเที่ยว เช้า มื้อเที่ยง

ประจวบฯ-เพชรบุรี-กรุงเทพฯ

4

12

ชีวาศรม อินเตอร์เนชั่นแนล เฮลท์ รีสอร์ท ชุมชนถ้ำรงค์ เชฟชุมชน "ครัวตาลโตนด"

บ่าย3 อ. หัวหิน จ. ประจวบคีรีขันธ์ ต. ถ้ำรงค์ อ. บ้านลาด จ. เพชรบุรี อบต.ถ้ำรงค์
2 อส.ปบา้าเกนลแือหล:ม
กังจห.ันเพทอชรงบุรี
(วิทยากรรับเชิญ)

1 มื้อบ่าย
3
อาหารว่างบนรถ
ระยะทางโดยประมาณ พิพิธภัณฑ์ปานถนอม
ต. หนองปรง อ. เขาย้อย จ. เพชรบุรี เดินทางกลับกรุงเทพฯ
ชีวาศรมฯ - ชุมชนถ้ำรงค์ 58.3 กม. โดยสวัสดิภาพ 4
ชุมชนถ้ำรงค์- พิพิธภัณฑ์ปานถนอม 25.6 กม. หมู่บ้านบุราสิริ
พิพิธภัณฑ์ปานถนอม-กรุงเทพฯ 102 กม. พระราม 2
กรุงเทพฯ

สถานบริการสุขภาพ

ใกล้เคียงชุมชนถ้ำรงค์

รพ.สต. ถ้ำรงค์ 0-3249-10H41 ระยะทาง 0.2 Hกิโลเมตร
2 โรงพยาบาลบ้านลาด 032-631631 ระยะทาง 8.6 กิโลเมตร

ใกล้เคียงชุมชนถ้ำรงค์

3 รพ.สต. หนองปรง 0-3270-6866 ระยะทาง 2.1 กิโลเมตร

โรงพยาบาลเขาย้อย 0-3256-2200 ระยะทาง 9.3 กิโลเมตร

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล

15

ระยะเวลาในการเดินทางท่องเที่ยว

ผู้สูงอายุมีเวลาว่างมากกว่าวัยอื่นๆ จึงมักเดินทางท่องเที่ยวในช่วงวันธรรมดา
เพื่อหลีกเลี่ยงความแออัดของผู้คนและการจราจรที่คับคุ่ง คณะทำงานฯ ได้สำรวจ
ความคิดเห็นของผู้สูงอายุที่สนใจเดินทางท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในเบื้องต้นแล้วพบว่า
ผู้สูงอายุที่สนใจที่จะเข้าร่วมโครงการทุกคน ต้องการมีเวลาในวันเสาร์-อาทิตย์ เพื่อ
พบปะลูกหลานในวันที่ลูกหลานหยุดงาน และส่วนใหญ่ไม่อยากจากบ้านไปหลายวัน

คณะทำงานฯ จึงสรุปกำหนดวันเดินทางท่องเที่ยวแบบพักค้าง ระหว่างวันพุธ
ที่ 15- วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2565 (3 วัน 2 คืน)

15 16 17

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล

16

การดำเนิน
โครงการ

18 วิธีการดำเนินโครงการ
20 งบประมาณ
22 การประเมินโครงการ
22 ผลที่คาดว่าจะไ้ดรับ
23 เอกสารอ้างอิง

03

วิธีดำเนินโครงการ

กิจกรรม ระยะเว
ลาการดำเนิน
งาน (พ
.ค.–
ต.ค.
2565
) หมายเหตุ





พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค.


ขั้นเตรียมการ :

1. ตั้งคณะทำงานกลุ่ม “วันทอง” พร้อมมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบ 15,21,28,29 4,5,7,10,12, 2 6 3 2

และประชุมคณะทำงานฯ
14,19,21,22
2. ศึกษา/ทบทวน และวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งอดีตและปัจจุบัน 16-20

เพื่อป้องกันปัจจัยเสี่ยงหรือปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นก่อนที่จะดำเนินงาน

โครงการต่อไป

3. เขียนโครงการ “เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล” และ 22



แผนปฏิบัติการดำเนินงานโครงการและกำหนดคุณสมบัติผู้สูงอายุที่ 2
2







เข้าร่วมโครงการ พร้อมเสนอผู้บริหารเห็นชอบโครงการ
4. จัดทำโปสเตอร์โปรแกรมท่องเที่ยว “เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย

ญาติไร้กังวล” เพื่อประชาสัมพันธ์และลงทะเบียนสมัครเข้าร่วม

โครงการ 23-27

5. ติดต่อ/ประสานงานกับสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ ที่พัก พาหนะการ

เดินทาง และอื่นๆ

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล

18

กิจกรรม ระยะเวล
าการดำเนินง
าน (พ
.ค.–ต
.ค. 2
565)
หมายเหตุ

พ.ค. มิ.ย.


.ค.

ก.ค. ส.ค. ก.ย.

ขั้นดำเนินการ : →23 13


6. เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ เชิญชวนผู้สูงอายุลงทะเบียนสมัครเข้า 13
ร่วมโครงการ “เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล” กับ 10-13
วันทองทีมแอนด์ทราเวล







7. สรุปจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
8. จัดทำแผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

แบบพักค้าง ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับผู้สูงอายุที่เข้าร่วม
โครงการเป็นรายบุคคล โดยผ่านความเห็นชอบของผู้เชี่ยวชาญ
ด้านการดูแลสุขภาพ และด้านการท่องเที่ยวของผู้สูงอายุ เพื่อที่
Caregiver จะได้เตรียมข้อมูลของผู้สูงอายุ และประสานการดูแล
ตั้งแต่ก่อนเดินทางจนกระทั่งสิ้นสุดการเดินทาง โดยมอบหมายให้
Caregiver 1-2 คน ดูแลผู้สูงอายุ 1 คน ตลอดโครงการ
9. ประสาน/นัดหมายการเดินทางผู้สูงอายุที่ร่วมโครงการเตรียมความ
พร้อมก่อนเดินทาง โดยการตรวจตาม Check List ที่ทำไว้ใน
แผนการดูแลตั้งแต่ก่อนเดินทางจนกระทั่งสิ้นสุดการเดินทาง
10. เดินทางตามโปรแกรมท่องเที่ยว “เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย
ญาติไร้กังวล” จากกรุงเทพฯ – เพชรบุรี - ประจวบคีรีขันธ์
ตั้งแต่วันพุธ 15 – วันศุกร์ 17 มิถุนายน 2565 (3 วัน 2 คืน)

ขั้นประเมินผล : 1, 17



11. จัดทำ/ตอบ แบบประเมินผลความพึงพอใจและความประทับใจ


ของผู้สูงอายุที่ร่วมโครงการต่อการดูแลผู้สูงอายุเพื่อการท่องเที่ยว
เชิงสุขภาพในครั้งนี้ 20 17 2 6 3 2



12. กำกับ ติดตามทุกสัปดาห์ และประเมินผลก่อน ระหว่าง และหลัง
5
สิ้นสุดโครงการ


13. วิเคราะห์และสรุปผลรายงานโครงการ “เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแล
ห่วงใย ญาติไร้กังวล”

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล

19

งบประมาณ

งบประมาณในโปรแกรมท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ "เพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ์" 3 วัน 2 คืน

แหล่งงบประมาณจากผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ 6 คน รวมทั้งสิ้น 395,400 บาท (สามแสนเก้าหมื่นห้าพันสี่ร้อยบาทถ้วน)

โครงการ "เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล" นำเที่ยวในโปรแกรมท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ "เลอค่าดังฝัน เพชรบุรี-

ประจวบคีรีขันธ์ 3 วัน 2 คืน" เปิดรับผู้สูงอายุเข้าร่วมโครงการ 6 คน มี 2 คนต้องการผู้ดูแลฯ 1 คน และ 4 คน ต้องการผู้ดูแลฯ 2

คน โดยมีรายละเอียดต้นทุนทั้งหมดดังแสดงในหน้า 21

งบประมาณต้นทุนโปรแกรมท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

การจัดสรรงบประมาณใช้วิธีคำนวนต้นทุนธุรกิจทัวร์ โดยแบ่งต้นทุน 2 ประเภท ได้แก่

1) ต้นทุนคงที่ บริษัทวันทองทีมแอนด์ทราเวล จำกัด เช่าอาคารพาณิชย์ 1 คูหาเป็นที่ทำการบริษัท มีพนักงานประจำ 3 คน มี

ค่าใช้จ่าย คือ 1.1 การเช่าอาคาร เงินเดือนพนักงานประจำ ค่าไฟฟ้า-น้ำประปา-โทรศัพท์ ค่าประกันภัย และค่าจัดทำบัญชี 1.2 ค่า

เสื่อมราคาของค่าตกแต่ง เฟอร์นิเจอร์ และเครื่องใช้สำนักงาน รวมค่าใช้จ่ายต่อปี 800,000 บาท (แปดแสนบาทถ้วน) ใน 1 ปีให้

บริการลูกค้าได้ 1,000 คน ประมาณการลูกค้าใช้บริการ 80 % คือ 800 คน เฉลี่ยค่าต้นทุนคงที่จัดสรร 1,000 บาท/คน/ทริป

2) ต้นทุนผันแปร คือค่าใช้จ่ายในการจัดโปรแกรมท่องเที่ยวแต่ละครั้ง โดยได้รับส่วนลดในอัตราเฉลี่ย 30 % ของราคาปกติจาก

พันธมิตรผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยว อาทิ ที่พัก ร้านอาหาร ร้านค้า สถานบริการ ฯลฯ

โครงการฯ นี้ จึงมีต้นทุนเฉลี่ย/ผู้สูงอายุ 1 คน ดังนี้

2.1 ผู้สูงอายุที่ต้องการผู้ดูแลฯ 1 คน มีต้นทุน 41,340.00 บาท X 2 คน = 82,680 บาท

2.2 ผู้สูงอายุที่ต้องการผู้ดูแลฯ 2 คน มีต้นทุน 41,340+12,120 = 53,460.00 บาท X 4 คน = 213,840 บาท

รวมราคาต้นทุนทั้งหมดตลอดโครงการฯ 296,520 บาท (สองแสนเก้าหมื่นหกพันห้าร้อยยี่สิบบาทถ้วน)

การคำนวณกำไรโปรแกรมท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและราคาเสนอขาย

การนำต้นทุนมาคำนวณราคาขายในอัตรากำไร 30% จะมีรายรับ 385,476.00 บาท การตั้งราคาเสนอขายจะคิดเป็นตัวเลขหาร
เฉลี่ยลงตัว เพื่อให้ผู้สูงอายุเข้าใจและตัดสินใจได้ง่ายขึ้น รวมทั้งสะดวกต่อการขาย ทำให้มีกำไรรวมทั้งสิ้น (395,400-296,520) =
98,880 บาท คิดเป็นกำไรสุทธิ 33.35 % ดังนี้

รายการ ต้นทุน+30% ราคาเสนอขาย
(บาท) (บาท)

ผู้สูงอายุที่ต้องการผู้ดูแล ฯ 1 คน (53,742.00x2 คน) = 107,484 (57,900 x2 คน) = 115,800
(69,900 X4 คน) = 279,600
ผู้สูงอายุที่ต้องการผู้ดูแล ฯ 2 คน (69,498.00x4 คน) = 277,992
395,400
รวมต้นทุน+กำไร 30 % 385,476.00

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล

20

งบประมาณ

ตารางแสดงต้นทุนรวมตลอดโครงการโดยละเอียด

รายการ ต้นทุน ต้นทุนเฉลี่ย/ หมายเหตุ
1) ต้นทุนคงที่จัดสรร (บาท) ผู้สูงอายุ 1 คน (บาท) กรณีเพิ่ม CG 1 คน

6,000.00 1,000.00 00.00

2) ต้นทุนผันแปร 242,040.00 40,340.00 12,120.00 (3)

1. รถโค้ชปรับอากาศ 32 ที่นั่ง +น้ำมัน+พนง.ขับรถ+ที่จอดรถ (รวม 3 วัน) 33,000.00 5,500.00 00.00
2. ที่พักวิลล่ามาร็อค ปราณบุรี วิลล่า 1 คืน 30,000.00 5,000.00 00.00
(Royal villa2/2 ห้องนอน-รวมที่พักผู้ดูแลฯX3 ห้อง+อาหาร 2 มื้อ)

3. ที่พักชีวาศรมอินเตอร์เนชั่นแนล เฮลท์ รีสอร์ท 1 คืน 84,000.00 14,000.00 1,000.00
(พัก Thai Pavilion + อาหาร 3 มื้อ + โปรแกรมสุขภาพเต็มวัน/
รวมที่พัก 1 คืน + อาหาร 3 มื้อของผู้ดูแลฯ 1 คน/ผู้เข้าพัก 1 คน)

4. ชุดอาหาร Boxset 200 บาทx12 คนx2 มื้อ (วันเดินทางไปและกลับ) 4,800.00 800.00 400.00

5. อาหารกลางวัน (วันแรก 1 มื้อ) 400 บาท X 12 คน 4,800.00 800.00 400.00

6. ชุมชนถ้ำรงค์ 800 บาท x12 คน 9,600.00 1,600.00 800.00
(วิทยากร+ทัวร์ท้องถิ่น+ อาหาร 1 มื้อ+workshop ขนมตาล)

7. พิพิธภัณฑ์ปานถนอม (วิทยากร+กิจกรรม) 500x12 คน 6,000.00 1,000.00 500.00
8. มัคคุเทศก์ 2,000 บาท/1 คนx3 วัน 6,000.00 1,000.00 00.00

9. ผู้ดูแลฯ (CG) 3,000 บาท/24 ชม./คนx6 คน)x3 วัน 54,000.00 9,000.00 9,000.00

10. ค่าเช้าชมพระราชวังรามราชนิเวศน์ 20 บาทx12 คน 240.00 40 20.00

11. ของที่ระลึก 1,000 บาทx6 คน 6,000.00 1,000.00 00.00
12. อื่นๆ (น้ำดื่ม หน้ากากอนามัย กระดาษทิชชู ผ้าเปียก ฯลฯ) 3,600.00 600.00 00.00

3) ต้นทุนเฉลี่ย/ผู้สุงอายุ 1 คน
41,340.00 12,120.00

สรุปต้นทุนรวมตลอดโครงการ

1.ผู้สูงอายุที่ต้องการผู้ดูแล ฯ 1 คน = 41,340 x 2 คน = 82,680 บาท

2.ผู้สูงอายุที่ต้องการผู้ดูแล ฯ 2 คน = (41,340+12,120) x 4 คน = 213,840 บาท

รวมต้นทุนตลอดโครงการ = 296,520 บาท

(สองแสนเก้าหมื่นหกพันห้าร้อยยี่สิบบาทถ้วน)

เมื่อได้ข้อสรุปด้านงบประมาณพร้อมคำนวณต้นทุนและกำไรแล้ว คณะทำงานฯ จึงเห็นชอบให้เสนอขายโปรแกรมท่องเที่ยวเชิง
สุขภาพ+ผู้ดูแลฯ 1 คน ในราคา 56,900 บาท และ69,900 บาท หรือเพิ่มเพียง 12,000 บาท เมื่อต้องการผู้ดูแลฯ เพิ่มอีก 1 คน

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล

21

การประเมินโครงการ

ก่อนดำเนินการโครงการ :

1. ในขั้นตอนนี้จะทำการประเมินถึงความเป็นไปได้ และความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น โดยดำเนินการศึกษา
ทบทวนงานวิชาการที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งอดีตและปัจจุบัน พร้อม
ทั้งคาดคะเนความเป็นไปได้ในดำเนินการ เพื่อจะได้แก้ไขในข้อที่จะเป็นปัจจัยเสี่ยงหรือปัญหาที่จะ
เกิดขึ้นก่อนที่จะจัดทำแผนการดำเนินงานโครงการ (รายละเอียดตามโครงการข้างต้น)

2. ช่วงดำเนินการโครงการ :
ดำเนินการตามแผนการที่ได้กำหนดไว้ มีการเฝ้าระวังปัจจัยที่มีความเสี่ยง พร้อมแก้ไขทันท่วงที
และมีการกำกับ ติดตามงานให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์/เป้าหมาย/ตัวชี้วัด/ระยะเวลา และงบ
ประมาณที่กำหนดไว้

3. หลังดำเนินการโครงการเสร็จสิ้น :
จะมีสรุปผลการประเมินผลการดำเนินงานโครงการตามตามวัตถุประสงค์/เป้าหมาย/ตัวชี้วัด/
ระยะเวลาและงบประมาณที่กำหนดไว้พร้อมข้อเสนอแนะเชิงพัฒนาหรือเป็นข้อเสนอเชิงนโยบาย
ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือรัฐบาลต่อไป

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้สูงอายุสามารถเดินทางท่องเที่ยวได้อย่างมีความสุขทั้งด้านกาย ใจ สังคมและจิตวิญญาณ
2. ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจและความประทับใจในการได้รับประสบการณ์ใหม่ ๆ จากการท่องเที่ยว

เชิงสุขภาพ

3. ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ เกิดความปลอดภัยในการเดินทาง ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้
และไม่เกิดความเสี่ยงที่ป้องกันได้จากการเดินทาง

4. ญาติมั่นใจในการดูแลของทีมผู้ดูแลผู้สูงอายุทั้งการเตรียมตัวก่อนเดินทาง ขณะเดินทางและหลังเดินทาง
5. ชุมชนเกิดความยั่งยืนและเป็นการสร้างความมีคุณค่าให้กับชุมชน

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล

22

เอกสารอ้างอิง

ชนิดา ทวีศรี. (24 กันยายน 2557). การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ. จาก https://www.l3nr.org/posts/166878
นันทรัตน์ โรจน์วัลลี. (2550). พฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวสูงอายุ. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต,

มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
นฤมล รัตนไพจิตร ราตรี เขียวรอด และตรีวนันท์ เนื่องอุทัย. (2561). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยว

เชิงสุขภาพของผู้สูงอายุ จังหวัดนครศรีธรรมราช. รายงานการวิจัย, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
พรทิพย์ บุญเที่ยงธรรม. (2555). การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว ความคาดหวัง และความพึง

พอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางมาเที่ยวตลาดน้ำในเขตตลิ่งชัน จังหวัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
ภราเดช พยัฆวิเชียร. (2560). อ้างถึงใน โอกาสจากนักท่องเที่ยววัยเก๋า. จาก https://positioningmag.com/
1112868
มติชนออนไลน์. (2560). สังคมผู้สูงอายุกับอนาคตประเทศไทย. จาก https://www.matichon.co.th/news-
monitor/news_575355. 20102562 : 2560.
สุนิษา เพ็ญทรัพย์ และปวันรัตน์ แสงสิริโรจน์. (2555). พฤติกรรมและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว ชาวไทยต่อการ
ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ กรณีศึกษาบ่อน้ำพุร้อนรักษะวาริน อำเภอเมือง จังหวัดระนอง. รายงานการวิจัย,
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
สำนักงานจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มงานยุทธศาสตร์และข้อมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัด. (2561). แผนพัฒนาจังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์ (พ.ศ. 2561-2565). ประจวบคีรีขันธ์: สำนักงาน.
AT Prachuap. Localities in sustainable local management. Research under the Data Bank Project
Set For sustainable development and management of spatial tourism in the Northeastern
region, the Thailand Research Fund. [Internet]. 2020 [cited 2020 October 5] Available from
goo.gl/3JtdLv
National Health Security Office. (2016). The manual of long term care for the dependent elderly in
Community (Long term Care) under unversal health coverage scheme, Fiscal year 2016.
Bangkok: National Health Security Office.

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล

23



ภภาาคคผผนนววกก

04

ภาคผนวก ก

27 ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มี
ภ า ว ะ พึ่ ง พิ ง

29 แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
ในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
แ บ บ พั ก ค้ า ง

48 ข้อมูลผู้สูงอายุ
และตารางคำนวนแคลอรี
อาหารสำหรับผู้สูงอายุ

ผู้ช่วยเหลือดูแล
ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Caregiver) หมายความว่า บุคคลที่ผ่านการอบรมตามหลักสูตร
ที่คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง หรือคณะอนุกรรมการอื่นภายใต้
คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเห็นชอบ (การอบรมตาม
หลักสูตร 70 ชั่วโมง)

การทำงานของ Caregiver มีรูปแบบชัดเจนมากขึ้นหลังจากผ่านการฝึกอบรม โดยบทบาทหน้าที่ของ
Caregiver : ดูแลผู้สูงอายุตามแผนการดูแลที่ได้รับมอบหมาย มีดังต่อไปนี้

1. มีการวิเคราะห์จัดกลุ่มผู้สูงอายุเพื่อเขียนแผนการดูแลให้เหมาะสมกับแต่ละรายของ
กลุ่มผู้เดินทางท่องเที่ยว

2. มีรูปแบบบริการที่ให้บริการโดย Caregiver เป็นบุคลากรที่ให้การดูแลช่วยเหลือเบื้องต้น
แก่ผู้สูงอายุเช่น การวัดความดัน การเจาะเลือดดูเบาหวาน การทำแผลเมื่อบาดเจ็บจาก
อุบัติเหตุ รวมถึงการช่วยชีวิตหรือการปฐมพยาบาลเบื้องต้นในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินต่างๆ

3. การจัดทำแผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพแบบพักค้าง
4. สังเกตพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ของผู้สูงอายุ ระหว่างการเดินทางและบันทึกเป็นรายงาน
5. ส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุทุกด้าน ตลอดจนดูแลสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ
6. เขียนรายงานการปฏิบัติงานและจดบันทึกตลอดการเดินทางเพื่อการประเมินหลังจบกิจกรรมการ

เดินทางท่องเที่ยว
7. กรณีที่เลือกอาหารให้ผู้สูงอายุ ต้องแจ้งข้อจำกัดต่าง ๆ ของผู้สูงอายุ เช่น โรคประจำตัว เครื่องปรุงที่ใช้

ประกอบอาหาร หรือสิ่งที่ผู้สูงอายุแพ้ แจ้งข้อมูลเหล่านี้ให้ผู้ประกอบอาหารให้ผู้สูงอายุได้รับทราบ
8. ส่งต่อผู้สูงอายุกรณีที่พบว่ามีเหตุฉุกเฉิน หรือการเจ็บป่วย หรือบาดเจ็บเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุตามระบบ

การส่งต่อและวิธีการอย่างถูกต้อง
9. จัดทำรายงานผลการดูแลผู้สูงอายุตลอด การเดินทางท่องเที่ยว เพื่อรายงานต่อหัวหน้าหรือผู้รับผิดชอบ

การจัดโปรแกรมทัวร์
"ผู้สูงอายุ" กำลังกลายเป็นตลาดใหม่ที่ธุรกิจด้านการท่องเที่ยวของหลายประเทศให้ความสำคัญและตื่นตัว
สำหรับประเทศไทยนั้น ตลาดกลุ่มผู้สูงอายุก็ถือว่าเป็นตลาดที่น่าสนใจและควรให้ความสำคัญ เนื่องจากเป็นตลาดที่
ผู้บริโภคมีอำนาจในการซื้อค่อนข้างสูงโดยมีการประมาณการว่ามีอำนาจการซื้อสูงกว่า GenX และ Millennial ถึง
1.5 และ 3 เท่า ตามลำดับ แต่สินค้าต้องมีคุณภาพและความปลอดภัยเป็นสำคัญ ซึ่งกลุ่มนักท่องเที่ยวแต่ละกลุ่ม
จะมีความต้องการและพฤติกรรมแตกต่างกันออกไปเช่นกันกับกลุ่มนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุ มติชนออนไลน์ (2560)
ได้ระบุว่านักท่องเที่ยววัยเกษียณชาวไทยให้ความสำคัญกับการท่องเที่ยวเชิงสันทนาการ ซึ่งได้สัมผัสวิถีธรรมชาติ
ของคนท้องถิ่นอย่างไม่เร่งรีบ และทำให้เกิดการกระจายรายได้สู่คนในท้องถิ่น นอกจากนี้ยังนิยมท่องเที่ยวนอก
ฤดูกาลเพื่อหลีกเลี่ยงความแออัดโดยเลือกที่พักที่สะอาด ปลอดภัย สะดวกสบาย

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล

27

ภาคผนวก ก

27 ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มี
ภ า ว ะ พึ่ ง พิ ง

29 แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
ในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
แ บ บ พั ก ค้ า ง

48 ข้อมูลผู้สูงอายุ
และตารางคำนวนแคลอรี
อาหารสำหรับผู้สูงอายุ

ลิขสิทธิ์หลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพแบบพักค้าง ระหว่างวันพุธที่ 15 – วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2565

Itinerary Trip………เพชรบุรี - ประจวบคีรีขันธ์ (3 วัน 2 คืน)………………………………………………………………………………………...

ผู้สูงอายุรายที่ 1 ชื่อ-นามสกุล……...……นายชอบ รักธรรมชาติ (นามสมมุติ).......อายุ.......64....ปี..........ส่วนสูง.....175.....เซนติเมตร........น้ำหนัก..........80....กิโลกรัม

โรคประจำตัว.........ความดันโลหิตสูง, ไขมันในเลือดสูง..……รักษาที่........โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ........แพทย์ผู้รักษา........นพ. มนัส ลีลาวรวงศ์......โทร. 086-897-7585

ยาที่ใช้ 1) Losartan (50 mg) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 เวลาหลังอาหารเช้า 2) Vit B-1-6-12 รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 เวลา หลังอาหารเช้า

3) Amlodipine (10 mg) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 เวลาหลังอาหารเช้า 4) Simvastatin (10 mg) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 เวลา หลังอาหารเย็น

กรณีฉุกเฉินติดต่อ 1) นางรัก ธรรมชาติ (นามสมมุติ) เกี่ยวข้องเป็น ภรรยา โทร.081-255-0278 2) น.ส. แพรไหม รักธรรมชาติ (นามสมมุติ) เกี่ยวข้องเป็น บุตรสา โทร. 089-482-0430

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุรายวันในการท่องเที่ยว วันพุธที่ 15 มิถุนายน 2565 สถานที่ กรุงเทพฯ-อ. เมือง จ. เพชรบุรี-อ. หัวหิน และ อ. ปราณบุรี จ. ประจวบคีรีขันธ์

24 การประเมิน สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล
29 ก่อนการเดินทางวันนี้ ระหว่างการเดินทางวันนี้ เมื่อเสร็จสิ้นการเดินทางวันนี้

การมองเห็น สายตายาว มองเห็นมัวเล็กน้อย ใส่แว่นตลอด สายตายาว ไม่แสบตา ใส่แว่นตลอด สายตายาว ไม่บ่นปวดตา

การได้ยิน ชัดเจน ชัดเจน ชัดเจน

ฟันและการรับรส ไม่มีฟันปลอม ไม่มีฟันโยก ไม่มีฟันปลอม ไม่มีฟันโยก ไม่มีฟันปลอม ไม่มีฟันโยก

ผิวและการสัมผัส รับรู้ร้อนหนาวได้ปกติ -ฝ่าเท้าขวาโดนเปลือกหอยบาด มีแผลตื้นๆ ยาว แผลไม่มีเลือดซึม ปิดผ้าก๊อซและพลาสเตอร์กันน้ำไว้


ประมาณ1*1 cm มีเลือดซึมนิดหน่อย ไม่บ่นปวดแผล


-ให้การพยาบาลโดยทำแผลให้ แผลแห้งดี ไม่บ่นปวด

การเคลื่อนไหวร่างกาย ปกติ ไม่บ่นปวดเข่า ไม่ปวดเข่า ปกติ ปวดเข่าขวาเล็กน้อย

อาการที่ต้องระวังเป็นพิเศษ ความดันโลหิตสูง ความดันปกติ ไม่มีเหนื่อย น้ำตาลปกติ วัดความดันโลหิตปกติ

สัญญาณชีพ: BP, T, P, R, O2Sat 120/72, 36.5 c , 80, 16, 98% 120/68, 37c, 84, 18, 98% 131/68, 36.5 c, 84, 18, 99%

อื่นๆ -การระวังมื้ออาหารที่อาจรอนาน, หิว -อาหารมาทันมื้อรับประทานยาในแต่ละมื้อ -ปกติ พักผ่อนได้ตลอดวัน ไม่มีแน่นท้อง
-การจำกัดอาหารที่เหมาะสม -การรับประทานอาหารปกติ -สดชื่นแจ่มใส

ผู้ดูแล 1. นายอรรถสิทธิ์ ศรีโชติ 2. พว. กิตติมา มุสิกวัด

ลิขสิทธิ์หลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพแบบพักค้าง ระหว่างวันพุธที่ 15–วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2565

Itinerary Trip………เพชรบุรี–ประจวบคีรีขันธ์ (3 วัน 2 คืน)………………………………………………………………………………………...

ผู้สูงอายุรายที่ 1 ชื่อ-นามสกุล……...……นายชอบ รักธรรมชาติ (นามสมมุติ).......อายุ.......64....ปี..........ส่วนสูง.....175.....เซนติเมตร........น้ำหนัก..........80....กิโลกรัม

โรคประจำตัว.........ความดันโลหิตสูง, ไขมันในเลือดสูง..……รักษาที่........โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ........แพทย์ผู้รักษา........นพ. มนัส ลีลาวรวงศ์......โทร. 086-897-7585

ยาที่ใช้ 1) Losartan (50 mg) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 เวลาหลังอาหารเช้า 2) Vit B-1-6-12 รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 เวลา หลังอาหารเช้า

3) Amlodipine (10 mg) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 เวลาหลังอาหารเช้า 4) Simvastatin (10 mg) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 เวลา หลังอาหารเย็น

กรณีฉุกเฉินติดต่อ 1) นางรัก ธรรมชาติ (นามสมมุติ) เกี่ยวข้องเป็น ภรรยา โทร.081-255-0278 2) น.ส. แพรไหม รักธรรมชาติ (นามสมมุติ) เกี่ยวข้องเป็น บุตรสา โทร. 089-482-0430

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุรายวันในการท่องเที่ยว วันพฤหัสบดีที่ 16 มิถุนายน 2565 สถานที่ อ. ปราณบุรี และ อ. หัวหิน จ. ประจวบคีรีขันธ์

24 การประเมิน สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล
30 ก่อนการเดินทางวันนี้ ระหว่างการเดินทางวันนี้ เมื่อเสร็จสิ้นการเดินทางวันนี้
การมองเห็น
การได้ยิน สายตายาว มองเห็นมัวเล็กน้อย ใส่แว่นตลอด ปกติ ใส่แว่นทั้งวัน ตาไม่ปวด สายตายาว ไม่บ่นปวดตา

ชัดเจน ปกติ ชัดเจน ชัดเจน

ฟันและการรับรส ไม่มีฟันปลอม ไม่มีฟันโยก ปกติ รับประทานอาหารได้ ไม่มีฟันปลอม ไม่มีฟันโยก
ผิวและการสัมผัส รับรู้ร้อนหนาวได้ปกติ ไม่มีผื่นคัน
การเคลื่อนไหวร่างกาย ปกติ ไม่บ่นปวดเข่า -ไม่มีผื่นคัน ปกติ ไม่บ่นปวดขา
-ไม่มีบาดแผล

ปกติ ไม่บ่นปวดขา

อาการที่ต้องระวังเป็นพิเศษ ความดันโลหิตสูง ความดันโลหิตปกติ ความดันโลหิตปกติ
สัญญาณชีพ: BP, T, P, R, O2Sat 120/72, 36.5 c, 80, 16, 98% 132/78, 36.2 c, 72, 16, 99% 130/76, 36.5 c, 74, 16, 98%

อื่นๆ -การระวังมื้ออาหารที่อาจรอนาน, หิว -ไม่มีแน่นท้อง -ไม่มีแน่นท้อง

-การจำกัดอาหารที่เหมาะสม -ไม่ปวดศีรษะ -ไม่ปวดศีรษะ



-ไม่มีพลัดตกหกล้ม


-พักผ่อนเต็มที่

ผู้ดูแล 1. นายอรรถสิทธิ์ ศรีโชติ 2. พว. กิตติมา มุสิกวัด

ลิขสิทธิ์หลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพแบบพักค้าง ระหว่างวันพุธที่ 15–วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2565

Itinerary Trip………เพชรบุรี–ประจวบคีรีขันธ์ (3 วัน 2 คืน)………………………………………………………………………………………...

ผู้สูงอายุรายที่ 1 ชื่อ-นามสกุล……...……นายชอบ รักธรรมชาติ (นามสมมุติ).......อายุ.......64....ปี..........ส่วนสูง.....175.....เซนติเมตร........น้ำหนัก..........80....กิโลกรัม

โรคประจำตัว.........ความดันโลหิตสูง, ไขมันในเลือดสูง..……รักษาที่........โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ........แพทย์ผู้รักษา........นพ. มนัส ลีลาวรวงศ์......โทร. 086-897-7585

ยาที่ใช้ 1) Losartan (50 mg) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 เวลาหลังอาหารเช้า 2) Vit B-1-6-12 รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 เวลา หลังอาหารเช้า

3) Amlodipine (10 mg) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 เวลาหลังอาหารเช้า 4) Simvastatin (10 mg) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 เวลา หลังอาหารเย็น

กรณีฉุกเฉินติดต่อ 1) นางรัก ธรรมชาติ (นามสมมุติ) เกี่ยวข้องเป็น ภรรยา โทร.081-255-0278 2) น.ส. แพรไหม รักธรรมชาติ (นามสมมุติ) เกี่ยวข้องเป็น บุตรสา โทร. 089-482-0430

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุรายวันในการท่องเที่ยว วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2565 สถานที่ อ. หัวหิน จ. ประจวบคีรีขันธ์-อ. บ้านลาด และ อ. เขาย้อย จ. เพชรบุรี-กรุงเทพฯ

24 การประเมิน สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล
31 ก่อนการเดินทางวันนี้ ระหว่างการเดินทางวันนี้ เมื่อเสร็จสิ้นการเดินทางวันนี้

การมองเห็น สายตายาว มองเห็นมัวเล็กน้อย ใส่แว่นตลอด ปกติ ใส่แว่นทั้งวัน ตาไม่ปวด ปกติ ไม่บ่นปวดตา

การได้ยิน ชัดเจน ปกติ ชัดเจน ปกติ

ฟันและการรับรส ไม่มีฟันปลอม ไม่มีฟันโยก ปกติ รับประทานอาหารได้ ปกติ รับประทานอาหารได้

ผิวและการสัมผัส รับรู้ร้อนหนาวได้ปกติ -ไม่มีผื่นคัน -ไม่มีผื่นคัน
-มีเหงื่อออกเท้า

การเคลื่อนไหวร่างกาย ปกติ ไม่บ่นปวดเข่า ปกติ ไม่บ่นปวดขา ปกติ ไม่บ่นปวดขา

อาการที่ต้องระวังเป็นพิเศษ ความดันโลหิตสูง ความดันโลหิตปกติ ความดันโลหิตปกติ

สัญญาณชีพ: BP, T, P, R, O2Sat 120/72, 36.5 c , 80, 16, 98% 132/78, 36.2 c, 72, 16, 99% 130/76, 36.5 c, 74, 16, 98%

อื่นๆ -การระวังมื้ออาหารที่อาจรอนาน, หิว -ไม่มีแน่นท้อง -ไม่มีแน่นท้อง
-การจำกัดอาหารที่เหมาะสม -ไม่ปวดศีรษะ -ไม่มีปวดศีรษะ
-ไม่มีพลัดตกหกล้มและพักผ่อนเต็มที่

ผู้ดูแล 1. นายอรรถสิทธิ์ ศรีโชติ 2. พว. กิตติมา มุสิกวัด

ลิขสิทธิ์หลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพแบบพักค้าง ระหว่างวันพุธที่ 15–วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2565

Itinerary Trip………เพชรบุรี–ประจวบคีรีขันธ์ (3 วัน 2 คืน)………………………………………………………………………………………...

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล ผู้สูงอายุรายที่ 2 ชื่อ-นามสกุล……นางรัก ธรรมชาติ (นามสมมุติ) อายุ………63…ปี….............................…ส่วนสูง............165.....เซนติเมตร..........น้ำหนัก...... 80 กิโลกรัม
โรคประจำตัว…เบาหวาน, ความดันโลหิตสูง, ไขมันในเลือดสูง… รักษาที่ โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ....แพทย์ผู้รักษา....นพ. อนพัทย์ นิธิธรรมลักษณ์....โทร. 0963638575
24 ยาที่ใช้ 1) Metformin (500 mg) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้งหลังอาหารเช้า 2) Pitavastatin (2 mg) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้งหลังอาหารเช้า 3) Ezentira รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้งหลังอาหารเช้า
32
4) Manidipine (20 mg) รับประทานครั้งละ ½ เม็ด วันละ 1 ครั้งหลังอาหารเช้า 5) Losartan (80 mg) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้งหลังอาหารเช้า
กรณีฉุกเฉินติดต่อ 1) นายชอบ ธรรมชาติ (นามสมมุติ) เกี่ยวข้องเป็น สามี โทร. 089-895-0671 2) นายมานะ ธรรมชาติ (นามสมมุติ) เกี่ยวข้องเป็น บุตรชาย โทร. 085-833-2584

แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุรายวันในการท่องเที่ยว วันพุธที่ 15 มิถุนายน 2565 สถานที่ กรุงเทพฯ-อ. เมือง จ. เพชรบุรี-อ. หัวหิน และ อ. ปราณบุรี จ. ประจวบคีรีขันธ์

การประเมิน สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล
ก่อนการเดินทางวันนี้ ระหว่างการเดินทางวันนี้ เมื่อเสร็จสิ้นการเดินทางวันนี้

การมองเห็น สายตายาว, ใส่แว่นตาตลอด สายตายาว ใส่แว่นตลอดไม่ขาดตา ไม่บ่นปวดตา ใส่แว่นตลอดเวลา

การได้ยิน ประสาทหูข้างขวาเสื่อม ได้ยินไม่ชัด หูข้างขวาได้ยินไม่ชัด หูข้างขวาได้ยินไม่ชัด

ฟันและการรับรส รับรสได้ดี ฟันปกติ เคี้ยวอาหารได้ รับรสได้ดี ฟันปกติ เคี้ยวอาหารได้ รับรสได้ดี ฟันปกติ เคี้ยวอาหารได้

ผิวและการสัมผัส ปกติ ไม่มีแผลหรือผิวหนังพุพอง ปกติ เหงื่อออกปกติ ปกติ เหงื่อออกปกติ

การเคลื่อนไหวร่างกาย ปวดเข่าเล็กน้อย ปวดขาเล็กน้อย ไม่บ่นปวดเข่า พักเป็นระยะ ไม่บ่นปวดขา

อาการที่ต้องระวังเป็นพิเศษ -ภาวะน้ำตาลต่ำ ปกติ ไม่มีภาวะน้ำตาลต่ำ -ปกติ ไม่บ่นปวดเข่า
-ปวดขาเวลาเดินไกล -รับประทานอาหารครบทุกมื้อ

สัญญาณชีพ: BP, T, P, R, O2Sat 130/90, 36.5 c, 76, 18, 99% 132/74, 37 c, 82, 18, 98% 134/76, 37.2 c, 76, 18, 98%

-การเดินข้ามถนนต้องระมัดระวังจากหูข้างขวาได้ยินไม่ชัด -เดินได้ปกติ ไม่มีสะดุดล้ม -ไม่มีอาการผิดปกติ

อื่นๆ -เลือกรองเท้าที่เหมาะสม -ไม่มีอาการปวดศีรษะจากสภาพอากาศ -สดชื่น แจ่มใส
-อาจเกิดภาวะน้ำตาลต่ำได้ควรรับประทานอาหารให้ตรงเวลา -ความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ปกติ -รับประทานอาหารได้ตามที่จัดไว้

-จำกัดอาหารไขมันสูง -ชื่นชอบในกิจกรรมที่จัดให้

ผู้ดูแล 1. น.ส. กมลทิพย์ แซ่เล้า 2. น.ส. นุสรา เด่นซอ

ลิขสิทธิ์หลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพแบบพักค้าง ระหว่างวันพุธที่ 15–วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2565

Itinerary Trip………เพชรบุรี–ประจวบคีรีขันธ์ (3 วัน 2 คืน)………………………………………………………………………………………...

ผู้สูงอายุรายที่ 2 ชื่อ-นามสกุล……นางรัก ธรรมชาติ (นามสมมุติ) อายุ………63…ปี….............................…ส่วนสูง............165.....เซนติเมตร..........น้ำหนัก...... 80 กิโลกรัม
โรคประจำตัว…เบาหวาน, ความดันโลหิตสูง, ไขมันในเลือดสูง… รักษาที่ โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ....แพทย์ผู้รักษา....นพ. อนพัทย์ นิธิธรรมลักษณ์....โทร. 0963638575
ยาที่ใช้ 1) Metformin (500 mg) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้งหลังอาหารเช้า 2) Pitavastatin (2 mg) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้งหลังอาหารเช้า 3) Ezentira รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้งหลังอาหารเช้า

4) Manidipine (20 mg) รับประทานครั้งละ ½ เม็ด วันละ 1 ครั้งหลังอาหารเช้า 5) Losartan (80 mg) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้งหลังอาหารเช้า
กรณีฉุกเฉินติดต่อ 1) นายชอบ ธรรมชาติ (นามสมมุติ) เกี่ยวข้องเป็น สามี โทร. 089-895-0671 2) นายมานะ ธรรมชาติ (นามสมมุติ) เกี่ยวข้องเป็น บุตรชาย โทร. 085-833-2584

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุรายวันในการท่องเที่ยว วันพฤหัสบดีที่ 16 มิถุนายน 2565 สถานที่ อ. ปราณบุรี และ อ. หัวหิน จ. ประจวบคีรีขันธ์

24 การประเมิน สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล
33 ก่อนการเดินทางวันนี้ ระหว่างการเดินทางวันนี้ เมื่อเสร็จสิ้นการเดินทางวันนี้

การมองเห็น สายตายาว, ใส่แว่นตาตลอด สายตายาว ใส่แว่นตลอดไม่ขาดตา ไม่บ่นปวดตา ใส่แว่นตลอดเวลา

การได้ยิน ประสาทหูข้างขวาเสื่อม ได้ยินไม่ชัด หูข้างขวาได้ยินไม่ชัด หูข้างขวาได้ยินไม่ชัด

ฟันและการรับรส รับรสได้ดี ฟันปกติ เคี้ยวอาหารได้ รับรสได้ดี ฟันปกติ เคี้ยวอาหารได้ รับรสได้ดี ฟันปกติ เคี้ยวอาหารได้

ผิวและการสัมผัส ปกติ ไม่มีแผลหรือผิวหนังพุพอง ปกติ เหงื่อออกปกติ ปกติ เหงื่อออกปกติ

การเคลื่อนไหวร่างกาย ปวดเข่าเล็กน้อย ปวดขาเล็กน้อย ไม่บ่นปวดเข่า พักเป็นระยะ ไม่บ่นปวดขา

อาการที่ต้องระวังเป็นพิเศษ -ภาวะน้ำตาลต่ำ -ปกติ ไม่มีภาวะน้ำตาลต่ำ -ปกติ นอนพักได้ ไม่บ่นปวดเข่า
-ระวังความดันโลหิตอาจจะสูงเนื่องจากมีกิจกรรมหลากหลาย -ความดันโลหิตปกติ -รับประทานอาหารครบทุกมื้อ

สัญญาณชีพ: BP, T, P, R, O2Sat 127/82, 36.7 c, 80, 16, 98% 132/84, 36.8 c, 82, 18, 99% 130/74, 37.1, 84, 18, 98%

-การเดินข้ามถนนต้องระมัดระวังจากหูข้างขวาได้ยินไม่ชัด -เดินได้ปกติ ไม่มีสะดุดล้ม -ไม่มีอาการผิดปกติ

อื่นๆ -เลือกรองเท้าที่เหมาะสม -ไม่มีอาการปวดศีรษะจากสภาพอากาศ -สดชื่น แจ่มใส
-อาจเกิดภาวะน้ำตาลต่ำได้ควรรับประทานอาหารให้ตรงเวลา -ความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ปกติ -รับประทานอาหารได้ตามที่จัดไว้

-จำกัดอาหารไขมันสูง
-ชื่นชอบในกิจกรรมที่จัดให้

ผู้ดูแล 1. น.ส. กมลทิพย์ แซ่เล้า 2. น.ส. นุสรา เด่นซอ

ลิขสิทธิ์หลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพแบบพักค้าง ระหว่างวันพุธที่ 15–วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2565
Itinerary Trip………เพชรบุรี–ประจวบคีรีขันธ์ (3 วัน 2 คืน)………………………………………………………………………………………...

ผู้สูงอายุรายที่ 2 ชื่อ-นามสกุล……นางรัก ธรรมชาติ (นามสมมุติ) อายุ………63…ปี….............................…ส่วนสูง............165.....เซนติเมตร..........น้ำหนัก...... 80 กิโลกรัม
โรคประจำตัว…เบาหวาน, ความดันโลหิตสูง, ไขมันในเลือดสูง… รักษาที่ โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ฯ....แพทย์ผู้รักษา....นพ. อนพัทย์ นิธิธรรมลักษณ์....โทร. 0963638575
ยาที่ใช้ 1) Metformin (500 mg) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้งหลังอาหารเช้า 2) Pitavastatin (2 mg) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้งหลังอาหารเช้า 3) Ezentira รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้งหลังอาหารเช้า

4) Manidipine (20 mg) รับประทานครั้งละ ½ เม็ด วันละ 1 ครั้งหลังอาหารเช้า 5) Losartan (80 mg) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้งหลังอาหารเช้า
กรณีฉุกเฉินติดต่อ 1) นายชอบ ธรรมชาติ (นามสมมุติ) เกี่ยวข้องเป็น สามี โทร. 089-895-0671 2) นายมานะ ธรรมชาติ (นามสมมุติ) เกี่ยวข้องเป็น บุตรชาย โทร. 085-833-2584

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุรายวันในการท่องเที่ยว วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2565 สถานที่ อ. หัวหิน จ. ประจวบคีรีขันธ์-อ. บ้านลาด และ อ. เขาย้อย จ. เพชรบุรี-กรุงเทพฯ

24 การประเมิน สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล
34 ก่อนการเดินทางวันนี้ ระหว่างการเดินทางวันนี้ เมื่อเสร็จสิ้นการเดินทางวันนี้

การมองเห็น สายตายาว, ใส่แว่นตาตลอด สายตายาว ใส่แว่นตลอดไม่ขาดตา ไม่บ่นปวดตา ใส่แว่นตลอดเวลา

การได้ยิน ประสาทหูข้างขวาเสื่อม ได้ยินไม่ชัด หูข้างขวาได้ยินไม่ชัด หูข้างขวาได้ยินไม่ชัด

ฟันและการรับรส รับรสได้ดี ฟันปกติ เคี้ยวอาหารได้ รับรสได้ดี ฟันปกติ เคี้ยวอาหารได้ รับรสได้ดี ฟันปกติ เคี้ยวอาหารได้

ผิวและการสัมผัส ปกติ ไม่มีแผลหรือผิวหนังพุพอง ปกติ เหงื่อออกปกติ ปกติ เหงื่อออกปกติ

การเคลื่อนไหวร่างกาย ปวดเข่าเล็กน้อย ปวดขาเล็กน้อย ไม่บ่นปวดเข่า พักเป็นระยะ ไม่บ่นปวดขา

อาการที่ต้องระวังเป็นพิเศษ -ภาวะน้ำตาลต่ำ ปกติ ไม่มีภาวะน้ำตาลต่ำ -ปกติ ไม่บ่นปวดเข่า
-ปวดขาเวลาเดินไกล
-รับประทานอาหารครบทุกมื้อ

สัญญาณชีพ: BP, T, P, R, O2Sat 136/84, 36.9 c, 82, 16, 98% 130/92, 37.2 c, 82, 16, 98% 132/78, 36.7 c, 80, 18, 98%

อื่นๆ -ดูแลเฝ้าระวังเรื่องปวดศีรษะ ลมแดด เหนื่อยล้าจากการเดิน -เดินได้ปกติ ไม่มีสะดุดล้ม -ไม่มีอาการผิดปกติ
-ดูแลเรื่องการไม่อยู่ที่แจ้งเป็นเวลานานๆ ระวังเรื่องรองเท้าที่ -ไม่มีอาการปวดศีรษะจากสภาพอากาศ -ไม่มีนำ้ตาลสูงหรือตำ่
สวมใส่สบาย -ความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ปกติ -ไม่เป็นลมแดด



ผู้ดูแล 1. น.ส. กมลทิพย์ แซ่เล้า 2. น.ส. นุสรา เด่นซอ

ลิขสิทธิ์หลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพแบบพักค้าง ระหว่างวันพุธที่ 15–วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2565

Itinerary Trip………เพชรบุรี–ประจวบคีรีขันธ์ (3 วัน 2 คืน)………………………………………………………………………………………...

ผู้ผู้สูงอายุรายที่ 3 ชื่อ-นามสกุล……นางสง่า มานะดี (นามสมมุติ)……อายุ......……61…......…ปี…..............................…ส่วนสูง..........152......เซนติเมตร ...น้ำหนัก..........48....กิโลกรัม

โรคประจำตัว……ตาเสื่อม, ข้อเข่าเสื่อม…....................................…รักษาที่…โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์.............แพทย์ผู้รักษา....นพ. อุทัย เจริญกิจวัฒน.......โทร. 02-289-7000

ยาที่ใช้ 1) Karyuni 0.005%, Vtslube………หยอดตาเวลาเคืองตา…………………………………………………….....……………………………………………………….………………........................………..........

กรณีฉุกเฉินติดต่อ 1) นางฉวี มานะดี....เกี่ยวข้องเป็น....มารดา....โทร. 064-117-9895 2) นางสาวกิตติมา มุสิกวัด เกี่ยวข้องเป็น..เพื่อนร่วมงาน....โทร. 095-3650848

แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุรายวันในการท่องเที่ยว วันพุธที่ 15 มิถุนายน 2565 สถานที่ กรุงเทพฯ-อ. เมือง จ. เพชรบุรี-อ. หัวหิน และ อ. ปราณบุรี จ. ประจวบคีรีขันธ์

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล การประเมิน สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล
ก่อนการเดินทางวันนี้ ระหว่างการเดินทางวันนี้ เมื่อเสร็จสิ้นการเดินทางวันนี้
24
35 การมองเห็น ปกติ สายตายาว ตาแห้ง ปกติ ตาแห้งเล็กน้อย ปกติ ตาแห้งเล็กน้อย

การได้ยิน ปกติ ปกติ ปกติ

ฟันและการรับรส ปกติ ปกติ ปกติ

ผิวและการสัมผัส ปกติ ปกติ ปกติ

การเคลื่อนไหวร่างกาย ปกติปวดเข่าซ้าย ปกติไม่บ่นปวดเข่า ปกติไม่บ่นปวดเข่า

อาการที่ต้องระวังเป็นพิเศษ -เดินลง-ขึ้นบันไดอาจทำให้ปวดเข่าได้ -ระวังการปวดเข่า -ไม่มีอาการปวดเข่า มีแต่ตึงกล้ามเนื้อเล็กน้อย
-การเตรียมแว่นกันแดดและหมวก -ระวังการระคายเคืองตา -ไม่มีอาการตาแห้ง
-การเตรียมยาหยอดตาติดตัว -มียาหยอดยาไว้ติดตัว


สัญญาณชีพ: BP, T, P, R, O2Sat 107/72, 36.2 c, 72, 16, 99% 108/70, 36.5 c, 74, 18, 98% 112/72, 36.5 c, 72, 16, 99%

อื่นๆ -ตาแห้ง ต้องคอยดูแลให้ใส่แว่นกันแดดกลางแจ้ง -ตาไม่แห้ง ใส่แว่นตากันแดดขณะออกกลางแจ้ง -ตาไม่แห้ง ใส่แว่นตากันแดดขณะออกกลางแจ้ง
-หยอดตาเวลาที่เคืองตา -ไม่บ่นเคืองตา -ไม่บ่นเคืองตา
-การเดินทางทุกวันไม่มีหยุดพักอาจทำให้เกิดปวดเข่าได้ -ไม่บ่นปวดเข่า -ไม่บ่นปวดเข่า
-การเดินทางควรใช้ทางเรียบ ไม่ขรุขระ


ผู้ดูแล น.ส. พรนพัส เกษมทวีทรัพย์

ลิขสิทธิ์หลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพแบบพักค้าง ระหว่างวันพุธที่ 15–วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2565

Itinerary Trip………เพชรบุรี–ประจวบคีรีขันธ์ (3 วัน 2 คืน)………………………………………………………………………………………...

ผู้สูงอายุรายที่ 3 ชื่อ-นามสกุล……นางสง่า มานะดี (นามสมมุติ)……อายุ......……61…......…ปี…..............................…ส่วนสูง..........152......เซนติเมตร ...น้ำหนัก..........48....กิโลกรัม

โรคประจำตัว……ตาเสื่อม, ข้อเข่าเสื่อม…....................................…รักษาที่…โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์.............แพทย์ผู้รักษา....นพ. อุทัย เจริญกิจวัฒน.......โทร. 02-289-7000

ยาที่ใช้ 1) Karyuni 0.005%, Vtslube………หยอดตาเวลาเคืองตา…………………………………………………………………………………………………………….………………........................………..........

กรณีฉุกเฉินติดต่อ 1) นางฉวี มานะดี....เกี่ยวข้องเป็น....มารดา....โทร. 064-117-9895 2) นางสาวกิตติมา มุสิกวัด เกี่ยวข้องเป็น..เพื่อนร่วมงาน....โทร. 095-3650848

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุรายวันในการท่องเที่ยว วันพฤหัสบดีที่ 16 มิถุนายน 2565 สถานที่ อ. ปราณบุรี และ อ. หัวหิน จ. ประจวบคีรีขันธ์

24 การประเมิน สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล
36 ก่อนการเดินทางวันนี้ ระหว่างการเดินทางวันนี้ เมื่อเสร็จสิ้นการเดินทางวันนี้
การมองเห็น
การได้ยิน ปกติ สายตายาว ตาแห้ง ปกติ ปกติ
ฟันและการรับรส ปกติ
ผิวและการสัมผัส ปกติ ปกติ ปกติ
การเคลื่อนไหวร่างกาย ปกติ
อาการที่ต้องระวังเป็นพิเศษ ปกติ ปกติ ปกติปวดเข่าซ้าย
สัญญาณชีพ: BP, T, P, R, O2Sat เดินลง-ขึ้นบันได
ปกติ ปกติ 110/72, 36 c, 72, 16, 99%
อื่นๆ -ไม่มีอาการระคายเคืองตา
ปกติปวดเข่าซ้าย ปกติปวดเข่าซ้าย -ไม่บ่นปวดเข่า

เดินลง-ขึ้นบันได เดินลง-ขึ้นบันได

107/72, 36.2 c, 72, 16, 99% 110/74, 36.3 c, 74, 16, 98%

-ไม่มีอาการระคายเคืองตา -ปกติ ไม่ปวดเข่า
-ไม่บ่นปวดเข่า -ได้เข้าที่พักและมีกิจกรรมเพลิดเพลิน

ผู้ดูแล น.ส. พรนพัส เกษมทวีทรัพย์

ลิขสิทธิ์หลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพแบบพักค้าง ระหว่างวันพุธที่ 15–วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2565

Itinerary Trip………เพชรบุรี–ประจวบคีรีขันธ์ (3 วัน 2 คืน)………………………………………………………………………………………...

ผู้สูงอายุรายที่ 3 ชื่อ-นามสกุล……นางสง่า มานะดี (นามสมมุติ)……อายุ......……61…......…ปี…..............................…ส่วนสูง..........152......เซนติเมตร ...น้ำหนัก..........48....กิโลกรัม

โรคประจำตัว……ตาเสื่อม, ข้อเข่าเสื่อม…....................................…รักษาที่…โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์...........แพทย์ผู้รักษา....นพ. อุทัย เจริญกิจวัฒน.......โทร. 02-289-7000

ยาที่ใช้ 1) Karyuni 0.005%, Vtslube………หยอดตาเวลาเคืองตา…………………………………………....………………………………………………………………….………………........................………..........

กรณีฉุกเฉินติดต่อ 1) นางฉวี มานะดี....เกี่ยวข้องเป็น....มารดา....โทร. 064-117-9895 2) นางสาวกิตติมา มุสิกวัด เกี่ยวข้องเป็น..เพื่อนร่วมงาน....โทร. 095-3650848

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุรายวันในการท่องเที่ยว วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2565 สถานที่ อ. หัวหิน จ. ประจวบคีรีขันธ์-อ. บ้านลาด และ อ. เขาย้อย จ. เพชรบุรี-กรุงเทพฯ

24 การประเมิน สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล
37 ก่อนการเดินทางวันนี้ ระหว่างการเดินทางวันนี้ เมื่อเสร็จสิ้นการเดินทางวันนี้
การมองเห็น
การได้ยิน ปกติ สายตายาว ตาแห้ง ปกติ ปกติ
ฟันและการรับรส ปกติ
ผิวและการสัมผัส ปกติ ปกติ ปกติ
ปกติ
การเคลื่อนไหวร่างกาย ปกติ ปกติ
ปกติ
อาการที่ต้องระวังเป็นพิเศษ ปกติ ปกติ
สัญญาณชีพ: BP, T, P, R, O2Sat ปกติ
อื่นๆ ปกติ ไม่ปวดเข่าซ้าย กล้ามเนื้อผ่อนคลายจากการ ปกติ 110/72, 36.5 c, 72, 16, 98%
เข้าสปา ปกติ

เดินลง-ขึ้นบันได ปกติ

107/72, 36.2 c, 72, 16, 99% 112/74, 36.5 c, 76, 16, 99%

ปกติ ปกติ

ผู้ดูแล น.ส. พรนพัส เกษมทวีทรัพย์

ลิขสิทธิ์หลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพแบบพักค้าง ระหว่างวันพุธที่ 15–วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2565

Itinerary Trip………เพชรบุรี–ประจวบคีรีขันธ์ (3 วัน 2 คืน)………………………………………………………………………………………...

ผู้สูงอายุรายที่ 3 ชื่อ-นามสกุล……นางสายใจ สวยดี (นามสมมุติ)……อายุ......……62…......…ปี…..............................…ส่วนสูง..........165......เซนติเมตร ...น้ำหนัก..........55....กิโลกรัม

โรคประจำตัว…........................…ไม่มี…....................................…รักษาที่….........................ไม่มี...........................แพทย์ผู้รักษา..........ไม่มี...................โทร. .........ไม่มี..............

ยาที่ใช้ ................................................................................................ไม่มี...…………………………………………………………………………………………………………….………………………..........

กรณีฉุกเฉินติดต่อ 1) นายพีรพงศ์ปภัสเลิศพงศ์.....เกี่ยวข้องเป็น...พี่ชาย.......โทร. 085-255-7905 2) นางสายสมร...เกี่ยวข้องเป็น....พี่สะใภ้.....โทร. 087-682-9633

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุรายวันในการท่องเที่ยว วันพุธที่ 15 มิถุนายน 2565 สถานที่ กรุงเทพฯ-อ. เมือง จ. เพชรบุรี-อ. หัวหิน และ อ. ปราณบุรี จ. ประจวบคีรีขันธ์

24 การประเมิน สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล
38 ก่อนการเดินทางวันนี้ ระหว่างการเดินทางวันนี้ เมื่อเสร็จสิ้นการเดินทางวันนี้

การมองเห็น สายตายาว ใส่แว่นสายตา สายตายาว ใส่แว่นสายตา สายตายาว ใส่แว่นสายตา

การได้ยิน ปกติ ปกติ ปกติ

ฟันและการรับรส ปกติ ปกติ ปกติ

ผิวและการสัมผัส ปกติ ปกติ ปกติ

การเคลื่อนไหวร่างกาย ปกติ ปกติ ปกติ

อาการที่ต้องระวังเป็นพิเศษ อาการปวดเข่าเวลาเดินพื้นที่เป็นเนิน ไม่บ่นปวดเข่า ปกติ

สัญญาณชีพ: BP, T, P, R, O2Sat 130/90, 36 c, 78, 18, 99% 127/84, 36.5 c, 72, 16, 99% 124/82, 36 c, 76, 16, 99%

อื่นๆ -ระมัดระวังอาหารที่มีไขมัน รับประทานแล้วอาจจะ -ไม่มีอาการแน่นท้อง -ปกติ รับประทานอาหารได้ไม่บ่นแน่นท้อง
แน่นท้อง -ไม่มีสะดุด -ไม่มีสะดุดล้ม
-ระวังสะดุด รองเท้าที่ใส่สบาย


ผู้ดูแล น.ส. สิริรัตน์ คำดี

ลิขสิทธิ์หลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพแบบพักค้าง ระหว่างวันพุธที่ 15–วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2565

Itinerary Trip………เพชรบุรี–ประจวบคีรีขันธ์ (3 วัน 2 คืน)………………………………………………………………………………………...

ผู้สูงอายุรายที่ 3 ชื่อ-นามสกุล……นางสายใจ สวยดี (นามสมมุติ)……อายุ......……62…......…ปี…..............................…ส่วนสูง..........165......เซนติเมตร ...น้ำหนัก..........55....กิโลกรัม

โรคประจำตัว…........................…ไม่มี…....................................…รักษาที่….........................ไม่มี...........................แพทย์ผู้รักษา..........ไม่มี...................โทร. .........ไม่มี..............

ยาที่ใช้ ................................................................................................ไม่มี...…………………………………………………………………………………………………………….………………………..........

กรณีฉุกเฉินติดต่อ 1) นายพีรพงศ์ปภัสเลิศพงศ์.....เกี่ยวข้องเป็น...พี่ชาย.......โทร. 085-255-7905 2) นางสายสมร...เกี่ยวข้องเป็น....พี่สะใภ้.....โทร. 087-682-9633

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุรายวันในการท่องเที่ยว วันพฤหัสบดีที่ 16 มิถุนายน 2565 สถานที่ อ. ปราณบุรี และ อ. หัวหิน จ. ประจวบคีรีขันธ์

24 การประเมิน สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล
39 ก่อนการเดินทางวันนี้ ระหว่างการเดินทางวันนี้ เมื่อเสร็จสิ้นการเดินทางวันนี้

การมองเห็น สายตายาว ใส่แว่นสายตา สายตายาว ใส่แว่นสายตา สายตายาว ใส่แว่นสายตา

การได้ยิน ปกติ ปกติ ปกติ

ฟันและการรับรส ปกติ ปกติ ปกติ

ผิวและการสัมผัส ปกติ ปกติ ปกติ

การเคลื่อนไหวร่างกาย ปกติ ปกติ ปกติ

อาการที่ต้องระวังเป็นพิเศษ อาการปวดเข่าเวลาเดินพื้นที่เป็นเนิน ปกติ ปกติ

สัญญาณชีพ: BP, T, P, R, O2Sat 127/86, 36.2 c, 72, 16, 99% 129/78, 36.3 c, 72, 16, 99% 130/90, 36 c, 78, 18, 99%

อื่นๆ -ระมัดระวังอาหารที่มีไขมัน รับประทานแล้วอาจ -ไม่มีอาการแน่นท้อง ปกติ



จะแน่นท้อง -ไม่มีสะดุดล้ม





ผู้ดูแล น.ส. สิริรัตน์ คำดี

ลิขสิทธิ์หลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพแบบพักค้าง ระหว่างวันพุธที่ 15–วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2565

Itinerary Trip………เพชรบุรี–ประจวบคีรีขันธ์ (3 วัน 2 คืน)………………………………………………………………………………………...

ผู้สูงอายุรายที่ 3 ชื่อ-นามสกุล……นางสายใจ สวยดี (นามสมมุติ)……อายุ......……62…......…ปี…..............................…ส่วนสูง..........165......เซนติเมตร ...น้ำหนัก..........55....กิโลกรัม

โรคประจำตัว…........................…ไม่มี…....................................…รักษาที่….........................ไม่มี...........................แพทย์ผู้รักษา..........ไม่มี...................โทร. .........ไม่มี..............

ยาที่ใช้ ................................................................................................ไม่มี...…………………………………………………………………………………………………………….………………………..........

กรณีฉุกเฉินติดต่อ 1) นายพีรพงศ์ปภัสเลิศพงศ์.....เกี่ยวข้องเป็น...พี่ชาย.......โทร. 085-255-7905 2) นางสายสมร...เกี่ยวข้องเป็น....พี่สะใภ้.....โทร. 087-682-9633

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุรายวันในการท่องเที่ยว วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2565 สถานที่ อ. หัวหิน จ. ประจวบคีรีขันธ์-อ. บ้านลาด และ อ. เขาย้อย จ. เพชรบุรี-กรุงเทพฯ

24 การประเมิน สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล
40 ก่อนการเดินทางวันนี้ ระหว่างการเดินทางวันนี้ เมื่อเสร็จสิ้นการเดินทางวันนี้

การมองเห็น สายตายาว ใส่แว่นสายตา สายตายาว ใส่แว่นสายตา สายตายาว ใส่แว่นสายตา

การได้ยิน ปกติ ปกติ ปกติ

ฟันและการรับรส ปกติ ปกติ ปกติ

ผิวและการสัมผัส ปกติ ปกติ ปกติ

การเคลื่อนไหวร่างกาย ปกติ ปกติ ปกติ

อาการที่ต้องระวังเป็นพิเศษ การอยู่ในสถานที่กลางแจ้งอาจทำให้เคืองตา ปกติ ไม่บ่นเคืองตา ปกติ

สัญญาณชีพ: BP, T, P, R, O2Sat 122/84, 36.5 c, 80, 16, 99% 128/76, 36.4 c, 82, 16, 99% 130/76, 36.3 c, 78, 16, 99%

อื่นๆ -เตรียมแว่นกันแดด -ให้ใส่แว่นกันแดด ปกติ

-ใส่รองเท้าที่สวมใส่สบาย -ใส่รองเท้าที่สวมใส่สบาย




ผู้ดูแล น.ส. สิริรัตน์ คำดี

ลิขสิทธิ์หลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพแบบพักค้าง ระหว่างวันพุธที่ 15–วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2565
Itinerary Trip………เพชรบุรี–ประจวบคีรีขันธ์ (3 วัน 2 คืน)………………………………………………………………………………………...

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล ผู้สูงอายุรายที่ 5 ชื่อ-นามสกุล……นางสาวใจดี สุขดี (นามสมมุติ).……………อายุ………64 ปี…........................… ส่วนสูง.......150...........เซนติเมตร.......น้ำหนัก..........60.......กิโลกรัม
โรคประจำตัว….เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันสูง…….......................……รักษาที่…โรงพยาบาลมงกุฏวัฒนะ........แพทย์ผู้รักษา.....นพ. มานะ.. เจริญพรกุล......... โทร. 02-574-5000
24 ยาที่ใช้ 1) Metformin (500 mg) รับประทานครั้งละ 2 เม็ด วันละ 2 ครั้งหลังอาหาร 2) Enarapril (5 mg) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้งหลังอาหารเช้า
41
3) Chlovas (40 mg) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้งก่อนนอน
กรณีฉุกเฉินติดต่อ 1) น.ส. นรัฐวรรณ อุดมเดชะ...เกี่ยวข้องเป็น.หลานสาว....โทร. 094-293-2398 2) น.ส. ฐิตารัตน์.อุดมเดชะ... เกี่ยวข้องเป็น.......หลานสาว.โทร.062-545-5195

แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุรายวันในการท่องเที่ยว วันพุธที่ 15 มิถุนายน 2565 สถานที่ กรุงเทพฯ-อ. เมือง จ. เพชรบุรี-อ. หัวหิน และ อ. ปราณบุรี จ. ประจวบคีรีขันธ์

การประเมิน สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล
ก่อนการเดินทางวันนี้ ระหว่างการเดินทางวันนี้ เมื่อเสร็จสิ้นการเดินทางวันนี้
การมองเห็น
การได้ยิน สายตาดี ไม่ใส่แว่น สายตาดี ไม่ใส่แว่น สายตาดี ไม่ใส่แว่น
ฟันและการรับรส ได้ยินชัดเจน ได้ยินชัดเจน ได้ยินชัดเจน
ผิวและการสัมผัส ใส่ฟันปลอม รับประทานอาหารแข็งไม่ได้ ใส่ฟันปลอม รับประทานอาหารแข็งไม่ได้ ใส่ฟันปลอม รับประทานอาหารแข็งไม่ได้
การเคลื่อนไหวร่างกาย ขี้ร้อนเล็กน้อย เหงื่อออกง่าย ขี้ร้อนเล็กน้อย เหงื่อออกง่าย ขี้ร้อนเล็กน้อย เหงื่อออกง่าย
อาการที่ต้องระวังเป็นพิเศษ ยังกระฉับกระเฉงอยู่ ยังกระฉับกระเฉงอยู่ ยังกระฉับกระเฉงอยู่
สัญญาณชีพ: BP, T, P, R, O2Sat รับประทานยาตามเวลา รับประทานยาตามเวลา รับประทานยาตามเวลา
130/82, 36.2 c, 74, 16, 99% 134/76, 36.5 c, 80, 16, 98% 130/76, 36.3 c, 80, 16, 99%
อื่นๆ -เดินมากๆ เหงื่อท่วมตัว ต้องพักบ่อยๆ -ปกติ มีเหงื่อออกบ้าง
-มีพัดลม หรือพัดเล็กๆ -พักเป็นระยะ ปวดขาเล็กน้อย

ผู้ดูแล 1. น.ส. เสาวนีย์ คำทูล 2. น.ส. ฐิตารัตน์ อุดมเดชะ

ลิขสิทธิ์หลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพแบบพักค้าง ระหว่างวันพุธที่ 15–วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2565

Itinerary Trip………เพชรบุรี–ประจวบคีรีขันธ์ (3 วัน 2 คืน)………………………………………………………………………………………...

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล ผู้สูงอายุรายที่ 5 ชื่อ-นามสกุล……นางสาวใจดี สุขดี (นามสมมุติ).……………อายุ………64 ปี…........................… ส่วนสูง.......150...........เซนติเมตร.......น้ำหนัก..........60.......กิโลกรัม
โรคประจำตัว….เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันสูง…….......................……รักษาที่…โรงพยาบาลมงกุฏวัฒนะ........แพทย์ผู้รักษา.....นพ. มานะ.. เจริญพรกุล......... โทร. 02-574-5000
24 ยาที่ใช้ 1) Metformin (500 mg) รับประทานครั้งละ 2 เม็ด วันละ 2 ครั้งหลังอาหาร 2) Enarapril (5 mg) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้งหลังอาหารเช้า
42
3) Chlovas (40 mg) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้งก่อนนอน
กรณีฉุกเฉินติดต่อ 1) น.ส. นรัฐวรรณ อุดมเดชะ...เกี่ยวข้องเป็น.หลานสาว....โทร. 094-293-2398 2) น.ส. ฐิตารัตน์.อุดมเดชะ... เกี่ยวข้องเป็น.......หลานสาว.โทร.062-545-5195

แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุรายวันในการท่องเที่ยว วันพฤหัสบดีที่ 16 มิถุนายน 2565 สถานที่ อ. ปราณบุรี และ อ. หัวหิน จ. ประจวบคีรีขันธ์

การประเมิน สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล
ก่อนการเดินทางวันนี้ ระหว่างการเดินทางวันนี้ เมื่อเสร็จสิ้นการเดินทางวันนี้
การมองเห็น
การได้ยิน สายตาดี ไม่ใส่แว่น ปกติ ปกติ
ฟันและการรับรส
ผิวและการสัมผัส ได้ยินชัดเจน ปกติ ปกติ
การเคลื่อนไหวร่างกาย
ใส่ฟันปลอม รับประทานอาหารแข็งไม่ได้ ปกติ ปกติ
อาการที่ต้องระวังเป็นพิเศษ
ปกติ ปกติ ปกติ
สัญญาณชีพ: BP, T, P, R, O2Sat
ปวดเข่าเล็กน้อย ปวดเข่าเล็กน้อย ปวดเข่าเล็กน้อย
อื่นๆ
-รับประทานยาตามเวลา -รับประทานยาได้ตามเวลา รับประทานยาครบตามเวลา
-การรับประทานที่เหมาะสมกับโรค -อาหารนิ่มไม่ทำให้ปวดฟัน ฟันปลอมไม่เลื่อนหลุด

132/84, 36.1 c, 76, 18, 99% 134 /76, 36.5 c, 82, 16, 98% 125/78, 36.2 c, 78, 16, 99%

-เดินมากๆ เหงื่อท่วมตัว ต้องพักบ่อยๆ -ปกติ มีเหงื่อออกบ้าง ปวดขาเล็กน้อย
-มีพัดลม หรือพัดเล็กๆ -พักเป็นระยะ

ผู้ดูแล 1. น.ส. เสาวนีย์ คำทูล 2. น.ส. ฐิตารัตน์ อุดมเดชะ

ลิขสิทธิ์หลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพแบบพักค้าง ระหว่างวันพุธที่ 15–วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2565

Itinerary Trip………เพชรบุรี–ประจวบคีรีขันธ์ (3 วัน 2 คืน)………………………………………………………………………………………...

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล ผู้สูงอายุรายที่ 5 ชื่อ-นามสกุล……นางสาวใจดี สุขดี (นามสมมุติ).……………อายุ………64 ปี…........................… ส่วนสูง.......150...........เซนติเมตร.......น้ำหนัก..........60.......กิโลกรัม
โรคประจำตัว….เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันสูง…….......................……รักษาที่…โรงพยาบาลมงกุฏวัฒนะ........แพทย์ผู้รักษา.....นพ. มานะ.. เจริญพรกุล......... โทร. 02-574-5000
24 ยาที่ใช้ 1) Metformin (500 mg) รับประทานครั้งละ 2 เม็ด วันละ 2 ครั้งหลังอาหาร 2) Enarapril (5 mg) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้งหลังอาหารเช้า
43
3) Chlovas (40 mg) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้งก่อนนอน
กรณีฉุกเฉินติดต่อ 1) น.ส. นรัฐวรรณ อุดมเดชะ...เกี่ยวข้องเป็น.หลานสาว....โทร. 094-293-2398 2) น.ส. ฐิตารัตน์.อุดมเดชะ... เกี่ยวข้องเป็น.......หลานสาว.โทร.062-545-5195

แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุรายวันในการท่องเที่ยว วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2565 สถานที่ อ. หัวหิน จ. ประจวบคีรีขันธ์-อ. บ้านลาด และ อ. เขาย้อย จ. เพชรบุรี-กรุงเทพฯ

การประเมิน สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล
ก่อนการเดินทางวันนี้ ระหว่างการเดินทางวันนี้ เมื่อเสร็จสิ้นการเดินทางวันนี้

การมองเห็น สายตาดี ไม่ใส่แว่น ปกติ ปกติ

การได้ยิน ได้ยินชัดเจน ปกติ ปกติ

ฟันและการรับรส ใส่ฟันปลอม รับประทานอาหารแข็งไม่ได้ ปกติ ปกติ

ผิวและการสัมผัส ปกติ หน้าแดง บ่นร้อน เหงื่อออกเล็กน้อย ปกติ

การเคลื่อนไหวร่างกาย ปวดเข่าเล็กน้อย ปวดเข่าเล็กน้อย ปวดเข่าเล็กน้อย

อาการที่ต้องระวังเป็นพิเศษ -รับประทานยาตามเวลา -รับประทานยาได้ตามเวลา -รับประทานยาครบตามเวลา
-การรับประทานที่เหมาะสมกับโรค -อาหารนิ่มไม่ทำให้ปวดฟัน ฟันปลอมไม่เลื่อนหลุด -ไม่มีภาวะน้ำตาลไม่สมดุล

สัญญาณชีพ: BP, T, P, R, O2Sat 130/80, 36.4 c, 78, 18, 99% 132/78, 37.5 c, 92, 18, 98% 132/78, 36.3 c, 78, 16, 99%

อื่นๆ -ระวังการเกิดโรคลมแดดเมื่อเดินในที่ที่มีอากาศร้อนและอยู่ -ระหว่างเดินเที่ยวชม มีอาการเวียนศีรษะเล็กน้อย -ไม่มีอาการของโรคลมแดด

กลางแจ้งนานๆ -หน้าแดง บ่นกระหายน้ำ -ไม่บ่นเวียนศีรษะ ดื่มน้ำได้

-เตรียมผ้าเย็น -ให้หยุดพักในที่ร่มและที่มีลมถ่ายเทได้ดี นำผ้าเย็นมาเช็ด -ไม่มีคลื่นไส้อาเจียน
-แนะนำให้ใส่เสื้อผ้าเย็นสบาย อากาศถ่ายเท หน้าและลำคอ


-ให้ดื่มน้ำ อาการดีขึ้นและไม่เป็นซ้ำ

ผู้ดูแล 1. น.ส. เสาวนีย์ คำทูล 2. น.ส. ฐิตารัตน์ อุดมเดชะ

ลิขสิทธิ์หลักสูตรผู้ดูแลผู้สูงอายุเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพแบบพักค้าง ระหว่างวันพุธที่ 15–วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน 2565

Itinerary Trip………เพชรบุรี–ประจวบคีรีขันธ์ (3 วัน 2 คืน)………………………………………………………………………………………...

ผู้สูงอายุรายที่ 6 ชื่อ-นามสกุล……นางกัน สุขอุดม (นามสมมุติ)………อายุ……………72……ปี…………………ส่วนสูง…………………152…………เซนติเมตร…………น้ำหนัก.......55..........กิโลกรัม
โรคประจำตัว……………ข้อเข่าเสื่อม, เก๊าท์…………………………………………รักษาที่…โรงพยาบาลมงกุฏวัฒนะ……………แพทย์ผู้รักษา...รักษาตามอาการเป็นครั้งคราว ไม่มีแพทย์ประจำ.....โทร…-
ยาที่ใช้ 1) Alloperinol (100 mg) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 3 เวลา หลังอาหารเช้า กลางวัน เย็น
กรณีฉุกเฉินติดต่อ 1) นายปกฉัฐรส์ อุดมเดชะ เกี่ยวข้องเป็น บุตรชาย โทร. 099-3696-496 2) น.ส. นรัฐวรรณอุดมเดชะ เกี่ยวข้องเป็น บุตรสาว โทร. 099-324-5345

เที่ยวสนุกสุขใจ ผู้ดูแลห่วงใย ญาติไร้กังวล แผนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุรายวันในการท่องเที่ยว วันพุธที่ 15 มิถุนายน 2565 สถานที่ กรุงเทพฯ-อ. เมือง จ. เพชรบุรี-อ. หัวหิน และ อ. ปราณบุรี จ. ประจวบคีรีขันธ์

24 การประเมิน สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล สภาพผู้สูงอายุและกิจกรรมการดูแล
44 ก่อนการเดินทางวันนี้ ระหว่างการเดินทางวันนี้ เมื่อเสร็จสิ้นการเดินทางวันนี้

การมองเห็น สายตายาว ต้องใส่แว่นเป็นบางครั้ง ปกติ ไม่มีแสบตา สายตายาว ต้องใส่แว่นเป็นบางครั้ง

การได้ยิน หูตึงนิดหน่อย พูดเสียงดัง พูดคุยได้ดี ฟังได้ชัดเจน หูตึงนิดหน่อย พูดเสียงดัง

ฟันและการรับรส ใส่ฟันปลอม ชอบรับประทานอาหารอ่อนและผัก ใส่ฟันปลอม ชอบรับประทานอาหารอ่อนและผัก ใส่ฟันปลอม ชอบรับประทานอาหารอ่อน
และผัก

ผิวและการสัมผัส ขี้หนาว ชอบออกแดด ที่แจ้ง ขี้หนาว ชอบออกแดด ที่แจ้ง ขี้หนาว ชอบออกแดด ที่แจ้ง

การเคลื่อนไหวร่างกาย เดินไกลไม่ได้ เข่าไม่ดี แต่เดินเองได้ เดินไกลไม่ได้ เข่าไม่ดี แต่เดินเองได้ เดินไกลไม่ได้ เข่าไม่ดี แต่เดินเองได้

อาการที่ต้องระวังเป็นพิเศษ -เดินไกล ๆ อาจต้องมีคนคอยดูแล -การใช้น้ำเสียงช้าและชัด ๆ ปกติ ไมบ่นปวดเข่า
-ปวดเข่าเล็กน้อย ไม่มีสะดุด

สัญญาณชีพ: BP, T, P, R, O2Sat 132/76, 36.2 c, 80, 16, 99% 129/78, 36.5 c, 82, 18, 98% 131/76, 36.3 c, 78, 16, 99%

อื่นๆ -การป้องกันการพลัดตกหกล้ม -ไม่มีพลัดตกหกล้ม -ไม่มีพลัดตกหกล้ม
-ควรรับประทานอาหารย่อยง่าย -อากาศเย็นสบาย ไม่บ่นร้อนหรือหนาว -อากาศเย็นสบาย ไม่บ่นร้อนหรือหนาว
-การระมัดระวังสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงบ่อย -พักผ่อนได้

ผู้ดูแล 1. น.ส. อิศริยา อินทฤทธิ์ 2. น.ส. วิชญดา ทองแดง


Click to View FlipBook Version