The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชานิวเมติกร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sangwankrutee, 2022-05-27 03:02:19

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชานิวเมติกร์

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชานิวเมติกร์

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 5 หนว่ ยที่ 5
ชื่อวิชา งานนวิ เมติกส์และไฮดรอลกิ สเ์ บ้อื งต้น เวลาเรียนรวม 72
คาบ
รหสั วชิ า 30102-2007 สอนครงั้ ที่ 7/18
ชอ่ื หน่วย วาล์วควบคมุ ลมไหลทางเดียว จำนวน 4 คาบ
ชือ่ เรอื่ ง วาลว์ ควบคุมลมไหลทางเดียว

หวั ข้อเรอ่ื ง แบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 5
5.1 วาล์วกันกลบั ใบงานที่ 5-6
5.2 วาล์วกนั กลบั สองทาง
5.3 วาล์วความดันสองทาง
5.4 วาล์วเรง่ ระบาย

แนวคดิ สำคญั
วาล์วควบคุมลมไหลทางเดียว ประกอบด้วยวาล์วกันกลับ วาล์วกันกลับสองทาง วาล์วความดันสองทาง

และวาล์วเร่งระบาย วาล์วแต่ระชนิดจะมีหน้าทแ่ี ละการนำไปใช้แตกตา่ งกนั ไป

สมรรถนะย่อย
แสดงความร้เู กี่ยวกับวาลว์ ควบคุมลมไหลทางเดยี ว

จุดประสงคก์ ารปฏิบัติ

ดา้ นความรู้ ด้านทักษะ
1. บอกโครงสร้างสญั ลักษณ์และการทำงาน 1. เลอื กทำเครื่องหมาย  ในชอ่ งให้ถูกต้อง
2. ต่อวงจรและทดสอบวงจรควบคมุ การ
ของวาลว์ กันกลับ
2. บอกโครงสรา้ งสญั ลักษณ์และการทำงาน ทำงานระบบนิวแมติกสด์ ว้ ยวาล์วกันกลับ
สองทาง
ของวาลว์ กันกลบั สองทาง 3. ตอ่ วงจรและทดสอบวงจรควบคมุ การ
3. บอกโครงสรา้ งสญั ลักษณ์และการทำงาน ทำงานดว้ ยวาลว์ ความดนั สองทาง

ของวาลว์ ความดนั สองทาง
4. บอกโครงสรา้ งสญั ลักษณ์และการทำงาน

ของวาล์วเร่งระบาย

ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความ
แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝร่ ู้ ความซอื่ สัตย์ สุจริต ความมีน้ำใจและแบ่งบัน
รว่ มมือ ความมมี ารยาท ไม่หยดุ นงิ่ ท่จี ะแก้ปญั หา ใชอ้ ุปกรณ์อยา่ งฉลาดและรอบคอบ

เน้ือหาสาระ
5.1 วาล์วกันกลบั
วาลว์ กันกลบั (Check Valve) มีคณุ สมบัตทิ ำใหล้ มไหลผ่านไปไดท้ างเดียว โดยจะไหลย้อนกลบั ไมไ่ ด้
5.2 วาล์วกนั กลบั สองทาง
วาลว์ กนั กลับสองทาง (Shuttle Valve) หรอื OR–Gate ประกอบดว้ ย วาล์วกันกลบั สองตวั มีช่องลม

เขา้ 2 ชอ่ ง คือ X และ Y และมีชอ่ งลมออก 1 ชอ่ ง คือ A
5.3 วาลว์ ความดนั สองทาง
วาลว์ ความดันสองทาง (Two–Pressure Valve) หรอื AND–Gate ลักษณะโครงสร้างของวาล์วความ

ดันสองทางจะคล้าย กับ OR–Gate เพียงแต่ การที่วาล์วความดันสองทางจะทำให้เกิดสัญญาณออกที่ A จะต้องมี
สัญญาณเข้า 2 ด้าน คอื สัญญาณด้าน X และ Y หากสัญญาณเข้าเพียงดา้ นใดดา้ นหนง่ึ จะไม่มสี ญั ญาณออกที่ A

5.4 วาลว์ เรง่ ระบาย
วาล์วเรง่ ระบายมหี น้าทช่ี ว่ ยระบายลมออกจากอุปกรณ์ส่ภู ายนอกอย่างรวดเรว็ เพ่ือเพ่ิมความเร็วใน

การเคลอ่ื นท่ขี องลูกสบู หรือมอเตอร์ลม

กิจกรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ท่ี 7/18, คาบท่ี 25-28/56)
31. นักเรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรียนหน่วยท่ี 5 ใชเ้ วลาประมาณ 20 นาที
32. แบง่ นักเรียนเป็นกล่มุ กล่มุ ละ 5 คน
33. ครใู ห้นกั เรยี นดูเนอ้ื หาหน่วยท่ี 5
34. ขั้นนำเข้าสู่บทเรยี น ครตู ้งั คำถามให้นักเรยี นช่วยกนั ตอบ แล้วร่วมกันอภปิ รายเพือ่ ใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ
35. ครแู จ้งจุดประสงคก์ ารเรียนทงั้ ทฤษฎแี ละปฏิบัติ
36. ขั้นสอน
36.1 ครอู ธบิ าย บรรยาย และถามตอบ นักเรียนศึกษาจากเนื้อหา
36.2แตล่ ะกลมุ่ ส่งตวั แทนมากลุ่มละ 1 คน มาอภปิ รายหนา้ ชั้นเรยี นเพอ่ื สรุป
36.3ครูใหค้ วามรู้เพมิ่ เติมโดยใช้สือ่ PowerPoint
36.4นักเรียนทำกจิ กรรมตามใบงานท่ี 5-6

36.5ขณะนักเรียนทำกจิ กรรมตามใบงานครจู ะสังเกตการทำงานกลุม่
37. ขั้นสรุป ครูและนักเรียนรว่ มกนั เฉลยกจิ กรรมและร่วมกนั อภิปรายสรปุ บทเรยี น
38. ใหน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรยี น

สอื่ และแหล่งการเรยี นรู้
9. สือ่ การเรยี นรู้
9.1 หนงั สือเรยี น หน่วยที่ 5 เรอื่ ง วาลว์ ควบคุมลมไหลทางเดยี ว
9.2 PowerPoint ประกอบการสอน หนว่ ยท่ี 5
9.3 แบบฝกึ หัด
9.4 แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรยี น
10. แหล่งการเรียนรู้
10.1 หนังสอื เกีย่ วกบั ระบบนวิ แมติกส์ ของสำนักพิมพ์ต่าง ๆ
10.2 อนิ เทอร์เนต็

การวัดผลและประเมนิ ผล
9. การวัดผลและการประเมนิ ผล
9.1 แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

ผา่ นเกณฑ์
9.2 ทดสอบโดยใชแ้ บบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียน
9.3 สงั เกตการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมกล่มุ โดยใชแ้ บบประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิกิจกรรมกลุ่ม
9.4 ตรวจแบบฝกึ หัด

10. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
10.1แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

ผ่านเกณฑ์
10.2แบบทดสอบหลังเรยี น ต้องไดค้ ะแนนไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
10.3แบบประเมินพฤติกรรมการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมกล่มุ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
10.4แบบฝกึ หัดตอ้ งได้คะแนนไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
10.5ใบงานตอ้ งไดค้ ะแนนไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

งานท่ีมอบหมาย
งานที่มอบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ใหท้ บทวนเนื้อหา รวมทั้งความสมบูรณ์ของแบบฝกึ หดั และ ใบงาน

ผลงาน/ชน้ิ งาน/ความสำเร็จของผู้เรียน
1. ผลการนำเสนองานกล่มุ
2. ผลการทำแบบฝกึ หดั หน่วยที่ 5
3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) หนว่ ยท่ี 5

เอกสารอา้ งองิ
1. หนงั สอื เรียนวชิ างานนวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์เบ้ืองตน้ รหัสวิชา 2100-1009
บริษทั ศูนยห์ นังสือเมืองไทย จำกดั
2. เวบ็ ไซตแ์ ละสอ่ื ส่ิงพมิ พท์ ี่เก่ียวข้องกับเน้ือหาบทเรยี นตามบรรณานุกรม

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 6 หนว่ ยท่ี 6
ชื่อวิชา งานนิวเมตกิ ส์และไฮดรอลกิ สเ์ บือ้ งตน้ เวลาเรยี นรวม 72
คาบ
รหสั วชิ า 30102-2007 สอนครั้งท่ี 8/18
ชือ่ หน่วย วาลว์ ควบคมุ อัตราการไหล จำนวน 4 คาบ
ช่อื เรอื่ ง วาล์วควบคุมอตั ราการไหล

หวั ข้อเรอ่ื ง แบบฝกึ หัดหน่วยที่ 6
6.1 วาลว์ ควบคุมอตั ราการไหลสองทิศทาง ใบงานท่ี 7
6.2 วาล์วควบคมุ อตั ราการไหลทางเดียว
6.3 การควบคุมความเรว็ กระบอกสูบทางเดยี ว
6.4 การควบคมุ ความเรว็ กระบอกสูบสองทาง

แนวคิดสำคญั
วาลว์ ควบคุมอตั ราการไหลมหี นา้ ทค่ี วบคุมปรมิ าณลมทไ่ี หลผ่านให้น้อยลงหรือเพิม่ ข้ึนเพื่อควบคมุ ความเร็ว

ของลูกสบู หรือมอเตอรล์ ม แบ่งออกเป็น 2 ชนดิ คอื ชนดิ สองทิศทางและชนิดทิศทางเดยี ว ส่วนความเร็วกระบอก
สบู จะถกู ควบคมุ โดยอตั ราไหลเข้าหรือออกของลม

สมรรถนะย่อย
1. แสดงความรเู้ ก่ยี วกบั วาลว์ ควบคมุ อัตราการไหล
2. อา่ นวงจรควบคมุ การไหลระบบนิวแมติกส์

จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ัติ

ดา้ นความรู้ ด้านทกั ษะ
1. บอกโครงสร้างและการทำงานของวาลว์ 1. นำตัวเลข 1–5 ไปจบั คูก่ บั อกั ษร ก–จ

ควบคมุ อัตราการไหลสองทิศทาง หน้าสญั ลักษณใ์ ห้ถกู ต้อง
2. บอกโครงสรา้ งและการทำงานของวาลว์ 2. ทำขอ้ ความ /เขา้ /ออก/เขา้ และออก/ เติม

ควบคุมอัตราการไหลทิศทางเดียว ลงในคำตอบใหถ้ ูกตอ้ ง
3. อา่ นสัญลกั ษณก์ ารควบคุมความเรว็ 3. ต่อวงจรและทดสอบการควบคมุ ความเรว็

กระบอกสูบทางเดยี ว ของลูกสบู

4. อ่านสัญลักษณก์ ารควบคุมความเรว็
กระบอกสบู สองทาง

ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความ
แสดงออกด้านการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝร่ ู้ ความซือ่ สัตย์ สุจรติ ความมนี ้ำใจและแบ่งบัน
รว่ มมือ ความมีมารยาท ไมห่ ยดุ น่ิงทีจ่ ะแก้ปญั หา ใช้อปุ กรณอ์ ย่างฉลาดและรอบคอบ

เนื้อหาสาระ
6.1 วาลว์ ควบคุมอัตราการไหลสองทิศทาง
เป็นวาล์วควบคุมอัตราการไหลได้ทั้งสองทิศทาง สามารถควบคุมความเร็วของอุปกรณ์ทำงานได้ทั้ง

สองทศิ ทาง
หลักการทำงาน เมื่อแรงดันของลมอัดเข้ามาทางด้าน X ปริมาณลมจะผ่านออกไปด้าน Y มากหรือ

นอ้ ยขึน้ อยู่กบั การปรับสกรขู องวาลว์ ให้เปิดกวา้ งหรือแคบลมจะเขา้ ทาง Y ออกทาง X ก็ได้
6.2 วาลว์ ควบคมุ อตั ราการไหลทางเดียว
โครงสรา้ งประกอบดว้ ยวาลว์ ควบคมุ อตั ราการไหล และวาล์วกันกลับรวมอยใู่ นตัวเดยี วกัน
หลักการทำงาน ในจังหวะควบคุมอัตราการไหล ลมจาก X จะดันให้แผ่นยางกันกลับกางออกปิดบ่า

ควบคุมให้ลมไหลผ่าน ช่องแคบที่ปลายสกรู ออกสู่ Y ได้อย่างจำกัด ในจังหวะที่ลมไหลจาก Y ออก X ลมจะไหล
ผา่ นได้ทง้ั ปลายสกรแู ละยางกันกลบั ลมจงึ ไหลได้อยา่ งอิสระ

6.3 การควบคมุ ความเรว็ กระบอกสูบทางเดียว
- การควบคุมด้วยวาลว์ ควบคุมอัตราการไหลสองทาง
- การควบคมุ ด้วยวาล์วควบคมุ อตั ราการไหลทางเดียว

6.4 การควบคุมความเร็วกระบอกสบู สองทาง
เนื่องจากลูกสูบสองทางมีรูลมเข้า 2 รู จึงสามารถกำหนดความเร็วของลูกสูบทั้งขาเข้าและขาออก

แยกกนั ได้
- การควบคุมความเร็วแบบควบคุมลมเข้า คือ การควบคุมอัตราการไหลของลม ด้านลมเข้าส่วน
ลมทรี่ ะบายออกจะไมถ่ กู ควบคุม
- การควบคุมความเร็วแบบควบคุมลมออก คือ การควบคุมอัตราการไหลของลมด้านระบายออก
จากลกู สบู ส่วนลมทป่ี ้อนเขา้ จะไมถ่ ูกควบคุม

กจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ท่ี 8/18, คาบที่ 29-32/56)
39. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี นหนว่ ยท่ี 6 ใช้เวลาประมาณ 20 นาที
40. แบ่งนกั เรียนเปน็ กลุม่ กล่มุ ละ 5 คน
41. ครูใหน้ กั เรยี นดูเน้ือหาหนว่ ยที่ 6
42. ขัน้ นำเขา้ สู่บทเรยี น ครตู งั้ คำถามใหน้ กั เรียนชว่ ยกันตอบ แล้วร่วมกนั อภปิ รายเพอื่ ให้ได้ขอ้ สรุป
43. ครแู จง้ จุดประสงค์การเรียนทั้งทฤษฎีและปฏบิ ตั ิ
44. ขน้ั สอน
44.1 ครอู ธิบาย บรรยาย และถามตอบ นักเรยี นศกึ ษาจากเน้อื หา
44.2แตล่ ะกลุม่ สง่ ตัวแทนมากลุ่มละ 1 คน มาอภปิ รายหนา้ ชน้ั เรียนเพ่อื สรปุ
44.3ครูใหค้ วามรู้เพม่ิ เตมิ โดยใช้สอื่ PowerPoint
44.4นกั เรยี นทำกิจกรรมตามใบงานที่ 7
44.5ขณะนกั เรียนทำกจิ กรรมตามใบงานครูจะสังเกตการทำงานกลุม่
45. ขน้ั สรุป ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันเฉลยกจิ กรรมและรว่ มกนั อภปิ รายสรุปบทเรียน
46. ให้นักเรยี นทำแบบทดสอบหลังเรียน

สือ่ และแหลง่ การเรียนรู้
11. ส่อื การเรียนรู้
11.1 หนังสือเรียน หน่วยที่ 6 เร่อื ง วาลว์ ควบคุมอัตราการไหล
11.2 PowerPoint ประกอบการสอน หนว่ ยที่ 6
11.3 แบบฝกึ หดั
11.4 แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรียน
12. แหลง่ การเรยี นรู้
12.1 หนังสือเกยี่ วกับระบบนิวแมติกส์ ของสำนักพิมพต์ ่าง ๆ
12.2 อนิ เทอร์เนต็

การวัดผลและประเมนิ ผล
11. การวัดผลและการประเมินผล
11.1แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

ผ่านเกณฑ์
11.2ทดสอบโดยใชแ้ บบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรียน

11.3สังเกตการปฏิบตั กิ จิ กรรมกลุ่มโดยใช้แบบประเมินผลการปฏบิ ัติกิจกรรมกลุ่ม
11.4ตรวจแบบฝกึ หดั
12. เกณฑ์การวัดและประเมนิ ผล
12.1แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
ผ่านเกณฑ์
12.2แบบทดสอบหลังเรียน ตอ้ งไดค้ ะแนนไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
12.3แบบประเมนิ พฤติกรรมการปฏิบัติกจิ กรรมกลมุ่ ต้องได้คะแนนไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
12.4แบบฝึกหดั ต้องไดค้ ะแนนไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
12.5ใบงานตอ้ งได้คะแนนไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

งานทม่ี อบหมาย
งานท่ีมอบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ใหท้ บทวนเน้อื หา รวมทั้งความสมบรู ณข์ องแบบฝึกหดั และ ใบงาน

ผลงาน/ชน้ิ งาน/ความสำเรจ็ ของผ้เู รียน
1. ผลการนำเสนองานกลุ่ม
2. ผลการทำแบบฝึกหัดหน่วยที่ 6
3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) หนว่ ยท่ี 6

เอกสารอ้างอิง
1. หนงั สอื เรียนวชิ างานนิวเมติกส์และไฮดรอลกิ ส์อตุ สาหกรรม
2. เวบ็ ไซตแ์ ละสอ่ื สงิ่ พมิ พท์ ่เี กี่ยวขอ้ งกับเน้ือหาบทเรยี นตามบรรณานุกรม

แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 7 หนว่ ยที่ 7
ชอ่ื วิชา งานนวิ เมติกส์และไฮดรอลิกสเ์ บอ้ื งต้น
เวลาเรียนรวม 72 คาบ
รหัสวชิ า 30102-2007
ชอื่ หน่วย วาลว์ ควบคุมความดนั สอนคร้งั ที่ 9/18
ชือ่ เร่ือง วาล์วควบคุมความดัน จำนวน 4 คาบ

หัวข้อเรอ่ื ง แบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 7
7.1 วาล์วลดความดนั ใบงานที่ 8
7.2 วาล์วระบายความดนั
7.3 วาล์วจัดลำดับ

แนวคิดสำคัญ
วาล์วควบคมุ ความดนั แบ่งออกเปน็ วาลว์ ลดความดัน วาลว์ ระบายความดันและวาลว์ จัดลำดับ หน้าท่ีของ

วาลว์ ลดความดันคอื รักษาความดันด้านออกใชง้ านให้คงท่ีอยู่เสมอความดันด้านเข้าอาจเปลี่ยนแปลงได้ หน้าที่ของ
วาล์วระบายความดันคอื จำกัดความดันไม่ใหม้ ีค่าเกนิ กำหนด ส่วนหน้าที่ของวาล์วจัดลำดับคอื ควบคุมการจ่ายลม
ตามค่าทกี่ ำหนดไว้

สมรรถนะย่อย
แสดงความรู้เกยี่ วกับวาล์วควบคมุ ความดนั ได้

จุดประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ

ด้านความรู้ ด้านทักษะ
1. บอกสัญลักษณ์และการทำงานของวาลว์ ลด 1. นำตวั อักษรจับคู่กับตัวเลขใหถ้ กู ต้อง
2. ตอ่ วงจรและทดสอบวงจรควบคมุ การ
ความดนั
2. บอกสัญลกั ษณ์และการทำงานของวาล์ว ทำงานดว้ ยวาลว์ ควบคมุ ความดนั

ระบายความดัน
3. บอกสญั ลักษณ์และการทำงานของวาล์ว

จดั ลำดบั

ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความ
แสดงออกด้านการตรงตอ่ เวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซ่ือสตั ย์ สุจริต ความมีน้ำใจและแบง่ บัน
รว่ มมอื ความมมี ารยาท ไม่หยดุ นิ่งทจี่ ะแก้ปัญหา ใชอ้ ุปกรณอ์ ย่างฉลาดและรอบคอบ

เน้อื หาสาระ
7.1 วาล์วลดความดนั
วาล์วลดความดัน (Pressure Regulator Valve) หน้าที่ คือ รักษาความดันด้านที่ถูกนำออกไปใช้งาน

ให้มีค่าคงที่อยู่เสมอ โดยที่ความดันด้านจ่ายลมเข้าอาจเปลี่ยนแปลงมากหรอื น้อยไม่คงท่ีได้ แต่ความดันต่ำสุดของ
ด้านลมเข้าต้องมีค่าสูงกว่าความดันที่ตั้งไว้ด้านลมออกเล็กน้อย วาล์วลดความดันแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ วาล์วลด
ความดนั ชนดิ ระบายความดัน และ วาลว์ ลดความดันชนิดไม่ระบายความดนั

7.2 วาลว์ ระบายความดัน
วาล์วระบายความดัน (Pressure Limiting Valve) หน้าที่ คือ จำกัดความดันในวงจรหรือในระบบ

ผลิตลมไม่ให้มีค่าเกนิ กำหนด เมื่อความดัน ในวงจรหรอื ด้านลมเข้าวาล์ว (Input) สูงเกินพิกัด วาล์วนีจ้ ะระบายลม
ออกสู่บรรยากาศจนกระทัง่ ความดันลดลงถึงพกิ ัด วาล์วจะปิดการระบาย

7.3 วาล์วจดั ลำดับ
วาล์วจัดลำดับ (Pressure Sequence Valve) มีหน้าที่ ควบคุมการจ่ายลม เมื่อความดันในวงจรมี

ค่าสูงถงึ ค่าทีก่ ำหนดวาล์วจะเปิดลมใหไ้ หลผา่ นไปได้

กิจกรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ท่ี 9/18, คาบท่ี 33-36/56)
47. นักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 7 ใชเ้ วลาประมาณ 20 นาที
48. แบ่งนักเรยี นเป็นกลุ่ม กลมุ่ ละ 5 คน
49. ครใู ห้นักเรียนดเู นื้อหาหน่วยท่ี 7
50. ขัน้ นำเข้าสู่บทเรียน ครตู งั้ คำถามให้นักเรยี นช่วยกันตอบ แล้วรว่ มกันอภปิ รายเพื่อให้ได้ขอ้ สรุป
51. ครแู จง้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนทง้ั ทฤษฎีและปฏบิ ตั ิ
52. ขัน้ สอน
52.1 ครูอธบิ าย บรรยาย และถามตอบ นักเรยี นศกึ ษาจากเน้อื หา
52.2แต่ละกลมุ่ สง่ ตวั แทนมากลุ่มละ 1 คน มาอภิปรายหนา้ ช้นั เรยี นเพ่ือสรุป
52.3ครใู ห้ความรเู้ พมิ่ เตมิ โดยใชส้ ือ่ PowerPoint

52.4นักเรียนทำกจิ กรรมตามใบงานที่ 8
52.5ขณะนักเรียนทำกิจกรรมตามใบงานครจู ะสงั เกตการทำงานกลมุ่
53. ขนั้ สรุป ครูและนักเรียนรว่ มกนั เฉลยกจิ กรรมและรว่ มกันอภปิ รายสรุปบทเรยี น
54. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลงั เรียน
สือ่ และแหลง่ การเรียนรู้
13. สอื่ การเรียนรู้
13.1 หนงั สอื เรยี น หน่วยท่ี 7 เรอื่ ง วาลว์ ควบคุมความดัน
13.2 PowerPoint ประกอบการสอน หน่วยท่ี 7
13.3 แบบฝกึ หดั
13.4 แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรยี น
14. แหล่งการเรยี นรู้
14.1 หนงั สอื เก่ยี วกับระบบนวิ แมติกส์ ของสำนักพิมพต์ ่าง ๆ
14.2 อินเทอร์เนต็

การวดั ผลและประเมนิ ผล
13. การวดั ผลและการประเมินผล
13.1แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

ผ่านเกณฑ์
13.2ทดสอบโดยใชแ้ บบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียน
13.3สังเกตการปฏบิ ัติกิจกรรมกลมุ่ โดยใช้แบบประเมินผลการปฏิบัติกจิ กรรมกลุ่ม
13.4 ตรวจแบบฝึกหัด

14. เกณฑก์ ารวดั และประเมนิ ผล
14.1แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

ผ่านเกณฑ์
14.2แบบทดสอบหลงั เรยี น ต้องไดค้ ะแนนไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
14.3แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการปฏิบัตกิ ิจกรรมกลมุ่ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
14.4แบบฝกึ หัดตอ้ งไดค้ ะแนนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
14.5ใบงานตอ้ งได้คะแนนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

งานที่มอบหมาย
งานทม่ี อบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ให้ทบทวนเนื้อหา รวมทงั้ ความสมบูรณ์ของแบบฝึกหัดและ ใบงาน

ผลงาน/ชนิ้ งาน/ความสำเร็จของผูเ้ รียน
1. ผลการนำเสนองานกลุ่ม
2. ผลการทำแบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 7
3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) หนว่ ยท่ี 7

เอกสารอา้ งองิ
1. หนังสอื เรียนวชิ างานนิวเมติกส์และไฮดรอลกิ ส์อตุ สาหกรรม
2. เวบ็ ไซตแ์ ละส่อื ส่ิงพมิ พท์ ่ีเก่ียวข้องกับเนื้อหาบทเรียนตามบรรณานกุ รม

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 8 หน่วยท่ี 8
ชือ่ วิชา งานนวิ เมตกิ สแ์ ละไฮดรอลกิ ส์เบือ้ งตน้ เวลาเรียนรวม 72
คาบ
รหสั วชิ า 30102-2007 สอนคร้ังที่ 10/18
ชือ่ หน่วย วาล์วหน่วงเวลา จำนวน 4 คาบ
ชอื่ เรอ่ื ง วาลว์ หนว่ งเวลา

หวั ข้อเรื่อง แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 8
8.1 วาลว์ หน่วงเวลาแบบปกติปิด ใบงานที่ 9
8.2 วาล์วหนว่ งเวลาแบบปกตเิ ปิด

แนวคิดสำคญั
วาล์วหนว่ งเวลามีหน้าท่ีหน่วงเวลาในการจ่ายลมหรือส่ังหยุดลมแบง่ ออกเป็น 2 ชนดิ คอื วาล์วหน่วงเวลา

แบบปกตเิ ปดิ และแบบปกตปิ ดิ

สมรรถนะย่อย
แสดงความรู้เก่ยี วกบั วาลว์ หน่วงเวลา

จดุ ประสงค์การปฏิบตั ิ

ด้านความรู้ ดา้ นทักษะ
1. บอกสัญลกั ษณ์และการทำงานของวาล์ว 1. ทำเครือ่ งหมายถูก ✓ หน้าขอ้ ที่ถกู หรือ

หนว่ งเวลาแบบปกติปิด ผิด  หน้าข้อทผ่ี ดิ
2. บอกสญั ลกั ษณ์และการทำงานของวาล์ว 2. ตอ่ วงจรและทดสอบวงจรควบคุมการ

หนว่ งเวลาแบบปกตเิ ปิด ทำงานด้วยวาล์วหน่วงเวลา

ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความ
แสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝร่ ู้ ความซื่อสตั ย์ สจุ ริต ความมนี ้ำใจและแบ่งบนั
รว่ มมือ ความมีมารยาท ไมห่ ยดุ นง่ิ ท่ีจะแก้ปัญหา ใช้อุปกรณ์อย่างฉลาดและรอบคอบ

เนอื้ หาสาระ
วาล์วหน่วงเวลา (Time Delay Valve) วาล์วชนิดนี้จะทำหน้าที่หน่วงเวลาในการสั่งจ่ายลมหรือหน่วงเวลา

ในการสั่งหยุดลมก็ได้ ช่วงเวลาในการหน่วงสามารถกระทำได้ตั้งแต่เวลาน้อย ๆ ไปมาก ๆ ซึ่งขึ้นอยู่กับขนาดของ
ห้องหนว่ งเวลาท่ีใชก้ ับวาล์วน้นั ๆ วาล์วหน่วงเวลาสามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนดิ คือ

1. วาล์วหนว่ งเวลาแบบปกติปดิ
2. วาลว์ หนว่ งเวลาแบบปกตเิ ปิด

กจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 10/18, คาบท่ี 37-40/56)
55. นักเรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรียนหน่วยที่ 8 ใชเ้ วลาประมาณ 20 นาที
56. แบง่ นกั เรยี นเปน็ กลมุ่ กลมุ่ ละ 5 คน
57. ครใู ห้นักเรยี นดเู น้อื หาหนว่ ยที่ 8
58. ขนั้ นำเขา้ สบู่ ทเรียน ครตู ้งั คำถามใหน้ ักเรยี นชว่ ยกนั ตอบ แลว้ รว่ มกนั อภิปรายเพอ่ื ให้ได้ข้อสรปุ
59. ครแู จง้ จุดประสงค์การเรยี นท้ังทฤษฎแี ละปฏบิ ัติ
60. ขั้นสอน
60.1 ครูอธบิ าย บรรยาย และถามตอบ นกั เรยี นศกึ ษาจากเนื้อหา
60.2แตล่ ะกล่มุ สง่ ตวั แทนมากล่มุ ละ 1 คน มาอภปิ รายหน้าช้นั เรยี นเพอ่ื สรปุ
60.3ครูให้ความรู้เพ่ิมเตมิ โดยใชส้ อื่ PowerPoint
60.4นักเรียนทำกจิ กรรมตามใบงานท่ี 9
60.5ขณะนกั เรยี นทำกจิ กรรมตามใบงานครูจะสังเกตการทำงานกลมุ่
61. ขน้ั สรุป ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั เฉลยกิจกรรมและร่วมกันอภปิ รายสรุปบทเรียน
62. ใหน้ กั เรยี นทำแบบทดสอบหลังเรียน

สอ่ื และแหลง่ การเรยี นรู้
15. ส่อื การเรียนรู้
15.1 หนังสือเรียน หน่วยที่ 8 เรือ่ ง วาล์วหนว่ งเวลา
15.2 PowerPoint ประกอบการสอน หน่วยที่ 8
15.3 แบบฝกึ หัด
15.4 แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี น
16. แหล่งการเรียนรู้
16.1 หนงั สือเกย่ี วกับระบบนวิ แมติกส์ ของสำนักพิมพ์ต่าง ๆ
16.2 อินเทอรเ์ นต็

การวัดผลและประเมินผล
15. การวดั ผลและการประเมนิ ผล
15.1แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

ผา่ นเกณฑ์
15.2ทดสอบโดยใช้แบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรยี น
15.3สังเกตการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลมุ่ โดยใช้แบบประเมนิ ผลการปฏิบตั ิกจิ กรรมกลุ่ม
15.4 ตรวจแบบฝึกหดั

16. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
16.1แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

ผา่ นเกณฑ์
16.2แบบทดสอบหลงั เรียน ต้องได้คะแนนไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
16.3แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการปฏบิ ตั ิกิจกรรมกลุม่ ต้องไดค้ ะแนนไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
16.4แบบฝึกหดั ตอ้ งไดค้ ะแนนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
16.5ใบงานตอ้ งได้คะแนนไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

งานที่มอบหมาย
งานท่ีมอบหมายนอกเหนอื เวลาเรียน ใหท้ บทวนเน้อื หา รวมท้ังความสมบูรณข์ องแบบฝกึ หดั และ ใบงาน

ผลงาน/ชนิ้ งาน/ความสำเรจ็ ของผเู้ รียน
1. ผลการนำเสนองานกลมุ่
2. ผลการทำแบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 8
3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) หนว่ ยท่ี 8

เอกสารอา้ งอิง
1. หนังสอื เรียนวชิ างานนวิ เมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์อตุ สาหกรรม
2. เว็บไซตแ์ ละสอ่ื ส่ิงพิมพท์ ี่เกี่ยวขอ้ งกับเน้ือหาบทเรียนตามบรรณานกุ รม

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 9 หนว่ ยที่ 9
ชือ่ วิชา งานนิวเมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์เบ้ืองต้น เวลาเรียนรวม 72
คาบ
รหัสวชิ า 30102-2007 สอนครัง้ ท่ี 11/18
ชอื่ หน่วย ตัวนับ จำนวน 4 คาบ

ช่อื เรื่อง ตวั นับ

หวั ข้อเร่ือง แบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 9
9.1 ตวั นับชนิดนบั อย่างเดยี ว ใบงานท่ี 10
9.2 ตัวนับชนิดตงั้ จำนวนได้

แนวคดิ สำคัญ
ตัวนับเป็นอุปกรณ์ที่ใช้เพื่อนับรอบการทำงานของอุปกรณ์อื่น ๆ หรือนับจำนวนชิ้นงาน แบ่งออกเป็น

ตัวนับชนดิ นบั อย่างเดยี วและตัวนับชนดิ ตัง้ จำนวนได้

สมรรถนะย่อย
แสดงความรูเ้ กยี่ วกบั ตัวนบั

จดุ ประสงคก์ ารปฏิบัติ

ดา้ นความรู้ ดา้ นทักษะ

1. บอกสญั ลกั ษณ์และการทำงานของตัวนบั 1. ทำเครือ่ งหมาย ✓ หนา้ ข้อที่ถกู หรือ

ชนดิ นบั อยา่ งเดียว  หนา้ ขอ้ ทผ่ี ิด

2. บอกสญั ลกั ษณ์และการทำงานของตวั นับ 2. บอกความหมายสัญลักษณ์

ชนิดต้งั จำนวนได้ 3. ตอ่ วงจรและทดสอบวงจรควบคมุ การ

ทำงานดว้ ยตัวนบั

ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

แสดงออกดา้ นการตรงตอ่ เวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ ความมนี ้ำใจและแบง่ บนั ความ

ร่วมมอื ความมีมารยาท ไม่หยดุ นิ่งทจี่ ะแกป้ ญั หา ใช้อปุ กรณอ์ ยา่ งฉลาดและรอบคอบ

เน้ือหาสาระ
ตัวนับ (Counter) อุปกรณ์ชนิดนี้ใช้เพื่อนับรอบการทำงานของอุปกรณ์หรือนับจำนวนชิ้นงาน ตัวนับมี

หลายชนดิ แตล่ ะชนดิ จะมีคุณสมบัติต่างกัน เช่น นบั อย่างเดียวมีปุม่ ปรับ (Reset) หรอื ไม่มีปุม่ ปรับบางชนดิ ตั้งจำนวน
ได้

9.1 ตัวนบั ชนดิ นบั อยา่ งเดยี ว
ตวั นับชนดิ นับอยา่ งเดยี วสามารถแบ่งออกได้อกี 2 แบบ คือ แบบมี Reset และไม่มี Reset

9.2 ตวั นบั ชนิดตง้ั จำนวนได้
ตัวนบั ชนิดตั้งจำนวนไดส้ ามารถแบง่ ออกได้อกี 2 ชนดิ คือ แบบนับขึน้ และแบบนบั ลง

กจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ท่ี 11/18, คาบท่ี 41-44/56)
63. นกั เรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรียนหน่วยที่ 9 ใชเ้ วลาประมาณ 20 นาที
64. แบ่งนักเรียนเป็นกลมุ่ กลมุ่ ละ 5 คน
65. ครูให้นกั เรียนดเู นื้อหาหนว่ ยที่ 9
66. ข้ันนำเขา้ สบู่ ทเรียน ครตู ้ังคำถามใหน้ กั เรียนชว่ ยกันตอบ แล้วร่วมกันอภิปรายเพ่ือใหไ้ ด้ขอ้ สรุป
67. ครูแจ้งจดุ ประสงคก์ ารเรยี นทง้ั ทฤษฎีและปฏบิ ัติ
68. ขน้ั สอน
68.1 ครอู ธบิ าย บรรยาย และถามตอบ นกั เรยี นศึกษาจากเนื้อหา
68.2แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมากลุ่มละ 1 คน มาอภปิ รายหนา้ ช้นั เรยี นเพ่ือสรปุ
68.3ครูให้ความรเู้ พ่มิ เติมโดยใช้ส่ือ PowerPoint
68.4นักเรยี นทำกิจกรรมตามใบงานที่ 10
68.5ขณะนักเรียนทำกจิ กรรมตามใบงานครูจะสังเกตการทำงานกลมุ่
69. ขน้ั สรปุ ครูและนักเรียนรว่ มกันเฉลยกิจกรรมและรว่ มกันอภปิ รายสรปุ บทเรยี น
70. ใหน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบหลังเรียน

ส่ือและแหล่งการเรียนรู้
17. ส่ือการเรียนรู้
17.1 หนังสือเรยี น หนว่ ยที่ 9 เรือ่ ง ตัวนบั
17.2 PowerPoint ประกอบการสอน หนว่ ยที่ 9
17.3 แบบฝึกหดั
17.4 แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น
18. แหล่งการเรียนรู้

18.1 หนังสอื เก่ียวกับระบบนิวแมติกส์ ของสำนักพิมพ์ต่าง ๆ
18.2 อนิ เทอรเ์ นต็
การวดั ผลและประเมินผล
17. การวดั ผลและการประเมินผล
17.1แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
ผา่ นเกณฑ์
17.2ทดสอบโดยใช้แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน
17.3สังเกตการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมกลมุ่ โดยใชแ้ บบประเมนิ ผลการปฏิบัตกิ จิ กรรมกลุ่ม
17.4ตรวจแบบฝกึ หัด
18. เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผล
18.1แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
ผ่านเกณฑ์
18.2แบบทดสอบหลังเรียน ตอ้ งไดค้ ะแนนไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
18.3แบบประเมนิ พฤติกรรมการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลุ่มต้องไดค้ ะแนนไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
18.4แบบฝึกหดั ต้องไดค้ ะแนนไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
18.5ใบงานตอ้ งไดค้ ะแนนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

งานทม่ี อบหมาย
งานทมี่ อบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ใหท้ บทวนเนอ้ื หา รวมทง้ั ความสมบรู ณ์ของแบบฝกึ หดั และ ใบงาน

ผลงาน/ชน้ิ งาน/ความสำเรจ็ ของผเู้ รียน
1. ผลการนำเสนองานกลุ่ม
2. ผลการทำแบบฝึกหัดหน่วยที่ 9
3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) หนว่ ยที่ 9

เอกสารอ้างอิง
1. หนงั สอื เรยี นวิชางานนวิ เมติกส์และไฮดรอลกิ ส์อุตสาหกรรม
2. เวบ็ ไซตแ์ ละสอื่ สิง่ พิมพ์ทเ่ี กี่ยวข้องกบั เน้ือหาบทเรียนตามบรรณานุกรม

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 10 หน่วยท่ี 10
ชอื่ วิชา งานนวิ เมตกิ ส์และไฮดรอลกิ สเ์ บ้ืองตน้ เวลาเรียนรวม 72
คาบ
รหัสวชิ า 30102-2007 สอนคร้ังท่ี 12/18
ชอื่ หน่วย การเขยี นวงจรนิวเมติกส์ จำนวน 4 คาบ
ช่ือเร่ือง การเขยี นวงจรนิวแมตกิ ส์

หวั ข้อเรื่อง แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 10
10.1 การกำหนดไดอะแกรมวงจร ใบงานที่ 11

นิวแมติกส์
10.2 การกำหนดโค้ดอุปกรณ์

แนวคดิ สำคญั
การเขียนวงจรนิวแมติกส์ จะจัดวางเรียงอุปกรณ์ตามข้อบังคับของวิศวกรรมสถานแห่งสหพันธ์ -ธารณรัฐ

เยอรมัน ฉบับที่ 3226 เรื่อง วงจรระบบนิวแมติกส์ และการกำหนดโค้ดอุปกรณ์จะใช้อยู่ 2 ระบบ คือระบบ
ตวั อักษรและระบบตัวเลข

สมรรถนะย่อย
2. แสดงความรู้เก่ียวกบั การเขียนวงจรนิวแมติกส์
3. อ่านและเขียนวงจรระบบนิวแมติกสต์ ามหลักการและกระบวนการ

จุดประสงค์การปฏิบตั ิ

ด้านความรู้ ด้านทกั ษะ
1. อา่ นความหมายไดอะแกรมของวงจร 1. บอกความหมายของโคด้ ได้
2. ทำระบบการกำหนดโค้ดแบบตวั อักษร
นวิ แมติกส์
2. อา่ นและกำหนดโค้ดอปุ กรณแ์ บบ และตวั เลขกำหนดลงในวงจรนวิ แมตกิ ส์
3. ตอ่ วงจรและทดสอบวงจรควบคมุ
ตัวอักษรและแบบตัวเลข
กงึ่ อัตโนมตั /ิ อตั โนมตั ิ

ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ความ
แสดงออกดา้ นการตรงตอ่ เวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซอ่ื สตั ย์ สุจริต ความมนี ้ำใจและแบ่งบัน
รว่ มมือ ความมีมารยาท ไมห่ ยุดน่งิ ทจี่ ะแกป้ ญั หา ใชอ้ ุปกรณอ์ ย่างฉลาดและรอบคอบ

เนื้อหาสาระ
10.1 การกำหนดไดอะแกรมวงจรนิวแมติกส์
การเขียนวงจรนิวแมติกส์จะจัดวางเรียงอุปกรณ์ตามข้อบังคับของวิศวกรรมสถานแ ห่งสหพันธ์

สาธารณรฐั เยอรมัน ฉบับที่ 3226 เรื่อง วงจรระบบนวิ แมตกิ ส์ เผยแพร่เมอ่ื เดือนธันวาคม พ.ศ. 2509
10.2 การกำหนดโค้ดอปุ กรณ์
ในระบบนิวแมติกสน์ ยิ มใช้โค้ดอยู่ 2 ระบบ คือ
1. ระบบตัวอกั ษร ในระบบนีจ้ ะกำหนดให้ใช้ตวั อักษรภาษาองั กฤษตวั พมิ พ์ใหญ่เปน็ โคด้ ของอุปกรณ์

ทำงาน และใช้ตวั อกั ษรภาษาอังกฤษตวั พิมพ์เลก็ เปน็ โค้ดของชดุ สัญญาณสงั่ ให้ระบบทำงาน
2. ระบบตัวเลข เป็นระบบที่นิยมกันในทางปฏิบัติโดยใช้ตัวเลข 1.0, 1.1, 1.2 ...2.0, 2.1, 2.2

เปน็ ต้น

กจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 12/18, คาบที่ 45-48/56)
71. นกั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยท่ี 10 ใช้เวลาประมาณ 20 นาที
72. แบง่ นกั เรยี นเป็นกลมุ่ กลมุ่ ละ 5 คน
73. ครใู หน้ ักเรียนดูเนื้อหาหนว่ ยที่ 10
74. ข้นั นำเข้าสู่บทเรยี น ครตู งั้ คำถามใหน้ กั เรยี นชว่ ยกันตอบ แล้วรว่ มกันอภิปรายเพ่ือใหไ้ ดข้ ้อสรปุ
75. ครูแจง้ จุดประสงคก์ ารเรยี นท้ังทฤษฎีและปฏบิ ตั ิ
76. ขนั้ สอน
76.1 ครอู ธิบาย บรรยาย และถามตอบ นกั เรียนศึกษาจากเนอ้ื หา
76.2แตล่ ะกล่มุ ส่งตวั แทนมากลมุ่ ละ 1 คน มาอภิปรายหน้าช้ันเรยี นเพื่อสรุป
76.3ครใู หค้ วามรู้เพิ่มเติมโดยใชส้ อื่ PowerPoint
76.4นักเรยี นทำกจิ กรรมตามใบงานที่ 11
76.5ขณะนกั เรยี นทำกจิ กรรมตามใบงานครจู ะสงั เกตการทำงานกลุม่
77. ขน้ั สรุป ครูและนกั เรยี นร่วมกนั เฉลยกจิ กรรมและร่วมกนั อภปิ รายสรปุ บทเรยี น
78. ใหน้ ักเรียนทำแบบทดสอบหลงั เรยี น

สอื่ และแหลง่ การเรียนรู้

19. สอื่ การเรียนรู้
19.1 หนังสอื เรยี น หนว่ ยท่ี 10 เรอ่ื ง การเขยี นวงจรนิวแมติกส์
19.2 PowerPoint ประกอบการสอน หน่วยที่ 10
19.3 แบบฝกึ หดั
19.4 แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรยี น

20. แหลง่ การเรียนรู้
20.1 หนงั สือเก่ียวกับระบบนิวแมติกส์ ของสำนักพิมพ์ต่าง ๆ
20.2 อินเทอรเ์ นต็

การวดั ผลและประเมินผล
19. การวดั ผลและการประเมินผล
19.1แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

ผ่านเกณฑ์
19.2ทดสอบโดยใชแ้ บบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรยี น
19.3สังเกตการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลุ่มโดยใช้แบบประเมินผลการปฏิบตั กิ จิ กรรมกลุ่ม
19.4ตรวจแบบฝกึ หัด

20. เกณฑ์การวดั และประเมินผล
20.1แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

ผ่านเกณฑ์
20.2แบบทดสอบหลงั เรียน ตอ้ งได้คะแนนไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
20.3แบบประเมินพฤติกรรมการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมกลุ่มต้องไดค้ ะแนนไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
20.4แบบฝึกหัดต้องได้คะแนนไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
20.5ใบงานตอ้ งไดค้ ะแนนไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

งานทม่ี อบหมาย
งานทมี่ อบหมายนอกเหนอื เวลาเรยี น ให้ทบทวนเนอ้ื หา รวมทง้ั ความสมบรู ณข์ องแบบฝกึ หัดและ ใบงาน

ผลงาน/ชิน้ งาน/ความสำเรจ็ ของผูเ้ รียน
1. ผลการนำเสนองานกลุ่ม
2. ผลการทำแบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 10
3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) หนว่ ยท่ี 10

เอกสารอา้ งอิง
1. หนังสอื เรยี นวชิ างานนิวเมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์อุตสาหกรรม
2. เวบ็ ไซตแ์ ละส่อื สิ่งพมิ พ์ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับเน้ือหาบทเรียนตามบรรณานกุ รม

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 11 หนว่ ยท่ี 11
ชือ่ วิชา งานนวิ เมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ สเ์ บ้อื งต้น เวลาเรยี นรวม 72
คาบ
รหัสวชิ า 30102-2007 สอนครง้ั ที่ 13/18
ชอ่ื หน่วย พื้นฐานระบบไฮดรอลกิ ส์ จำนวน 4 คาบ
ชื่อเร่อื ง พื้นฐานระบบไฮดรอลกิ ส์

หัวข้อเร่อื ง แบบฝกึ หัดหนว่ ยท่ี 11
11.1 ความหมายของระบบไฮดรอลิกส์
11.2 คุณสมบัติของของเหลว
11.3 เครอ่ื งจักรระบบไฮดรอลกิ ส์
11.4 โครงสรา้ งระบบไฮดรอลิกส์

แนวคิดสำคัญ
ระบบไฮดรอลิกส์เป็นระบบที่นำของเหลว เช่นน้ำมัน มาเป็นวัสดุในการส่งถ่ายกำลังจากต้นทางไปยัง

ปลายทางเพื่อเปลี่ยนพลังงานของของเหลวให้เป็นพลังงานกล ซึ่งระบบไฮดรอลิกส์ถูกนำมาประยุกต์ใช้งานกับ
เครื่องจักรในงานอุตสาหกรรมอย่างกว้างขวาง เครื่องดัด รถขุดตัก เครื่องรีดโลหะ รถยกสินค้าขนาดใหญ่เป็น
ตน้

สมรรถนะย่อย
แสดงความร้พู น้ื ฐานของระบบไฮดรอลิกส์

จดุ ประสงค์การปฏบิ ัติ

ด้านความรู้ ด้านทกั ษะ
1. บอกความหมายของระบบไฮดรอลกิ ส์ 1. นำตัวอกั ษรหน้าข้อความเติมหนา้ ตวั เลข
2. บอกคุณสมบัติของของเหลวในระบบ
ใหส้ มั พนั ธก์ ัน
ไฮดรอลกิ ส์
3. ยกตวั อยา่ งเครื่องจักรระบบไฮดรอลิกส์
4. บอกส่วนประกอบพนื้ ฐานในระบบ

ไฮดรอลิกส์

ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แสดงออกด้านการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซื่อสัตย์ สุจริต ความมีน้ำใจและแบง่ บัน

ความร่วมมือ ความมมี ารยาท

เนอื้ หาสาระ
11.1 ความหมายของระบบไฮดรอลิกส์
คำว่า Hydraulics มาจากคำในภาษากรีกว่า Hydor ซึ่งแปลว่าน้ำ และ Aulis แปลว่าท่อ เดิมคำว่า

Hydraulics จึงหมายถึงเฉพาะการไหลของน้ำในท่อเท่านั้น แต่ปัจจุบัน หมายถึงการนำเอาของเหลว (นิยมใช้
น้ำมนั ) มาเป็นวัสดุในการส่งถา่ ยกำลงั จากต้นทางไปยังปลายทาง เพอื่ เปลย่ี นพลงั งานของของเหลวให้เป็นพลังงาน
กล

11.2 คุณสมบตั ิของของเหลว
- ของเหลวไมม่ รี ปู ร่างเปน็ ของตวั เอง
- ของเหลวไมย่ บุ ตัว
- ของเหลวเมือ่ มแี รงดนั จะสง่ แรงออกไปทุกทศิ ทาง

11.3 เครอื่ งจักรระบบไฮดรอลิกส์
ระบบไฮดรอลิกส์ถูกนำมาประยุกต์ใช้งานกับเครื่องจักรในงานอุตสาหกรรมอย่างกว้างขวาง

ทั้งเครือ่ งจักรทเี่ คล่อื นที่และติดตง้ั อยู่กับที่
11.4 โครงสร้างระบบไฮดรอลิกส์
ในระบบไฮดรอลิกส์มีส่วนประกอบพน้ื ฐานท่ีสำคัญดงั น้ี
1. ถังพักน้ำมัน Reservoir มีหน้าที่หลกั ในการเกบ็ น้ำมันสำหรับใช้งานในระบบ
2. ปมั้ ไฮดรอลกิ ส์ (Hydraulic Pump) ทำหน้าท่ดี ูดและจ่ายน้ำมนั เขา้ สูระบบ
3. วาล์วควบคุมความดนั (Pressure Relief Valve) มีหน้าที่ควบคุมความดันในระบบไมใ่ ห้เกินคา่
กำหนด
4. ไส้กรอง (Filter) ทำหนา้ ทกี่ รองสงิ่ สกปรกในนำ้ มัน
5. วาล์วควบคุมทศิ ทาง (Directional Control Valve) มีหน้าท่ีควบคุมทิศทางการไหลของนำ้ มัน
6. วาล์วควบคุมการไหล (Flow Control Valve) มีหน้าที่ควบคุมความเร็วของลูกสูบ หรือ
มอเตอร์ไฮดรอลกิ ส์
7. อุปกรณ์ทำงาน (Actuator) มีหน้าที่เปลี่ยนพลังงานไฮดรอลกิ ส์ให้เป็นพลงั งานกล ได้แก่ ลูกสูบ
หรอื มอเตอรไ์ ฮดรอลิกส์

กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ท่ี 13/18, คาบท่ี 49-52/56)
79. นกั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี นหน่วยที่ 11 ใช้เวลาประมาณ 20 นาที
80. แบง่ นักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน
81. ครใู ห้นักเรยี นดูเนื้อหาหนว่ ยที่ 11
82. ขน้ั นำเขา้ สบู่ ทเรยี น ครตู ัง้ คำถามให้นกั เรียนชว่ ยกนั ตอบ แลว้ ร่วมกันอภปิ รายเพื่อให้ไดข้ อ้ สรปุ
83. ครูแจง้ จุดประสงค์การเรียนทงั้ ทฤษฎีและปฏบิ ัติ
84. ข้ันสอน
84.1 ครอู ธบิ าย บรรยาย และถามตอบ นกั เรียนศึกษาจากเนื้อหาในหัวข้อเรือ่ ง
84.2แต่ละกลมุ่ สง่ ตัวแทนมากลุ่มละ 1 คน มาอภปิ รายหนา้ ชัน้ เรยี นเพื่อสรุป
84.3ครใู ห้ความร้เู พ่มิ เติมโดยใช้ส่ือ PowerPoint
84.4 นักเรียนทำแบบฝึกหดั
85. ขนั้ สรุป ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั เฉลยกจิ กรรมและร่วมกันอภปิ รายสรุปบทเรยี น
86. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรยี น

สื่อและแหลง่ การเรียนรู้
21. สอ่ื การเรยี นรู้
21.1 หนังสอื เรียน หนว่ ยที่ 11 เรอื่ ง พ้นื ฐานระบบไฮดรอลิกส์
21.2 PowerPoint ประกอบการสอน หน่วยท่ี 11
21.3 แบบฝึกหดั
21.4 แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรียน
22. แหลง่ การเรยี นรู้
22.1 หนงั สอื เกี่ยวกบั ระบบนวิ แมติกส์ ของสำนักพิมพ์ต่าง ๆ
22.2 อินเทอร์เนต็

การวัดผลและประเมินผล
21. การวัดผลและการประเมนิ ผล
21.1แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

ผา่ นเกณฑ์
21.2ทดสอบโดยใชแ้ บบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรียน
21.3สังเกตการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมกลุ่มโดยใชแ้ บบประเมินผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลุ่ม

21.4ตรวจแบบฝกึ หัด

22. เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผล
22.1แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

ผ่านเกณฑ์
22.2แบบทดสอบหลงั เรยี น ต้องไดค้ ะแนนไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
22.3แบบประเมนิ พฤติกรรมการปฏิบตั กิ จิ กรรมกลุ่มต้องได้คะแนนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
22.4แบบฝกึ หดั ต้องได้คะแนนไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
22.5ใบงานต้องได้คะแนนไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

งานที่มอบหมาย
งานทม่ี อบหมายนอกเหนอื เวลาเรียน ให้ทบทวนเนอ้ื หา รวมทั้งความสมบรู ณ์ของแบบฝกึ หัด

ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสำเรจ็ ของผเู้ รียน
1. ผลการนำเสนองานกลุม่
2. ผลการทำแบบฝึกหัดหน่วยท่ี 11
3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) หนว่ ยที่ 11

เอกสารอ้างอิง
1. หนงั สือเรยี นวิชางานนิวเมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์อุตสาหกรรม
2. เวบ็ ไซต์และสอ่ื สงิ่ พมิ พ์ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับเนื้อหาบทเรียนตามบรรณานุกรม

แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 12 หนว่ ยท่ี 12
ชอ่ื วิชา งานนิวเมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์เบ้อื งตน้
เวลาเรยี นรวม 72 คาบ
รหัสวชิ า 30102-2007
ชอ่ื หน่วย อุปกรณต์ ้นกำลังระบบไฮดรอลิกส์ สอนครั้งท่ี 14-15/18
ช่อื เร่อื ง อุปกรณต์ ้นกำลงั ระบบไฮดรอลิกส์ จำนวน 8 คาบ

หวั ข้อเรือ่ ง แบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 12
12.1 ถังพกั น้ำมนั ไฮดรอลิกส์
12.2 ปัม๊ ไฮดรอลกิ ส์
12.3 ถงั สะสมความดนั

แนวคดิ สำคญั
อุปกรณ์ต้นกำลังระบบไฮดรอลิกส์ ประกอบด้วยถังพักน้ำมันไฮดรอลิกส์มีหน้าที่เก็บน้ำมัน ระบบความ

ร้อน ขจัดฟองอากาศและสิ่งสกปรกในน้ำมัน ปั้มไฮดรอลิกส์มีหน้าที่จ่ายอัตราไหลเมื่อทำงานร่วมกับวาล์วควบคุม
ความดัน แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือปั้มแบบเฟือง ปั้มแบบใบพัดและปั้มแบบลูกสูบ และถังสะสมความดันทำ
หนา้ ทเี่ ป็นปั้มสำรองในระบบไฮดรอลิกส์

สมรรถนะย่อย
แสดงความรู้เก่ียวกับอปุ กรณ์ตน้ กำลงั ในระบบไฮดรอลิกส์

จุดประสงคก์ ารปฏิบัติ ดา้ นทกั ษะ
ดา้ นความรู้ 1. ตอบคำถามทกี่ ำหนดใหไ้ ด้
2. นำตัวอกั ษรหนา้ รปู ภาพจบั คู่กับตัวเลข
1. บอกหน้าทแี่ ละสว่ นประกอบของถังพัก
นำ้ มันไฮดรอลิกส์ หน้าขอ้ ความ

2. บอกสัญลักษณ์และการทำงานของปั๊มแบบ 3. ทำเคร่ืองหมาย ✓ หนา้ ข้อที่ถูก หรือ 
หนา้ ขอ้ ท่ผี ดิ
เฟืองแบบใบพัดและแบบลูกสูบ
3. บอกหน้าทป่ี ระโยชนแ์ ละชนิดของถงั 4. จับคู่ระหวา่ งสัญลกั ษณ์ของป๊ัมไฮดรอลิกส์
กับคำอธิบายชนิดของปัม๊ ให้ถูกตอ้ ง
สะสมความดัน

ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แสดงออกด้านการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซื่อสัตย์ สุจริต ความมีน้ำใจและแบง่ บนั

ความรว่ มมือ ความมีมารยาท

เนอ้ื หาสาระ
12.1 ถังพักนำ้ มันไฮดรอลิกส์
ถังพักน้ำมันไฮดรอลิกส์ (Oil Reservoir) ถังพักน้ำมันมีรูปร่างหลายลักษณะ เช่นรูปทรงสี่เหลี่ยม,

ถังกลมแนวตั้ง และถงั กลมแนวนอน เป็นต้น ชนดิ รูปทรงส่ีเหล่ยี มจะเปน็ ถังขนาดเล็ก – กลาง ถงั กลมแนวต้ังใช้กับ
ระบบเคล่อื นท่ี ส่วนถังกลมแนวนอน จะใชก้ ับระบบไฮดรอลิกส์ขนาดใหญ่

12.2 ป๊ัมไฮดรอลิกส์
ปั๊มไฮดรอลิกส์ (Hydraulic Pump) มีหน้าที่จ่ายอัตราไหล (ซม.3/รอบ) เมื่อทำงานร่วมกับ

วาล์วควบคุมความดัน ปั๊มจะเปลี่ยนพลังงานกลให้เป็นพลังงานไฮดรอลิกส์ในรูปของความดัน
ปั๊มไฮดรอลิกส์ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ ปั๊มแบบเฟือง (Gear Pump) ปั๊มแบบใบพัด (Vane Pump) และปั๊มแบบ
ลูกสบู (Piston Pump)

12.3 ถังสะสมความดนั
ถงั สะสมความดัน (Accumulators) ทำหน้าที่เป็นปม๊ั สำรองในระบบไฮดรอลกิ ส์

ประโยชนข์ องถงั สะสมความดัน
1. ใชเ้ ปน็ พลังงานสำรองในกรณีพลังงานหลกั ถูกตัดขาด
2. ใชช้ ดเชยการรว่ั ซึม
3. เป็นอุปกรณ์ลดแรงกระแทกและการสนั่ ไหวจากการทำงาน

กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ท่ี 14/18, คาบท่ี 53-56/56)
87. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนหนว่ ยท่ี 1 ใช้เวลาประมาณ 20 นาที
88. แบ่งนักเรยี นเป็นกลมุ่ กลุม่ ละ 5 คน
89. ครใู ห้นกั เรยี นดูเนื้อหาหนว่ ยท่ี 12
90. ข้นั นำเขา้ สบู่ ทเรยี น
90.1 ครนู ำรูปภาพเก่ียวกับโครงสร้าง สว่ นประกอบ และสัญลกั ษณ์ของถงั นำ้ มัน และถังสะสมความดัน
และสัญลกั ษณม์ าใหน้ ักเรยี นดู
90.2 ครูตั้งคำถามให้นักเรียนช่วยกันตอบ แล้วร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับโครงสร้าง ส่วนประกอบ และ
สญั ลักษณ์ของถงั นำ้ มนั และถงั สะสมความดนั และสญั ลักษณ์

90.3 ครูแจ้งจดุ ประสงค์การเรยี นขอ้ 1-2

91. ข้นั สอน
91.1 นักเรียนแต่ละกลมุ่ ศึกษาจากเน้อื หาในหนว่ ยที่ 12 เร่ืองอุปกรณ์ต้นกำลังระบบไฮดรอลิกส์
91.2 แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมากลุ่มละ 1 คน มาอภิปรายหน้าชั้นเรียนเพื่อสรุปเกี่ยวกับหน้าที่และ

ส่วนประกอบของถังพักน้ำมันไฮดรอลิกส์ และสัญลักษณ์และการทำงานของปั๊มแบบเฟือง แบบใบพัด และแบบ
ลูกสูบ

91.3 ครใู หค้ วามรู้เพิ่มเตมิ โดยใชส้ ่อื PowerPoint
91.4นกั เรียนทำแบบฝกึ หัดตอนที่ 1 และตอนที่ 2
92.ขั้นสรุป ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั เฉลยกจิ กรรมและร่วมกันอภปิ รายสรปุ บทเรียน

กจิ กรรมการเรียนรู้ (สปั ดาห์ที่ 15/18, คาบที่ 57-60/56)
6. เตรียมความพร้อมในการเรียนโดยการเรียกชอื่ และสำรวจ
7. ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
7.1 ครูทบทวนเนอื้ หาทเ่ี รยี นในครั้งที่ 1
7.2 ครูแจง้ จุดประสงคก์ ารเรียนข้อ 3
8. ข้ันสอน
8.1 นกั เรยี นศกึ ษาเน้ือหาจากหนงั สือในหัวข้อถงั สะสมความดนั
8.2 ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับประโยชน์ของถังความดัน ชนิดของถังสะสมความดัน และถังสะสม
ความดนั ในระบบไฮดรอลกิ ส์
8.3 นกั เรียนทำแบบฝึกหัดตอนที่ 3 และตอนที่ 4
9. ขนั้ สรปุ ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันเฉลยแบบฝึกหัด และรว่ มกนั อภปิ รายสรุปบทเรยี น
10. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรยี น

ส่อื และแหลง่ การเรยี นรู้
23. สอ่ื การเรียนรู้
23.1 หนงั สอื เรียน หนว่ ยท่ี 12 เรอื่ ง อปุ กรณ์ตน้ กำลงั ระบบไฮดรอลกิ ส์
23.2 PowerPoint ประกอบการสอน หนว่ ยท่ี 12
23.3 แบบฝกึ หัดตอนที่ 1-4
23.4 แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรียน

24. แหลง่ การเรยี นรู้
24.1 หนังสือเกย่ี วกับระบบนวิ แมติกส์ ของสำนักพิมพ์ต่าง ๆ
24.2 อนิ เทอรเ์ น็ต

การวดั ผลและประเมนิ ผล
23. การวัดผลและการประเมินผล
23.1แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

ผ่านเกณฑ์
23.2ทดสอบโดยใชแ้ บบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรียน
23.3สงั เกตการปฏิบตั กิ ิจกรรมกลุ่มโดยใช้แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ัติกิจกรรมกลุ่ม
23.4 ตรวจแบบฝึกหัด

24. เกณฑก์ ารวดั และประเมินผล
24.1แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

ผา่ นเกณฑ์
24.2แบบทดสอบหลงั เรยี น ตอ้ งได้คะแนนไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
24.3แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมกลุ่มต้องไดค้ ะแนนไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
24.4แบบฝกึ หดั ตอ้ งได้คะแนนไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

งานท่ีมอบหมาย
งานทม่ี อบหมายนอกเหนือเวลาเรียนไม่มี

ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสำเรจ็ ของผเู้ รียน
1. ผลการนำเสนองานกลุ่ม
2. ผลการทำแบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 12
3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หนว่ ยที่ 12

เอกสารอ้างอิง
1. หนงั สือเรียนวิชางานนวิ เมติกส์และไฮดรอลกิ ส์อตุ สาหกรรม
2. เวบ็ ไซตแ์ ละสื่อสิง่ พมิ พ์ท่ีเก่ียวข้องกบั เน้ือหาบทเรยี นตามบรรณานุกรม

แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 13 หนว่ ยที่ 13
ช่อื วิชา งานนวิ เมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์เบือ้ งต้น เวลาเรียนรวม 72
คาบ
รหัสวชิ า 30102-2007 สอนครงั้ ท่ี 16/18
ชื่อหน่วย อุปกรณท์ ำงานในระบบไฮดรอลิกส์ จำนวน 4 คาบ
ชอื่ เรื่อง อุปกรณท์ ำงานในระบบไฮดรอลิกส์

หัวข้อเร่ือง แบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 13
13.1 กระบอกสบู ไฮดรอลิกส์
13.2 มอเตอร์ไฮดรอลกิ ส์

แนวคดิ สำคญั
อุปกรณ์ทำงานในระบบไฮดรอลิกส์ตัวอย่างเช่น กระบอกสูบไฮดรอลิกส์ให้เป็นอุปกรณ์ทำหน้าที่เปลี่ยน

พลังงานไฮดรอลิกส์ให้เป็นพลังงานกล โดยทั่วไปมีอยู่ 2 ชนิด คือกระบอกสูบทางเดียวและกระบอกสูบสองทาง
ส่วนมอเตอร์ไฮดรอลิกส์เปน็ อุปกรณ์ท่เี ปล่ยี นพลงั งานไฮดรอลกิ ส์ให้เปน็ พลังงานกลโดยมลี ักษณะทำงานแบบหมนุ

สมรรถนะย่อย
แสดงความร้เู กีย่ วกับอปุ กรณ์ทำงานในระบบไฮดรอลิกส์

จดุ ประสงคก์ ารปฏบิ ตั ิ ดา้ นทักษะ
ดา้ นความรู้ 1. จบั ครู่ ะหว่างสัญลกั ษณ์และคำอธิบาย
2. เขียนเคร่อื งหมาย ✓ หนา้ ข้อท่ีถูก หรอื
1. บอกลักษณะและการทำงานของกระบอก
สูบไฮดรอลกิ ส์  หนา้ ข้อท่ผี ดิ
3. จบั คภู่ าพโครงสร้างมอเตอร์ไฮดรอลิกส์
2. บอกลกั ษณะและการทำงานของมอเตอรไ์ ฮดรอลิกส์

กับช่ือท่ีกำหนด

ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
แสดงออกด้านการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซื่อสัตย์ สุจริต ความมีน้ำใจและแบง่ บนั

ความรว่ มมอื ความมมี ารยาท

เนื้อหาสาระ
13.1 กระบอกสูบไฮดรอลิกส์
กระบอกสูบไฮดรอลิกส์ (Hydraulic Cylinders) เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฮดรอลิกส์ให้เป็น

พลงั งานกล กระบอกสบู ไฮดรอลกิ ส์ทีใ่ ช้กนั อยทู่ ่วั ไปแบ่งเปน็ 2 ชนิด คอื กระบอกสูบทางเดียวและกระบอกสูบสอง
ทาง

13.2 มอเตอรไ์ ฮดรอลกิ ส์
มอเตอร์ไฮดรอลกิ ส์ (Hydraulic Motors) คือ อุปกรณท์ ี่เปล่ียนพลงั งานไฮดรอลิกส์ให้เปน็ พลังงาน

กล โดยมลี กั ษณะการทำงานแบบหมนุ

กิจกรรมการเรียนรู้ (สปั ดาห์ที่ 16/18, คาบที่ 61-64/56)
93. นักเรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นหน่วยที่ 13 ใช้เวลาประมาณ 20 นาที
94. แบง่ นกั เรียนเปน็ กลุ่ม กลมุ่ ละ 5 คน
95. ครูใหน้ ักเรียนดเู น้ือหาหนว่ ยท่ี 13
96. ขน้ั นำเข้าสูบ่ ทเรียน ครูตง้ั คำถามให้นกั เรยี นช่วยกนั ตอบ แลว้ รว่ มกันอภปิ รายเพ่ือใหไ้ ด้ขอ้ สรุป
97. ครูแจ้งจดุ ประสงค์การเรียนท้ังทฤษฎีและปฏิบตั ิ
98. ขน้ั สอน
98.1 ครอู ธบิ าย บรรยาย และถามตอบ นกั เรียนศกึ ษาจากเน้อื หา
98.2แตล่ ะกลมุ่ สง่ ตัวแทนมากลมุ่ ละ 1 คน มาอภปิ รายหน้าช้ันเรยี นเพื่อสรุป
98.3ครูให้ความรู้เพมิ่ เตมิ โดยใช้สื่อ PowerPoint
98.4 นักเรียนทำแบบฝึกหัด
99.ข้ันสรุป ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั เฉลยกจิ กรรมและรว่ มกันอภิปรายสรปุ บทเรียน
100. ให้นกั เรียนทำแบบทดสอบหลังเรยี น

สือ่ และแหลง่ การเรียนรู้
25. สอื่ การเรียนรู้
25.1 หนังสอื เรียน หนว่ ยท่ี 13 เรอ่ื ง อปุ กรณ์ทำงานในระบบไฮดรอลิกส์
25.2 PowerPoint ประกอบการสอน หน่วยท่ี 13
25.3 แบบฝกึ หัด
25.4 แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรียน

26. แหลง่ การเรียนรู้
26.1 หนังสอื เก่ียวกับระบบนวิ แมติกส์ ของสำนักพิมพ์ต่าง ๆ
26.2 อินเทอร์เน็ต

การวัดผลและประเมินผล
25. การวัดผลและการประเมินผล
25.1แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

ผ่านเกณฑ์
25.2ทดสอบโดยใช้แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรยี น
25.3สังเกตการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมกล่มุ โดยใช้แบบประเมินผลการปฏิบตั กิ ิจกรรมกลุ่ม
25.4ตรวจแบบฝกึ หัด

26. เกณฑก์ ารวดั และประเมินผล
26.1แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

ผา่ นเกณฑ์
26.2แบบทดสอบหลงั เรยี น ต้องไดค้ ะแนนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
26.3แบบประเมนิ พฤติกรรมการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมกลุม่ ต้องไดค้ ะแนนไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
26.4แบบฝึกหดั ต้องไดค้ ะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

งานทีม่ อบหมาย
งานท่มี อบหมายนอกเหนือเวลาเรียน ให้ทบทวนเนือ้ หา รวมทั้งความสมบูรณ์ของแบบฝึกหัด

ผลงาน/ชน้ิ งาน/ความสำเร็จของผเู้ รียน
1. ผลการนำเสนองานกล่มุ
2. ผลการทำแบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 13
3. คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) หนว่ ยที่ 13

เอกสารอ้างองิ
1. หนังสอื เรียนวชิ างานนิวเมตกิ สแ์ ละไฮดรอลกิ อุตสาหกรรม
2. เว็บไซต์และสื่อสง่ิ พิมพ์ที่เก่ียวขอ้ งกบั เน้ือหาบทเรียนตามบรรณานุกรม

แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 14 หน่วยท่ี 14
ช่อื วิชา งานนวิ เมติกสแ์ ละไฮดรอลิกสเ์ บอ้ื งตน้ เวลาเรียนรวม 72
คาบ
รหสั วชิ า 20102-2007 สอนครั้งที่ 17/18
ช่ือหน่วย วาลว์ ไฮดรอลิกส์ จำนวน 4 คาบ
ช่อื เรอื่ ง วาลว์ ไฮดรอลิกส์

หวั ข้อเรือ่ ง

14.1 วาลว์ ควบคุมทศิ ทาง แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 14

14.2 วาล์วกนั กลบั

14.3 วาลว์ ควบคมุ อตั ราไหล

14.4 วาลว์ แบง่ น้ำมนั

14.5 วาลว์ ควบคุมความดัน

แนวคดิ สำคญั

วาล์วไฮดรอลกิ ส์ประกอบด้วยวาล์วควบคุมทศิ ทางทำหน้าท่ีควบคุมทิศทางการไหลของน้ำมันเพือ่ ควบคมุ

การทำงานของลูกสูบหรือมอเตอร์ วาล์วกันกลับมีหน้าที่ป้องกันการไหลย้อนกลับของน้ำมันในทิศทางที่กำหนด

แบง่ ได้ 3 ประเภทคือวาล์วกนั กลับแบบท่วั ไปแบบสองทางและแบบไพล็อต วาลว์ ควบคมุ อัตราการไหลจะควบคุม

อัตราการไหลของน้ำมนั ให้ไหลเข้ากระบอกสูบ 2 ตวั พรอ้ ม ๆ กนั วาลว์ ควบคุมความดันจะใช้ความดนั ของน้ำมันมา

ควบคมุ

สมรรถนะย่อย
แสดงความรเู้ ก่ยี วกับวาล์วไฮดรอลิกส์

จุดประสงคก์ ารปฏิบตั ิ ดา้ นทกั ษะ
ดา้ นความรู้ 1. นำตวั เลขชื่อวาลว์ จบั คู่กบั สญั ลกั ษณ์ให้

1. บอกสญั ลกั ษณ์และการทำงานของวาลว์ ถกู ต้อง
ควบคุมทิศทาง

2. บอกสัญลกั ษณ์และการทำงานของวาล์วกนั กลับ
3. บอกสัญลกั ษณ์และการทำงานของวาล์ว

ควบคมุ อัตราไหล
4. บอกสัญลกั ษณ์และการทำงานของวาล์วแบง่ น้ำมนั
5. บอกสญั ลักษณ์และการทำงานของวาล์วควบคุม

ความดัน
ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
แสดงออกด้านการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้ ความซื่อสัตย์ สุจริต ความมีน้ำใจและแบง่ บนั

ความร่วมมอื ความมีมารยาท

เนื้อหาสาระ
14.1 วาล์วควบคุมทิศทาง
วาล์วควบคุมทิศทาง (Directional Control Valve : DCV) มีหน้าที่ปิด เปิด หรือเปลี่ยนทิศทาง

การไหลของน้ำมัน ทั้งนี้เพื่อควบคุมให้อุปกรณ์ทำงาน เช่น ลูกสูบ มอเตอร์ สามารถเคลื่อนที่ไปหรือหมุนไปใน
ทิศทางทต่ี ้องการหรือหยดุ ทำงาน

14.2 วาลว์ กนั กลับ
วาล์วกันกลับ (Check Valve) มีคุณสมบัติในการป้องกันการไหลย้อนกลับของน้ำมันในทิศทางหน่ึง

แต่ในอีกทิศทางหนึ่งน้ำมันสามารถไหลผ่านได้ วาล์วกันกลับแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ วาล์วกันกลับแบบทั่วไป
วาลว์ กนั กลับสองทางและวาล์วกันกลับแบบไพล็อต

14.3 วาลว์ ควบคุมอตั ราไหล
วาล์วควบคุมอัตราการไหล (Flow Control Valve)เป็นวาล์วที่ใช้สำหรับควบคุมความเร็ว

ของอุปกรณ์ทำงาน (กระบอกสูบและมอเตอร์) ถ้าควบคุมให้น้ำมันไหลผ่านมาก อุปกรณ์ทำงานจะเคลื่อนที่เร็ว
และเคลอ่ื นทช่ี ้าลง เม่ือควบคมุ ใหน้ ำ้ มันไหลผา่ นวาล์วควบคมุ การไหลน้อยลง

14.4 วาล์วแบ่งน้ำมนั
วาล์วแบ่งน้ำมัน (Flow Divider) เป็นอุปกรณ์สำหรับแบ่งน้ำมันให้ไหลเข้ากระบอกสูบ 2 ตัว

พร้อม ๆ กัน ปกติน้ำมันจะเลือกไหลในทิศทางที่มีแรงต้านน้อยกว่า ลูกสูบที่เคลื่อนที่ออกก่อนจะมี แรงต้าน
น้อยกว่า หากไม่มีอุปกรณ์แบ่งน้ำมัน ลูกสูบที่เคลื่อนที่ก่อนจะเคลื่อนที่ออกไปจนสุดระยะกระบอกสูบ ตัวที่สอง
จงึ จะเคลื่อนทต่ี าม

14.5 วาลว์ ควบคมุ ความดนั
วาล์วควบคุมความดัน (Pressure Control Valve) หมายถึง วาล์วที่นำเอาแรงดันของน้ำมัน

มาควบคุมการปิด–เปิดให้น้ำมันไหลผ่านวาล์วออกไป เพื่อวัตถุประสงค์ต่าง ๆ เช่น เพื่อสร้างแรงดัน ในระบบ
ลดความดันในวงจร หรอื ควบคุมข้นั ตอนการทำงานของวงจร เปน็ ต้น

กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ท่ี 17/18, คาบที่ 65-68/56)
101. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยท่ี 14 ใช้เวลาประมาณ 20 นาที

102. แบง่ นักเรยี นเปน็ กลมุ่ กลุ่มละ 5 คน
103. ครใู หน้ ักเรยี นดูเนอ้ื หาหนว่ ยที่ 14
104. ขนั้ นำเข้าส่บู ทเรียน ครตู ง้ั คำถามให้นักเรยี นชว่ ยกนั ตอบ แลว้ รว่ มกนั อภปิ รายเพอ่ื ให้ไดข้ อ้ สรุป
105. ครแู จ้งจุดประสงคก์ ารเรียนทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ
106. ข้ันสอน

106.1 ครูอธิบาย บรรยาย และถามตอบ นกั เรียนศกึ ษาจากเนอ้ื หา
106.2 แต่ละกลุ่มสง่ ตวั แทนมากลุม่ ละ 1 คน มาอภิปรายหน้าชน้ั เรยี นเพือ่ สรปุ
106.3 ครูใหค้ วามรู้เพมิ่ เตมิ โดยใช้สื่อ PowerPoint
106.4 นกั เรียนทำแบบฝึกหดั
107. ขนั้ สรปุ ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั เฉลยกจิ กรรมและรว่ มกนั อภปิ รายสรปุ บทเรยี น
108. ใหน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรยี น

สอื่ และแหล่งการเรียนรู้
27. ส่อื การเรยี นรู้
27.1 หนังสือเรยี น หน่วยที่ 14 เรอ่ื ง วาล์วไฮดรอลิกส์
27.2 PowerPoint ประกอบการสอน หนว่ ยท่ี 14
27.3 แบบฝกึ หดั
27.4 แบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรยี น
28. แหลง่ การเรยี นรู้
28.1 หนงั สือเกยี่ วกับระบบนวิ แมติกส์ ของสำนักพิมพต์ ่าง ๆ
28.2 อินเทอร์เน็ต

การวัดผลและประเมินผล
27. การวดั ผลและการประเมนิ ผล
27.1แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

ผา่ นเกณฑ์
27.2ทดสอบโดยใชแ้ บบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรียน
27.3สงั เกตการปฏบิ ัติกจิ กรรมกลมุ่ โดยใชแ้ บบประเมนิ ผลการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม
27.4ตรวจแบบฝกึ หัด

28. เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผล

28.1แบบประเมินพฤติกรรม ความมีวินัย และความรับผิดชอบ ต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
ผ่านเกณฑ์

28.2แบบทดสอบหลงั เรยี น ตอ้ งได้คะแนนไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
28.3แบบประเมนิ พฤติกรรมการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมกลุ่มต้องได้คะแนนไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
28.4แบบฝกึ หดั ต้องได้คะแนนไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

งานทมี่ อบหมาย
งานท่ีมอบหมายนอกเหนือเวลาเรยี น ให้ทบทวนเนอื้ หา รวมทั้งความสมบูรณ์ของแบบฝกึ หัด

ผลงาน/ชน้ิ งาน/ความสำเรจ็ ของผู้เรียน
1. ผลการนำเสนองานกลมุ่
2. ผลการทำแบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 14
3. คะแนนแบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หนว่ ยท่ี 14

เอกสารอ้างองิ
1. หนงั สอื เรยี นวชิ างานนวิ มตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกส์อุตสาหกรรม
2. เว็บไซตแ์ ละสอื่ สิ่งพมิ พ์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาบทเรียนตามบรรณานกุ รม


Click to View FlipBook Version