The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชานิวเมติกร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sangwankrutee, 2022-05-27 03:02:19

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชานิวเมติกร์

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชานิวเมติกร์

แผนการจดั การเรยี นรู้

มุ่งเน้นฐานสมรรถนะอาชีพและบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ชอ่ื วิชา งานนวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลิกสอ์ ตุ สาหกรรม
รหสั วชิ า 30102-2007 ท-ป-น 2-2-3

หลักสตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี ช้นั สงู พุทธศกั ราช 2565
ประเภทวิชา อตุ สาหกรรม สาขาวชิ า เทคนคิ การผลติ

จดั ทำโดย

นายสงั วาร ทองมันปู
แผนกวชิ าช่างกลโรงงาน

วทิ ยาลยั การอาชีพขุนหาญ อาชวี ศึกษาจังหวดั ศรสี ะเกษ
สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คำนำ

แผนการจดั การเรียนรู้ ม่งุ เน้นฐานสมรรถนะและบรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง วิชางานนิวแม
ติกส์และไฮดรอลิกส์เบื้องต้น รหัสวิชา 2100–1009 เล่มนี้ได้จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นคู่มือประกอบการสอน หรือเป็น
แนวทางการสอนในรายวิชาเพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

การจัดทำได้มีการพัฒนาเพื่อให้เหมาะสมกับผู้เรียน โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น 14 หน่วย การจัดกิจกรรม
การเรยี นการสอนยดึ ผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการบรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และคณุ ธรรมจริยธรรม ไว้ใน
หนว่ ยการเรียนรตู้ ามความเหมาะสม สอดคลอ้ งกับเนื้อหา มแี บบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน พรอ้ มเฉลย มีใบ
งาน กจิ กรรมปฏิบตั ิ และสือ่ การเรยี นการสอนตา่ ง ๆ เพอื่ ให้เกดิ ประสทิ ธผิ ลแก่ผเู้ รียนมากยง่ิ ขน้ึ

ผู้จดั ทำหวงั วา่ แผนการจัดการเรียนรู้เลม่ น้คี งจะเป็นแนวทางและเปน็ ประโยชน์ต่อครู-อาจารยแ์ ละนักเรียน
หากมีขอ้ เสนอแนะประการใด ผูจ้ ดั ทำยนิ ดนี ้อมรบั ไว้เพ่อื ปรับปรงุ แก้ไขในครงั้ ต่อไป

ลงช่อื นายสงั วาร ทองมันปู

สารบัญ
หน้า

คำนำ ............................................................................................................................. ................ ค
สารบัญ ......................................................................................................................................... ง
หลักสูตรรายวิชา ........................................................................................................................... จ
หน่วยการเรียนรู้ ............................................................................................................................ ฉ
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ีส่ อดคล้องกับสมรรถนะรายวิชา....................................................................... ช
โครงการจดั การเรียนรู้ .................................................................................................................. ซ
สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ ..................................................................................... ฌ
ตารางวิเคราะหห์ ลักสูตรรายวชิ า ................................................................................................... ย
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 หลกั การเบ้ืองตน้ ของระบบนวิ แมติกส์................................................ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ระบบการผลติ และจา่ ยลม.................................................................... 9
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 อุปกรณ์ทำงานในระบบนิวแมติกส.์ .................................................... 15
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 วาล์วควบคมุ ทิศทาง............................................................................ 19
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 5 วาลว์ ควบคุมลมไหลทางเดียว.............................................................. 25
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 6 วาลว์ ควบคมุ อัตราการไหล.................................................................. 30
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 7 วาลว์ ควบคมุ ความดนั ........................................................................ 35
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 8 วาลว์ หนว่ งเวลา................................................................................... 40
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 9 ตวั นบั .................................................................................................. 44
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 10 การเขยี นวงจรนวิ แมติกส.์ .................................................................. 48
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 11 พนื้ ฐานระบบไฮดรอลิกส์................................................................ 52
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 12 อปุ กรณ์ตน้ กำลงั ระบบไฮดรอลกิ ส.์ ................................................... 57
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 อปุ กรณ์ทำงานในระบบไฮดรอลิกส.์ ............................................... 62
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 วาล์วไฮดรอลกิ ส์.............................................................................. 66

หลกั สูตรรายวิชา
ช่ือวิชา งานนิวแมตกิ ส์และไฮดรอลิกส์อุตสาหกรรม รหสั วชิ า 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดับช้นั
ปวส.

จดุ ประสงค์รายวิชา
1. รู้และเข้าใจเกีย่ วกบั ระบบนิวเมตกิ และไฮดรอลิกส์เบ้ืองตน้
2. มีทักษะเกยี่ วกับอ่านและเขียนวงจร ตอ่ วงจรควบคุมการทำงานระบบนิวเมติกและไฮดรอลกิ ส์
3. มีเจตคตแิ ละกจิ นสิ ยั ทดี่ ีในการทำงานดว้ ยความละเอียดรอบคอบ ปลอดภัย เปน็ ระเบียบ สะอาด ตรงต่อ

เวลามคี วามซ่ือสัตย์ รบั ผิดชอบ และรักษาสภาพแวดล้อม

สมรรถนะรายวชิ า
1. แสดงความรเู้ ก่ียวกบั หลักการของระบบนวิ แมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกสต์ ามคู่มอื
2. ตอ่ วงจรควบคมุ การทำงานระบบนวิ แมติกส์
3. ต่อวงจรควบคุมการทำงานระบบไฮดรอลกิ ส์
4. ติดตงั้ ระบบนวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์ ควบคมุ ดว้ ยมอื และระบบอัตโนมัติ

คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้าง สัญลักษณ์ หลักการทำงานเบื้องต้น การใช้งานของอุปกรณ์ วงจรการ

ทำงานเบื้องต้นแบบต่างๆ การทดสอบอุปกรณ์ การอ่าน การเขียน และต่อวงจรการทำงานแบบต่าง ๆ วงจร
ควบคุมทิศทาง วงจรปรับความเร็ว วงจรเรียงลำดับ วงจรหน่วงเวลา และวงจรอื่น ๆ เป็นวงจรควบคุมด้วยมือ
(Manual) และควบคุมโดยอตั โนมตั ิ (Automatic) ของระบบนวิ เมติกส์และไฮดรอลกิ สเ์ บื้องตน้

หนว่ ยการเรียนรู้

ชื่อวิชา งานนิวแมตกิ ส์และไฮดรอลิกสอ์ ตุ สาหกรรม รหัสวิชา 30102-2007

ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดับช้นั ปวส.

หน่วยที่ ชื่อหนว่ ย จำนวน ทมี่ า
คาบ A B C D E F G
1
2 หลักการเบื้องตน้ ของระบบนิวแมติกส์ 8 ✓ ✓✓ ✓
3
4 ระบบการผลิตและจ่ายลม 4 ✓✓✓✓
5
6 อุปกรณ์ทำงานในระบบนิวแมติกส์ 4 ✓ ✓✓ ✓
7
8 วาลว์ ควบคมุ ทศิ ทาง 8 ✓ ✓✓ ✓
9
10 วาล์วควบคมุ ลมไหลทางเดียว 4 ✓ ✓✓ ✓
11
12 วาลว์ ควบคุมอตั ราการไหล 4 ✓ ✓✓ ✓
13
14 วาลว์ ควบคุมความดัน 4 ✓ ✓✓ ✓

วาลว์ หนว่ งเวลา 4 ✓ ✓✓ ✓

ตวั นบั 4 ✓ ✓ ✓ ✓

การเขยี นวงจรนวิ แมติกส์ 4 ✓ ✓✓ ✓

พื้นฐานระบบไฮดรอลิกส์ 4 ✓✓ ✓✓✓

อปุ กรณ์ตน้ กำลงั ระบบไฮดรอลิกส์ 8 ✓✓ ✓✓✓

อุปกรณ์ทำงานในระบบไฮดรอลิกส์ 4 ✓✓ ✓✓✓

วาลว์ ไฮดรอลกิ ส์ 4 ✓✓ ✓✓✓

วดั ผลและประเมนิ ผลปลายภาคเรยี น 4

รวม 72

หมายเหตุA = หลักสูตรรายวชิ า B = หนงั สืองานนวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลิกสเ์ บอ้ื งตน้

C = หนงั สอื นวิ แมตกิ สอ์ ุตสาหกรรม D = หนังสอื คมั ภรี ์ระบบนวิ แมตกิ ส์

E = หนังสือความรูพ้ ืน้ ฐานไฮดรอลิกส์ F = หนงั สอื ระบบไฮดรอลิกสแ์ ละการควบคมุ

G = หนงั สือคูม่ ือไฮดรอลกิ สอ์ ุตสาหกรรมเคร่ืองจกั รกลและการเกษตร

หน่วยการเรียนรูท้ สี่ อดคลอ้ งกบั สมรรถนะรายวชิ า
ชื่อวิชา งานนวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์อุตสาหกรรม รหสั วชิ า 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดบั ชั้น ปวส.

ความสอดคล้องกับสมรรถนะรายวิชา

หนว่ ย ชือ่ หน่วย จำนวน แสดงความ ูร้เ ่ีกยวกับหลักการของ
ท่ี คาบ ระบบนิวแม ิตกส์และไฮดรอลิกส์
่ตตาอมวงู่คจ ืมรอควบ ุคมการทำงานระบบ
ินวแม ิตกส์
ต่อวงจรควบคุมการทำงานระบบ
ไฮดรอ ิลก ์ส
ติด ั้ตงระบบนิวแมติกส์และไฮดรอ
ลิก ์ส ควบคุมด้วย ืมอและระบบ
ัอตโน ัม ิต

1 หลักการเบ้ืองต้นของระบบ 8 ✓
นวิ แมติกส์
4 ✓
2 ระบบการผลติ และจ่ายลม 4 ✓
3 อปุ กรณ์ทำงานในระบบนิวแมติกส์ 8
4 วาล์วควบคุมทิศทาง 4 ✓
5 วาลว์ ควบคุมลมไหลทางเดยี ว 4 ✓
6 วาลว์ ควบคมุ อตั ราการไหล 4 ✓
7 วาล์วควบคุมความดนั 4 ✓
8 วาลว์ หนว่ งเวลา 4 ✓
9 ตัวนบั 4 ✓
10 การเขยี นวงจรนวิ แมติกส์ 4
11 พืน้ ฐานระบบไฮดรอลกิ ส์ 8 ✓
12 อุปกรณ์ต้นกำลังระบบ ✓
4 ✓
ไฮดรอลกิ ส์ 4
13 อุปกรณ์ทำงานในระบบไฮดรอลกิ ส์ ✓
14 วาลว์ ไฮดรอลกิ ส์ ✓

โครงการจัดการเรียนรู้
ช่อื วิชา งานนิวแมติกส์และไฮดรอลิกสอ์ ตุ สาหกรรม รหสั วิชา 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชนั้ ปวส.

สปั ดา หนว่ ชอื่ หน่วย/รายการสอน ปฏิบัติ จำนวน
หท์ ี่ ยท่ี คาบ
8
1-2 1 หลักการเบ้ืองตน้ ของระบบนิวแมติกส์ แบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 1 4
4
3 2 ระบบการผลติ และจ่ายลม แบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 2 4

4 3 อปุ กรณ์ทำงานในระบบนวิ แมติกส์ แบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 3 4

5-6 4 วาลว์ ควบคมุ ทศิ ทาง แบบฝกึ หดั หน่วยที่ 4 4

ใบงานท่ี 1-4 4

7 5 วาลว์ ควบคมุ ลมไหลทางเดยี ว แบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 5 4

ใบงานท่ี 5-6 4

8 6 วาลว์ ควบคุมอตั ราการไหล แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 6 4

ใบงานท่ี 7 4
8
9 7 วาล์วควบคมุ ความดัน แบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 7 4
4
ใบงานท่ี 8 4
72
10 8 วาล์วหน่วงเวลา แบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 8

ใบงานท่ี 9

11 9 ตัวนับ แบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 9

ใบงานท่ี 10

12 10 การเขยี นวงจรนวิ แมติกส์ แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 10

ใบงานท่ี 11

13 11 พน้ื ฐานระบบไฮดรอลกิ ส์ แบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 11

14-15 12 อปุ กรณ์ตน้ กำลงั ระบบไฮดรอลิกส์ แบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 12

16 13 อปุ กรณ์ทำงานในระบบไฮดรอลิกส์ แบบฝึกหัดหน่วยท่ี 13

17 14 วาล์วไฮดรอลิกส์ แบบฝึกหัดหน่วยท่ี 14

18 วัดผลและประเมินผลปลายภาคเรยี น

รวม

สมรรถนะย่อยและจุดประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ
ชือ่ วิชา งานนวิ แมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกสอ์ ุตสาหกรรม รหัสวชิ า 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดับชั้น ปวส.

ชอ่ื เรอ่ื ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ
หน่วยท่ี 1 หลักการเบื้องตน้ ของระบบนิวแมติกส์ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

1.1 ความหมายของระบบนวิ แมตกิ ส์ แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการเบื้องต้นของ
1.2 ประวัตคิ วามเป็นมาของระบบ ระบบนวิ แมตกิ ส์
นวิ แมตกิ ส์
1.3 ข้อดขี ้อเสยี ของระบบนิวแมติกส์ จุดประสงคก์ ารปฏิบตั ิ (Performance
1.4 กฎเบอ้ื งตน้ ของระบบนิวแมตกิ ส์ Objectives)
1.5 คุณสมบัตทิ างฟิสิกส์ของอากาศ
ดา้ นความรู้
1. บอกความหมายของนิวแมตกิ ส์
2. บอกประโยชนข์ องระบบนิวแมตกิ ส์ 3.
เปรยี บเทยี บข้อดี ข้อเสยี ของระบบ
นิวแมตกิ ส์กับระบบอืน่ ๆ
4. บอกความหมายของความดัน อณุ หภมู ิ
ความช้ืน
5. เปรียบเทยี บคา่ ความดนั อุณหภมู ิ ระหวา่ ง
หน่วย
6. คำนวณหาปรมิ าณไอน้ำในอากาศ และ
ความชนื้ สมั พทั ธ์
7. อธบิ ายความสัมพธั ข์ องความดนั อุณหภูมิ
และปรมิ าตรของอากาศ
8. คำนวณหาค่าความดนั ปรมิ าตรและอุณหภมู ิ
ของอากาศ

แบบฝึกหัดหน่วยท่ี 1 ดา้ นทักษะ
1. นำตัวอักษรหนา้ ข้อความด้านขวามอื มาเตมิ
ลงหนา้ ตัวเลขด้านซา้ ยมือให้สัมพนั ธก์ ัน

2. ทำเครอื่ งหมายถกู ✓ หนา้ ข้อท่ีถูก หรอื
ผดิ  หนา้ ขอ้ ท่ีผิด

3. แสดงวธิ ีทำเพื่อหาคำตอบ

ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง

แสดงออกด้านการตรงต่อเวลา
ความสนใจใฝ่รู้
ความซอ่ื สตั ย์ สุจรติ
ความมีน้ำใจและแบ่งบัน
ความรว่ มมอื
ความมมี ารยาท

สมรรถนะย่อยและจุดประสงคก์ ารปฏิบัติ
ชื่อวิชา งานนวิ แมติกส์และไฮดรอลิกสอ์ ุตสาหกรรม รหัสวิชา 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดับชน้ั ปวส.

ชือ่ เรอ่ื ง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ
หน่วยที่ 2 ระบบการผลติ และจา่ ยลม สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

2.1 โครงสร้างระบบการผลติ และจ่ายลม แสดงความรูเ้ กี่ยวกับระบบการผลิตและจา่ ย
2.2 เครอ่ื งอัดอากาศ ลม
2.3 ถังเก็บลม
2.4 มอเตอร์ไฟฟา้ จุดประสงคก์ ารปฏบิ ัติ (Performance
2.5 เครือ่ งระบายความรอ้ น Objectives)
2.6 เครอ่ื งกำจดั ความชื้น
2.7 เกจความดนั ด้านความรู้
2.8 อุปกรณ์กรองลมท่อลมหลัก 1. บอกส่วนประกอบของระบบการผลติ และ
2.9 อปุ กรณ์ระบายนำ้ ใชล้ ม
2.10 วาลว์ นริ ภัย 2. บอกหนา้ ที่และการทำงานของเครื่องอัด
2.11 วาลว์ กันกลบั อากาศ
2.12 ท่อสง่ จ่ายลม 3. ระบชุ ื่อและหน้าทข่ี องอปุ กรณใ์ นระบบผลติ
2.13 ชดุ ปรบั คุณภาพลมอดั และจ่ายลม
แบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 2
ด้านทักษะ
1. บอกชอ่ื สว่ นประกอบในระบบการผลิตลม
และจ่ายลม
ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรม/บรู ณาการปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง
แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา
ความสนใจใฝ่รู้
ความซอ่ื สตั ย์ สุจริต
ความมีน้ำใจและแบง่ บัน ความรว่ มมอื
ความมีมารยาท

สมรรถนะย่อยและจุดประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ
ชือ่ วิชา งานนวิ แมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกสอ์ ุตสาหกรรม รหสั วชิ า 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดับชั้น ปวส.

ชอ่ื เรือ่ ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ
หนว่ ยที่ 3 อุปกรณ์ทำงานในระบบนวิ แมติกส์ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

3.1 อุปกรณ์ท่เี คลื่อนทเ่ี ปน็ เส้นตรง แสดงความรูเ้ กี่ยวกับอปุ กรณ์ทำงานในระบบ
3.2 อปุ กรณ์ทเ่ี คลื่อนที่เปน็ เสน้ รอบวง นวิ แมติกส์
จดุ ประสงค์การปฏิบัติ (Performance
แบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 3 Objectives)

ดา้ นความรู้
1. บอกลักษณะโครงสร้างและการทำงานของ
ลูกสบู ลมชนิดทำงานทางเดยี ว
2. บอกลักษณะโครงสร้างและการทำงานของ
ลูกสบู ลมชนิดทำงานสองทาง
3. บอกอปุ กรณ์ทำงานในลกั ษณะหมุนแก่วง
4. บอกอุปกรณ์ทำงานในลกั ษณะหมนุ รอบ
ด้านทักษะ
1. นำตัวอกั ษรหน้าสัญลักษณ์ของอุปกรณ์
ทำงานเติมลงหน้าข้อใหถ้ ูกต้อง
2. นำตัวเลขจากรปู เตมิ หนา้ ข้อให้ถกู ต้อง
ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรม/บูรณาการปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง
แสดงออกดา้ นการตรงตอ่ เวลา
ความสนใจใฝ่รู้
ความซ่อื สัตย์ สจุ รติ
ความมนี ้ำใจและแบง่ บัน
ความรว่ มมือ
ความมีมารยาท

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ
ช่อื วิชา งานนิวแมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกส์อุตสาหกรรม รหัสวิชา 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชนั้ ปวส.

ชื่อเร่ือง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ

หนว่ ยที่ 4 วาล์วควบคมุ ทศิ ทาง สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

4.1 สัญลักษณ์ของวาล์วควบคุม แสดงความรเู้ กี่ยวกับวาล์วควบคุมทิศทาง

ทศิ ทาง

4.2 การอ่านโคด้ สญั ลักษณว์ าล์ว จุดประสงคก์ ารปฏบิ ัติ (Performance

4.3 การต้ังชื่อรูลม Objectives)

4.4 การบังคับการเลอื่ นของวาลว์ ดา้ นความรู้

4.5 การอ่านสัญลักษณ์ของวาล์วควบคุม 1. อา่ นความหมายของลักษณะของ

ทศิ ทาง วาลว์ ควบคุมทศิ ทาง

4.6 โครงสรา้ งของวาล์วควบคุมทศิ ทาง 2. อ่านโค้ดสัญลักษณว์ าล์ว

3. อ่านสัญลกั ษณว์ าล์วควบคมุ ทิศทาง

แบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 4 ด้านทักษะ
ใบงานที่ 1-4 1. เลือกทำเคร่ืองหมาย  ในช่อง

ความหมายให้ถูกต้อง
2. ต่อวงจรและทดสอบการควบคมุ กระบอก

สูบทางเดียวแบบ Direct control
3. ต่อวงจรและทดสอบการควบคมุ กระบอกสบู

ทางเดยี วแบบ Indirect control
4. ตอ่ วงจรและทดสอบการควบคมุ กระบอกสูบ

สองทางแบบ Direct control
5. ต่อวงจรและทดสอบการควบคุมกระบอกสูบ

สองทางแบบ Indirect control

ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรม/บูรณาการปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง

แสดงออกด้านการตรงตอ่ เวลา
ความสนใจใฝ่รู้
ความซอื่ สัตย์ สจุ รติ
ความมีนำ้ ใจและแบ่งบัน
ความร่วมมือ
ความมมี ารยาท
ไมห่ ยดุ นงิ่ ที่จะแก้ปญั หา
ใชอ้ ปุ กรณ์อย่างฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ
ช่อื วิชา งานนิวแมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกส์อุตสาหกรรม รหสั วิชา 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชน้ั ปวส.

ชอ่ื เร่อื ง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบตั ิ
หน่วยท่ี 5 วาล์วควบคุมลมไหลทางเดยี ว สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

5.1 วาล์วกันกลบั แสดงความร้เู กยี่ วกับวาลว์ ควบคมุ ลมไหลทาง
5.2 วาลว์ กนั กลับสองทาง เดยี ว
5.3 วาลว์ ความดนั สองทาง
5.4 วาลว์ เร่งระบาย จดุ ประสงคก์ ารปฏิบัติ (Performance
Objectives)
แบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 5
ใบงานที่ 5-6 ดา้ นความรู้
1. บอกโครงสรา้ งสัญลักษณ์และการทำงาน
ของวาลว์ กันกลับ
2. บอกโครงสรา้ งสญั ลักษณ์และการทำงาน
ของวาลว์ กันกลบั สองทาง
3. บอกโครงสรา้ งสญั ลักษณ์และการทำงาน
ของวาลว์ ความดนั สองทาง
4. บอกโครงสรา้ งสัญลักษณ์และการทำงาน
ของวาลว์ เร่งระบาย

ด้านทักษะ
1. เลอื กทำเครื่องหมาย  ในชอ่ งให้ถูกตอ้ ง
2. ต่อวงจรและทดสอบวงจรควบคมุ การ
ทำงานระบบนิวแมติกส์ด้วยวาล์วกนั กลบั สองทาง
3. ตอ่ วงจรและทดสอบวงจรควบคุมการทำงาน
ด้วยวาลว์ ความดนั สองทาง

ด้านคณุ ธรรมจริยธรรม/บรู ณาการปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง

แสดงออกด้านการตรงต่อเวลา
ความสนใจใฝร่ ู้
ความซ่ือสัตย์ สจุ ริต
ความมนี ำ้ ใจและแบง่ บัน
ความรว่ มมือ
ความมมี ารยาท
ไมห่ ยดุ นิ่งท่ีจะแกป้ ัญหา
ใช้อุปกรณ์อย่างฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ
ช่ือวิชา งานนิวแมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกส์อตุ สาหกรรม รหัสวชิ า 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดับชน้ั ปวส.

ชอ่ื เรือ่ ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ
หนว่ ยที่ 6 วาล์วควบคมุ อัตราการไหล สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

6.1 วาลว์ ควบคุมอตั ราการไหล 1. แสดงความรู้เกย่ี วกบั วาลว์ ควบคุมอัตราการ
สองทิศทาง ไหล

6.2 วาล์วควบคมุ อตั ราการไหลทางเดยี ว 2. อา่ นวงจรควบคุมการไหลระบบนิวแมตกิ ส์
6.3 การควบคมุ ความเร็วกระบอกสบู ทาง
เดียว จุดประสงคก์ ารปฏิบัติ (Performance
6.4 การควบคุมความเรว็ กระบอกสบู สอง Objectives)
ทาง
ด้านความรู้
1. บอกโครงสรา้ งและการทำงานของวาล์ว
ควบคมุ อัตราการไหลสองทิศทาง
2. บอกโครงสรา้ งและการทำงานของวาลว์
ควบคุมอัตราการไหลทิศทางเดียว
3. อา่ นสัญลักษณก์ ารควบคมุ ความเร็ว
กระบอกสบู ทางเดยี ว
4. อา่ นสัญลกั ษณ์การควบคุมความเร็ว
กระบอกสูบสองทาง

แบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 6 ด้านทักษะ
ใบงานท่ี 7 1. นำตัวเลข 1–5 ไปจบั คูก่ ับอกั ษร ก–จ
หน้าสัญลักษณ์ให้ถกู ต้อง
2. ทำขอ้ ความ /เขา้ /ออก/เข้า และออก/
เติมลงในคำตอบให้ถกู ต้อง
3. ต่อวงจรและทดสอบการควบคมุ ความเร็ว
ของลกู สบู

ด้านคณุ ธรรมจริยธรรม/บรู ณาการปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง

แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา
ความสนใจใฝ่รู้
ความซื่อสัตย์ สจุ รติ
ความมนี ้ำใจและแบ่งบนั
ความร่วมมอื
ความมมี ารยาท
ไมห่ ยดุ นิ่งทจี่ ะแกป้ ัญหา
ใชอ้ ุปกรณ์อย่างฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะย่อยและจุดประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ
ชื่อวิชา งานนิวแมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกสอ์ ุตสาหกรรม รหสั วิชา 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชั้น ปวส.

ชื่อเรือ่ ง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ
หน่วยที่ 7 วาล์วควบคุมความดัน
สมรรถนะย่อย (Element of Competency)
7.1 วาล์วลดความดัน แสดงความรเู้ ก่ียวกับวาล์วควบคมุ ความดันได้
7.2 วาล์วระบายความดนั
7.3 วาล์วจัดลำดบั จุดประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ (Performance
Objectives)
แบบฝกึ หดั หน่วยที่ 7
ใบงานที่ 8 ด้านความรู้
1. บอกสญั ลกั ษณ์และการทำงานของวาลว์ ลด
ความดนั
2. บอกสญั ลกั ษณ์และการทำงานของวาล์ว
ระบายความดนั
3. บอกสญั ลกั ษณ์และการทำงานของวาลว์
จดั ลำดับ

ด้านทกั ษะ
1. นำตวั อกั ษรจับคกู่ บั ตัวเลขให้ถูกต้อง
2. ต่อวงจรและทดสอบวงจรควบคมุ การ
ทำงานดว้ ยวาลว์ ควบคมุ ความดัน

ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม/บูรณาการปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง

แสดงออกด้านการตรงต่อเวลา
ความสนใจใฝร่ ู้
ความซอื่ สตั ย์ สุจรติ
ความมีนำ้ ใจและแบง่ บัน
ความร่วมมือ
ความมมี ารยาท
ไมห่ ยดุ นิง่ ท่จี ะแกป้ ัญหา
ใช้อปุ กรณ์อยา่ งฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏิบัติ
ชอื่ วิชา งานนิวแมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกส์อุตสาหกรรม รหัสวิชา 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดับชั้น ปวส.

ชื่อเรือ่ ง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ตั ิ
หนว่ ยท่ี 8 วาลว์ หนว่ งเวลา สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

8.1 วาล์วหน่วงเวลาแบบปกตปิ ดิ แสดงความรูเ้ ก่ยี วกับวาลว์ หน่วงเวลา
8.2 วาลว์ หนว่ งเวลาแบบปกตเิ ปิด จุดประสงคก์ ารปฏิบตั ิ (Performance
Objectives)
แบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 8
ใบงานท่ี 9 ด้านความรู้
1. บอกสญั ลกั ษณ์และการทำงานของวาล์ว
หน่วงเวลาแบบปกตปิ ดิ
2. บอกสัญลกั ษณแ์ ละการทำงานของวาล์ว
หน่วงเวลาแบบปกตเิ ปดิ
ด้านทักษะ
1. ทำเคร่อื งหมายถูก ✓ หน้าข้อที่ถกู หรือ
ผิด  หนา้ ข้อทีผ่ ดิ
2. ตอ่ วงจรและทดสอบวงจรควบคุมการ
ทำงานดว้ ยวาลว์ หน่วงเวลา

ดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรม/บรู ณาการปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง

แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา
ความสนใจใฝร่ ู้
ความซอื่ สัตย์ สุจรติ
ความมนี ำ้ ใจและแบ่งบนั
ความรว่ มมือ
ความมีมารยาท
ไม่หยุดน่ิงท่ีจะแกป้ ญั หา

ใชอ้ ุปกรณ์อย่างฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏบิ ัติ
ช่อื วิชา งานนวิ แมตกิ ส์และไฮดรอลิกส์อุตสาหกรรม รหสั วชิ า 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชั้น ปวส.

ช่อื เร่ือง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏิบตั ิ
หน่วยที่ 9 ตวั นบั สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

9.1 ตวั นบั ชนิดนับอย่างเดยี ว แสดงความรูเ้ กย่ี วกบั ตัวนับ
9.2 ตัวนับชนดิ ต้งั จำนวนได้ จุดประสงค์การปฏิบัติ (Performance
Objectives)

ด้านความรู้
1. บอกสัญลักษณ์และการทำงานของตวั นบั
ชนดิ นบั อยา่ งเดยี ว
2. บอกสญั ลกั ษณแ์ ละการทำงานของตวั นับ
ชนดิ ตั้งจำนวนได้

แบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 9 ด้านทักษะ
ใบงานที่ 10 1. ทำเคร่อื งหมาย ✓ หนา้ ข้อท่ีถกู หรอื
 หนา้ ขอ้ ท่ีผดิ
2. บอกความหมายสญั ลักษณ์
3. ตอ่ วงจรและทดสอบวงจรควบคุมการ
ทำงานดว้ ยตัวนบั

ด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรม/บรู ณาการปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง

แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา
ความสนใจใฝ่รู้
ความซ่อื สัตย์ สุจริต
ความมนี ำ้ ใจและแบ่งบัน

ความร่วมมือ
ความมีมารยาท
ไมห่ ยดุ น่งิ ทจ่ี ะแกป้ ญั หา

ใช้อุปกรณ์อย่างฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ
ชื่อวิชา งานนวิ แมติกส์และไฮดรอลิกสอ์ ตุ สาหกรรม รหัสวิชา 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชน้ั ปวส.

ช่ือเรือ่ ง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบตั ิ
หนว่ ยที่ 10 การเขียนวงจรนิวแมตกิ ส์ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

10.1 การกำหนดไดอะแกรมวงจร 1. แสดงความรู้เกย่ี วกบั การเขียนวงจร
นวิ แมติกส์ นวิ แมติกส์

10.2 การกำหนดโคด้ อุปกรณ์ 2. อา่ นและเขยี นวงจรระบบนวิ แมติกส์ตาม
หลักการและกระบวนการ
แบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 10
ใบงานท่ี 11 จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance
Objectives)

ด้านความรู้
1. อา่ นความหมายไดอะแกรมของวงจร
นิวแมติกส์
2. อ่านและกำหนดโค้ดอปุ กรณ์แบบตวั อักษร
และแบบตัวเลข

ดา้ นทกั ษะ
1. บอกความหมายของโคด้ ได้
2. ทำระบบการกำหนดโคด้ แบบตัวอักษรและ
ตวั เลขกำหนดลงในวงจรนิวแมตกิ ส์
3. ตอ่ วงจรและทดสอบวงจรควบคมุ
กงึ่ อตั โนมตั ิ/อัตโนมตั ิ

ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม/บรู ณาการปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง

แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา

ความสนใจใฝ่รู้
ความซือ่ สตั ย์ สุจริต
ความมีน้ำใจและแบ่งบนั
ความรว่ มมือ
ความมมี ารยาท
ไม่หยุดนิ่งทีจ่ ะแกป้ ัญหา

ใชอ้ ปุ กรณ์อย่างฉลาดและรอบคอบ

สมรรถนะย่อยและจุดประสงคก์ ารปฏบิ ัติ
ชอ่ื วิชา งานนวิ แมติกส์และไฮดรอลิกสอ์ ตุ สาหกรรม รหัสวิชา 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดับช้ัน ปวส.

ชอ่ื เรื่อง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบัติ
หนว่ ยที่ 11 พน้ื ฐานระบบไฮดรอลิกส์ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

11.1 ความหมายของระบบไฮดรอลิกส์ แสดงความรูพ้ ้ืนฐานของระบบไฮดรอลิกส์
11.2 คุณสมบตั ิของของเหลว
11.3 เครอื่ งจักรระบบไฮดรอลิกส์ จุดประสงค์การปฏบิ ัติ (Performance
11.4 โครงสร้างระบบไฮดรอลกิ ส์ Objectives)

แบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 11 ดา้ นความรู้
1. บอกความหมายของระบบไฮดรอลกิ ส์
2. บอกคุณสมบัติของของเหลวในระบบ
ไฮดรอลิกส์
3. ยกตัวอย่างเคร่ืองจักรระบบไฮดรอลิกส์
4. บอกส่วนประกอบพ้ืนฐานในระบบ
ไฮดรอลกิ ส์
ดา้ นทกั ษะ
1. นำตัวอกั ษรหน้าข้อความเติมหน้าตัวเลขให้
สัมพันธ์กนั

ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม/บูรณาการปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง

แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา
ความสนใจใฝ่รู้
ความซอื่ สตั ย์ สุจรติ
ความมีน้ำใจและแบง่ บัน
ความรว่ มมอื
ความมีมารยาท

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ
ช่ือวิชา งานนิวแมตกิ ส์และไฮดรอลิกสอ์ ุตสาหกรรม รหัสวิชา 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดับช้นั ปวส.

ชือ่ เรื่อง สมรรถนะย่อยและจุดประสงค์การปฏิบตั ิ
หน่วยที่ 12 อุปกรณต์ ้นกำลังระบบไฮดรอลิกส์ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

12.1 ถังพักนำ้ มันไฮดรอลิกส์ แสดงความรเู้ กยี่ วกับอุปกรณ์ตน้ กำลังใน
12.2 ปม๊ั ไฮดรอลิกส์ ระบบไฮดรอลิกส์
12.3 ถงั สะสมความดัน
จุดประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ (Performance
Objectives)

ด้านความรู้
1. บอกหน้าที่และส่วนประกอบของถงั พัก
น้ำมันไฮดรอลิกส์
2. บอกสญั ลักษณ์และการทำงานของป๊ัมแบบ
เฟืองแบบใบพดั และแบบลูกสูบ
3. บอกหน้าที่ประโยชนแ์ ละชนิดของถงั สะสม
ความดัน

แบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 12 ดา้ นทกั ษะ
1. ตอบคำถามที่กำหนดใหไ้ ด้
2. นำตัวอักษรหน้ารปู ภาพจับคูก่ บั ตัวเลข
หน้าขอ้ ความ
3. ทำเครอื่ งหมาย ✓ หนา้ ข้อท่ีถกู หรือ

 หน้าขอ้ ที่ผิด
4. จบั คู่ระหวา่ งสัญลักษณ์ของป๊มั ไฮดรอ-ลกิ ส์

กับคำอธิบายชนดิ ของปม๊ั ให้ถูกตอ้ ง

ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรม/บูรณาการปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง

แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา
ความสนใจใฝ่รู้
ความซ่ือสตั ย์ สุจรติ
ความมนี ้ำใจและแบง่ บนั
ความร่วมมอื
ความมีมารยาท

สมรรถนะย่อยและจุดประสงคก์ ารปฏิบัติ
ชอื่ วิชา งานนิวแมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกสอ์ ตุ สาหกรรม รหสั วชิ า 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดับชั้น ปวส.

ชอ่ื เรอ่ื ง สมรรถนะย่อยและจุดประสงคก์ ารปฏิบตั ิ
หน่วยท่ี 13 อปุ กรณท์ ำงานในระบบไฮดรอลิกส์ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

13.1 กระบอกสบู ไฮดรอลิกส์ แสดงความร้เู กี่ยวกับอปุ กรณท์ ำงานใน
13.2 มอเตอร์ไฮดรอลิกส์ ระบบไฮดรอลิกส์
จดุ ประสงค์การปฏิบัติ (Performance
แบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 13 Objectives)

ด้านความรู้
1. บอกลักษณะและการทำงานของกระบอก
สบู ไฮดรอลิกส์
2. บอกลกั ษณะและการทำงานของ
มอเตอรไ์ ฮดรอลิกส์
ดา้ นทักษะ
1. จับคู่ระหว่างสัญลกั ษณ์และคำอธิบาย
2. เขยี นเคร่ืองหมาย ✓ หน้าขอ้ ที่ถกู หรือ
 หน้าขอ้ ทีผ่ ดิ
3. จบั คู่ภาพโครงสร้างมอเตอรไ์ ฮดรอลิกส์
กบั ช่ือท่ีกำหนด

ดา้ นคุณธรรมจริยธรรม/บรู ณาการปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง

แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา
ความสนใจใฝ่รู้
ความซื่อสตั ย์ สุจริต
ความมนี ำ้ ใจและแบ่งบัน
ความรว่ มมอื
ความมมี ารยาท

สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ
ชื่อวิชา งานนวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลิกสอ์ ุตสาหกรรม รหสั วชิ า 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สัปดาห์ ระดับชั้น ปวส.

ช่ือเรื่อง สมรรถนะย่อยและจดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ
หนว่ ยท่ี 14 วาล์วไฮดรอลิกส์ สมรรถนะย่อย (Element of Competency)

14.1 วาล์วควบคมุ ทศิ ทาง แสดงความรู้เก่ียวกับวาลว์ ไฮดรอลกิ ส์
14.2 วาลว์ กนั กลบั
14.3 วาล์วควบคุมอตั ราไหล จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ (Performance
14.4 วาลว์ แบง่ น้ำมนั Objectives)
14.5 วาลว์ ควบคุมความดัน
ด้านความรู้
1. บอกสัญลักษณ์และการทำงานของวาล์ว
ควบคุมทศิ ทาง
2. บอกสัญลักษณ์และการทำงานของ
วาลว์ กันกลับ
3. บอกสัญลักษณ์และการทำงานของ
วาล์วควบคมุ อัตราไหล
4. บอกสัญลักษณ์และการทำงานของวาล์ว
แบ่งน้ำมนั
5. บอกสัญลักษณ์และการทำงานของ
วาล์วควบคุมความดัน

แบบฝกึ หดั หน่วยที่ 14 ด้านทกั ษะ
1. นำตัวเลขช่ือวาลว์ จับค่กู ับสญั ลกั ษณใ์ ห้
ถูกต้อง

ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรม/บูรณาการปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง

แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา
ความสนใจใฝ่รู้
ความซื่อสตั ย์ สุจรติ
ความมนี ้ำใจและแบ่งบนั
ความร่วมมอื
ความมีมารยาท

ตารางวเิ คราะห์หลักสูตรรายวิชา
ช่อื วิชา งานนิวแมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกส์อตุ สาหกรรม รหสั วชิ า 30102-2007
ท–ป–น 2-2-3 จำนวนคาบสอน 4 คาบ : สปั ดาห์ ระดับช้นั ปวส.

พทุ ธพิ ิสยั

พฤติกรรม ความรู้ความจำ
ความเ ้ขาใจ
ช่ือหนว่ ย ประยุก ์ต-นำไปใช้
วิเคราะห์
สูงก ่วา
ทักษะ ิพสัย
ิจตพิสัย
รวม
ลำ ัดบความสำคัญ

บทที่ 1 หลกั การเบ้ืองตน้ ของระบบ 221 4 4 13 4
นิวแมตกิ ส์
5 4 13 4
บทที่ 2 ระบบการผลติ และจา่ ยลม 211 6 4 15 2

บทท่ี 3 อุปกรณก์ ารทำงานในระบบ 122 6 4 16 1
นวิ แมติกส์ 6 4 16 1
6 4 16 1
บทท่ี 4 วาลว์ ควบคุมทศิ ทาง 123 6 4 16 1
6 4 16 1
บทท่ี 5 วาลว์ ควบคุมลมไหลทางเดยี ว 1 2 3 5 4 14 3
7 4 16 1
บทที่ 6 วาลว์ ควบคมุ อัตราการไหล 123 4 4 12 5
5 4 14 3
บทที่ 7 วาล์วควบคุมความดนั 123
5 4 14 3
บทท่ี 8 วาลว์ หนว่ งเวลา 123
6 4 15 2
บทท่ี 9 ตวั นับ 122 79 56

บทท่ี 10 การเขยี นวงจรนวิ แมติกส์ 122

บทท่ี 11 พ้นื ฐานระบบไฮดรอลกิ ส์ 121

บทที่ 12 อปุ กรณ์ต้นกำลังระบบ 122
ไฮดรอลิกส์

บทที่ 13 อุปกรณท์ ำงานในระบบ 122
ไฮดรอลกิ ส์

บทที่ 14 วาล์วไฮดรอลกิ ส์ 122

รวม 16 27 30

ลำดับความสำคญั 321

แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 1 หน่วยที่ 1
ชือ่ วิชา งานนิวเมตกิ ส์และไฮดรอลิกส์อตุ สาหกรรม
เวลาเรยี นรวม 72 คาบ
รหัสวชิ า 30102-2007
ช่อื หน่วย หลกั การเบ้ืองต้นของระบบนวิ แมติกส์ สอนครั้งท่ี 1-2/18
ชอ่ื เรื่อง หลักการเบื้องตน้ ของระบบนิวแมติกส์ จำนวน 8 คาบ

หวั ข้อเรื่อง แบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 1
1.1 ความหมายของระบบนิวแมติกส์
1.2 ประวตั ิความเปน็ มาของระบบ

นวิ แมตกิ ส์
1.3 ข้อดีขอ้ เสยี ของระบบนิวแมติกส์
1.4 กฎเบ้ืองต้นของระบบนวิ แมตกิ ส์
1.5 คุณสมบัติทางฟิสิกส์ของอากาศ

แนวคดิ สำคญั
นิวแมติกส์เป็นระบบส่งกำลังโดยอาศัยลมเป็นตัวกลาง โดยแนวคิดของเทชิเบียส ชาวกรีก เมื่อ

2000 ปีก่อน และใน ค.ศ. 1883 ถูกใช้ในระบบเบรกลมรถไฟของเยอรมัน หลังจากนั้นได้ถูกพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
และใช้มากในอุตสาหกรรม มีข้อดีในเรื่องไม่ระเบิด ประหยัดค่าใช้จ่าย ระบบนิวแมติกส์จะอาศัยความสัมพันธ์
ระหว่างความดนั แรง อุณหภูมิ ปรมิ าตรและความชื้น

สมรรถนะย่อย
แสดงความรู้เกย่ี วกบั หลกั การเบือ้ งต้นของระบบนิวแมติกส์

จดุ ประสงค์การปฏิบัติ ด้านทกั ษะ
ดา้ นความรู้ 1. นำตัวอกั ษรหนา้ ข้อความด้านขวามอื มา

1. บอกความหมายของนิวแมติกส์ เตมิ ลงหนา้ ตวั เลขด้านซา้ ยมอื ให้สมั พันธ์
2. บอกประโยชนข์ องระบบนวิ แมติกส์ กัน
3. เปรียบเทียบข้อดี ข้อเสยี ของระบบนิวแมติกส์
2. ทำเครือ่ งหมายถกู ✓ หนา้ ขอ้ ที่ถกู หรือ
กบั ระบบอ่นื ๆ ผิด  หนา้ ขอ้ ทีผ่ ิด
4. บอกความหมายของความดนั อณุ หภมู ิ ความช้ืน

5. เปรยี บเทียบค่าความดัน อุณหภูมิ ระหว่างหน่วย 3. แสดงวธิ ีทำเพอ่ื หาคำตอบ
6. คำนวณหาปรมิ าณไอนำ้ ในอากาศ และความ

ช้ืนสมั พทั ธ์
7. อธิบายความสัมพธั ข์ องความดัน อณุ หภูมิ และ

ปรมิ าตรของอากาศ
8. คำนวณหาค่าความดนั ปรมิ าตรและอุณหภมู ิ

ของอากาศ

ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แสดงออกด้านการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซื่อสัตย์ สุจริต ความมีน้ำใจและแบง่ บนั

ความร่วมมอื ความมมี ารยาท

เนอื้ หาสาระ
1.1 ความหมายของระบบนิวแมตกิ ส์
ความหมายของระบบนิวแมติกส์ล้วนเกี่ยวข้องกับอากาศทั้งสิ้น เพราะลักษณะการทำงานของ

ระบบนิวแมติกส์ เป็นการนำลมมาใช้เป็นพลังงานขับดันให้อุปกรณ์ต่าง ๆ เคลื่อนที่ เช่น ใช้ส่งกำลังให้วาล์วเลื่อน
ไป–มา เพื่อควบคมุ ให้ลกู สบู เลอื่ นเข้า–ออก หรือควบคุมใหม้ อเตอร์ลมหมนุ ทวน–ตามเขม็ นาฬิกา เป็นตน้

1.2 ประวตั ิความเป็นมาของระบบนิวแมติกส์
เมื่อ 2000 ปกี อ่ น เทซิเบียส (Ktesibios) ชาวกรกี ใชก้ ารอดั ลมเป็นต้นกำลังยงิ อาวธุ
ค.ศ. 1883 ใช้ในระบบเบรกลมในรถไฟของเยอรมัน
ค.ศ. 1835 ใชใ้ นระบบสง่ เอกสารทางทอ่ ลมของออสเตรีย

1.3 ข้อดี ข้อเสียของระบบนวิ แมติกส์
ข้อดีของระบบนวิ แมติกส์
1. ไม่มีการระเบดิ หรอื ลุกไหม้เป็นเปลวไฟ จึงประหยัดคา่ ใช้จ่ายเกย่ี วกบั การป้องกันความปลอดภัย
2. ความเร็วของเคร่ืองมือท่ใี ชร้ ะบบนวิ แมติกส์ ใหค้ วามเรว็ ในการทำงานสงู 1–2 m/s
3. เมื่อใช ้งานแล้ว สามารถระบายลม ออกสู่บรรยากาศได้ทันทีโ ดยไม่ต้องเดิน

ทอ่ ทางนำกลับมาใชอ้ กี
4. สามารถนำลมทอ่ี ดั ตัวแล้วเกบ็ ไวใ้ นถังและนำไปใช้งานได้ทันที
5. ถา้ ใช้งานอปุ กรณน์ วิ แมตกิ สจ์ นเกินกำลัง อุปกรณก์ ็ยงั มคี วามปลอดภยั

6. สามารถปรับความเร็วในการทำงานได้โดยใช้อุปกรณ์ควบคุมความเร็ว และสามารถทำให้รอบใน
การทำงานสูงถึง 8,000 รอบต่อวนิ าที

7. สามารถปรบั ความดันลมอัดให้มีคา่ มากนอ้ ยไดต้ ามต้องการ โดยใช้อุปกรณค์ วบคุมความดนั
8. ความสะอาดของระบบนวิ แมติกส์ดีมาก เพราะมีชดุ ปรับคุณภาพลมกอ่ นนำไปใช้งาน
9. ระยะชักของกา้ นสูบสามารถปรับแต่งระยะชักใหส้ น้ั หรือยาวได้ตามต้องการ
10.สามารถทำงานไดท้ ่ีระดับความแตกต่างของอณุ หภมู ิ
ข้อเสียของระบบนิวแมตกิ ส์
1. บางครั้งมีการเพิ่มอุปกรณ์นิวแมติกส์เขา้ มาในวงจรโดยไม่คำนึงถึงความสามารถของเครื่องอัดลม
ซึ่งอาจจะทำใหเ้ คร่อื งจกั รทำงานคลาดเคล่ือนได้
2. ลมที่ได้มาจากการอัดตัวในระบบนิวแมติกส์จะมีความชื้นปนอยู่ และเมื่อความดันลดลง
จะทำให้เกิดหยดน้ำขนึ้ ได้
3. การทำงานของระบบนิวแมติกส์มักจะมีเสียงดัง เพราะจะต้องมีการระบายลมท้ิงออกสู่บรรยากาศ
จึงจำเป็นจะต้องมตี วั เกบ็ เสียง
4. ความดันของลมอัดในระบบนิวแมติกส์จะเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิ ถ้าอุณหภูมิสูง ความดันก็
จะสูง และถ้าอุณหภูมิต่ำความดัน ก็จะต่ำลงดว้ ย
5. ถ้าต้องการแรงในการใช้งานมากเส้นผ่านศูนย์กลางของลูกสูบจะต้องมีขนาดโตขึ้น เพื่อที่จะให้ได้
แรงตามต้องการ ซ่ึงลูกสบู ในระบบนิวแมติกสจ์ ะมขี นาดจำกดั
1.4 กฎเบอื้ งต้นของระบบนวิ แมตกิ ส์
1.4.1 ความดันอากาศ คือ แรงดันของอากาศที่กระทำต่อวัตถุในแนวตั้งฉาก หน่วยวัดแรงดันอากาศ
สากล นิยมใชก้ นั มอี ยู่ดังน้ี
Pa = ปาสคาล
N/m2 = นวิ ตัน/ตารางเมตร
kg/cm2 = กโิ ลกรมั /ตารางเซนตเิ มตร
PSI = ปอนด์/ตารางนิว้
bar = บาร์
1.4.2 ความดันบรรยากาศ (Atmospheric Pressure) หมายถึง แรงดันของอากาศที่กดลงมายังพื้น
โลก เนื่องจากพื้นโลกสงู ต่ำไมเ่ ท่ากนั ความดนั บรรยากาศจึงเปลยี่ นแปลงตามไปดว้ ย ทรี่ ะดับความสูงเพ่ิมข้ึนความ
ดันบรรยากาศจะลดลง ดังนั้นจึงได้กำหนดเอาระดับน้ำทะเลเป็นระดับมาตรฐานในการวัดค่าความดันบรรยากาศ
ซ่ึงมีคา่ 14.7 PSI หรือ 1.033 kg/cm2 หรอื 1.014 bar

1.4.3 ความดันสมบูรณ์ (Absolute Pressure) หมายถึง ความดันแท้จริงทีว่ ัดเปรยี บเทียบกับความ
ดันสุญญากาศ ดังน้นั ความดันบรรยากาศจึงเปน็ ความดันสัมบรู ณด์ ้วย

1.4.4 ความดันเกจ (Gauge Pressure) หมายถึง ความดันที่วัดเปรียบเทียบกับความดันบรรยากาศ
จะมีค่าเป็นบวกเมื่อมีความดันสูงกว่าความดันบรรยากาศ และความดันเกจที่ต่ำกว่าความดันบรรยากาศ จะมีค่า
เปน็ ลบ

1.4.5 ความสัมพันธ์ของความดัน ความดันบรรยากาศ ความดันสัมบูรณ์ และความดันเกจ มี
ความสมั พันธก์ นั ดงั แสดงดว้ ยสมการ

ความดันสัมบรู ณ์ (Pa) = ความดนั บรรยากาศ + ความดันเกจ (Pg)
1.4.6 อณุ หภูมิ หมายถึง ระดับความรอ้ นของสารตวั กลางท่ีสภาวะตา่ ง ๆ หนว่ ยวัดอุณหภูมิที่นยิ มใช้
คือ องศาเคลวิน (K) กับองศาเซลเซียส (oC) ทร่ี ะดับอณุ หภูมิ

0oC = 273 K
–273oC = 0 K
การเปลีย่ นแปลงคา่ อณุ หภูมิทกุ 1oC จะทำใหเ้ กิดการเปล่ยี นแปลง 1 K เช่นกนั
1.4.7 ความชื้น หมายถึง ปริมาณของไอน้ำที่ปะปนอยู่ในอากาศ ความชื้นสามารถรวมตัวกันและ
กลั่นตัวเป็นหยดน้ำได้ ซึ่งขึ้นอยู่กับอุณหภูมิและสภาวะของอากาศในขณะนั้น ๆ หน่วยวัดความชื้นวัดเป็นกรัมตอ่
ลูกบาศก์เมตร (g/m3)
1.4.8 ความชนื้ อมิ่ ตัว หมายถงึ ระดับความช้ืนสูงสุดที่อากาศสามารถดูดซับไว้ได้ ณ ระดับอุณหภูมิหนึ่ง
เช่น ทีร่ ะดับอณุ หภูมิ 51oC อากาศสามารถดูดซับความชนื้ ไดส้ ูงสุด 86.9 g/m3 เป็นตน้
1.4.9 ความชน้ื สัมบูรณ์ หมายถึง ความชน้ื ท่ีมีอยจู่ รงิ ในอากาศ
1.4.10 ความชื้นสมั พัทธ์ หมายถึง สดั สว่ นของความช้นื สัมบรู ณ์ต่อความชน้ื อิ่มตัว สามารถเขียนเป็น
สมการได้ดงั นี้

ความช้ืนสมั พทั ธ์ = ความช้ืนสัมบรู ณ์  100
ความช้ืนอ่ิมตวั

ความชนื้ สมั พัทธ์มีหน่วยเป็น เปอรเ์ ซ็นต์
1.5 คณุ สมบัติทางฟสิ ิกสข์ องอากาศ

1.5.1 กฎของบอยล์ (Boyle’s Law) จากกฎของบอยลจ์ ะได้สมการดังนี้
P1 x V1 = P2 x V2
P1 = ความดันเรมิ่ ต้น (bar)
V1 = ปรมิ าตรเริม่ ตน้ (m3)
P2 = ความดันสดุ ทา้ ย (bar)

V2 = ปรมิ าตรสุดทา้ ย (m3)

1.5.2 กฎของชารล์ (Charl’s Law) จากกฎของชารล์ จะไดส้ มการดังน้ี

VT21 = VT22
V1 = ปรมิ าตรเริ่มตน้ (m3)

V2 = ปรมิ าตรสุดทา้ ย (m3)

T1 = อณุ หภมู ิเริ่มต้น (K)

T2 = อณุ หภูมสิ ุดท้าย (K)

1.5.3 กฎของเกย์ลสู แซก (Gay–Lussac’s Law) จากกฎของลูสแซกจะไดส้ มการดงั นี้
PP21 = TT22

P1 = ความดันเริม่ ต้น (bar)

P2 = ความดันสดุ ท้าย (bar)

T1 = อุณหภูมิเร่ิมต้น (K)

T2 = อุณหภูมิสุดท้าย (K)

1.5.4 กฎทั่วไปเกยี่ วกบั ก๊าซ เปน็ การรวมเอากฎของบอยลแ์ ละชารล์ เข้าด้วยกนั ภายใต้สภาวะใด ๆ ที่

ก๊าซเปล่ยี นแปลงทั้งความดัน อณุ หภูมิ และปรมิ าตร จะได้สมการดังน้ี
P1 V1
 = P2  V2
T1 T2

P1 = ความดันเริ่มต้น (bar)

V1 = ปริมาตรเร่ิมต้น (m3)

P2 = ความดันสุดท้าย (bar)

V2 = ปริมาตรสดุ ท้าย (m3)

T1 = อณุ หภมู ิเร่มิ ต้น (K)

T2 = อณุ หภมู ิสดุ ท้าย (K)

กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ท่ี 1/18, คาบท่ี 1-4/56)

1. ครูชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับคำอธิบายรายวิชา จุดประสงค์รายวิชา การวัดผลและประเมินผลการ

เรยี น คณุ ลกั ษณะนสิ ัยที่ตอ้ งการให้เกิดขึน้ และข้อตกลงในการเรียน

2. นกั เรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรียนหน่วยท่ี 1 ใชเ้ วลาประมาณ 20 นาที

3. แบ่งนักเรียนเปน็ กลุ่ม กลุม่ ละ 5 คน

4. ครใู ห้นกั เรยี นดเู น้อื หาหน่วยที่ 1
5. ขั้นนำเขา้ สูบ่ ทเรียน

5.1 ครนู ำรูปภาพเกี่ยวกบั การใชป้ ระโยชนจ์ ากลมมาใหน้ ักเรยี นดู
5.2 ครตู ้งั คำถามใหน้ กั เรียนชว่ ยกนั ตอบ แล้วร่วมกันอภปิ รายเกย่ี วกบั การใชป้ ระโยชนจ์ ากลม
5.3 ครแู จ้งจดุ ประสงคก์ ารเรยี นขอ้ 1-4
6. ข้นั สอน
6.1 นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ศกึ ษาจากเนอื้ หาในหน่วยที่ 1 เรอื่ งหลกั การเบอ้ื งต้นของระบบนิวแมตกิ ส์
6.2 แต่ละกลุ่มส่งตวั แทนมากลุ่มละ 1 คน มาอภิปรายหน้าช้ันเรียนเพื่อสรุปเกี่ยวกับการใชป้ ระโยชน์
จากลม ประวตั ิความเปน็ มาของระบบนวิ แมติกส์ และเปรียบเทยี บขอ้ ดี ข้อเสยี ของระบบนิวแมติกส์
6.3 ครใู ห้ความรู้เพิ่มเตมิ โดยใชส้ อ่ื PowerPoint
6.4 นกั เรยี นทำแบบฝึกหัดตอนที่ 1 และตอนที่ 2
7. ขน้ั สรุป
ครูและนกั เรียนรว่ มกันเฉลยกจิ กรรมและร่วมกันอภปิ รายสรปุ บทเรยี น
กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ที่ 2/18, คาบท่ี 5-8/56)
1. เตรียมความพรอ้ มในการเรียนโดยการเรียกชอื่ และสำรวจ
2. ขั้นนำเข้าส่บู ทเรยี น
2.1 ครูทบทวนเนื้อหาท่เี รยี นในคร้ังท่ี 1
2.2 ครูแจ้งจดุ ประสงค์การเรยี นขอ้ 5-8
3. ขนั้ สอน
3.1 นักเรียนศึกษาเนื้อหาจากหนังสือในหัวข้อกฎเบื้องต้นของระบบนิวแมติกส์ และคุณสมบัติทาง

ฟิสิกส์ของอากาศ
3.2 ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับตัวอย่างการคำนวณเกี่ยวกับเรื่องกฎเบื้องต้นของระบบนิวแม-ติกส์

และคุณสมบัติทางฟสิ กิ ส์ของอากาศ
3.3 ส่มุ ตวั อยา่ งใหน้ กั เรียนออกมาทำการคำนวณตามโจทย์ท่ีครูกำหนดให้
3.4 นกั เรยี นทำแบบฝึกหดั ตอนที่ 3
4. ขนั้ สรุป ครูและนกั เรยี นรว่ มกันเฉลยแบบฝกึ หดั และร่วมกันอภิปรายสรปุ บทเรียน
5. ให้นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลังเรียน
สอื่ และแหล่งการเรียนรู้
1. สอื่ การเรียนรู้
1.1 หนงั สอื เรยี น หนว่ ยที่ 1 เรื่อง หลกั การเบอ้ื งตน้ ของระบบนิวแมตกิ ส์

1.2 PowerPoint ประกอบการสอน หน่วยท่ี 1
1.3 แบบฝกึ หดั ตอนท่ี 1-3
1.4 แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียน
2. แหล่งการเรียนรู้
2.1 หนังสอื เกยี่ วกับระบบนวิ แมติกส์ ของสำนักพิมพต์ ่าง ๆ
2.2 อินเทอร์เน็ต
การวดั ผลและประเมนิ ผล
1. การวัดผลและการประเมนิ ผล
1.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
ผา่ นเกณฑ์
1.2 ทดสอบโดยใช้แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรียน
1.3 สังเกตการปฏิบตั กิ ิจกรรมกลุ่มโดยใชแ้ บบประเมนิ ผลการปฏบิ ัติกจิ กรรมกลุ่ม
1.4 ตรวจแบบฝกึ หัด
2. เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผล
2.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
ผ่านเกณฑ์
2.2 แบบทดสอบหลงั เรยี น ตอ้ งได้คะแนนไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
2.3 แบบประเมนิ พฤติกรรมการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลมุ่ ต้องไดค้ ะแนนไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
2.4 แบบฝกึ หดั ต้องไดค้ ะแนนไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
งานท่มี อบหมาย
งานทม่ี อบหมายนอกเหนือเวลาเรยี นไมม่ ี

ผลงาน/ช้ินงาน/ความสำเรจ็ ของผเู้ รียน
1. ผลการนำเสนองานกลุม่
2. ผลการทำแบบฝึกหดั หน่วยท่ี 1
3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หนว่ ยท่ี 1

เอกสารอ้างอิง
1. หนงั สอื เรยี นวชิ างานนิวแมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์อตุ สาหกรรม
2. เวบ็ ไซต์และสอื่ สงิ่ พมิ พ์ทีเกี่ยวขอ้ งกบั เน้ือหาบทเรยี นตามบรรณานุกรม

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 2 หนว่ ยที่ 2
ชื่อวิชา งานนวิ เมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์เบอื้ งตน้ เวลาเรยี นรวม 72
คาบ
รหัสวชิ า 30102-2007 สอนคร้ังท่ี 3/18
ช่ือหน่วย ระบบการผลิตและจา่ ยลม จำนวน 4 คาบ
ชอ่ื เรือ่ ง ระบบการผลติ และจ่ายลม

หวั ข้อเรอ่ื ง แบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 2
2.1 โครงสรา้ งระบบการผลติ และจา่ ยลม
2.2 เครื่องอดั อากาศ
2.3 ถงั เกบ็ ลม
2.4 มอเตอร์ไฟฟา้
2.5 เครอื่ งระบายความรอ้ น
2.6 เคร่อื งกำจดั ความช้นื
2.7 เกจความดัน
2.8 อปุ กรณ์กรองลมท่อลมหลกั
2.9 อปุ กรณ์ระบายน้ำ
2.10 วาลว์ นริ ภัย
2.11 วาล์วกนั กลับ
2.12 ท่อสง่ จ่ายลม
2.13 ชดุ ปรบั คุณภาพลมอดั

แนวคิดสำคัญ
ระบบการผลติ และจา่ ยลมจะมสี ่วนประกอบในระบบที่สำคัญ คอื เคร่ืองอดั อากาศ มอเตอร์ไฟฟ้า ถงั เก็บ

ลม สวิตชค์ วามดนั อุปกรณ์ระบายน้ำ วาล์วนริ ภัย อปุ กรณก์ ำจดั ความชนื้ และอุปกรณ์กรองลม

สมรรถนะย่อย
แสดงความรู้เกี่ยวกบั ระบบการผลติ และจา่ ยลม

จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ ด้านทักษะ
ดา้ นความรู้ 1. บอกช่ือสว่ นประกอบในระบบการผลติ ลม

1. บอกส่วนประกอบของระบบการผลติ และใชล้ ม และจ่ายลม
2. บอกหน้าท่ีและการทำงานของเครือ่ งอัดอากาศ
3. ระบุช่ือและหนา้ ท่ีของอปุ กรณใ์ นระบบผลติ

และจา่ ยลม

ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แสดงออกด้านการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซื่อสัตย์ สุจริต ความมีน้ำใจและแบง่ บนั

ความรว่ มมอื ความมมี ารยาท

เน้ือหาสาระ
2.1 โครงสร้างระบบการผลิตและจา่ ยลม
สว่ นประกอบของระบบการผลติ และการใช้ลม
1. ระบบการผลิตและสง่ จ่ายลมอัด
- เครอ่ื งอัดอากาศ (Air Compressor)
- มอเตอร์ไฟฟา้ (Electric Motor)
- สวิตชค์ วามดนั (Pressure Switch)
- วาลว์ ป้องกนั การไหลยอ้ นกลบั (Check Valve)
- ถังเกบ็ ลม (Air Tank)
- เกจวดั ความดัน (Pressure Gauge)
- อปุ กรณ์ระบายน้ำ (Water Drain)
- วาล์วนริ ภยั (Safety Valve)
- อุปกรณ์กำจดั ความชนื้ (Air Dryer)
- อุปกรณก์ รองลม (Air Filter)
2. ระบบการใช้ลมอดั
- ท่อส่งจ่ายลม (Ducting Work)
- อุปกรณร์ ะบายน้ำ (Water Drain)
- ชุดปรับคณุ ภาพลม (Service Unit)
- วาลว์ ควบคุมทศิ ทาง (Directional Control Valve)

- อุปกรณ์ทำงาน (Working Element)
- อปุ กรณค์ วบคมุ ความเรว็ (Speed Control)
2.2 เครื่องอัดอากาศ
เครื่องอัดอากาศ (Air Compressor) มีหน้าที่เปลี่ยนพลังงานกลให้อยู่ในรูปของพลังงานนิวแมติกส์
โดยที่ตัวเครื่องอัดจะดูดอากาศเข้ามาทางท่อดูดแล้วอัดให้มีความดันเพิ่มขึ้น จากนั้นจึงส่งอากาศที่ถูกอัดแล้ว ไปเก็บ
ยงั ถงั พกั ลม ก่อนท่ีจะถกู สง่ ไปใชง้ านในระบบนวิ แมติกสต์ ่อไป
2.3 ถงั เก็บลม
หน้าที่ของถังเกบ็ ลม คือ เก็บรักษาแรงดันลมใหม้ ีคา่ เหมาะสมตอ่ การใช้งาน เก็บรักษาปริมาณลมให้
เพียงพอต่อการใช้งาน แยกไอน้ำที่ปะปนมากับลมอัดให้กลั่นตัวเป็นหยดน้ำ ระบายความร้อนลมอัด และติดตั้ง
อปุ กรณป์ ระกอบ เช่น เกจวัดความดัน วาล์วระบายน้ำ วาลว์ นิรภยั วาล์ว ปดิ -เปดิ เปน็ ต้น
2.4 มอเตอร์ไฟฟ้า
มอเตอร์ไฟฟ้าในการผลิตลม มีหน้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานกล เพื่อหมุนขับเครื่องอัด
อากาศให้เปล่ียนเปน็ พลังงานลมอัด ขนาดของกำลังขบั (HP) มอเตอรไ์ ฟฟ้า จะเปลยี่ นไป ตามความจุของถังเก็บลม
อัด
2.5 เครื่องระบายความร้อน
มีหนา้ ที่ ลดอณุ หภูมลิ มอัด ลดความชื้น และลดฝุ่นละออง
2.6 เครื่องกำจดั ความชืน้
เครื่องกำจัดความชื้น (Air Dryer) มีหน้าที่กำจัดความชื้นที่เหลือมาจากเครื่องระบายความร้อนและ
ถังเก็บลมอัดซ้ำอกี
2.7 เกจความดัน
เกจวดั ความดัน (Pressure Gauge) มหี น้าทแี่ สดงระดับความดนั ลมอัด มหี น่วยเปน็ bar และ PSI
2.8 อุปกรณ์กรองลมท่อลมหลัก
อปุ กรณก์ รองลมทอ่ ลมหลัก (Main Line Filter) มีหนา้ ที่จับฝ่นุ ละออง นำ้ และนำ้ มนั ในท่อลมหลกั
2.9 อุปกรณร์ ะบายนำ้
อปุ กรณ์ระบายนำ้ มีหน้าที่ระบายนำ้ ออกจากอุปกรณ์ทีเ่ กิดจากการกลน่ั ตัวของไอนำ้ ออกสู่ภายนอก
2.10 วาล์วนริ ภยั
วาลว์ นริ ภยั (Safety Valve) มีหน้าทก่ี ำจดั ความดันในถังเกบ็ ลมไม่ใหเ้ กินค่าที่กำหนด
2.11 วาล์วกันกลบั
วาลว์ กันกลบั (Check Valve) มหี น้าท่ีป้องกันการไหลย้อนกลบั ของลมในระบบผลิตลมอัด
2.12 ท่อสง่ จา่ ยลม

การติดตัง้ ท่อลม
1. วางท่อเมนในแนวนอน ให้ลาดเอียงไปทางปลายทอ่ เพื่อให้น้ำที่กลั่นตัวไหลไปที่อุปกรณ์ระบาย
นำ้ ได้
2. ตอ่ ทอ่ แยกลมออกจากท่อเมนทางดา้ นบนเพอื่ ป้องกนั นำ้ เขา้ ไปในระบบ
3. ตดิ ตั้งอุปกรณร์ ะบายน้ำท่ปี ลายทอ่ ลมท่สี ่งจา่ ยไปยังจุดต่าง ๆ
2.13 ชุดปรับคุณภาพลมอดั
ชุดปรับคุณภาพลมอัด (Service Unit) เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยในการทำความสะอาด ปรับแต่งค่า ความ
ดัน รวมทง้ั บางกรณีอาจมีการผสมน้ำมันหล่อล่นื เข้าไปในลมอัดดว้ ย เพ่อื ยดื อายุการใช้งานของอุปกรณ์ นิวแมติกส์

กิจกรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ที่ 3/18, คาบที่ 9-12/56)
8. นักเรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหน่วยที่ 2 ใช้เวลาประมาณ 20 นาที
9. แบง่ นกั เรยี นเปน็ กลุม่ กล่มุ ละ 5 คน
10. ครูใหน้ กั เรียนดเู นอ้ื หาหน่วยที่ 2
11. ขน้ั นำเข้าสบู่ ทเรียน ครูตั้งคำถามใหน้ ักเรยี นชว่ ยกันตอบ แล้วร่วมกนั อภปิ รายเพอื่ ให้ไดข้ ้อสรุป
12. ครแู จง้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนทงั้ ทฤษฎแี ละปฏบิ ัติ
13. ขัน้ สอน
13.1 ครูอธบิ าย บรรยาย และถามตอบ นกั เรียนศึกษาจากเนื้อหาในหวั ข้อเรอ่ื ง
13.2แตล่ ะกลุ่มสง่ ตวั แทนมากลุ่มละ 1 คน มาอภิปรายหนา้ ชั้นเรยี นเพือ่ สรปุ
13.3ครใู หค้ วามรู้เพิ่มเติมโดยใช้ส่อื PowerPoint
13.4นักเรยี นทำแบบฝกึ หดั
14.ขนั้ สรุป ครแู ละนักเรยี นร่วมกันเฉลยกิจกรรมและรว่ มกนั อภปิ รายสรปุ บทเรยี น
15. ใหน้ กั เรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรยี น

ส่ือและแหล่งการเรียนรู้
3. ส่ือการเรียนรู้
3.1 หนงั สือเรยี น หน่วยท่ี 2 เรือ่ ง ระบบการผลติ และจ่ายลม
3.2 PowerPoint ประกอบการสอน หนว่ ยท่ี 2
3.3 แบบฝกึ หดั
3.4 แบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรียน
4. แหล่งการเรยี นรู้

4.1 หนงั สือเกี่ยวกับระบบนิวเมติกส์ ของสำนักพิมพต์ ่าง ๆ
4.2 อินเทอรเ์ น็ต
การวัดผลและประเมนิ ผล
3. การวัดผลและการประเมนิ ผล
3.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
ผา่ นเกณฑ์
3.2 ทดสอบโดยใช้แบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรยี น
3.3 สงั เกตการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมกล่มุ โดยใชแ้ บบประเมนิ ผลการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมกลุ่ม
3.4 ตรวจแบบฝกึ หดั
4. เกณฑก์ ารวัดและประเมนิ ผล
4.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
ผ่านเกณฑ์
4.2 แบบทดสอบหลงั เรยี น ต้องได้คะแนนไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
4.3 แบบประเมินพฤตกิ รรมการปฏิบตั กิ จิ กรรมกลุ่มต้องไดค้ ะแนนไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
4.4 แบบฝึกหัดต้องไดค้ ะแนนไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

งานที่มอบหมาย
งานท่ีมอบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ให้ทบทวนเน้ือหา รวมทงั้ ความสมบูรณข์ องแบบฝึกหัด

ผลงาน/ชน้ิ งาน/ความสำเร็จของผูเ้ รียน
1. ผลการนำเสนองานกลุ่ม
2. ผลการทำแบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 2
3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หนว่ ยท่ี 2

เอกสารอ้างอิง
1. หนังสือเรียนวิชางานนวิ เมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์อตุ สาหกรรม
2. เว็บไซตแ์ ละส่ือสง่ิ พมิ พ์ท่เี ก่ียวขอ้ งกบั เนื้อหาบทเรียนตามบรรณานุกรม

แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 3 หน่วยที่ 3
ช่ือวิชา งานนวิ เมติกส์และไฮดรอลกิ ส์เบ้อื งต้น เวลาเรียนรวม 72
คาบ
รหัสวชิ า 30102-2007 สอนครงั้ ท่ี 4/18
ช่อื หน่วย อปุ กรณ์ทำงานในระบบนิวแมติกส์ จำนวน 4 คาบ
ชือ่ เร่อื ง อปุ กรณท์ ำงานในระบบนิวเมติกส์

หัวข้อเรื่อง แบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 3
3.1 อปุ กรณ์ทเี่ คลื่อนทเี่ ป็นเส้นตรง
3.2 อปุ กรณ์ที่เคล่ือนที่เปน็ เสน้ รอบวง

แนวคดิ สำคญั
อุปกรณ์ทำงานในระบบนิวแมติกส์และแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ตามลักษณะการทำงาน คือ

อุปกรณ์ท่ที ำใหเ้ กดิ การเคลอ่ื นที่ในแนวเส้นตรง ซง่ึ เปน็ ลูกซูบทำงานทางเดียวและสองทาง และอุปกรณท์ ี่ทำให้เกิด
การเคล่อื นที่ในแนวเสน้ รอบวง ซ่ึงเป็นการทำงานในลักษณะหมุนแกวง่ และหมุนรอบ

สมรรถนะย่อย
แสดงความรเู้ กยี่ วกบั อุปกรณ์ทำงานในระบบนิวแมติกส์

จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ ดา้ นทักษะ
ดา้ นความรู้ 1. นำตัวอกั ษรหน้าสญั ลกั ษณ์ของอุปกรณ์

1. บอกลักษณะโครงสรา้ งและการทำงานของ ทำงานเตมิ ลงหนา้ ขอ้ ให้ถูกตอ้ ง
ลกู สูบลมชนิดทำงานทางเดยี ว 2. นำตวั เลขจากรูปเติมหนา้ ข้อใหถ้ ูกต้อง

2. บอกลกั ษณะโครงสร้างและการทำงานของ
ลกู สูบลมชนดิ ทำงานสองทาง

3. บอกอปุ กรณ์ทำงานในลกั ษณะหมนุ แกว่ ง
4. บอกอุปกรณ์ทำงานในลกั ษณะหมนุ รอบ

ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
แสดงออกด้านการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซื่อสัตย์ สุจริต ความมีน้ำใจและแบง่ บนั

ความรว่ มมือ ความมมี ารยาท

เนื้อหาสาระ
3.1 อปุ กรณ์ที่เคลือ่ นทีเ่ ป็นเสน้ ตรง
อุปกรณ์ท่เี คลื่อนทีเ่ ป็นเส้นตรง (Linear Motion) ในระบบนิวแมติกส์อปุ กรณ์ทเี่ คลื่อนท่ีเป็นเส้นตรง

จะนิยมใช้ลูกสูบลม (Pneumatic Cylinder) เพราะใช้งานง่าย โครงสร้างไม่ซบั ซอ้ น ลูกสูบสามารถแบ่งได้ 2 ชนดิ
คอื ลกู สูบลมชนิดทำงานทางเดียว (Single Acting Cylinder) และ ลูกสูบลมชนดิ ทำงานสองทาง (Double Acting
Cylinder)

3.2 อปุ กรณ์ท่ีเคล่ือนท่ีเปน็ เสน้ รอบวง
อุปกรณ์ทีเ่ คล่ือนที่เป็นเส้นรอบวง (Rotary Motion) แบง่ ไดเ้ ปน็ 2 ชนดิ
1. อปุ กรณ์ทำงานในลกั ษณะของการหมุนแกวง่ (Oscillation Motion)
2. อปุ กรณ์ทำงานในลักษณะหมุนรอบ (Rotary Motion)

กจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 4/18, คาบท่ี 13-16/56)
16. นกั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรียนหน่วยท่ี 3 ใชเ้ วลาประมาณ 20 นาที
17. แบ่งนักเรยี นเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน
18. ครูให้นกั เรยี นดูเนื้อหาหนว่ ยท่ี 3
19. ขั้นนำเข้าสบู่ ทเรียน ครูต้ังคำถามให้นักเรยี นช่วยกันตอบ แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ไดข้ ้อสรปุ
20. ครแู จ้งจุดประสงค์การเรียนท้งั ทฤษฎีและปฏบิ ัติ
21. ขน้ั สอน
21.1 ครอู ธบิ าย บรรยาย และถามตอบ นกั เรียนศึกษาจากเนอ้ื หาในหัวขอ้ เรือ่ ง
21.2แต่ละกล่มุ สง่ ตัวแทนมากลุม่ ละ 1 คน มาอภิปรายหนา้ ชน้ั เรียนเพอื่ สรุป
21.3ครูให้ความรู้เพิม่ เติมโดยใชส้ อ่ื PowerPoint
21.4นักเรยี นทำแบบฝกึ หดั ตอนที่ 1 และ ตอนท่ี 2
22.ขน้ั สรุป ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั เฉลยกจิ กรรมและร่วมกันอภิปรายสรุปบทเรียน
23. ใหน้ กั เรยี นทำแบบทดสอบหลังเรียน

ส่อื และแหล่งการเรียนรู้
5. สือ่ การเรียนรู้
5.1 หนงั สือเรียน หนว่ ยท่ี 3 เรอ่ื ง อุปกรณ์ทำงานในระบบนวิ แมติกส์
5.2 PowerPoint ประกอบการสอน หน่วยที่ 3

5.3 แบบฝกึ หัด
5.4 แบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรียน

6. แหลง่ การเรียนรู้
6.1 หนังสือเกย่ี วกับระบบนิวแมติกส์ ของสำนักพิมพต์ ่าง ๆ
6.2 อนิ เทอร์เนต็

การวัดผลและประเมนิ ผล
5. การวดั ผลและการประเมนิ ผล
5.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

ผา่ นเกณฑ์
5.2 ทดสอบโดยใช้แบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรียน
5.3 สงั เกตการปฏบิ ัติกิจกรรมกลุ่มโดยใช้แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ัติกจิ กรรมกลุ่ม
5.4 ตรวจแบบฝกึ หดั

6. เกณฑก์ ารวดั และประเมินผล
6.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

ผา่ นเกณฑ์
6.2 แบบทดสอบหลังเรียน ตอ้ งได้คะแนนไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
6.3 แบบประเมนิ พฤติกรรมการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมกลุ่มต้องไดค้ ะแนนไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
6.4 แบบฝกึ หัดต้องไดค้ ะแนนไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

งานท่ีมอบหมาย
งานท่มี อบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ให้ทบทวนเน้ือหา รวมท้งั ความสมบรู ณข์ องแบบฝกึ หดั

ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสำเรจ็ ของผเู้ รียน
1. ผลการนำเสนองานกลมุ่
2. ผลการทำแบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 3
3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หนว่ ยท่ี 3

เอกสารอ้างองิ
1. หนังสือเรยี นวชิ างานนิวเมติกส์และไฮดรอลกิ ส์อตุ สาหกรรม
2. เว็บไซตแ์ ละส่ือสิ่งพิมพท์ ่ีเกี่ยวข้องกบั เน้ือหาบทเรียนตามบรรณานุกรม

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 4 หน่วยที่ 4
ชื่อวิชา งานนวิ เมติกสแ์ ละไฮดรอลิกสเ์ บื้องตน้ เวลาเรยี นรวม 72
คาบ
รหัสวชิ า 30102-2007 สอนคร้งั ที่ 5–6/18
ชื่อหน่วย วาล์วควบคมุ ทิศทาง จำนวน 8 คาบ
ช่อื เร่อื ง วาลว์ ควบคุมทศิ ทาง

หวั ข้อเร่อื ง แบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 4
4.1 สัญลกั ษณ์ของวาลว์ ควบคมุ ทิศทาง ใบงานท่ี 1-4
4.2 การอา่ นโคด้ สญั ลกั ษณ์วาล์ว
4.3 การต้ังชอ่ื รูลม
4.4 การบงั คับการเลอ่ื นของวาลว์
4.5 การอา่ นสญั ลกั ษณข์ องวาล์วควบคุมทิศทาง
4.6 โครงสรา้ งของวาล์วควบคมุ ทศิ ทาง

แนวคิดสำคญั
สัญลักษณ์ของวาล์วควบคุมทิศทางมีใช้เพื่อความสะดวกรวดเร็วต่อการนำไปใช้และทำความเข้าใจ วาล์ว

ควบคุมทิศทางมีหน้าที่ควบคุมการไหลของลมให้เป็นไปตามที่ต้องการ เช่น ปิด-เปิด หรือเปลี่ยนทิศทางลมเพื่อให้
อุปกรณ์ทำงานและเคล่ือนท่ไี ปตามทิศทางทตี่ ้องการ

สมรรถนะย่อย
แสดงความรู้เกยี่ วกับวาล์วควบคุมทิศทาง

จุดประสงค์การปฏิบตั ิ

ดา้ นความรู้ ด้านทกั ษะ
1. อ่านความหมายของลักษณะของวาลว์ 1. เลอื กทำเครื่องหมาย  ในชอ่ ง

ควบคมุ ทิศทาง ความหมายให้ถูกต้อง
2. อ่านโคด้ สัญลักษณ์วาลว์ 2. ต่อวงจรและทดสอบการควบคมุ
3. อา่ นสัญลักษณว์ าลว์ ควบคมุ ทิศทาง
กระบอกสบู ทางเดียวแบบ Direct control

3. ตอ่ วงจรและทดสอบการควบคุม
กระบอกสบู ทางเดยี วแบบ Indirect control

4. ต่อวงจรและทดสอบการควบคมุ
กระบอกสบู สองทางแบบ Direct control

5. ตอ่ วงจรและทดสอบการควบคมุ
กระบอกสูบสองทางแบบ Indirect control

ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความ
แสดงออกดา้ นการตรงตอ่ เวลา ความสนใจใฝร่ ู้ ความซ่ือสัตย์ สจุ ริต ความมนี ้ำใจและแบ่งบัน
รว่ มมือ ความมีมารยาท ไมห่ ยุดนิ่งทจ่ี ะแก้ปญั หา ใชอ้ ุปกรณ์อย่างฉลาดและรอบคอบ

เนือ้ หาสาระ

4.1 สัญลกั ษณข์ องวาล์วควบคมุ ทิศทาง

ใช้เพื่อความสะดวกรวดเร็วง่ายต่อการอ่าน และการทำความเข้าใจการทำงานของระบบนวิ แม-ติกส์

ในวงการอุตสาหกรรม

4.2 การอ่านโคด้ สญั ลักษณว์ าล์ว

- ตำแหนง่ ปกตเิ ปดิ หมายถึง ในตำแหน่งทวี่ าล์วค้างอย่กู ่อนลมผ่านออกได้ NO (Normally

Open)

- ตำแหน่งปกติปดิ หมายถึง ในตำแหน่งที่วาลว์ ค้างอยู่ก่อนลมผา่ นออกไม่ได้ NC (Normally

Closed)

4.3 การต้ังช่อื รูลม

การตง้ั ชอื่ โดยทว่ั ไปนยิ มใช้ 3 แบบ คอื แบบตวั เลข แบบตวั อักษร และแบบตัวย่อ แต่ที่พบเห็น

ในปจั จุบันจะเป็นแบบตัวเลขกบั แบบตัวอักษร

4.4 การบังคับการเลื่อนของวาล์ว

การบังคับการเล่อื นของวาล์วควบคมุ ทิศทาง แบ่งได้ 4 ประเภท ไดแ้ ก่ การเลื่อนโดยใชม้ นษุ ย์

การเลอื่ นโดยใช้กลไก การเล่ือนโดยใช้ลม และการเลอ่ื นโดยใชไ้ ฟฟ้า

4.5 การอ่านสญั ลักษณ์ของวาลว์ ควบคุมทศิ ทาง

ตวั อย่างการอ่านสัญลักษณ์ของวาล์วควบคุมทศิ ทาง 2(A)

1(P)

อ่านว่า วาล์ว 2/2 ปกติเปิดเลื่อนวาล์ว โดยมือกดกลับ
โดยสปริง (2/2 D.C. Valve Normally Open Set by Push
Reset by Spring.)

4.6 โครงสรา้ งของวาลว์ ควบคุมทศิ ทาง
โครงสรา้ งของวาลว์ ควบคุมทิศทาง วาล์วควบคมุ ทิศทางแบ่งลักษณะโครงสร้างออกเป็น 2 ประเภท

คือ
- แบบนง่ั บ่า (Poppet Valve)
แบบลกู บอล (Ball Seat Valve)
แบบแผ่นกลม (Dise Seat Valve)
- แบบเลอื่ น (Slidc Valve)
แบบลกู สูบเล่ือน (Piston Slide Valve)
แบบลูกสูบและแผน่ เล่ือน (Piston Flat Slide Valve)
แบบแผน่ หมุน (Plate Slide Valve or Rotary Slide Valve)

กิจกรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ท่ี 5/18, คาบที่ 17-20/56)
24. นักเรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหน่วยท่ี 4 ใช้เวลาประมาณ 20 นาที
25. แบง่ นักเรยี นเป็นกลุ่ม กล่มุ ละ 5 คน
26. ครูให้นกั เรยี นดูเนอื้ หาหน่วยท่ี 4 หวั ขอ้ ที่ 4.1-4.3
27. ข้ันนำเขา้ สบู่ ทเรียน ครตู ้ังคำถามใหน้ กั เรยี นชว่ ยกันตอบ แลว้ ร่วมกันอภิปรายเพือ่ ใหไ้ ดข้ ้อสรปุ
28. ครูแจง้ จดุ ประสงค์การเรียนทัง้ ทฤษฎีและปฏิบตั ขิ ้อ 1-3
29. ขัน้ สอน
29.1 ครูอธิบาย บรรยาย และถามตอบ นกั เรียนศึกษาจากเน้ือหาในหวั ขอ้ เรื่อง 4.1-4.3
29.2แตล่ ะกล่มุ สง่ ตัวแทนมากล่มุ ละ 1 คน มาอภปิ รายหนา้ ชน้ั เรยี นเพือ่ สรปุ
29.3ครใู ห้ความรเู้ พ่มิ เตมิ โดยใชส้ ื่อ PowerPoint
29.4นักเรยี นทำกิจกรรมตามใบงานที่ 1-2
29.5ขณะนักเรียนทำกจิ กรรมตามใบงานครจู ะสังเกตการทำงานกล่มุ
30. ข้นั สรุป
ครูและนกั เรยี นร่วมกนั เฉลยกจิ กรรมและรว่ มกนั อภปิ รายสรปุ บทเรียน

กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ที่ 6/18, คาบท่ี 21-24/56)
1. ครทู บทวนเนอ้ื หา
2. แบง่ นักเรียนเป็นกลุม่ กลมุ่ ละ 5 คน
3. ครใู ห้นักเรยี นดเู นอื้ หาหนว่ ยที่ 4 หัวขอ้ ท่ี 4.4-4.6
4. ข้ันนำเขา้ ส่บู ทเรยี น ครูต้ังคำถามใหน้ ักเรียนช่วยกนั ตอบ แล้วร่วมกนั อภปิ รายเพื่อให้ได้ขอ้ สรปุ
5. ครแู จง้ จุดประสงค์การเรยี นทง้ั ทฤษฎีและปฏิบตั ขิ ้อ 4-6
6. ขน้ั สอน
6.1 ครูอธิบาย บรรยาย และถามตอบ นักเรยี นศึกษาจากเน้ือหาในหัวข้อเรอ่ื ง 4.4-4.6
6.2 แตล่ ะกลุม่ สง่ ตัวแทนมากลุม่ ละ 1 คน มาอภปิ รายหน้าชั้นเรยี นเพอื่ สรปุ
6.3 ครใู ห้ความรเู้ พิ่มเติมโดยใชส้ ื่อ PowerPoint
6.4 นกั เรียนทำกจิ กรรมตามใบงานที่ 3-4
6.5 ขณะนักเรยี นทำกจิ กรรมตามใบงานครจู ะสังเกตการทำงานกลมุ่
6.6 นกั เรียนทำแบบฝึกหัดและแบบทดสอบหลังเรยี นหนว่ ยที่ 4
7. ขัน้ สรปุ ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยกิจกรรมและรว่ มกนั อภิปรายสรุปบทเรยี น
8. ใหน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบหลังเรยี น

สือ่ และแหล่งการเรยี นรู้
7. สื่อการเรยี นรู้
7.1 หนังสือเรยี น หนว่ ยที่ 4 เรื่อง วาลว์ ควบคุมทศิ ทาง
7.2 PowerPoint ประกอบการสอน หน่วยที่ 4
7.3 แบบฝกึ หัด
7.4 แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรยี น
8. แหล่งการเรยี นรู้
8.1 หนังสือเก่ยี วกับระบบนวิ แมติกส์ ของสำนักพิมพต์ ่าง ๆ
8.2 อนิ เทอร์เนต็

การวัดผลและประเมนิ ผล
7. การวดั ผลและการประเมินผล
7.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

ผ่านเกณฑ์

7.2 ทดสอบโดยใชแ้ บบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรยี น
7.3 สังเกตการปฏิบตั กิ ิจกรรมกลุ่มโดยใช้แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมกลุ่ม
7.4 ตรวจแบบฝกึ หดั
8. เกณฑก์ ารวัดและประเมินผล
8.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
ผา่ นเกณฑ์
8.2 แบบทดสอบหลังเรียน ต้องไดค้ ะแนนไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
8.3 แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการปฏิบัติกิจกรรมกลมุ่ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
8.4 แบบฝึกหัดต้องไดค้ ะแนนไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
8.5 ใบงานตอ้ งได้คะแนนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
งานที่มอบหมาย
งานทมี่ อบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ให้ทบทวนเนอ้ื หา รวมทงั้ ความสมบรู ณ์ของแบบฝึกหดั และ ใบงาน

ผลงาน/ช้ินงาน/ความสำเรจ็ ของผ้เู รียน
1. ผลการนำเสนองานกลมุ่
2. ผลการทำแบบฝึกหัดหน่วยท่ี 4
3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หนว่ ยท่ี 4

เอกสารอา้ งองิ
1. หนังสอื เรยี นวิชางานนิวเมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์อตุ สาหกรรม
2. เวบ็ ไซต์และสื่อสิ่งพิมพท์ เี่ ก่ียวขอ้ งกับเน้ือหาบทเรียนตามบรรณานุกรม


Click to View FlipBook Version