The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ซ่อมบำรุงเครื่องมือกล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sangwankrutee, 2021-12-02 03:03:00

ซ่อมบำรุงเครื่องมือกล

ซ่อมบำรุงเครื่องมือกล

แผนการจดั การเรยี นรู

แบบบูรณาการของเศรษฐกจิ พอเพียง
วชิ า ซอ มบํารุงเครื่องมอื กล
รหสั วิชา 2102 - 2104

หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพ พุทธศกั ราช 2556
หมวดวชิ าทักษะวชิ าชพี กลุม ทกั ษะวิชาชีพเลอื ก

จดั ทําโดย
อ.เตชา อศั วสิทธถิ าวร



คาํ นํา

แผนการจัดการเรียนรู วิชาซอมบํารุงเครื่องมือกล รหัสวิชา 2102 - 2104 จัดทําข้ึนตามหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 ของสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
เนื้อหาภายในแบงออกเปน 10 บท ประกอบดวยเน้ือหาเกี่ยวกับ งานบํารุงรักษา การศึกษาคูมือถอด
ประกอบ การตรวจสอบชิ้นสวนเครื่องจักรกล การบํารุงรักษาเคร่ืองมือกลเบ้ืองตน การปรับต้ังชิ้นสวน
เคร่ืองกล การหลอลื่นชิ้นสวนเคร่ืองจักรกล การจัดเตรียมอะไหลซอมบํารุง การจัดทําช้ินสวนทดแทนอยาง
งาย การบํารุงรักษาระบบนวิ เมตกิ สแ ละไฮดรอลิก และการวางแผนการซอมบํารงุ

แผนการจัดการเรียนรูรายวิชาน้ี ผูเรียบเรียงไดจัดทําโดยมุงเนนฐานสมรรถนะและการเรียนรูแบบ
บูรณาการของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือใชเปนแนวทางการสอนในรายวิชาเพื่อพัฒนาผูเรียนเปนสําคัญ มี
แบบทดสอบและกิจกรรมการฝกทักษะที่เหมาะสมกับผูเรียน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยยึด
ผเู รยี นเปน สําคัญ โดยมคี วามมงุ หวังท่ีจะใหเกิดประสิทธิผลแกผูเรียนและเกิดประสิทธิภาพตอการเรียนการ
สอนมากย่ิงขึน้ ไปดว ย

ผูเรียบเรียงขอขอบคุณผูทีส่ รา งแหลง ความรูแ ละผูที่มสี ว นเกีย่ วขอ งทุกทาน และหวังเปนอยางย่ิงวา
แผนการจดั การเรยี นรเู ลม นีค้ งจะเปน ประโยชนต อ คร-ู อาจารย และผูท ่ีสนใจทั่วไป หากพบขอ บกพรองหรือมี
ขอเสนอแนะประการใด โปรดแจงผเู รยี บเรียงทราบดวยเพอ่ื จะไดปรับปรงุ ในคร้ังตอ ไป

อ.เตชา อศั วสิทธิถาวร

สารบญั ค

คาํ นํา หนา
สารบญั ข
ลกั ษณะรายวชิ า ค
หนว ยการเรียนรู ง
มาตรฐานการศึกษาวชิ าชพี จ
ตารางวเิ คราะหส มรรถนะรายวิชา ฉ
คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม ซ
ตารางวิเคราะหหลกั สูตร ฌ
แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี 1 งานบาํ รุงรกั ษา ญ
แผนการจัดการเรียนรทู ี่ 2 การศึกษาคูม อื ถอดประกอบ 1
แผนการจัดการเรียนรทู ี่ 3 การตรวจสอบชิ้นสว นเครือ่ งจกั รกล 6
แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี 4 การบาํ รุงรกั ษาเครื่องมอื กลเบอ้ื งตน 10
แผนการจดั การเรยี นรูท่ี 5 การปรบั ต้งั ชิ้นสว นเครื่องจกั รกล 15
แผนการจดั การเรยี นรูที่ 6 การหลอ ล่ืนชนิ้ สวนเคร่ืองจกั รกล 20
แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี 7 การจดั เตรียมอะไหลซ อ มบํารงุ 24
แผนการจัดการเรยี นรูท ่ี 8 การจัดทําชน้ิ สว นทดแทนอยา งงา ย 29
แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี 9 การบํารงุ รกั ษาระบบนวิ เมตกิ สแ ละไฮดรอลิก 35
แผนการจัดการเรยี นรูท ่ี 10 การวางแผนการซอ มบาํ รงุ 40
44



ลักษณะรายวิชา

วชิ า ซอ มบาํ รงุ เครือ่ งมือกล รหสั วชิ า 2102 - 2104
ท–ป–น 0–6–2 จํานวน 6 คาบ/สัปดาห รวม 108 คาบ

จดุ ประสงคร ายวิชา

1. เขาใจการซอ มบํารงุ รกั ษา การถอดประกอบเคร่ืองมือกล
2. มที ักษะการซอ มบํารงุ เครื่องมอื กล การถอดประกอบเครอื่ งมือกล
3. มีกิจนิสัยในการทํางานอยางมีระเบียบแบบแผน มีความรับผิดชอบตอตนเอง สวนรวม และ
ปฏิบตั งิ านตามหลกั ความปลอดภัย

สมรรถนะรายวิชา

1. ซอ มบาํ รุงเครอ่ื งมอื กลตามหลักการและกระบวนการ
2. ผลิตชน้ิ สว นทดแทนตามหลกั การและกระบวนการ

คําอธบิ ายรายวชิ า

ปฏิบัติเก่ียวกับการซอมบํารุงเครื่องมือกล การบํารุงรักษาเชิงปองกัน (Preventive Maintenance)
การบํารุงรักษาหลังเกิดเหตุขัดของ (Breakdown Maintenance) ในงานเครื่องมือกล ศึกษาคูมือถอด
ประกอบช้ินสวน ปรับตั้ง ติดต้ัง หลอลื่น จัดเตรียมอะไหล จัดทําชิ้นสวนทดแทนอยางงาย บํารุงรักษาระบบ
นิวเมติกสและไฮดรอลิกสเบื้องตน ตรวจสอบและทดสอบการทํางาน บันทึกประวัติการบํารุงรักษา
ปฏิบัตงิ านตามหลกั ความปลอดภยั



หนว ยการเรียนรู

วชิ า ซอ มบาํ รงุ เครื่องมือกล รหัสวชิ า 2102 - 2104
ท–ป–น 0–6–2 จํานวน 6 คาบ/สปั ดาห รวม 108 คาบ

สปั ดาหท่ี หนว ยท่ี ชอ่ื หนวยการสอน จาํ นวนคาบ
1 1 งานบํารุงรกั ษา 6
2 2 การศึกษาคมู อื ถอดประกอบ 6
3-4 3 การตรวจสอบชิ้นสวนเคร่อื งจกั รกล 12
5-6 4 การบาํ รุงรักษาเคร่ืองมือกลเบอื้ งตน 12
7-8 5 การปรับต้งั ชนิ้ สวนเคร่อื งจกั รกล 12
6 การหลอ ลน่ื ชน้ิ สวนเครื่องจกั รกล 12
9 - 10 7 การจัดเตรยี มอะไหลซอ มบาํ รุง 12
11 - 12 8 การจัดทาํ ช้นิ สวนทดแทนอยางงา ย 12
13 - 14 9 การบาํ รุงรักษาระบบนวิ เมตกิ สและไฮดรอลิก 6
10 การวางแผนการซอมบํารุง 12
15 สอบปลายภาคเรียน 6
16 - 17 108
รวม
18



มาตรฐานการศกึ ษาวิชาชพี

วชิ า ซอ มบาํ รงุ เคร่ืองมอื กล รหสั วิชา 2102 - 2104
ท–ป–น 0–6–2 จํานวน 6 คาบ/สัปดาห รวม 108 คาบ

คุณภาพของผูสําเร็จการศึกษาระดับคุณวุฒิการศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชา
อตุ สาหกรรม สาขาวิชาชา งกลโรงงาน ประกอบดวย

1. ดา นคณุ ลักษณะท่พี ึงประสงค
1.1 คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ความเสียสละ ความซื่อสัตยสุจริต ความ

กตัญูกตเวที ความอดกล้ัน การละเวนสิ่งเสพติดและการพนัน การมีจิตสานึกและเจตคติท่ีดีตอวิชาชีพ
และสงั คม

1.2 พฤติกรรมลักษณะนิสัย ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความมีมนุษยสัมพันธ ความเช่ือมั่น
ในตนเอง ความรักสามัคคี ความขยัน ประหยดั อดทน การพึง่ ตนเอง

1.3 ทักษะทางปญญา ความรูในหลักทฤษฎี ความสนใจใฝรู ความคิดริเริ่มสรางสรรค
ความสามารถในการคิด วิเคราะห

2. ดานสมรรถนะหลกั และสมรรถนะทว่ั ไป
2.1 สื่อสารโดยใชภ าษาไทยและภาษาตางประเทศในชวี ติ ประจาวนั และในงานอาชีพ
2.2 แกไขปญ หาในงานอาชีพโดยใชห ลกั การและกระบวนการทางวิทยาศาสตรและคณติ ศาสตร
2.3 ปฏิบัติตนตามหลกั ศาสนา วฒั นธรรม คานิยม คุณธรรม จรยิ ธรรมทางสังคมและสิทธิหนาที่

พลเมือง
2.4 พัฒนาบคุ ลิกภาพและสุขอนามยั โดยใชห ลักการและกระบวนการดา นสุขศกึ ษาและพลศกึ ษา

3. ดา นสมรรถนะวิชาชีพ
3.1 วางแผน ดําเนินงาน จัดการงานอาชีพตามหลักการและกระบวนการ โดยคํานึงถึงการ

บรหิ ารงานคุณภาพ การอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอม หลักอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
3.2 ใชคอมพวิ เตอรแ ละสารสนเทศเพอื่ งานอาชีพ
3.3 ปฏิบัตงิ านพ้ืนฐานอาชีพตามหลกั และกระบวนการ
3.4 อา นแบบ เขยี นแบบเคร่ืองมอื กล สญั ลักษณมาตรฐาน
3.5 เลอื กใชวัสดอุ ุตสาหกรรม
3.6 ประกอบ ทดสอบวงจร อุปกรณไ ฟฟา และอิเล็กทรอนกิ สเบ้ืองตน
3.7 เชอื่ มโลหะและโลหะแผนเบอ้ื งตน
3.8 ตรวจสอบ ถอด และประกอบชน้ิ สว นเคร่อื งมือกล
3.9 ปรับ แปรรปู และขึน้ รูปงานดวยเครอื่ งมือกล



3.10 เขียนโปรแกรมเอน็ ซีพืน้ ฐาน
3.11 ตรวจสอบชิ้นงานดว ยเคร่ืองมอื วดั
3.12 ปรับปรุงสมบัติโลหะดวยความรอ น
3.13 ซอ มบํารุงเครื่องมอื กล



ตารางวเิ คราะหสมรรถนะรายวชิ า

วชิ า ซอ มบาํ รงุ เคร่อื งมือกล รหัสวิชา 2102 - 2104
ท–ป–น 0–6–2 จาํ นวน 6 คาบ/สปั ดาห รวม 108 คาบ

สมรรถนะรายวชิ า
ซอม ํบา ุรงเค ่ืรองมือกลตามห ัลกการ
หนว ยท่ี และกระบวนการ
ผ ิลตชิ้น สวนทดแทนตามห ัลกการ
1. งานบํารงุ รักษา และกระบวนการ
2. การศกึ ษาคมู ือถอดประกอบ
3. การตรวจสอบช้นิ สว นเครอื่ งจกั รกล 
4. การบาํ รงุ รักษาเครอื่ งมอื กลเบือ้ งตน 
5. การปรบั ต้งั ชิน้ สว นเครอ่ื งจกั รกล 
6. การหลอ ลนื่ ชน้ิ สว นเคร่อื งจักรกล 
7. การจัดเตรียมอะไหลซ อ มบาํ รุง 
8. การจดั ทาํ ชน้ิ สวนทดแทนอยางงา ย 
9. การบาํ รงุ รกั ษาระบบนวิ เมตกิ สและไฮดรอลกิ 
10. การวางแผนการซอมบาํ รงุ






คุณธรรมและจริยธรรม

การบรู ณาการตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
วิชา ซอ มบาํ รงุ เครื่องมือกล รหสั วชิ า 2102 - 2104
ท–ป–น 0–6–2 จํานวน 6 คาบ/สปั ดาห รวม 108 คาบ

คณุ ธรรม จริยธรรม พจิ ารณาจากเกณฑดานคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึง

ประสงค

1. ความมีมนษุ ยสมั พันธ 7. ความสนใจใฝรู

2. ความมีวินัย 8. ความสามคั คี

3. ความรบั ผดิ ชอบ 9. การมมี ารยาท

4. ความซ่ือสตั ยสุจริต 10. มคี วามคดิ รเิ ร่ิมสรางสรรค

5. ความเชือ่ มน่ั ในตนเอง 11. การพ่งึ ตนเอง

6. การตรงตอ เวลา 12. การอดทนอดกลัน้

การบูรณาการตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. ความพอประมาณ
2. เงื่อนไขความรู
3. ความมเี หตผุ ล
4. เง่ือนไขคุณธรรม
5. การมีภมู คิ ุม กันในตัว

คะแนนประเมนิ ผลตลอดภาคเรียน 10%
80%
1. พุทธิพิสัย 10%
2. ทกั ษะพิสยั 100%
3. จิตพสิ ัย

รวม



ตารางวเิ คราะหหลักสตู ร

วชิ า ซอ มบาํ รงุ เคร่อื งมอื กล รหสั วิชา 2102 - 2104
ท–ป–น 0–6–2 จาํ นวน 6 คาบ/สัปดาห รวม 108 คาบ

พฤตกิ รรม พุทธิพิสยั (10%)

ชอื่ หนว ย ความ ูร
ความเขาใจ
การนําไปใช
การวิเคราะ ห
การ ัสงเคราะ ห
การประเ ิมน คา
ทักษะ ิพ ัสย (80%)
จิตพิ ัสย (10%)
รวม
ํลา ัดบความ ํสา ัคญ

1. งานบํารงุ รกั ษา 1 - - 6 183
2. การศึกษาคูมือถอดประกอบ 1 10 6 183
3. การตรวจสอบชนิ้ สว น 1 2 9 1 11 1
เครื่องจักรกล
4. การบาํ รุงรักษาเครือ่ งมือกล 1 9 1 11 1
เบอ้ื งตน
5. การปรับต้ังช้ินสวนเครื่องจักรกล 1 9 1 11 1
6. การหลอลนื่ ชิ้นสว นเคร่อื งจักรกล 1 9 1 11 1
7. การจัดเตรียมอะไหลซ อมบาํ รงุ 1 9 1 11 1
8. การจดั ทาํ ชิน้ สวนทดแทนอยางงาย 1 8 1 10 2
9. การบาํ รุงรกั ษาระบบนวิ เมติกส 1 6 183
และไฮดรอลิก
10. การวางแผนการซอมบํารุง 1 9 1 11 1
10
รวม 80 10 100
ลาํ ดับความสําคัญ 12

1

แผนการจัดการเรียนรทู ่ี 1

วิชา ซอมบํารงุ เคร่อื งมอื กล รหสั วิชา 2102 - 2104 สัปดาหท ่ี 1
หนวยท่ี 1 ชอ่ื หนวย งานบํารงุ รกั ษา

แนวคดิ

เครื่องจักรในงานอุตสาหกรรม
ประเภทของเครื่องจักรกลตามลักษณะการใชง านไดท ง้ั หมด 3 ประเภทดว ยกันประกอบไปดว ย
1. เครอื่ งจักรกลแบบบังคบั ดวยมอื (Manually Operated Machine)
2. เคร่อื งจักรกลกึ่งอตั โนมัติ (Semi-Automatic Machine)
3. เคร่ืองจกั รกลอัตโนมตั ิ (Fully Automatic Machine)
งานบาํ รงุ รกั ษา
จดุ ประสงคใ นการงานซอมบาํ รงุ
1. เพ่ือใหสามารถนําเครอื่ งจกั รกลมาใชง านไดอยา งเต็มประสทิ ธภิ าพและเปน ไปอยา งตอเนือ่ ง
2. เพือ่ เปนการบํารงุ รกั ษาใหเครอื่ งจกั รกลมอี ายุการใชงานท่ยี าวนาน
3. เพือ่ เปนการปองกนั อุบตั เิ หตจุ ากการใชงานเครื่องจักรกลทช่ี าํ รดุ
4. เพ่อื เปน การเตรียมความพรอมในการใชงานเครอื่ งจกั รกลในกรณฉี ุกเฉนิ
5. เพือ่ เปน การลดตนทุนในการจดั หาเครือ่ งจกั รกล
หนา ที่ของหนว ยซอ มบาํ รุง
1. วางแผนงานในการซอมบํารงุ ใหเ ปนระบบ
2. บํารงุ รักษาเคร่ืองจักรกลตามขอ กาํ หนดของบรษิ ทั ผูผลิต
3. ดแู ลใหเครือ่ งจกั รกลและสภาพแวดลอ มในการทาํ งานใหอ ยูในสภาพท่ปี กตพิ รอมใชงาน
4. แกไ ขปญหาในงานซอมบาํ รงุ โดยจะตองดําเนนิ การในทนั ทีทนั ใด
5. จัดเกบ็ ขอ มลู ประวัติการซอมบํารงุ เพ่อื ใชในการวางแผนการซอ มบํารุง
6. ตรวจสอบการใชงานของเครื่องจกั รตามระยะเวลาที่กําหนดอยา งเครงครดั
ประเภทของงานซอ มบํารุง
1. การซอมบํารงุ ตามแผนปฏิบัติ
2. การซอ มบํารุงตามการใชงานของเครื่องจักรกล
3. การซอ มบํารุงตามระยะเวลาทกี่ าํ หนด
4. การซอมบํารงุ ตามลักษณะงาน
ขัน้ ตอนดําเนินการซอมบํารุง
1. เคร่อื งจกั รกลเกิดเหตุเสยี /ขดั ของ/ชาํ รดุ

2

2. ตรวจสอบเหตเุ สยี
3. วิเคราะหเ หตุเสยี
4. วางแผน/กําหนดข้ันตอนการซอ มบํารงุ
5. ดําเนนิ การซอมบํารุง
6. ทดสอบการใชงานเครื่องจกั รกล
7. ผาน/ไมผา น (ถาไมผ านใหกลบั ไปตรวจสอบเหตุเสีย)
8. เครอื่ งจกั รกลคนื สูก ารทํางานปกติ
ขั้นควรระวังในการใชเครือ่ งจกั รกล
1. อยา สบั สวติ ชเคร่ืองมือกลใด ๆ ทั้งสิ้น เม่ือยังไมทราบวาเครื่องมือกลนั้น ๆ มีลักษณะการทํางาน
อยา งใด เพราะเคร่อื งมือกลอาจชํารุดเสียหายหรือเกดิ อันตรายแกผูใชไ ด
2. หยอดนา้ํ มนั หลอ ล่นื ทกุ วัน เคร่อื งมอื กลท่ีขาดการหลอล่นื มอี ายงุ านสน้ั มาก
3. กอนเดินเคร่ืองทํางานใหตรวจลักษณะเครื่องมือกลใหแนใจเสียกอนวาคันโยกตาง ๆ อยูถูก
ตาํ แหนง หรอื ไมอยา งไร
4. ระวังอยาใหเศษโลหะเขาไปขัดอยูในชองเลื่อนตาง ๆ ได เพราะชองเล่ือนจะสึกลงอยางรวดเร็ว
งานจะไมไ ดความเทยี่ งดงั ตองการ
5. แบรง่ิ จะตอ งไมร อนเกนิ กวา ที่มอื จะทนได
6. ระวังอยาใหน้ําและฝุนเขาขางในมอเตอรได หากพบวามอเตอรเร่ิมทํางานไมเปนปกติใหหยุด
เคร่ือง และแจง ใหหัวหนา โรงงานทราบทนั ที
7. รักษาเครื่องมือกลใหสะอาด อยาใชลมอัดเปาเศษโลหะหรือฝุนออกจากเครื่อง เพราะเศษโลหะ
และฝนุ อาจเขา ไปอัดชองเลือ่ นตาง ๆ ได
8. อยาประมาทในการใชเ ครอ่ื งมือกลเพราะอาจไดรับอันตราย

สาระการเรยี นรู

1. เครอ่ื งจกั รในงานอตุ สาหกรรม
2. งานบาํ รงุ รักษา
3. หนาทข่ี องหนวยซอ มบํารุง
4. ประเภทของงานซอ มบํารุง
5. ขนั้ ตอนดําเนินการซอ มบํารงุ
6. ขอควรระวงั ในการใชเครื่องจกั รกล

3

ผลการเรยี นรทู ีค่ าดหวงั

1. จาํ แนกประเภทของเครือ่ งจกั รกลได
2. บอกจุดประสงคในการซอ มบํารงุ ได
3. ระบหุ นา ทข่ี องหนว ยงานซอ มบํารงุ ได
4. อธบิ ายประเภทของงานซอ มบํารงุ ได
5. บอกขั้นตอนในการซอมบํารุงได
6. สรปุ ขอควรระวงั ในการใชงานเครอื่ งจกั รกลได

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ขน้ั นาํ เขาสูบทเรยี น
1. ครูอภิปรายถึงขอบขายสาระการเรียนรู วิธีการวัดผลและแนวทางการประเมินผลการเรียนรูใน
วิชาซอ มบํารุงเคร่อื งมอื กล รหสั วิชา 2102 – 2104 แลว ใหนกั เรยี นซกั ถาม
2. ครใู หน กั เรยี นชว ยกันแสดงความคิดเห็นในเรือ่ ง งานบาํ รุงรักษา จากน้นั ครสู รปุ เพอื่ นําเขาสูบ ทเรียน
ขั้นสอน
3. ครูใหนักเรียนชวยกันจําแนกประเภทของเคร่ืองจักรกล จากนั้นครูอธิบายเพ่ิมเติม โดยใชส่ือ
PowerPoint พรอมนาํ เครอ่ื งจักรกลประเภทตาง ๆ มาใหนักเรียนศกึ ษา
4. ครูอธิบายเกี่ยวกับงานบํารุงรักษา พรอมภาพประกอบ จากนั้นใหนักเรียนชวยกันแสดงความ
คิดเหน็
5. ครแู ละนักเรียนอภปิ รายรวมกันเพอ่ื ใหไ ดขอสรปุ เก่ียวกบั หนาทีข่ องหนว ยซอมบาํ รงุ
6. ครแู ละนักเรยี นชวยกนั จาํ แนกประเภทของงานซอ มบาํ รงุ รว มกัน
7. ครูอธิบายข้ันตอนดําเนินการซอมบํารุง พรอมแผนผังประกอบ แลวต้ังคําถามใหนักเรียนชวยกัน
ตอบ จากนั้นใหน กั เรียนจดบันทึก
8. ครใู หน ักเรียนชวยกนั บอกขอควรระวังในการใชเ คร่ืองจกั รกล
9. ครูพานักเรียนสํารวจโรงฝกปฏิบัติการ เพ่ือใหนักเรียนสรางความคุนเคยและเรียนรูวาเคร่ืองมือ
เคร่อื งใชต าง ๆ ทต่ี อ งใชเรียนภาคปฏิบัติอยูตรงไหน
ข้นั สรุปและการประยกุ ต
10. ครูและนักเรียนรว มกันสรุปเน้ือหาในบทเรียน และใหนักเรียนมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น
โดยครูใชว ธิ กี ารถาม – ตอบ
11. ครูใหนกั เรียนทาํ แบบทดสอบทา ยบท ตอนท่ี 1 และตอนท่ี 2
12. ครใู หน กั เรียนปฏิบัติใบงานท่ี 1.1 งานบํารงุ เครอ่ื งจกั รกลในงานอตุ สาหกรรม
13. ครใู หน กั เรยี นทบทวนเนอ้ื หาของบทที่ 1 และศกึ ษาบทท่ี 2 ลว งหนา

4

ส่อื การเรยี นการสอน

1. PowerPoint บทท่ี 1 งานบํารุงรักษา
2. เครื่องจักรกลประเภทตา ง ๆ
3. ภาพแสดงการซอมบาํ รุง
4. แผนผงั แสดงข้ันตอนในการซอมบํารุง
5. แบบทดสอบทา ยบทท่ี 1

การวัดผลและประเมนิ ผล

วิธีวดั ผล
1. ตรวจแบบทดสอบทา ยบท
2. ตรวจใบปฏบิ ตั ิงาน
3. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมดานคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค
เครื่องมอื วดั ผล
1. แบบประเมินผลการทําแบบทดสอบทายบท
2. แบบประเมินใบปฏิบัติงาน
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยครูและนักเรียน
รวมกนั ประเมิน

เกณฑก ารประเมินผล

1. แบบประเมินผลการทําแบบทดสอบทา ยบท เกณฑผ า น 60% ขนึ้ ไป
2. แบบประเมินใบปฏบิ ัตงิ าน เกณฑผาน 70% ขึน้ ไป
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค คะแนนข้ึนอยูกับการ
ประเมนิ ตามสภาพจรงิ

5

บนั ทึกหลังการสอน

ผลการใชแผนการจดั การเรยี นรู
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ผลการเรยี นของนกั เรยี น
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ผลการสอนของครู
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอื่ ……………………………….
(…………………………………..)

ผสู อน

6

แผนการจัดการเรียนรทู ี่ 2

วิชา ซอมบาํ รงุ เครือ่ งมอื กล รหสั วิชา 2102 - 2104 สัปดาหท ี่ 2
หนวยท่ี 2 ชอ่ื หนว ย การศึกษาคูมอื ถอดประกอบ

แนวคดิ

ประเภทคมู ือ
คูมอื แบงออกไดเปน 2 ประเภท ตามลกั ษณะดังนี้
1. คูมอื ของผูใช
2. คูมือชา งหรอื คูมอื ประจําเครอ่ื ง
รูปแบบของคมู อื
คูมือของผูใชและคูมือของชา งสามารถจดั ทําไดห ลายรปู แบบ ดังนี้
1. ใบอธบิ ายวิธที ํา (Instruction Sheets)
2. เอกสารเลม บางใหข อ มลู ทว่ั ไป
3. บนั ทกึ ส้ัน ๆ ที่ใชกันภายในหนว ยงาน
4. สัญลกั ษณ
สว นประกอบของคมู ือ
1. ขอ มูลท่ัวไป (Overview/Introduction)

1.1 สารบัญ (Content)
1.2 ลักษณะเดน ของเครอ่ื ง (Features)
1.3 สว นตาง ๆ ของเครื่องและหนา ทกี่ ารทํางาน (Working Parts)
1.4 สญั ลกั ษณ (Symbols)
2. การประกอบ การติดตง้ั และการถอดประกอบ (Assembling/Installation/Dismantling)
3. การใชเ คร่ืองมอื (Operation/ Instructions)
4. การบาํ รงุ รกั ษา (Maintenance)
5. การแกไ ขขอ ขดั ขอ ง (Trouble and Solution)
6. ขอมูลจาํ เพาะ (Specification) มลี ักษณะ ดงั น้ี
6.1 ส้ัน งาย ชัดเจน ควรหลีกเล่ยี งการใชค าํ ศพั ทกวา ง ๆ
6.2 หลกี เลย่ี งการใชศัพททบี่ งชี้ทศั นะสว นตัว
6.3 หลกี เล่ยี งการใชศ ัพททคี่ าดเดา
6.4 หลีกเลย่ี งการใชข อมูลทีย่ าวเกินไปหรอื ยน ยอจนเกินไป

7

7. ขอ มลู ประกอบ (Note) เปนรายละเอยี ดเพ่มิ เตมิ ดา นตาง ๆ เพอ่ื ประกอบการใชเ คร่อื ง เชน
7.1 คําเตือนเร่อื งความปลอดภยั (Safety Guide)
7.2 ใบรับประกนั เครอื่ ง (Guarantee)
7.3 การตรวจสอบ (Inspection)

สาระการเรียนรู

1. ประเภทคูมือ
2. รปู แบบของคมู ือ
3. สวนประกอบของคมู ือ

ผลการเรยี นรทู ีค่ าดหวงั

1. บอกประเภทของคมู ือของผูใช
2. อานคมู อื และสัญลกั ษณใ นคูมอื การใชง านไดทุกรปู แบบ
3. ตดิ ต้งั และถอดประกอบไดตามคูมอื
4. แกไขปญ หาเบ้ืองตน และบาํ รงุ รักษาไดต ามคมู อื
5. บอกขอมูลจาํ เพาะทางเทคนิคของเคร่ืองตามคมู อื

กิจกรรมการเรียนการสอน

ขน้ั นาํ เขา สูบทเรยี น
1. ครทู บทวนเนื้อหาในหนวยท่ี 1 รว มกับนกั เรียน
2. ครูตัง้ คําถามใหน กั เรียนชว ยกนั ตอบเกี่ยวกับเรอ่ื ง การศกึ ษาคูม อื ถอดประกอบ
3. ครสู รปุ เพอ่ื นาํ เขา สูบทเรยี น
ข้นั สอน
4. ครูใหน กั เรียนชว ยกนั จาํ แนกประเภทของคูมือ จากน้ันครูอธิบายเพิ่มเติม และนําตัวอยางคูมือแตละ
ประเภทมาใหนักเรยี นศึกษา
5. ครูอธิบายเก่ียวกับรูปแบบของคูมือ โดยใชสื่อ PowerPoint และตัวอยางคูมือของผูใชและคูมือ
ของชา งประกอบ แลวใหนกั เรยี นซกั ถาม
6. ครใู หนกั เรียนอา นคูม ือและสัญลักษณใ นคมู ือการใชง านรปู แบบตาง ๆ
7. ครูอธิบายเก่ียวกับสวนประกอบของคูมือ พรอมทั้งใหนักเรียนศึกษาคูมือที่นํามาเปนตัวอยางตาม
ไปดว ย

8

8. ครูใหนักเรียนกลับไปสํารวจดูคูมือของเคร่ืองมือเครื่องใชประเภทตาง ๆ ภายในบาน แลวให
นกั เรียนศึกษาคมู อื นัน้ ตามทีไ่ ดเรยี นมา จากน้นั ใหจ ดบนั ทึกสงครู

9. ครูอธิบายและสาธติ วธิ กี ารใชคูมอื แลว ใหน ักเรียนซักถาม
ข้นั สรุปและการประยุกต
10. ครแู ละนักเรียนรวมกันสรุปเน้ือหาในบทเรียน และใหนักเรียนมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น
โดยครใู ชวธิ ีการถาม – ตอบ
11. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบทายบท
12. ครูใหนักเรยี นปฏบิ ตั ใิ บงานท่ี 2.1 ศกึ ษาคมู ือถอดประกอบ
13. ครูใหน กั เรียนทบทวนเนื้อหาของบทที่ 2 และศึกษาบทท่ี 3 ลวงหนา

ส่อื การเรียนการสอน

1. PowerPoint บทที่ 2 การศึกษาคมู อื ถอดประกอบ
2. ตวั อยางคูมอื ประเภทตาง ๆ
3. แบบทดสอบทา ยบทท่ี 2

การวดั ผลและประเมนิ ผล

วธิ วี ัดผล
1. ตรวจแบบทดสอบทายบท
2. ตรวจใบปฏิบตั งิ าน
3. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมดานคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค
เคร่ืองมือวดั ผล
1. แบบประเมินผลการทาํ แบบทดสอบทา ยบท
2. แบบประเมนิ ใบปฏิบตั งิ าน
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยครูและนักเรียน
รว มกันประเมิน

เกณฑการประเมนิ ผล

1. แบบประเมนิ ผลการทําแบบทดสอบทา ยบท เกณฑผาน 60% ขน้ึ ไป
2. แบบประเมินใบปฏิบตั ิงาน เกณฑผ าน 70% ขึน้ ไป
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค คะแนนขึ้นอยูกับการ
ประเมินตามสภาพจรงิ

9

บนั ทึกหลังการสอน

ผลการใชแ ผนการจดั การเรยี นรู
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ผลการเรยี นของนักเรยี น
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ผลการสอนของครู
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ……………………………….
(…………………………………..)

ผสู อน

10

แผนการจดั การเรียนรูท ่ี 3

วิชา ซอมบํารุงเคร่อื งมอื กล รหสั วชิ า 2102 - 2104 สปั ดาหท ่ี 3 - 4
หนว ยท่ี 3 ชอื่ หนว ย การตรวจสอบชน้ิ สว นเครื่องจกั รกล

แนวคิด

การตรวจสอบฐานของเคร่อื งจักรกล
ฐานรากจะตองสามารถรองรับนํ้าหนักไดเปนอยางดี มีระดับที่สมํ่าเสมอ ไมเอียงดานใดดานหนึ่ง
ไมเ กดิ การสั่นสะเทอื นเม่ือเปด เคร่ืองจกั รใชงาน
การตรวจสอบความเสยี หายของฐานเครือ่ งจกั รกล
1. ตรวจสอบรอยแตกราวของฐานเครอื่ งจกั รกล
2. ตรวจสอบพนื้ ระดับของฐานเครื่องจกั รกล
3. ตรวจสอบรอยราวและชองวางใตฐ านเคร่ืองจกั รกล
การตรวจสอบความเสยี หายของชิน้ สว น แบงการตรวจสอบออกเปน 2 ลกั ษณะ คอื
1. การตรวจสอบระบบการทาํ งานของเคร่อื งจกั รกล
2. การตรวจสอบสภาพของเครื่องจักรกล
การตรวจสอบศูนยร ว มของเครื่องจกั รกล มอี ยหู ลายวธิ ดี วยกนั ซ่ึงประกอบไปดว ย
1. ใชก ารสมั ผัสผิวหนาและผวิ ขา งของของช้นิ สวน
2. ใชก ารสัมผสั ดานหนา 2 จดุ ดานขา ง 1 จุด
3. ใชการสมั ผัสดา นขาง 1 จุด
4. ใชการสมั ผัสดว ยคูส มั ผสั
การตรวจสอบสมดลุ ของชนิ้ สว น มจี ดุ มงุ หมายดังตอไปนี้
1. บํารุงรักษาใหแบริ่งมีอายุการใชง านที่ยาวนาน
2. ปองกนั การส่ันสะเทือนในขณะใชงานเครอ่ื งจกั ร
3. ปองกันการเกดิ เสยี งดงั
4. เพ่ือใหเ กิดความเคน ในระหวางการทาํ งานของเครอ่ื งจักรกลนอยท่ีสดุ
5. ปอ งกนั การสูญเสยี พลังงานโดยเปลา ประโยชนข องเคร่ืองจกั รกล
6. ชว ยเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการผลติ
เครื่องมือที่นํามาใชในการตรวจสอบความสมดลุ จะประกอบไปดว ย
1. Universal balancing machines
2. Semi-automatic balancing machines
3. Full automatic balancing machines with automatic transfer of work

11

สาระการเรียนรู

1. การตรวจสอบฐานของเคร่ืองจกั รกล
2. การตรวจสอบความเสียหายของฐานเครื่องจกั รกล
3. การตรวจสอบความเสียหายของชนิ้ สว น
4. การตรวจสอบศูนยร วมของเครอ่ื งจักรกล
5. การตรวจสอบสมดุลของชนิ้ สวน

ผลการเรียนรทู ่คี าดหวงั

1. บอกประเภทของการตรวจสอบชนิ้ สวนเครือ่ งจกั รกลได
2. อธบิ ายวิธีการตรวจสอบฐานของเครอ่ื งจกั รกลได
3. ระบุวิธกี ารตรวจสอบความเสยี หายของฐานเครือ่ งจักรกลได
4. แสดงความรูเ กย่ี วกับการตรวจสอบความสึกหรอของชิน้ สวนเครอ่ื งจกั รได
5. ระบุวธิ ีการตรวจสอบศนู ยร วมของเครอ่ื งจกั รกลได
6. บอกจุดมงุ หมายของการตรวจสอบความสมดลุ ของชน้ิ สวนเครื่องจักรกลได

กิจกรรมการเรยี นการสอน

ข้นั นําเขา สบู ทเรยี น
1. ครทู บทวนเน้ือหาในหนวยที่ 2 รว มกับนกั เรยี น
2. ครูใหนกั เรยี นชวยกนั แสดงความคดิ เหน็ เร่อื ง การตรวจสอบช้ินสว นเครอ่ื งจกั รกล
3. ครสู รปุ เพอ่ื นําเขา สูบทเรยี น
ขัน้ สอน
4. ครใู หน ักเรียนชว ยกนั บอกประเภทของการตรวจสอบชน้ิ สวนเคร่อื งจกั รกล จากนน้ั ครสู รุปอีกคร้งั
5. ครูอธิบายวธิ กี ารตรวจสอบฐานของเคร่อื งจักรกล โดยใชส ่อื PowerPoint พรอ มภาพประกอบ
6. ครูและนกั เรียนชวยกันระบวุ ิธกี ารตรวจสอบความเสยี หายของฐานเคร่อื งจกั รกล
7. ครูอธิบายและสาธิตวิธีการตรวจสอบความเสียหายของช้ินสวน พรอมตารางประกอบ แลวให
นักเรียนซกั ถาม
8. ครูใหนักเรียนศึกษาการตรวจสอบศูนยรวมของเครื่องจักรกล และการตรวจสอบสมดุลของชิ้นสวน
จากนน้ั ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ และสาธติ วิธกี ารตรวจสอบ
9. ครูใหน กั เรยี นฝก ปฏิบัตกิ ารตรวจสอบชิน้ สวนเครอื่ งจกั รกล โดยครูคอยใหค าํ แนะนาํ

12

ขัน้ สรุปและการประยุกต
10. ครแู ละนักเรียนรวมกันสรุปเน้ือหาในบทเรียน และใหนักเรียนมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น
โดยครูใชว ิธกี ารถาม – ตอบ
11. ครใู หนกั เรียนทาํ แบบทดสอบทา ยบท ตอนที่ 1 ตอนที่ 2 และตอนท่ี 3
12. ครูใหนักเรียนปฏิบัติใบงานท่ี 3.1 การตรวจสอบความสึกหรอของช้ินสวนเครื่องจักรกล ใบงาน
ท่ี 3.2 การตรวจสอบศนู ยรวมของเคร่อื งจักรกล และใบงานที่ 3.3 การตรวจสอบความสมดุลของชิ้นสวน
13. ครูใหนกั เรียนทบทวนเน้อื หาของบทที่ 3 และศกึ ษาบทท่ี 4 ลว งหนา

สื่อการเรยี นการสอน

1. PowerPoint บทท่ี 3 การตรวจสอบช้ินสว นเครื่องจกั รกล
2. ภาพแสดงสวนตาง ๆ ของฐานราก
3. ตารางแสดงตาํ แหนงการตรวจสอบช้ินสว นเครือ่ งจกั รกล และการตรวจสอบสภาพเคร่อื งจักรกล
4. ชุดปอมมดี
5. ชดุ แครเลื่อน
6. ชุดยันศูนยทา ยแทน
7. ผิวขางเพลาหัวเครอ่ื ง
8. ผวิ หนาแปลน
9. ผิวเรยี บในรองเพลาหวั เครื่อง
10. นาฬกิ าขดั
11. ผวิ หนาและผิวขา งของชน้ิ สวน
12. เพลางาน
13. เพลาสงกาํ ลัง
14. แบบทดสอบทา ยบทที่ 3

การวัดผลและประเมินผล

วิธีวดั ผล
1. ตรวจแบบทดสอบทา ยบท
2. ตรวจใบปฏบิ ัตงิ าน
3. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมดานคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค

13

เคร่ืองมือวัดผล
1. แบบประเมินผลการทาํ แบบทดสอบทายบท
2. แบบประเมินใบปฏิบัติงาน
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยครูและนักเรียน
รวมกนั ประเมิน

เกณฑก ารประเมินผล

1. แบบประเมินผลการทําแบบทดสอบทายบท เกณฑผา น 60% ข้ึนไป
2. แบบประเมนิ ใบปฏิบัตงิ าน เกณฑผาน 70% ขน้ึ ไป
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค คะแนนขึ้นอยูกับการ
ประเมินตามสภาพจริง

14

บันทึกหลังการสอน

ผลการใชแผนการจดั การเรียนรู
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ผลการเรียนของนกั เรยี น
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ผลการสอนของครู
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื ……………………………….
(…………………………………..)

ผสู อน

15

แผนการจดั การเรยี นรูที่ 4

วิชา ซอมบํารุงเครอ่ื งมอื กล รหสั วชิ า 2102 - 2104 สปั ดาหท ่ี 5 - 6
หนว ยท่ี 4 ชือ่ หนวย การบาํ รงุ รักษาเคร่อื งมือกลเบอ้ื งตน

แนวคดิ

เคร่อื งเจาะ
ชนิดของเครื่องเจาะ เครอ่ื งเจาะทใ่ี ชงานในการเจาะ จะมอี ยูดว ยกนั 3 ชนิด ไดแก
1. เคร่ืองเจาะแบบต้ังโตะ (Bench-Model Sensitive Drilling)
2. เครอ่ื งเจาะแบบตงั้ พน้ื (Floor Type)
3. เคร่ืองเจาะแบบเรเดียล (Redial Drilling Machine)
การบาํ รุงรกั ษาเคร่อื งเจาะ
1. ผใู ชงานเครอ่ื งเจาะจะตอ งศึกษาการใชงานในลักษณะตา ง ๆ ของเครือ่ งเจาะใหเขา ใจกอ นใชง าน
2. ศกึ ษาคูมือทีท่ างบรษิ ทั ผูผลติ ใหมากับเครอ่ื งเจาะ
3. ตรวจเชค็ สภาพช้ินสว นของเครือ่ งเจาะกอนใชงาน
4. ทําการหลอลน่ื ชนิ้ สวนท่ีมกี ารเคลอ่ื นท่ีกอนการใชงานเครอ่ื งเจาะทุกคร้งั
5. จะตอ งทาํ ความสะอาดคราบสกปรกตาง ๆ จากการใชง านเครื่องเจาะภายหลังการใชง านทกุ คร้งั
ขอควรระวงั ในการใชเ ครือ่ งเจาะ
1. ผูใ ชง านเครื่องเจาะจะตอ งมีสภาพรางกายทพี่ รอมจะปฏบิ ัติงาน
2. แตงกายใหรดั กุม
3. ตรวจสอบช้นิ สว นตา ง ๆ ของเคร่อื งเจาะใหอ ยใู นสภาพพรอมใชงานเสมอ
4. เลอื กใชค วามเรว็ รอบของดอกสวา นใหตรงกับชนดิ ของวัสดงุ านและชนดิ ของดอกสวาน
5. เลือกใชด อกสวานใหเ หมาะสมกับชนดิ ของงาน
6. ชิน้ งานทีน่ ํามาเจาะบนเครือ่ งเจาะจะตองทําการจบั ช้นิ งานบนแทนจับงานหรือปากกาจับช้ินงาน
อยา งมัน่ คง
7. ในระหวางการเจาะชิ้นงาน ผูปฏิบัติงานจะตองสวมแวนตาเพื่อปองกันเศษโลหะกระเด็นเขาตา
ทุกครงั้ ที่ใชงานเครอ่ื งเจาะ
8. อยา นําเอาวสั ดุหรอื เคร่ืองมือตาง ๆ เขาไปเกย่ี วหรือสัมผัสกับดอกสวานหรือชิ้นสวนท่ีเคลื่อนไหว
ในระหวางการใชงานเคร่ืองเจาะอยางเด็ดขาด เพราะอาจทําใหเ กิดอนั ตรายได
9. พื้นท่ที ที่ ําการปฏิบตั ิงานจะตอ งมีแสงสวา งอยางเพียงพอ
10.ในระหวางการเจาะ จะตองทําการระบายความรอนในการตัดเฉือนชิ้นงานของดอกสวานดวย
นํา้ มนั หลอเย็นทุกครงั้

16

เครอื่ งเจยี ระไนลบั คมตดั (Grinding)
ชนิดของเคร่ืองเจียระไนลับคมตัด เคร่ืองเจียระไนลับมือท่ีนํามาใชในงานทางชาง แบงออกเปน 2
ชนิด ไดแก
1. เคร่ืองเจยี ระไนลับคมตดั แบบต้ังโตะ
2. เครื่องเจียระไนลับคมตัดแบบต้ังพ้ืน
การบํารุงรกั ษาเคร่ืองเจียระไนลับคมตดั
1. ตรวจสภาพหนิ เจียระไนลบั คมตดั กอ นการลงมือปฏบิ ตั งิ านทุกคร้ัง
2. จะตองทําการแตงผิวหนาของลอหินเจียระไนลับคมตัดใหอยูในสภาพท่ีเรียบ ไมเอียง หรือเปน
รอยขรุขระ โดยใหลอ หนิ เจยี ระไนลับคมตัดทั้ง 2 ดานอยูในสภาพที่สมดลุ กนั
3. การยึดหินเจียระไนลับคมตัดเขากับแทนวาง หรือพ้ืนโรงงาน จะตองทําการยึดอยางมั่นคงไมให
เคลอ่ื นตวั ได และตาํ แหนง การวางจะตองไดร ะดับท่สี มดลุ
4. หลังการใชงานเครื่องเจียระไนลับคมตัดทุกคร้ัง จะตองทําความสะอาดคราบส่ิงสกปรก เศษ
โลหะ หรือฝุนละอองจากการใชง าน
ขอควรระวังในการใชง านเครื่องเจียระไนลับคมตดั
1. ผูใชงานเครื่องเจียระไนลับคมตัดจะตองมีสภาพรางกายท่ีพรอมปฏิบัติงาน ไมอยูในอาการมึนเมา
ซมึ เศรา หรืองว งนอน เปน ตน
2. กอ นลงมือปฏบิ ตั ิงาน ควรแตงกายใหร ดั กมุ เสือ้ ผา ตองไมรุมราม
3. ตรวจสอบช้นิ สวนตา ง ๆ ของเคร่ืองเจียระไนลบั คมตดั ใหอยูในสภาพพรอ มใชง านเสมอ
4. ช้ินงานท่นี ํามาเจียระไนบนเคร่ืองเจียระไนลบั คมตัดจะตอ งทาํ การจับชนิ้ งานอยางมัน่ คง
5. ในระหวางเจียระไนชิ้นงาน ผูปฏิบัติงานจะตองสวมแวนตาเพ่ือปองกันเศษโลหะกระเด็นเขาตา
ทุกคร้งั ท่ีใชง านเครื่องเจียระไนลับคมตดั
6. อยานําเอาวัสดุหรือเครือ่ งมือตา ง ๆ เขา ไปเก่ียวหรอื สมั ผัสกับลอ หนิ เจียระไน
7. พื้นท่ีที่ทําการปฏิบตั ิงานจะตองมแี สงสวางอยา งเพียงพอ
8. ในระหวางเจียระไนช้ินงาน จะตองทําการระบายความรอนในการตัดเฉือนช้ินงานของลอหิน
เจียระไนดว ยนาํ้ มนั หลอ เยน็ ทกุ ครัง้

สาระการเรยี นรู

1. เครอ่ื งเจาะ
2. เคร่ืองเจียระไนลับคมตัด (Grinding)

17

ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

1. ระบสุ ว นตาง ๆ ของเครอื่ งเจาะได
2. จาํ แนกชนิดของเครื่องเจาะได
3. บอกวธิ ีบาํ รงุ รกั ษาและขอ ควรระวงั ในการใชเ ครอื่ งเจาะได
4. อธบิ ายสวนประกอบและประเภทของเครื่องเจยี ระไนลับคมตัดได
5. สรปุ การบาํ รงุ รกั ษาและขอ ควรระวงั ในการใชงานเคร่ืองเจยี ระไนได

กิจกรรมการเรยี นการสอน

ข้นั นําเขาสบู ทเรยี น
1. ครูทบทวนเนอ้ื หาในหนว ยท่ี 3 รวมกับนกั เรยี น
2. ครูและนักเรียนอภิปรายรวมกันในเร่ือง การบํารุงรักษาเคร่ืองมือกลเบื้องตน จากน้ันครูสรุปเพ่ือ
นําเขาสูบทเรียน
ขน้ั สอน
3. ครูอธิบายเกี่ยวกับสวนตาง ๆ ของเครื่องเจาะ โดยใชสื่อ PowerPoint พรอมท้ังใหนักเรียนศึกษา
ตวั เคร่อื งเจาะไปดว ย
4. ครใู หน ักเรยี นชวยกันจาํ แนกชนดิ ของเครื่องเจาะ แลวครูสรุปอกี ครง้ั
5. ครูและนกั เรยี นอภิปรายรว มกนั เพอื่ ใหไดขอสรุปเกี่ยวกับวิธีบํารุงรักษาและขอควรระวังในการใช
เครอื่ งเจาะ
6. ครูอธิบายสว นประกอบและประเภทของเครื่องเจียระไนลับคมตัด พรอมท้ังนําเครื่องเจียระไนลับ
คมตัดมาใหนกั เรยี นศึกษา
7. ครแู ละนกั เรียนสรุปรว มกนั เก่ียวกับการบํารงุ รักษาและขอ ควรระวังในการใชง านเครื่องเจียระไน
8. ครูใหนักเรียนฝกการใชเครื่องเจาะและเครื่องเจียระไนลับคมตัด โดยครูคอยใหคําแนะนําและ
ชว ยเหลอื
ขั้นสรุปและการประยกุ ต
9. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเน้ือหาในบทเรียน และใหนักเรียนมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น
โดยครูใชว ธิ ีการถาม – ตอบ
10. ใหนักเรียนทาํ แบบทดสอบทา ยบท ตอนท่ี 1 และตอนที่ 2
11. ครูใหน กั เรยี นปฏิบัตใิ บงานที่ 4.1 เคร่อื งเจาะ และใบงานที่ 4.2 เคร่ืองเจยี ระไนลับคมตัด
12. ครูใหน ักเรยี นทบทวนเน้อื หาของบทที่ 4 และศึกษาบทที่ 5 ลว งหนา

18

ส่ือการเรยี นการสอน

1. PowerPoint บทท่ี 4 การบาํ รุงรักษาเคร่อื งมือกลเบือ้ งตน
2. เคร่ืองเจาะแบบตาง ๆ
3. เครอ่ื งเจียระไนลบั คมตัดแบบตาง ๆ
4. แบบทดสอบทา ยบทท่ี 4

การวัดผลและประเมินผล

วิธวี ดั ผล
1. ตรวจแบบทดสอบทายบท
2. ตรวจใบปฏิบตั งิ าน
3. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมดานคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค
เครอ่ื งมอื วัดผล
1. แบบประเมินผลการทําแบบทดสอบทา ยบท
2. แบบประเมนิ ใบปฏิบตั ิงาน
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยครูและนักเรียน
รว มกันประเมนิ

เกณฑการประเมนิ ผล

1. แบบประเมินผลการทาํ แบบทดสอบทายบท เกณฑผ า น 60% ข้ึนไป
2. แบบประเมินใบปฏิบตั งิ าน เกณฑผา น 70% ข้นึ ไป
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค คะแนนขึ้นอยูกับการ
ประเมินตามสภาพจริง

19

บันทึกหลังการสอน

ผลการใชแผนการจดั การเรียนรู
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ผลการเรียนของนกั เรยี น
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ผลการสอนของครู
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื ……………………………….
(…………………………………..)

ผสู อน

20

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 5

วิชา ซอ มบํารงุ เคร่ืองมอื กล รหสั วชิ า 2102 - 2104 สัปดาหท ี่ 7 - 8
หนวยที่ 5 ช่อื หนวย การปรับต้งั ช้ินสว นเครอ่ื งจกั รกล

แนวคิด

การปรับตั้งสายพานสงกาํ ลัง

การคํานวณหาระยะหยอ นของสายพาน

ระยะหยอ นสายพาน Ea = a.E / 100

a = ระยะหา งระหวางศูนยกลางพลุ เล (มม.)

E = ระยะดัดตอ 100 มม. ของระยะหางศูนยขบั (มม.)

Ea = ระยะหยอนสายพาน (มม.)

การปรบั ต้งั โซส งกาํ ลัง

ระยะหยอ นของโซ

ระยะหยอน (SS) = 4% ของระยะดา นตงึ (Span) สําหรบั สภาพการขบั ปกติ

ระยะหยอน (SS) = 2% ของระยะดานตงึ ในกรณี

- ขับในแนวด่งิ หรือใกลเคยี ง

- ระยะหางของเพลามากกวา 1 เมตร

- กรณีโซร ับภาระงานหนัก และมีการใชง านความถ่ีสงู

- มกี ารเปลยี่ นทิศทางการขบั อยบู อ ย ๆ ครัง้

การวัดโซย่ ืด
การวดั โซย ดื ใหดึงโซออก จากนน้ั จะใชเ วอรเ นยี รว ัดคา ความยาว L1 และ L2 แลว นํามาหาคา ความ

ยาวเฉลี่ย L1 + L2
2
L=

สาระการเรียนรู

1. การปรับตง้ั สายพานสงกาํ ลงั
2. การปรับตั้งโซสง กาํ ลงั

ผลการเรียนรูทคี่ าดหวัง

1. คาํ นวณหาระยะหยอนของสายพานได
2. ปรับตงั้ โซส ง กําลงั ได
3. อธิบายการวดั โซยึดดว ยเวอรเนียรค ารลิปเปอรได

21

กิจกรรมการเรยี นการสอน

ขนั้ นาํ เขาสบู ทเรยี น
1. ครทู บทวนเนอ้ื หาในหนวยที่ 4 รว มกบั นักเรียน
2. ครูตั้งคําถามใหน ักเรียนชว ยกันตอบเกีย่ วกับเรื่อง การปรับต้งั ช้นิ สว นเครอื่ งจกั รกล
3. ครูสรุปเพอ่ื นาํ เขา สูบทเรยี น
ขั้นสอน
4. ครูอธิบายการปรับตั้งสายพานสงกําลัง และแสดงวิธีการคํานวณหาระยะหยอนของสายพาน โดย
ใชสอ่ื PowerPoint พรอมตารางและภาพประกอบ แลวใหน ักเรยี นซักถาม
5. ครูใหน กั เรียนฝกคาํ นวณหาระยะหยอนของสายพานตามโจทยทค่ี รูกาํ หนดให
6. ครูอธบิ ายการปรับตง้ั โซส งกําลงั และการวดั โซย ดึ ดว ยเวอรเ นียรคารล ิปเปอร โดยใชภาพประกอบการ
อธบิ าย แลว ตั้งคาํ ถามใหนักเรยี นชว ยกันตอบ
7. ครูแสดงวิธีการวัดคาโซยึดและการวัดปรับหาแนวศูนยของเพลาและลอโซ แลวใหนักเรียนซักถาม
จากน้ันใหน ักเรียนฝก ปฏบิ ัติ โดยครูคอยใหคําแนะนาํ
ขนั้ สรปุ และการประยุกต
8. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเนื้อหาในบทเรียน และใหนักเรียนมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น
โดยครใู ชว ิธกี ารถาม – ตอบ
9. ใหน ักเรยี นทําแบบทดสอบทา ยบท ตอนที่ 1 และตอนที่ 2
10. ครใู หน กั เรยี นปฏบิ ตั ิใบงานท่ี 5.1 การปรับต้ังสายพานสงกําลัง และใบงานท่ี 5.2 การปรับต้ังโซ
สง กําลงั
11. ครใู หน กั เรียนทบทวนเน้ือหาของบทที่ 5 และศกึ ษาบทที่ 6 ลว งหนา

สื่อการเรยี นการสอน

1. PowerPoint บทที่ 5 การปรบั ต้ังชนิ้ สว นเครอ่ื งจักรกล
2. ภาพแสดงการสงกําลงั ผา นสายพาน
3. ภาพแสดงระยะตาง ๆ ของสายพาน
4. ตารางแสดงความสัมพันธของสายพาน
5. ภาพแสดงการสงกาํ ลงั ดวยโซ
6. ภาพแสดงแนวศนู ยข องลอเฟองในแนวนอน
7. ภาพแสดงระยะหยอนของโซ
8. ภาพแสดงการวัดคาโซย ืด
9. ภาพแสดงการวัดปรบั หาแนวศนู ยข องเพลาและลอโซ

22

10. สายพานสง กาํ ลงั
11. เกจวัดความตงึ
12. โซสง กาํ ลัง
13. เวอรเ นยี ร
14. แบบทดสอบทายบทที่ 5

การวดั ผลและประเมินผล

วิธีวัดผล
1. ตรวจแบบทดสอบทายบท
2. ตรวจใบปฏิบตั งิ าน
3. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมดานคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค
เครือ่ งมอื วดั ผล
1. แบบประเมนิ ผลการทําแบบทดสอบทา ยบท
2. แบบประเมินใบปฏิบัติงาน
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยครูและนักเรียน
รว มกนั ประเมนิ

เกณฑการประเมินผล

1. แบบประเมนิ ผลการทําแบบทดสอบทายบท เกณฑผา น 60% ขึ้นไป
2. แบบประเมินใบปฏิบัติงาน เกณฑผาน 70% ขึ้นไป
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค คะแนนขึ้นอยูกับการ
ประเมินตามสภาพจริง

23

บันทึกหลังการสอน

ผลการใชแผนการจดั การเรียนรู
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ผลการเรียนของนกั เรยี น
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ผลการสอนของครู
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื ……………………………….
(…………………………………..)

ผสู อน

24

แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี 6

วิชา ซอมบาํ รุงเคร่ืองมอื กล รหสั วิชา 2102 - 2104 สปั ดาหท ี่ 9 - 10
หนวยที่ 6 ชอื่ หนวย การหลอลน่ื ชนิ้ สว นเคร่ืองจกั รกล

แนวคดิ

วตั ถุประสงคข องการหลอ ลน่ื ภายในเครื่องจักรกล
1. เพ่ือเปนการลดการสูญเสยี กาํ ลังงานของเครอ่ื งจักร
2. เพือ่ ปองกนั การสึกหรอของชิ้นสวนตาง ๆ ของเคร่ืองจักร
3. เปนการชวยลดความรอ นจากชน้ิ สว นตา ง ๆ ของเครือ่ งจักรกล
4. น้ํามนั หลอ ลื่นจะชว ยในการอุดรอยรัว่
5. น้ํามนั หลอล่ืนจะเปน ฟลมบาง ๆ เคลือบในชองวา งตา ง ๆ
6. เพ่ือชว ยในการชาํ ระลา งสง่ิ สกปรก
ประเภทของการหลอ ลนื่
1. การใชน ้ํามันหลอลน่ื แบงออกเปน 3 ระบบ ประกอบดว ย

1.1 ระบบหลอ ลืน่ แบบแรงดัน
1.2 ระบบหลอ ลืน่ แบบวิดสาด
1.3 ระบบหลอลน่ื แบบใชแรงดนั และการสาด
2. ระบบใชโซแ ละแหวนในการหลอล่ืน
3. ระบบหลอ ลืน่ ดวยเสน เชอื ก
4. ระบบหลอ ลื่นแบบหยดนาํ้ มัน
5. การหลอลนื่ ดวยไอนา้ํ มันหลอ ลืน่
6. การหลอลื่นดว ยจาระบี
คณุ ลกั ษณะของนํา้ มนั หลอลน่ื
1. ความหนดื (Viscosity) คือ คา ความตา นทานการไหลของนา้ํ มนั หลอลนื่ นาํ้ มนั หลอ ลืน่ ที่นาํ มาใช
ในเครอ่ื งยนตจะตองมีคาความหนืดที่เหมาะสมกับเคร่ืองยนตแตละประเภทตามท่ีผูผลิตเครื่องยนตกําหนด
มาใหใ ช
2. ดัชนีความหนืด (Viscosity Index) คอื การวัดอตั ราการเปลีย่ นแปลงความหนืดตอการเปล่ยี นแปลง
อณุ หภมู ิ
3. คา ความหนืดของน้าํ มนั หลอลน่ื จะถูกกาํ หนดดว ยอักษรและคาตวั เลข โดยขึน้ ตน ดวยอกั ษร SAE
ตามหลังตัวอักษร SAE จะกําหนดคา เปน ตัวเลข ซง่ึ จะเปนการกําหนดคา ความหนดื ของน้ํามันหลอ ล่นื

25

อุปกรณใ นระบบหลอลื่น ประกอบไปดว ย
1. ปม นา้ํ มันหลอลื่น
2. อา งนาํ้ มนั เครอื่ ง
3. หมอกรองนา้ํ มันเครอ่ื ง
4. เครอื่ งควบคุมความดนั นา้ํ มนั หลอลื่น

สาระการเรียนรู

1. วัตถปุ ระสงคข องการหลอล่ืนภายในเครื่องจักรกล
2. ประเภทของการหลอลื่น
3. คุณลกั ษณะของนา้ํ มนั หลอ ลน่ื
4. อปุ กรณในระบบหลอลืน่

ผลการเรียนรูท ี่คาดหวงั

1. บอกวัตถปุ ระสงคข องการหลอ ลืน่ ได
2. จําแนกประเภทของการหลอ ลืน่ ได
3. ระบุคณุ ลกั ษณะของนํา้ มนั หลอลืน่ ได
4. อธิบายเกย่ี วกับประเภทของนํา้ มนั หลอล่ืนตามมาตรฐานของสถาบันปโตรเลยี มของอเมรกิ าได

กิจกรรมการเรียนการสอน

ขน้ั นําเขาสูบทเรียน
1. ครทู บทวนเนือ้ หาในหนว ยที่ 5 รว มกบั นักเรียน
2. ครูตง้ั คําถามใหน ักเรียนชว ยกนั ตอบเกี่ยวกับเรอ่ื ง การหลอล่ืนชนิ้ สว นเครื่องจักรกล
3. ครสู รปุ เพอื่ นาํ เขา สบู ทเรยี น
ขั้นสอน
4. ครแู ละนักเรยี นชวยกันสรปุ วัตถุประสงคของการหลอล่นื
5. ครูใหน ักเรียนชวยกนั จาํ แนกประเภทของการหลอ ลนื่ จากนน้ั ครอู ธบิ ายเพ่ิมเติม พรอมภาพประกอบ
โดยใชส ื่อ PowerPoint
6. ครูอธิบายคุณลักษณะของนํ้ามนั หลอล่นื พรอมภาพประกอบ แลวตงั้ คาํ ถามใหนกั เรยี นชว ยกนั ตอบ
7. ครูอธิบายและนําตวั อยางอุปกรณใ นระบบหลอ ลื่นประเภทตาง ๆ มาใหนกั เรยี นศกึ ษา
8. ครูใหนกั เรียนฝกการใชอปุ กรณใ นระบบหลอ ลื่นประเภทตา ง ๆ เพื่อใหเกิดความชํานาญในการใช
งาน โดยครูคอยใหค าํ แนะนํา

26

ขั้นสรุปและการประยุกต
9. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเนื้อหาในบทเรียน และใหนักเรียนมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น
โดยครูใชวธิ ีการถาม – ตอบ
10. ครใู หน ักเรยี นทําแบบทดสอบทา ยบท ตอนท่ี 1 ตอนที่ 2 และตอนที่ 3
11. ครูใหนกั เรียนปฏบิ ัตใิ บงานที่ 6.1 ระบบหลอล่นื แบบแรงดนั ใบงานท่ี 6.2 ระบบหลอล่นื แบบวิดสาด
ใบงานที่ 6.3 ระบบหลอล่ืนแบบใชแรงดันและการสาด ใบงานที่ 6.4 ระบบใชโซและแหวนในการหลอล่ืน ใบงาน
ท่ี 6.5 ระบบหลอล่ืนดวยเสนเชือก ใบงานที่ 6.6 ระบบหลอล่ืนแบบหยดน้ํามัน ใบงานท่ี 6.7 ระบบหลอลื่น
ดว ยไอนํา้ มนั หลอล่ืน และใบงานท่ี 6.8 ระบบหลอลนื่ ดวยจาระบี
12. ครใู หนกั เรียนทบทวนเน้ือหาของบทท่ี 6 และศึกษาบทท่ี 7 ลวงหนา

สื่อการเรยี นการสอน

1. PowerPoint บทที่ 6 การหลอล่นื ชิน้ สวนเครื่องจักรกล
2. ภาพแสดงปม นาํ้ มันหลอลน่ื
3. ภาพแสดงลกั ษณะของการหลอ ลืน่ ในระบบวิดสาด
4. ภาพแสดงระบบการหลอ ลน่ื แบบใชโซแ ละแหวน
5. ภาพแสดงการหลอล่ืนดวยเสน เชือก
6. ภาพแสดงระบบหลอ ล่ืนแบบหยดนํา้ มนั
7. ภาพแสดงระบบหลอล่นื ดวยไอน้าํ มนั
8. ภาพแสดงระบบหลอล่ืนแบบใชจ าระบี
9. ภาพแสดงคา ตาง ๆ ของสญั ลักษณทบ่ี งบอกถงึ คุณลกั ษณะของนํ้ามันหลอลน่ื
10. อุปกรณในระบบหลอ ลืน่ ประเภทตาง ๆ
11. แบบทดสอบทา ยบทที่ 6

การวดั ผลและประเมนิ ผล

วธิ วี ัดผล
1. ตรวจแบบทดสอบทายบท
2. ตรวจใบปฏิบตั งิ าน
3. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมดานคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค

27

เคร่ืองมือวัดผล
1. แบบประเมินผลการทาํ แบบทดสอบทายบท
2. แบบประเมินใบปฏิบัติงาน
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยครูและนักเรียน
รวมกนั ประเมิน

เกณฑก ารประเมินผล

1. แบบประเมินผลการทําแบบทดสอบทายบท เกณฑผา น 60% ข้ึนไป
2. แบบประเมนิ ใบปฏิบัตงิ าน เกณฑผาน 70% ขน้ึ ไป
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค คะแนนขึ้นอยูกับการ
ประเมินตามสภาพจริง

28

บันทึกหลังการสอน

ผลการใชแผนการจดั การเรียนรู
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ผลการเรียนของนกั เรยี น
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ผลการสอนของครู
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื ……………………………….
(…………………………………..)

ผสู อน

29

แผนการจัดการเรียนรทู ่ี 7

วชิ า ซอมบาํ รุงเครื่องมอื กล รหสั วชิ า 2102 - 2104 สัปดาหท ่ี 11 - 12
หนวยท่ี 7 ชือ่ หนวย การจัดเตรยี มอะไหลซอมบาํ รงุ

แนวคดิ

ปญหาของการมอี ะไหลซ อมบาํ รงุ
1. ประเภทของอะไหลมีความหลากหลายมาก ทําใหเกิดความยุงยากในการจัดหาและการเก็บ
สาํ รอง
2. เมอื่ ผูผ ลิตช้ินสวนทําการเปลยี่ นรนุ การผลติ ทําใหเ กดิ ความยุงยากตอการจัดหาอะไหล
3. การส่ังซ้ืออะไหลปริมาณนอย แคระดับท่ีเพียงพอตอความตองการ ทําใหเกิดความไมคุมคาใน
การสง่ั ซอ้ื
4. ระยะเวลาการจัดหาและจัดซ้ืออะไหล มีความผันแปรไมแนนอนและขึ้นกับความพรอมของ
ผูผลติ หรือผูขาย โดยเฉพาะอะไหลท ่ตี องนาํ เขา จากตางประเทศอาจใชเ วลาหลายเดือนในการจดั ซอื้
5. เกดิ ปญหาในการตัดสินใจเพือ่ กาํ หนดระดับของอะไหลท ี่ตอ งสาํ รอง
ความจาํ เปนท่ีตองมกี ารบรหิ ารอะไหลซอมบาํ รุง
1. เพอื่ หาปรมิ าณอะไหลซ อ มบาํ รงุ ทเ่ี หมาะสมท่สี ดุ โดยใหเ กิดคาใชจ า ยนอ ยท่ีสุด
2. เพื่อลดเวลาสูญเสียจากการรอคอยอะไหลเม่ือมีความตองการใช และใหสามารถใชงานเคร่ืองมือ
กลไดอ ยา งตอเน่ือง
3. เพือ่ ทาํ ใหเกิดความสมดุลระหวางความตอ งการใชอะไหลก ับการจดั หาอะไหล
คา ใชจา ยในระบบบรหิ ารอะไหลซอ มบํารงุ
1. คาใชจ ายในการส่ังซื้อ (Ordering Cost)
2. คา ใชจา ยในการเก็บรกั ษา (Carrying Cost)
3. คา ใชจายเมอื่ อะไหลขาดมือ (Shortage Cost)
ตวั แปรที่เกี่ยวของกบั ระบบบริหารอะไหลซอมบาํ รุง ประกอบดวย 3 ตัวแปร คอื
1. ความตองการ (Demand) ความตอ งการใชช ิ้นสวนอะไหลแ บง เปน 2 ประเภท ดังนี้

1.1 ความตองการแบบแปรตาม (Dependent Demand)
1.2 ความตอ งการแบบอิสระ (Independent Demand)
2. ชวงเวลานาํ (Lead Time) เปนระยะเวลาทน่ี ับจากเรม่ิ ออกใบสั่งซอื้ จนกระทั่งไดร บั ของตามทีส่ ั่ง
3. จุดส่ังซ้ือใหม (Reorder Points) เปนจุดท่ีบอกใหผูรับผิดชอบในการสั่งซื้อทราบถึงเวลาท่ีจะตอง
ออกคําส่งั ซ้ืออะไหลเพม่ิ เตมิ

30

การแบงกลุมอะไหลซอมบาํ รุง โดยท่วั ไปสามารถแบงกลมุ อะไหลซ อมบาํ รุง ไดดังนี้
1. อะไหลประเภท A มีปริมาณประมาณ 5 - 10 % ของรายการอะไหลซอมบํารุงทั้งหมด และมี
มูลคาสงู สุดประมาณ 75 - 80 % ของมลู คา อะไหลซอ มบาํ รุงทั้งหมด
2. อะไหลประเภท B มีปริมาณประมาณ 20 - 30 % ของรายการอะไหลซอมบํารุงท้ังหมด และมี
มูลคา ประมาณ 15 % ของมูลคาอะไหลซอมบํารุงทั้งหมด
3. อะไหลประเภท C คือ ปริมาณอะไหลซอมบํารุงสวนใหญท่ีเหลือประมาณ 40 - 50 % ของ
รายการอะไหลซอมบํารุงท้ังหมด และมีมูลคาสูงสุดประมาณเพียง 5 - 10 % ของมูลคาอะไหลซอมบํารุง
ท้ังหมด
ประเภทของการแบง กลมุ อะไหล
1. การแบง กลมุ โดยใชห ลักเกณฑเ ดยี ว (Single-criteria Classification)
2. การแบง กลมุ โดยใชหลายหลักเกณฑ (Multiple-criteria Classification)
ตัวแปรสาํ หรบั การแบง กลมุ อะไหล ประกอบด้วยตัวแปรหลักดงั ตอ่ ไปนี้
1. อตั ราการใช (Usage Rate) เปนอตั ราการเบกิ ใชอะไหลซอ มบาํ รุงตอปใ นอดีตทผ่ี า นมา
2. ชว งเวลานํา (Lead Time) เปนระยะเวลาท่นี บั จากเร่ิมออกใบสงั่ ซอ้ื จนกระท่งั ไดร บั ของตามท่ีส่งั
นโยบายการควบคมุ อะไหลซอ มบํารงุ
1. การควบคุมอะไหลซอมบํารุงประเภท A อะไหลประเภทน้ีตองมีการควบคุมอยางใกลชิดและ
เขมงวด การสั่งและการใชอะไหลจะตองมีการบันทึกรายการใหเปนไปอยางถูกตองและสมบูรณท่ีสุด มีการ
ตรวจสอบอยเู สมอ
2. การควบคุมอะไหลซอมบํารุงประเภท B อะไหลซอมบํารุงประเภทน้ีผูบริหารตองเปนผูพิจารณา
กําหนดชว งเวลาในการควบคมุ และตรวจสอบ
3. การควบคุมอะไหลซอมบํารุงประเภท C อะไหลซอมบํารุงประเภทนี้เปนอะไหลท่ีมีมูลคาตํ่าแตมี
จํานวนมาก การควบคุมไมจําเปนตองเขมงวดมากนัก ใชวิธีงาย ๆ แตก็ควรใหมีการตรวจสอบที่เปนงาน
ประจําอยางเพียงพอ
Economic Order Quantity Model
EOQ เปนรูปแบบการส่ังสินคาในอุดมคติ ซ่ึงใชเปนพื้นฐานในการคํานวณตนทุนรวมตํ่าสุดจะ
เกดิ ขึน้ จากตน ทุนสัง่ สนิ คา และตน ทุนการจดั เก็บทเ่ี หมาะสม

สาระการเรยี นรู

1. ความสาํ คัญของการจัดเตรยี มอะไหลซ อ มบาํ รุง
2. ปญ หาของการมีอะไหลซอ มบํารงุ
3. ความจาํ เปนที่ตอ งมีการบริหารอะไหลซอมบาํ รุง

31

4. คา ใชจ า ยในระบบบริหารอะไหลซ อมบํารุง
5. ตวั แปรทเี่ กี่ยวของกบั ระบบบรหิ ารอะไหลซอ มบาํ รงุ
6. การแบง กลุมอะไหลซ อ มบาํ รุง
7. ประเภทของการแบงกลมุ อะไหล
8. ตัวแปรสาํ หรับการแบงกลมุ อะไหล
9. นโยบายการควบคมุ อะไหลซ อ มบาํ รงุ
10. Economic Order Quantity Model

ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวัง

1. บอกความสาํ คญั และความจําเปนของการจัดเตรยี มอะไหลซ อ มบํารงุ ได
2. สรุปปญหาของการมีอะไหลซอมบํารงุ ได
3. บอกคาใชจา ยและตวั แปรในระบบบริหารอะไหลซ อมบํารุงได
4. บอกตัวแปรทเ่ี กี่ยวขอ งกับระบบบรหิ ารอะไหลซอมได
5. แบงกลุมและประเภทของอะไหลซอ มบํารุงได
6. กาํ หนดนโยบายการควบคมุ อะไหลซ อมบํารงุ ได
7. คํานวณปรมิ าณการสัง่ ซอื้ ทป่ี ระหยดั ได

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

ขัน้ นาํ เขาสบู ทเรียน
1. ครูทบทวนเนื้อหาในหนวยท่ี 6 รว มกับนกั เรยี น
2. ครแู ละนักเรยี นอภปิ รายรวมกนั ในเรอื่ ง การจดั เตรียมอะไหลซอมบํารุง จากน้ันครูสรุปเพื่อนําเขา
สูบทเรยี น
ขนั้ สอน
3. ครแู ละนักเรียนรว มกันสรปุ ความสาํ คญั และความจําเปน ของการจัดเตรียมอะไหลซอ มบํารุง
4. ครใู หน ักเรียนชว ยกนั สรปุ ปญหาของการมีอะไหลซ อมบํารงุ
5. ครูใหนักเรียนศึกษาเรื่อง คาใชจายและตัวแปรในระบบบริหารอะไหลซอมบํารุง จากนั้นครู
อธิบายเพม่ิ เติม โดยใชส ่อื PowerPoint แลวต้ังคําถามใหน ักเรยี นชว ยกันตอบ
6. ครใู หน กั เรยี นชวยกันบอกตัวแปรทีเ่ กีย่ วของกบั ระบบบริหารอะไหลซ อ ม จากนั้นครูสรปุ อีกครง้ั
7. ครูอธิบายการแบงกลุมและประเภทของอะไหลซอมบํารุง พรอมภาพประกอบ แลวใหนักเรียน
ซักถาม
8. ครูใหนกั เรียนชว ยกันแบง กลุมและประเภทของอะไหลซ อมบาํ รุง แลว ครูสรุปอกี คร้ัง

32

9. ครูและนกั เรียนอภิปรายรวมกันเพ่อื หาขอ สรุปในเรื่อง การกําหนดนโยบายการควบคุมอะไหลซอม
บํารุง

10. ครูอธิบายและแสดงวิธีการคํานวณปริมาณการสั่งซื้อท่ีประหยัด พรอมภาพประกอบ แลวใหนักเรียน
ซักถาม จากนั้นใหน ักเรยี นฝก คํานวณตามโจทยทคี่ รูกาํ หนดให

ข้นั สรุปและการประยกุ ต
11. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเน้ือหาในบทเรียน และใหนักเรียนมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น
โดยครูใชวิธีการถาม – ตอบ
12. ครใู หน ักเรียนทาํ แบบทดสอบทา ยบท
13. ครูใหน ักเรียนปฏบิ ตั ิใบงานที่ 7.1 แบง กลุม และควบคมุ
14. ครูใหน กั เรยี นทบทวนเน้ือหาของบทที่ 7 และศกึ ษาบทที่ 8 ลว งหนา

สอ่ื การเรยี นการสอน

1. PowerPoint บทที่ 7 การจัดเตรียมอะไหลซอมบํารงุ
2. ภาพแสดงการแบงกลมุ อะไหลซอ มบาํ รุงโดยใชก ารวิเคราะห ABC
3. ภาพแสดง EOQ อุดมคติ
4. แบบทดสอบทา ยบทที่ 7

การวัดผลและประเมนิ ผล

วธิ วี ัดผล
1. ตรวจแบบทดสอบทา ยบท
2. ตรวจใบปฏิบตั ิงาน
3. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมดานคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค
เคร่อื งมือวดั ผล
1. แบบประเมนิ ผลการทาํ แบบทดสอบทา ยบท
2. แบบประเมินใบปฏิบัติงาน
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยครูและนักเรียน
รวมกันประเมนิ

33

เกณฑการประเมินผล

1. แบบประเมนิ ผลการทาํ แบบทดสอบทายบท เกณฑผ า น 60% ข้นึ ไป
2. แบบประเมินใบปฏิบตั ิงาน เกณฑผ าน 70% ขึ้นไป
3. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค คะแนนข้ึนอยูกับการ
ประเมินตามสภาพจริง

34

บันทึกหลังการสอน

ผลการใชแผนการจดั การเรียนรู
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ผลการเรียนของนกั เรยี น
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ผลการสอนของครู
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื ……………………………….
(…………………………………..)

ผสู อน

35

แผนการจดั การเรียนรทู ี่ 8

วิชา ซอ มบาํ รุงเครอื่ งมอื กล รหสั วชิ า 2102 - 2104 สัปดาหท ่ี 13 - 14
หนวยท่ี 8 ชื่อหนวย การจดั ทําชนิ้ สวนทดแทนอยา งงา ย

แนวคดิ

การวางแผนการทาํ งาน
งานท่ีไดจาก การออกแบบ เรียกวา แผนผังของงาน (Drawing) ซ่ึงมักจะมีการถายสําเนาออกมาที่
เรียกวา พมิ พเขยี ว (Blue Print) เพอื่ นํามาใชเปนแบบในการทํางานขั้นตอไป ในขณะที่ทําการออกแบบงาน
วิศวกรผูออกแบบจะตองกําหนดจํานวน ขนาด และชนิดของวัสดุที่ตองใชในการทํางานนั้นดวย โดยจะ
กําหนดลงในเอกสารท่ีเรียกวา ใบกําหนดวัสดุ (Bill of Material) หลังจากนั้นจะเปนงานทางดานการวาง
แผนการทํางาน ซ่ึงผูที่ปฏิบัติงานทางดานน้ีจะตองทํางานเกี่ยวกับการแยกขั้นตอนการทํางานออกเปน
ข้ันตอนยอย ๆ เพื่อใชในการปฏิบัติงาน จะตองกําหนดเวลาและเคร่ืองจักรท่ีตองใชในการทํางานแตละ
ข้ันตอน ซ่ึงโดยมากมักจะใชเอกสารที่เรียกวา เอกสารแสดงการแยกขั้นตอนการทํางาน (Route Sheet)
หรอื อาจใชเอกสารสําหรับวางแผน (Planning Sheet) แทน
ตวั อยางการทาํ งานโดยมีการวางแผน
การวางแผนการทํางานภายในโรงฝกงาน จะเริ่มตนจากการตองเตรียมเอกสารดังตอไปนี้ใหพรอม
กลาวคือ
1. แผนผงั ของงาน (Drawing) หรือพิมพเขียว (Blue Print) ซ่ึงประกอบไปดว ย

1.1 แผนผังประกอบของงาน (Assembly Drawing)
1.2 แผนผงั แยกชนิ้ สว นของงาน (Detailed Drawing)
2. ใบกาํ หนดวัสดุ (Bill of Material) ในเอกสารน้จี ะแสดงใหเห็นขอมูล ดงั ตอ ไปน้ี
2.1 จาํ นวนช้ินของงานท่ตี องใชใ นแตล ะสว นของงาน
2.2 ขนาดของวสั ดทุ ่ีตอ งใชทาํ งาน
2.3 ช่ือของวัสดแุ ตล ะชิน้
2.4 ชนดิ ของวัสดุท่ีตอ งใช
2.5 ชนิ้ สว นมาตรฐานทีน่ าํ เขา มาใช เชน แปน เกลียว หรือสลกั เกลยี ว
2.6 รายละเอียดอน่ื ๆ
3. เอกสารสาํ หรบั การวางแผน (Planning Sheet)
4. การวางแผนการทาํ เกจวดั ความลกึ
5. วิธกี ารทาํ เกจวดั ความลึกมดี งั ตอ ไปน้ี
5.1 สเก็ตช้ินงานจากแผนผงั ของงานใหถ กู ตอ ง หรอื อาจใชพิมพเขยี วแทนได

36

5.2 ตัดช้นิ งานที่ตอ งใชใ หไ ดข นาดตามท่ีกําหนดไวใ นใบกําหนดวัสดุ
5.3 การทาํ ชน้ิ สวนชิ้นที่ 3 (Base)
5.4 การทาํ ช้ินสว นช้นิ ที่ 2 (Barrel)
5.5 การทาํ ชนิ้ สวนชน้ิ ท่ี 4 (Thumb Screw)
5.6 การทําช้ินสว นชิน้ ท่ี 1 (Rod)
5.7 ประกอบชน้ิ สว นช้ินท่ี 2 และ 3 เขา ดว ยกนั โดยการอัดชน้ิ ท่ี 2 ลงบนช้นิ ท่3ี
5.8 ประกอบสว นอ่ืน ๆ ทเ่ี หลอื
ประโยชนข องการวางแผนการทํางาน
1. ชวยประหยัดเวลาท่ีใชใ นการทํางาน
2. ชวยประหยดั คา ใชจ ายในการทาํ งาน
3. ชวยประหยัดแรงงานคนงาน ทําใหค นงานทํางานไดมากขนึ้
4. ชว ยลดอบุ ัติเหตทุ ี่อาจจะเกิดขึน้ เนอ่ื งจากคนงานไมเขา ใจวิธีการทํางาน

สาระการเรยี นรู

1. การวางแผนการทาํ งาน
2. ตัวอยางการทํางานโดยมกี ารวางแผน
3. ประโยชนข องการวางแผนการทํางาน

ผลการเรยี นรทู ีค่ าดหวัง

1. วางแผนการทาํ งานตามขั้นตอนที่ถูกตองได
2. เขียนแผนผังงานหรือพิมพเ ขยี วงานทต่ี องปฏบิ ัติได
3. เขียนขอมูลในใบกาํ หนดวัสดุงานได
4. บอกประโยชนข องการวางแผนการทาํ งานได

กจิ กรรมการเรียนการสอน

ขน้ั นาํ เขา สูบ ทเรยี น
1. ครทู บทวนเน้อื หาในหนว ยที่ 7 รว มกับนักเรียน
2. ครูใหน กั เรียนอภิปรายรว มกนั ในเรื่อง การจัดทําชน้ิ สวนทดแทนอยางงาย จากนนั้ ครูสรุปเพื่อนําเขา
สบู ทเรียน

37

ขั้นสอน
3. ครูอธบิ ายเก่ียวกบั การวางแผนการทํางาน โดยใชส่อื PowerPoint แลว ตง้ั คําถามใหน ักเรียนชว ยกัน
ตอบ
4. ครูอธิบายและยกตัวอยางการทํางานโดยมีการวางแผน พรอมภาพประกอบ และนําตัวอยางใบ
กําหนดวสั ดแุ ละเอกสารสาํ หรบั การวางแผน มาใหน ักเรยี นศกึ ษา
5. ครูสาธติ การเขียนแผนผังงานหรอื พิมพเ ขยี วงานท่ีตอ งปฏิบตั ิ แลวใหนักเรยี นฝก ปฏบิ ัติตาม
6. ครูแสดงวิธีการเขียนขอมูลในใบกําหนดวัสดุงาน แลวใหนักเรียนซักถาม จากน้ันใหนักเรียนฝก
เขยี นขอมลู ในใบกาํ หนดวสั ดุงาน
7. ครูและนกั เรยี นหาขอสรปุ รว มกนั เกีย่ วกบั ประโยชนข องการวางแผนการทาํ งาน
ข้นั สรปุ และการประยุกต
8. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเนื้อหาในบทเรียน และใหนักเรียนมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น
โดยครใู ชวธิ ีการถาม – ตอบ
9. ครูใหนกั เรยี นทําแบบทดสอบทา ยบท ตอนท่ี 1 และตอนที่ 2

ส่ือการเรียนการสอน

1. PowerPoint บทที่ 8 การจดั ทําชนิ้ สวนทดแทนอยางงาย
2. ภาพแผนผังการประกอบงานเกจวัดความลึก
3. ภาพแผนผงั แยกชน้ิ สวนงาน
4. ตวั อยา งใบกาํ หนดวสั ดุ
5. เอกสารสาํ หรบั การวางแผน
6. แบบทดสอบทา ยบทท่ี 8

การวัดผลและประเมินผล

วธิ ีวัดผล
1. ตรวจแบบทดสอบทายบท
2. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมดานคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค
เครื่องมอื วัดผล
1. แบบประเมนิ ผลการทําแบบทดสอบทายบท
2. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค โดยครูและนักเรียน
รวมกนั ประเมนิ

38

เกณฑก ารประเมินผล

1. แบบประเมินผลการทาํ แบบทดสอบทา ยบท เกณฑผ าน 70% ข้นึ ไป
2. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค คะแนนขึ้นอยูกับการ
ประเมินตามสภาพจรงิ

39

บันทึกหลังการสอน

ผลการใชแผนการจดั การเรียนรู
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ผลการเรียนของนกั เรยี น
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ผลการสอนของครู
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื ……………………………….
(…………………………………..)

ผสู อน

40

แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี 9

วิชา ซอ มบํารงุ เครอ่ื งมอื กล รหสั วิชา 2102 - 2104 สัปดาหท ี่ 15
หนว ยที่ 9 ชอื่ หนวย การบาํ รงุ รักษาระบบนิวเมติกสและไฮดรอลิก

แนวคดิ

รูปแบบของการบํารุงรกั ษา
1. การบาํ รงุ รักษาเพ่ือแกไข
2. การบํารุงรกั ษาเพ่ือปอ งกนั
3. การบํารุงรักษาเพอ่ื ปรบั ปรงุ
การบาํ รงุ รักษาระบบนิวเมติกส
1. จัดสถานท่สี าํ หรบั การวางปมลมใหเ หมาะสม
2. ตองมีชุดปองกันอันตรายซึ่งอาจเกิดข้ึนจากสายพานและพูเลยของปมลม และตรวจสอบให
สามารถใชง านไดต ลอดเวลา
3. ควรจดั เวลาในการตรวจสอบความสะอาดไสก รองอากาศ
4. ควรตรวจเช็คส่งิ สกปรกตา ง ๆ ที่ตกคางอยใู นอปุ กรณระบายความรอ นลมอดั
5. ควรมีการติดตั้งอุปกรณถายนํ้าท้ิงอัตโนมัติเพื่อใชถายนํ้าทิ้ง และควรติดตั้งอยูในบริเวณที่สะดวก
ในการบํารุงรักษา
6. ควรมีการคํานวณหาขนาดของกระบอกสูบใหสัมพันธกับปริมาณการใชงานและขนาดของถัง
เก็บลม
7. ควรมกี ารคํานวณหาขนาดของทอ สง ลมใหส มั พันธกบั เคร่ืองอัดลมและถังเก็บลม
8. ควรมกี ารตรวจสอบและถายเทนา้ํ มนั หลอ ลน่ื เครอ่ื งปรบั อากาศอยางสมํา่ เสมอ
การบํารุงรักษาระบบไฮดรอลกิ
1. ฟลัชลางทาํ ความสะอาดระบบดว ยนํา้ มนั ไฮดรอลิกระบบไฮดรอลิกใหม
2. ควรระมดั ระวังในเรือ่ งเกย่ี วกบั ความสะอาดของนํา้ มนั
3. หม่นั ตรวจตราการทาํ งานของระบบไฮดรอลิกตลอดจนเสยี งที่ดงั ผดิ ปกติ

สาระการเรยี นรู

1. รปู แบบของการบํารุงรกั ษา
2. การบํารุงรักษาระบบนวิ เมตกิ ส
3. การบาํ รงุ รักษาระบบไฮดรอลกิ


Click to View FlipBook Version