The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงาน เรื่อง การปลูกพืช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pewpingpong2551, 2022-12-26 08:46:23

รายงาน เรื่อง การปลูกพืช

รายงาน เรื่อง การปลูกพืช

เรอ่ื ง การปลูกพชื และการขยายพันธุ์พืชจากสว่ นตา่ งๆของพืช

โดย
เด็กชายพัทธดนย์ ธนเยย่ี มสริ ิ เลขท่ี 9

เด็กชายโมกข์ ปิยะภมู ิ เลขท่ี 11
เด็กชายอรษุ บำเรอเกียรติ เลขท่ี 18

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2/7

เสนอ
คณุ ครพู ิภพ พทุ ธวาศรี

รายงานนเ้ี ป็นสว่ นหนึง่ ของรายวชิ า ง22102 การงานอาชพี และเทคโนโลยี (งานเกษตร)
ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2565

โรงเรยี นหาดใหญ่วทิ ยาลยั จังหวัดสงขลา



เรอ่ื ง การปลูกพชื และการขยายพันธุ์พืชจากสว่ นตา่ งๆของพืช

โดย
เด็กชายพัทธดนย์ ธนเยย่ี มสริ ิ เลขท่ี 9

เด็กชายโมกข์ ปิยะภมู ิ เลขท่ี 11
เด็กชายอรษุ บำเรอเกียรติ เลขท่ี 18

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2/7

เสนอ
คณุ ครพู ิภพ พทุ ธวาศรี

รายงานนเ้ี ป็นสว่ นหนึง่ ของรายวชิ า ง22102 การงานอาชพี และเทคโนโลยี (งานเกษตร)
ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2565

โรงเรยี นหาดใหญ่วทิ ยาลยั จังหวัดสงขลา



บทคัดยอ่

ชื่อเรอ่ื ง : การปลูกพืช และการขยายพันธ์พุ ชื จากสว่ นตา่ งๆของพชื

ชอ่ื ผทู้ ำการศึกษา : 1. เดก็ ชายพัทธดนย์ ธนเยี่ยมสริ ิ เลขท่ี 9

2. เดก็ ชายโมกข์ ปิยะภูมิ เลขที่ 11

3. เดก็ ชายอรุษ บำเรอเกียรติ เลขท่ี 18

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/7

E-mail : [email protected]

คุณครูทีป่ รึกษา : คุณครูพภิ พ พทุ ธวาศรี

E-mail : [email protected]

วัน เดอื น ปี ท่ีทำ : ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2565

ผ้สู นบั สนนุ การทำรายงาน : คณุ ครทู ่ีปรกึ ษา ผู้ปกครองของผู้ทำการศึกษา สมาชกิ ในกลุ่ม

รายงานฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพอื่ ศึกษาคน้ คว้าข้อมูลในเรอ่ื งการปลกู พืช และการขยายพันธ์พุ ชื จาก
ส่วนตา่ งๆของพืช เพอ่ื นำความรทู้ ไี่ ด้ไปใช้ในชวี ิตประจำวันและโอกาสต่างๆ โดยใช้ขนั้ ตอนการจดั ทำรายงาน
เพอื่ ทำให้การจดั ทำรายงานมีความสมบูรณ์ โดยมีขัน้ ตอนการจดั ทำรายงาน ดงั น้ี 1. เลือกเร่ืองหรือหวั ข้อท่จี ะ
ทำการศึกษา 2. การคน้ ควา้ และรวบรวมแหล่งทีม่ า 3. การวางโครงเร่ือง 4. การอ่านและจดบันทึกข้อมลู 5. การ
เรียบเรียงเน้ือเร่ือง 6. การเขียนบรรณานุกรมหรือเอกสารอ้างองิ 7. การเขียนสว่ นประกอบ

ผลการศึกษาพบวา่ จากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลในเรอื่ งการปลกู พืช และการขยายพันธ์พุ ืชจากส่วน
ต่างๆของพชื พบว่ามีวิธีการขยายพันธ์ุพชื จากส่วนต่างๆของพชื ท้ังหมด 9 วิธี ซงึ่ สามารถนำไปใช้ใน
ชวี ติ ประจำวนั ได้ ยกเวน้ วธิ กี ารเพาะเล้ยี งเนื้อเย่ือ เนอ่ื งจากวธิ ีการเพาะเล้ียงเนื้อเยอื่ น้ัน สามารถทำได้เมื่อมี
อุปกรณ์ที่เหมาะสมและต้องทำในหอ้ งทดลอง จึงไมส่ ามารถทำได้ในชวี ิตประจำวนั

คำสำคญั : วิธีการขยายพนั ธ์ุพชื



กิตติกรรมประกาศ

รายงานฉบบั นสี้ ำเรจ็ ลุลว่ งไปไดด้ ้วยดีดว้ ยความกรุณาจากคุณครพู ภิ พ พุทธวาศรี คุณครูท่ปี รึกษา ซง่ึ
คอยให้คำปรึกษาดว้ ยการศกึ ษาค้นควา้ ขอ้ มูลของผูท้ ำการศกึ ษา คอยให้ความช่วยเหลอื และคำแนะนำในการ
ทำรายงานฉบบั น้ีมาโดยตลอด จนทำใหร้ ายงานฉบบั นี้สำเรจ็ โดยสมบรู ณ์ คณะผู้จดั ทำจงึ ขอขอบพระคุณเปน็
อยา่ งย่ิง

ขอขอบพระคณุ บดิ า มารดา และผปู้ กครองของผทู้ ำการศกึ ษาทุกท่าน ที่ใหค้ วามช่วยเหลอื ในเร่ือง
ตา่ งๆ และคอยสนับสนนุ สิ่งอำนวยความสะดวกท้ังในการศกึ ษาคน้ คว้าข้อมูล การเขยี นและวางโครงเร่ือง
รวมท้งั การอ่านและจดบันทกึ ข้อมูล และการทำรายงานฉบับนี้ รวมทัง้ เป็นกำลังใจใหเ้ สมอมา

สุดทา้ ยนี้ขอขอบคุณสมาชิกในกลมุ่ และเพื่อนๆที่คอยใหท้ ำปรึกษาในเรอื่ งตา่ งๆ ช่วยตัดสินใจและ
แก้ไขข้อผดิ พลาดต่างๆ พร้อมทง้ั คอยแนะนำข้อดแี ละข้อเสียซง่ึ กันและกัน และร่วมกันทำรายงานฉบบั นี้สำเร็จ
ลุลว่ งไปไดด้ ว้ ยดี

คณะผู้จดั ทำ

สารบัญ ค

เรื่อง หน้า
บทคดั ย่อ ก
กติ ตกิ รรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบญั ภาพ จ
สารบญั ตาราง ช
บทที่ 1 บทนำ
1
ท่ีมาและความสำคัญของรายงาน 1
จุดประสงค์ 1
สมมติฐาน 1
ตัวแปร 2
นิยามศัพทเ์ ฉพาะ
บทท่ี 2 งานวจิ ยั ท่เี กี่ยวข้อง 3
การเพาะเล้ียงเน้ือเยอ่ื พชื 18
การตอ่ ก่ิง 20
การต่อยอด 26
การเสียบข้าง 28
การทาบก่งิ 30
การตอ่ เพื่อซอ่ มแซมหรือค้ำยัน 32
การดแู ลรักษาพชื ที่ทำการต่อกิง่ 32
การเพาะเมล็ด

การปักชำ ง
การปกั ชำก่ิง
การตดิ ตา 33
การตอนกิง่ 34
บทที่ 3 วิธีดำเนนิ การ 35
เคร่ืองมือท่ีใช้ศกึ ษา 36
การสร้างเคร่ืองมือ
การเกบ็ ข้อมูล 38
การวิเคราะห์ข้อมูล 38
สถิตทิ ี่ใชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล 40
บทท่ี 4 ผลการศึกษาคน้ ควา้ 41
ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ความเหมาะสมของข้อมูลจากการศึกษาคน้ ควา้ 41
ตอนท่ี 2 การวิเคราะห์ความสามารถในการนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน
ตอนท่ี 3 การวิเคราะห์ตรวจสอบผลการทดลอง 42
บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 42
สรปุ ผล 44
อภปิ รายผล
ข้อเสนอแนะ 45
เอกสารอ้างองิ 46
ภาคผนวก 47
48
51



สารบัญภาพ หน้า
3
ภาพที่ 1 สรปุ ความสมั พนั ธข์ องเทคโนโลยกี ารเพาะเลีย้ งเนื้อเย่ือพืชและเทคโนโลยชี วี ภาพ 4
ภาพที่ 2 การเพาะเลย้ี งเนื้อเย่ือตน้ สน 5
ภาพท่ี 3 เมลด็ เทยี มหรือเมล็ดสงั เคราะห์ 6
ภาพท่ี 4 การแปรปรวนทางพันธุกรรมที่เกดิ ขึ้นกับกลว้ ยไม้ทำให้ได้กล้วยไมแ้ คระ 8
ภาพท่ี 5 การสกัดโปรโตพลาสต์จากพืช 9
ภาพท่ี 6 แคลลสั พฒั นาไปเป็นต้นพืช 10
ภาพท่ี 7 การเกิดอวัยวะหรือออร์แกโนจนี ซี สิ 10
ภาพท่ี 8 การเกดิ คัพภะหรือเอม็ บรโิ อจนี ีซิส 12
ภาพท่ี 9 ขัน้ ตอนการเพาะเล้ียงเนื้อเย่ือกาแฟโรบัสต้า 13
ภาพที่ 10 หอ้ งเพาะเลยี้ งเนื้อเยือ่ พืช 15
ภาพที่ 11 ข้ันตอนการเตรียมอาหารเพาะเล้ียงเนื้อเยื่อพชื 16
ภาพที่ 12 การฟอกฆา่ เชอื้ และการผ่าตัดเนื้อเยื่อพชื 17
ภาพที่ 13 การย้ายพืชออกปลูกนอกขวด 19
ภาพที่ 14 การตอ่ กิง่ มะละกอ 20
ภาพที่ 15 วิธกี ารต่อยอดแบบฝานบวบ 20
ภาพที่ 16 วิธีการต่อยอดแบบเขา้ เดือย 21
ภาพที่ 17 วิธกี ารต่อยอดแบบเขา้ ลิ้น 22
ภาพที่ 18 วิธีการต่อยอดแบบเสียบลม่ิ กรณีตน้ ตอและกงิ่ พันธ์ดุ ีมีขนาดพอๆ กนั 22
ภาพท่ี 19 วิธกี ารต่อยอดแบบเสียบลมิ่ กรณีต้นตอมขี นาดใหญ่กว่ากิ่งพนั ธุด์ มี ากๆ 23
ภาพท่ี 20 วธิ กี ารต่อยอดแบบอนิ เลย์

ภาพท่ี 21 วธิ กี ารต่อยอดแบบเสยี บเปลือก ฉ
ภาพท่ี 22 วิธีการต่อยอดแบบเสียบเปลือกดดั แปลงวิธีท่ี 1
ภาพที่ 23 วิธีการต่อยอดแบบเสียบเปลือกดดั แปลงวิธที ่ี 2 24
ภาพท่ี 24 วธิ ีการต่อยอดแบบซอว์ เคริ ์ฟ 24
ภาพที่ 25 วธิ กี ารเสียบข้างแบบสตบั 25
ภาพที่ 26 วธิ ีการเสยี บขา้ งแบบเขา้ ลิ้น 26
ภาพที่ 27 วธิ ีการเสียบขา้ งแบบวเี นียร 26
ภาพท่ี 28 วิธกี ารเสยี บขา้ งแบบตวั ที 27
ภาพที่ 29 วธิ ีการทาบกง่ิ แบบปาด 27
ภาพท่ี 30 วธิ ีการทาบกง่ิ แบบเข้าลิ้น 28
ภาพท่ี 31 วิธกี ารทาบกิ่งแบบอินเลย์ 29
ภาพท่ี 32 วธิ ีการต่อกิ่งเพ่อื ซ่อมเปลอื กไม้ของตน้ พชื ทชี่ ำรุดหรือถกู ทำลาย 29
ภาพท่ี 33 วธิ ีการต่อกงิ่ เพื่อซ่อมแซมหรอื คำ้ ยัน 30
31
31

สารบญั ตาราง ช

ตารางท่ี 1 ผลการวเิ คราะห์ความเหมาะสมของข้อมูลจากการศกึ ษาค้นควา้ หน้า
ตารางที่ 2 ผลการทดลองการขยายพันธุ์พืชวิธีต่างๆ 42
ตารางที่ 3 ผลการตรวจสอบผลการทดลองการขยายพันธ์ุพืชวิธตี า่ งๆ 43
ตารางท่ี 4 ผลการทดลองความสามารถการนำไปใช้ในชีวติ ประจำวนั โดยสรปุ 44
46

1

บทที่ 1

บทนำ

1. ที่มาและความสำคัญของรายงาน

เนื่องจากผู้ทำการศกึ ษาต้องการศึกษาค้นควา้ ข้อมูลในเรื่องการปลกู พชื และการขยายพนั ธพ์ุ ชื จากส่วน
ต่างๆของพืช เพราะผทู้ ำการศึกษาต้องการนำความรู้ท่ีไดจ้ ากการศึกษาคน้ ควา้ ข้อมลู ในเร่อื งนี้ไปใชใ้ นการ
เรียนรู้ในรายวชิ า ง22102 การงานอาชพี และเทคโนโลยี (งานเกษตร) และนำความรู้ทีไ่ ด้จากการศึกษาค้นคว้า
ขอ้ มลู ในเร่ืองน้ีไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั เพม่ิ เติม

จึงเป็นท่มี าของการศึกษาคน้ ควา้ ข้อมลู ในเรื่องการปลูกพชื และการขยายพนั ธุพ์ ชื จากสว่ นตา่ งๆของพชื จน
เปน็ รายงานฉบับน้ี

2. จดุ ประสงค์
2.1. ผ้ทู ำการศึกษาต้องการนำความรทู้ ่ีได้จากการศกึ ษาค้นควา้ ข้อมลู ในเรื่องนี้ไปใชใ้ นการเรียนรใู้ น

รายวชิ า ง22102 การงานอาชพี และเทคโนโลยี (งานเกษตร)
2.2. นำความร้ทู ี่ได้จากการศึกษาค้นควา้ ข้อมูลในเรอ่ื งนี้ไปใชใ้ นชีวิตประจำวันเพม่ิ เติม
3. สมมติฐาน

ผู้ทำการศึกษาสามารถนำความรู้ทีไ่ ดจ้ ากการศึกษาคน้ คว้าข้อมลู ในเรื่องการปลูกพืช และการขยายพนั ธุ์พชื
จากสว่ นตา่ งๆของพืชไปใชใ้ นการเรียนรู้ในรายวชิ า ง22102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานเกษตร) และ
นำไปใช้ในชวี ิตประจำวันเพ่ิมเติมได้

4. ตวั แปร

4.1. ตัวแปรต้น : ความรูใ้ นเรอื่ งการปลกู พืช และการขยายพันธพ์ุ ชื จากสว่ นตา่ งๆของพชื

4.2. ตวั แปรตาม : ความสามารถในการนำความรู้ทไ่ี ด้จากการศกึ ษาค้นคว้าข้อมูลในเรื่องการ

ปลกู พชื และการขยายพันธพ์ุ ืชจากสว่ นต่างๆของพืชไปใช้

4.3. ตวั แปรควบคุม : ผทู้ ำการศึกษา จำนวนผูท้ ำการศกึ ษา

2

5. นิยามศัพทเ์ ฉพาะ
- ขอบเขตของการศึกษาคน้ ควา้ คือ การศึกษาคน้ ควา้ ขอ้ มลู ในเรอื่ งการปลกู พชื และการขยายพนั ธุ์พชื

จากสว่ นตา่ งๆของพชื โดยมีเป้าหมายดงั นี้
o เป้าหมายเชิงปรมิ าณ
สามารถศึกษาวธิ กี ารขยายพนั ธพุ์ ืชจากส่วนตา่ งๆของพืชได้มากกว่า 7 วธิ ี
o เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ
สามารถในการนำความรู้ท่ีได้จากการศึกษาค้นคว้าไปใช้ได้

3

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวขอ้ ง

1. การเพาะเลย้ี งเน้อื เยื่อพืช
การเพาะเลย้ี งเน้ือเยือ่ พชื (Plant Tissue Culture หรือ Micropropagation หรอื In Vitro Culture) คอื
การสร้างสายต้น (Clone) โดยการนำช้ินส่วนพืช (Explant) มาทำให้ปราศจากเชอ้ื โรค แล้ววางเลี้ยงบนอาหาร
วทิ ยาศาสตร์ ซ่งึ ประกอบดว้ ยแรธ่ าตุ นำ้ ตาล วิตามนิ และสารควบคมุ การเจริญเตบิ โต ในสภาพปลอด
เชือ้ จลุ ินทรีย์ (Aseptic Technique) ภายใต้สภาพแวดล้อมทส่ี ามารถควบคมุ ได้ (Taji et al., 1997, หนา้ 1)
การเพาะเล้ียงเน้ือเยอ่ื จดั เป็นพืน้ ฐานอนั สำคัญของเทคโนโลยีชวี ภาพ (Biotechnology) เปน็ การเอา
สงิ่ มีชีวิตหรือช้นิ สว่ นของสงิ่ มีชวี ติ มาปรบั ปรุง ทำให้เกดิ การเปลีย่ นแปลงทีม่ ีประโยชนเ์ พมิ่ ขน้ึ เชน่ ในการ
ปรับปรงุ พันธุพ์ ืชโดยใชเ้ ทคนิคการตดั ต่อ-ยา้ ยยีน เพ่ือสร้างสายพันธุใ์ หมๆ่ จำเป้นต้องใช้เทคนคิ การเพาะเลย้ี ง
เน้อื เยือ่ เพ่ือสายพนั ธุใ์ หม่ท่ีได้สามารถมีชีวิตอยู่ได้ และเจริญเติบโตได้ดี ความสัมพนั ธ์ของเทคโนโลยีการ
เพาะเลยี้ งเนอื้ เย่ือพชื และเทคโนโลยีชวี ภาพสรุปได้ดังภาพท่ี 1

ภาพท่ี 1 สรปุ ความสมั พนั ธข์ องเทคโนโลยกี ารเพาะเลยี้ งเนื้อเยื่อพชื และเทคโนโลยีชีวภาพ
(ดัดแปลงจาก Taji et al. (1997, หน้า 3))

4

1.1. ขอ้ ดแี ละข้อเสียของการเพาะเลี้ยงเนือ้ เย่ือ
1.1.1. ขอ้ ดี
1.1.1.1. สามารถเพ่ิมปรมิ าณพันธุ์พชื ที่ต้องการได้ในเวลาอันส้นั
1.1.1.2. ต้นกล้าทไ่ี ด้มีลกั ษณะทส่ี มำ่ เสมอ (Genetic Uniformity)
1.1.1.3. ตน้ พืชทีไ่ ดป้ ราศจากเชือ้ แบคทเี รยี และเชอื้ รา
1.1.1.4. ผลิตต้นกล้าไดท้ ้ังปี โดยไม่ต้องคำนึงถึงสภาพดนิ ฟ้าอากาศหรอื ฤดกู าลในการ
เพาะปลูก จงึ ทำใหเ้ กษตรกรมีรายได้ตลอดปี
1.1.1.5. ช่วยในการขยายพันธ์ุพืชในพืชท่ีขยายพนั ธเ์ุ องไดย้ ากในสภาพปกติในธรรมชาติ
เชน่ กลว้ ยไม้ และสน ดังภาพที่ 2

1.1.1.6. ภาพที่ 2 การเพาะเล้ยี งเนอ้ื เย่ือตน้ สน
1.1.1.7.
ท่ีมา : Bonga (2010, หน้า 244)

ใชใ้ นการผลิตยาและสารเคมีจากพชื พชื บางชนดิ สามารถผลติ สารท่ีมีคุณสมบัติ
ทางยาหรอื มปี ระโยชนท์ างดา้ นอุตสาหกรรม เช่น ทำน้ำมันหอมระเหย โดยปกติ
เน้อื สารออกฤทธ์ทิ ี่ต้องการจะมีอยูใ่ นปริมาณท่นี ้อยมาก โดยใช้ชิ้นสว่ นพชื
จำนวนมากมาสกัดแยก การเพาะเล้ยี งเน้ือเยื่อพืชเหลา่ นใ้ี นสภาพแวดลอ้ มและ
อาหารทเ่ี หมาะสมก็อาจชกั นำให้เกดิ การสังเคราะหส์ ารท่ตี ้องการได้มากขึ้น
สามารถใช้เทคนิคการเพาะเล้ียงเนอื้ เย่ือในการปรบั ปรงุ พันธ์ุพชื คดั เลอื กสาย
พนั ธ์พุ ืชท่ที นทาน (Tolerant Plants) หรือสายพันธุ์ทตี่ า้ นทาน (Resistant
Plants) โดยจดั เงื่อนไขของอาหารเลยี้ งและสภาพแวดลอ้ ม หรอื ชกั นำให้เกดิ
การกลายพันธุ์ (Induced Mutation) โดยอาจใช้สารเคมี การฉายรังสี การรวม
โปรโตพลาสต์ การตดั ตอ่ ยนี และการยา้ ยยีน

5

1.1.1.8. ใช้ศึกษาทางชวี เคมี สรีรวิทยาและพันธศุ าสตร์ ต้นพชื ที่เลี้ยงในหลอดทดลอง
1.1.1.9. สามารถตดิ ตามการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงได้งา่ ย ชัดเจน และถูกต้องแม่นยำ ที่
1.1.1.10. สำคญั คือ เราสามารถควบคุมตัวแปรต่างๆ ในหลอดทดลองได้ง่ายกวา่ ปลูกใน
สภาพปกตใิ นแปลงปลกู
ใชเ้ พอ่ื เก็บรักษาและรวบรวมพันธุ์พชื เพื่อการอนรุ ักษ์พนั ธ์ุพชื ท่หี ายากหรือ
กำลังใกล้จะสูญพนั ธใุ์ นสภาพตามธรรมชาติ และเพ่ือเก็บรวบรวมฐานทาง
พันธกุ รรมของพืชไว้ (ประศาสตร์ เก้อื มณี, 2536, หน้า 4-6)
เพ่ือเมลด็ เทยี มหรือเมลด็ สงั เคราะห์ (Artificial Seed หรอื Synthetic Seed)
เมล็ดเทียมเปน็ สิ่งท่มี ีลกั ษณะคลา้ ยเมล็ดเพื่อเลียนแบบเมล็ดพืชท่ไี ดจ้ ากระบบ
สบื พนั ธแ์ุ บบอาศยั เพศตามธรรมชาติ เมลด็ เทยี มอาศยั หลักการหอ่ หุ้มสว่ นตา่ งๆ
ของพชื ด้วยวัสดทุ เ่ี หมาะสมแกพ่ ืชในการเจริญเติบโตดงั ภาพท่ี 3

ภาพที่ 3 เมล็ดเทียมหรอื เมลด็ สงั เคราะห์

ท่ีมา : ธญั ญา ทะพิงคแ์ ก (2554, หน้า 1)

1.1.2. ข้อเสีย
1.1.2.1. มีขั้นตอนและวธิ ีการทยี่ ุ่งยาก
1.1.2.2. ตน้ ทุนสูงกวา่ การขยายพนั ธุ์พืชโดยวธิ อี ื่น
1.1.2.3. เสีย่ งต่อความเสียหายจากศตั รพู ืชเนื่องจากพชื ต้นใหม่ทไ่ี ด้มจี ำนวนมากและมี
ลกั ษณะทางพันธกุ รรมเหมือนกัน ทำให้การระบาดของโรคและแมลงศัตรพู ืชเกดิ
งา่ ย

6

1.1.2.4. การแปรปรวนทางพันธุกรรม (Somatic Variation) อาจเกิดข้นึ ได้ เนือ่ งจากการ
เพาะเลี้ยงในอาคารสงั เคราะห์ซ่งึ มธี าตอุ าหารและฮอรโ์ มนอยูส่ ูง ต้นพชื อาจมี
การแปรปรวนทางพนั ธกุ รรมเกิดข้นึ ได้ (บญุ หงส์ จงคิด, 2548, หนา้ 125) แต่
บางคราวการแปรปรวนกลับให้ผลดที างดา้ นพันธุ์แปลกใหม่ เกดิ การกลายพนั ธุ์
ของไมด้ อกไมป้ ระดับ เชน่ กล้วยไมแ้ คระ ดงั ภาพท่ี 4

ภาพท่ี 4 การแปรปรวนทางพันธุกรรมที่เกดิ ขนึ้ กับกล้วยไม้ทำให้ได้กลว้ ยไม้แคระ

ที่มา : ธญั ญา ทะพิงคแ์ ก (2554, หนา้ 1)

1.2. ประเภทของการเพาะเล้ียงเนื้อเยอ่ื

พืชประกอบไปดว้ ยอวยั วะต่างๆมากมาย ซง่ึ แตล่ ะอวยั วะประกอบดว้ ยเนอ้ื เย่ือหลายชนดิ ประเภทของ
การเพาะเลย้ี งเนื้อเยื่อแบง่ ตามส่วนของพชื ท่ีนำมาขยายพันธ์ุได้เปน็ 7 ประเภท ดงั นี้

1.2.1. การเพาะเล้ยี งคัพภะ (Embryo Culture)

การเพาะเลี้ยงคัพภะ หมายถึง การนำเอาคัพภะ หรอื ตน้ อ่อนของพชื ท่ีเพ่งิ เร่ิมพัฒนาท่ี
เกดิ ขึ้นตามธรรมชาติจากถุงรังไข่ของพืชมาเพาะเลีย้ งบนอาหารสังเคราะห์ เพื่อใหเ้ กิดเป็นแคลลัส
หรอื เกดิ เปน็ ตน้ พชื โดยตรง รวมทั้งการชักนำใหเ้ กดิ คพั ภะจากเซลล์หรืออวัยวะอนื่ เช่น ใบเล้ยี ง
ชอ่ ดอกอ่อน เมล็ดออ่ น โดยชักนำให้เกดิ คพั ภะโดยตรง หรือชดั นำใหเ้ กดิ แคลลสั แลว้ พฒั นา
เปน็ คัพภะตอ่ ไป การเพาะเลยี้ งคัพภะนำมาแกไ้ ขปัญหาอัตราความงอก ของเมล็ดท่ีต่ำในเมลด็ พชื
บางชนิด หรอื ในเมล็ดของพืชท่เี กดิ จากการผสมขา้ มชนิด หรือขา้ มสกลุ ทีย่ ากต่อการเจรญิ เติบโต
และพฒั นา ในสภาพธรรมชาติ รวมทั้งแก้ไขปญั หาการฟกั ตัวทีย่ าวนานของเมล็ดพืชบางชนิด

7

1.2.2. การเพาะเลี้ยงอวยั วะ (Organ Culture)

การเพาะเลย้ี งสว่ นตา่ งๆของอวยั วะพืชท่แี ยกออกมา เชน่ ยอด ข้อ ปล้อง ราก ใบ ดอก
และผล ในสภาพปลอดเชื้อ วิธกี ารเพาะเล้ยี งแบบนีท้ ำไดง้ ่ายและรวดเร็ว

1.2.3. การเพาะเลยี้ งเนอื้ เย่ือเจริญ (Meristem Culture)

การเพาะเนื้อเย่อื เจรญิ เปน้ การตัดเอาเน้ือเยอื่ เจริญทปี่ ลายยอดมาเล้ยี ง เนื้อเย่ือเจริญมี
ขนาดเล็กมากต้องทำการผา่ ตัดภายใตก้ ล้องจุลทรรศน์ เป็นการเพาะเลี้ยงเพ่ือใหไ้ ด้ชิน้ ส่วนที่
ปลอดไวรัสแล้วนำไปเพาะเลยี้ งเพ่ิมปริมาณขยายพนั ธตุ์ ่อไป

1.2.4. การเพาะลเยงแคลลสั (Callus Culture)

แคลลสั เป็นเซลลพ์ ้นื ฐานที่อยู่รวมกนั เป็นกล่มุ ยังไม่กำหนดทศิ ทางการเปลี่ยนแปลงหรือ
พฒั นาไปเป็นเน้ือเยื่อหรอื อวัยวะใด เนือ้ เยอ่ื พชื เกือบทุกชนิดสามารถนำมาชักนำการสรา้ งแคลลสั
ได้ ซง่ึ การชักนำการสร้างแคลลัสเร่มิ ตน้ จากการคดั เลอื กเนื้อเย่อื พืชมาทำการเพาะเลีย้ งบนอาหาร
สังเคราะห์ท่ีมีธาตอุ าหารพชื ร่วมกับสารควบคุมการเจรญิ เติบโตในระดับท่ีเหมาะสม เนื้อเยอ่ื พชื
จะเกิดการแบง่ เซลล์พฒั นาเป็นแคลลัส แคลลัสเป็นเนอ้ื เย่ือพ้ืนฐานของระบบการเพาะเลีย้ ง
เนื้อเย่อื พืช และนำมาใช้ประโยชนห์ ลายด้าน เช่น การขยายพนั ธ์เุ พื่อชักนำใหเ้ กดิ ตน้ พืชปรมิ าณ
มาก ใช้ในกระบวนการผลิตเซลลไ์ รผ้ นัง (Protoplast) การผลติ สารเคมี การผลิตพชื ให้ต้านทาน
ตอ่ โรคแมลงศัตรูพืช และทนทานต่อสภาพแวดล้อมทไี่ ม่เหมาะสม รวมท้งั การใชเ้ ป็นเนื้อเยอื่
เป้าหมายในการเก็บรักษาเชอื้ พันธุกรรม (Cryopreservation)

1.2.5. การเพาะเล้ียงโปรโตพลาสต์ (Protoplast Culture)

โปรโตพลาสตเ์ ป็นเซลลท์ ่ปี ราศจากผนังเซลล์ (Cell Wall) เหลือแต่เยอ่ื หุ้มเซลล์ (Cell
Membrane) หอ่ หุม้ องค์ประกอบของเซลล์เอาไว้ สำหรับวธิ ีการกำจัดผนังเซลล์ทใ่ี ช้อยมู่ ีด้วยกัน 2
วธิ ี คือ วิธกี ล (Mechanical Method) โดยการสรา้ งบาดแผลหรอื ทำให้ผนังเซลล์เกิดการฉกี ขาด
จากใบมดี ทผ่ี ่านการฆ่าเชอื้ แลว้ ทำให้เซลลท์ เี่ หลือหลุดออกจากผนังเซลล์ และวธิ ีย่อยดว้ ยเอนไซม์
(Enzymatic Method) ดังภาพท่ี 5 เน้ือเย่ือทีม่ ีความเหมาะสมนำมาสกดั เซลล์ไร้ผนัง ได้แก่
เนอ้ื เย่ือทม่ี ีอายุน้อย เชน่ แคลลสั ใบอ่อน รากอ่อน และละอองเกสรตวั ผู้ ประโยชนข์ องการ
เพาะเลี้ยงโปรโตพลาสต์ได้แก่ การนำมาใชใ้ นกระบวนการปรับปรงุ พนั ธุ์ และการสรา้ งพชื พันธ์ุ
ใหม่จากพชื ต่างสกลุ โดยวิธีรวมโปรโตพลาสต์ (Protoplast Fusion) รวมทงั้ ใช้เปน็ เนือ้ เยอื่
เปา้ หมายในระบบสง่ ถ่ายยนี

8

ภาพที่ 5 การสกัดโปรโตพลาสตจ์ ากพชื
ที่มา : We et al. (2009, หน้า 16)

1.2.6. การเพาะเลย้ี งอับเรณแู ละละอองเรณู (Anther And Pollen Culture)
อบั เรณทู ่ยี ังไม่เจรญิ เต็มที่ (Immature Anther) หรอื ละอองเรณู (Microspore) ซ่ึงผา่ น

การแบ่งตัวแบบไมโอซสิ มาแล้วสามารถนำมาเพาะเลย้ี งใหเ้ กดิ เปน็ พืชตน้ ใหม่ได้ ซ่งึ ตน้ พืชท่ไี ด้จะมี
โครโมโซมเปน้ แฮพลอยด์ (n) สามารถนำมาทำการเพม่ิ จำนวนโครโมโซม วิธนี ้ที ำให้เกดิ พีชพันธุแ์ ท้
(Homozygous)
1.2.7. การเพาะเลี้ยงเซลล์แขวนลอย (Cell Suspension Culture)

เซลล์แขวนลอยเปน้ เซลลเ์ ดีย่ วๆหรอื กล่มุ เซลล์ขนาดเลก็ ที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนอ้ื เย่ือ
พืชในอาหารเหลวบนเคร่ืองหมนุ เหวย่ี งอาหาร เนื้อเยอื่ ที่เหมาะสมต่อการชักนำให้เกิดเซลล์
แขวนลอย ได้แก่ เน้ือเย่ือแคลลสั ซงึ่ เปน้ กลมุ่ เซลลท์ ม่ี ีการเกาะตัวกันหลวมๆงา่ ยต่อการกระจาย
เซลลอ์ อกเปน็ เซลล์เดี่ยวๆ การเพาะเลีย้ งเซลลแ์ ขวนลอยถกู นำมาใช้ศึกษาถึงกระบวนการเม
แทบอลิซึมภายในเซลล์ การศึกษาการทำงานของเอนไซม์และการแสดงออกของยีน ตลอดจนเพ่ือ
การผลติ เซลล์ไร้ผนัง และคัพภะเพ่ือนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป (อภชิ าต วรรณวจิ ิตร, 2550, หนา้ 1)
1.3. รปู แบบการเจริญเตบิ โตและการพฒั นาของเน้ือเย่อื
การเจริญเติบโตและการพฒั นาของช้ินส่วนพืชทน่ี ำมาเพาะเลยี้ งบนอาหารสังเคราะห์เพื่อใหเ้ กดิ เปน้
ต้นพืชทส่ี มบรู ณ์ พบว่าเน้ือเย่ือท่ีมีกระบวนการเปลี่ยนแปลงเปิดข้ึนในลักษณะต่างๆได้ 3 แบบ ดงั นี้

9

1.3.1. เกดิ แคลลสั (Callus Formation)
แคลลสั เป้นกลมุ่ เซลล์พาเรนไคมาที่ยังไม่มีการเปล่ียนแปลงรปู รา่ งของเซลลไ์ ปเปน้ ราก

หรอื ลำตน้ อาจจะอย่กู ันหลวมๆ หรอื เกาะกนั แนน่ (ภาพท่ี 6) แคลลสั อาจเกิดจากเซลล์หรือ
อวัยวะอ่ืน เชน่ ใบเล้ียง ชอ่ ดอกออ่ น และเมล็ดอ่อน เปน้ ต้น

ภาพที่ 6 แคลลัสพัฒนาไปเป้นตน้ พืช
ทีม่ า : Seong et al. (2004, หน้า 1)
1.3.2. เกิดอวยั วะ หรือออรแ์ กโนจีเนซสิ (Organogenesis)
ออรแ์ กโนเจเนซีส (organogenesis) คือ กระบวนการเปล่ยี นแปลงจนกระท่ังได้ เปน็ อวัยวะ
หรือเปน็ การพัฒนาเปน็ พชื ต้นใหม่โดยตรง โดยการสรา้ งยอดหรอื ราก การเปลี่ยนแปลง เป็นอวัยวะต่างๆ เป็น
ผลของฮอรโ์ มนต่อกลุม่ ของเซลล์ อาจเปน็ อิทธพิ ลของฮอรโ์ มนชนิดเดียว หรือ หลายชนดิ กไ็ ด้ เมื่อมีการผนั แปร
ระหวา่ งฮอรโ์ มนออกซินและไซโทไคนนิ พบวา่ โดยถ้าสัดส่วนของ ออกซินมากกวา่ ไซโตไคนินจะชกั นำใหเ้ กิด
ราก ในทางกลบั กันถ้ามีไซโตไคนินมากกว่าออกซนิ จะ พัฒนาไปเป็นยอด (ภาพที่ 7) การเชื่อมต่อระหว่างยอด
และรากในการเกดิ อวัยวะเป็นขบวนการ ทเ่ี ปน็ อิสระต่อกนั รากอาจเกิดต่างบริเวณกับท่ีเกดิ ของยอดจึงอาจไม่
ติดตอ่ กันได้ แต่บางครั้ง เกดิ ข้นึ ใกลเ้ คียงกันมากจนท่อน้ำทอ่ อาหารเช่ือมติดกนั ไดน้ อกจากฮอรโ์ มนแลว้ ยงั มี
ปจั จัยอ่นื ๆ ทีม่ ี อทิ ธพิ ลต่อการเจรญิ เปน็ ยอดหรือเป็นรากของพืชไดเ้ ชน่ กนั เช่น ตำแหนง่ ของช้ินพชื ท่นี ำมา
เพาะเล้ยี ง อายแุ ละสภาพของต้นแม่ ชนิดของพืชและอวัยวะ ตลอดจนสภาพการเพาะเลยี้ งอนื่ ๆ เชน่ จำนวน
ครั้งในการถา่ ยอาหาร แสง อุณหภมู ิ น้ำตาล และความเปน็ กรด-ดา่ งของอาหาร เพาะเลีย้ ง เป็นต้น

10

ภาพที่ 7 การเกดิ อวยั วะหรือออร์แกโนจีนซี ิส
ทมี่ า : The sociey for in vitro biology (2001, หน้า 1)
1.3.3. เกิดคพั ภะ หรอื เอ็มบรโิ อจเี นซสิ (Embryogenesis)
คัพภะของพืชทข่ี ยายพันธ์โุ ดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยอ่ื คือ เอ็มบรอิ อยด์ (embryoid) เกดิ จาก
เซลลม์ กี ารเปลย่ี นแปลงและพัฒนาเหมอื นกับการพัฒนาของไข่ที่ไดร้ บั การ ปฏิสนธิแตเ่ อ็มบริออยด์มจี ุดกำเนิด
จากเซลลร์ ่างกาย หลงั จากนั้นจะพฒั นาเปน็ ข้นั ตอนต่างๆเป็น ตน้ กล้าซงึ่ มียอดและรากติดต่อกนั จึงมีทอ่ น้ำท่อ
อาหารเช่ือมต่อกนั (สมพร ประเสรฐิ ส่งสกลุ , 2549, หน้า 28-32) ดังภาพที่ 8

ภาพท่ี 8 การเกดิ คัพภะหรือเอ็มบรโิ อจนี ีซิส
ทีม่ า : Biolaureate centre (2011, หน้า 1)

11

1.4. ขั้นตอนการเพาะเลี้ยงเนือ้ เยื่อ

Taji และคณะ (1997) ไดแ้ บ่งข้นั ตอนในการเพาะเลย้ี งเนือ้ เยอื่ พชื เปน็ 5 ขั้นตอน หลกั ดังนี้

1.4.1. ขั้นตอนการเตรยี มตน้ แมพ่ นั ธ์ุ (Preparative Stage)

การเพาะเลย้ี งตน้ แมพ่ นั ธุ์(stock plant) ทต่ี อ้ งการในสภาพแวดล้อมที่ค่อนขา้ ง สะอาด เพ่ือ
จะไดต้ น้ แม่พันธุท์ ่สี ะอาด และสมบรู ณเ์ ต็มที่

1.4.2. ขน้ั ตอนเร่มิ ต้น (Initiation Stage)

การนำชิ้นสว่ นของพชื ทเี่ ตรยี มความพร้อมในขั้นตอนการเตรียมตน้ แม่พนั ธ์ุมาทำการฟอกฆา่
เชื้อจลุ นิ ทรีย์ทต่ี ดิ อยู่กบั ผวิ พชื แล้วทำการผ่าตัดเนือ้ เยื่อในสภาพปลอดเช้อื ภายในตู้ ย้ายเน้ือเยื่อ เลี้ยงบน
อาหารวิทยาศาสตร์ท่นี ่งึ ฆา่ เช้ือแลว้ จนไดต้ ้นพชื ทต่ี ้องการ

1.4.3. ขนั้ ตอนการเพิ่มปริมาณ (Multiplication)

ข้นั ตอนการเพิ่มปริมาณทำเม่ือเนื้อเย่ือพืชในขน้ั ตอนที่ 2 โตพอสมควรแลว้ จะทำการเพม่ิ
ปรมิ าณโดยการตัดแบ่งเนื้อเยื่อของออกเปน็ ช้ิน และแยกไปเลีย้ งในอาหารใหม่ เรียกว่า การตดั แบ่ง (sub
cultures) ทำการตดั แบง่ ไปได้เรื่อยๆ จนกว่าจะไดป้ ริมาณท่ตี อ้ งการ

1.4.4. ขั้นตอนการชักนำใหเ้ กดิ ราก (Root Induction)

ต้นกล้ามีปริมาณตามจำนวนที่ตอ้ งการแลว้ จะทำการชกั นำให้ออกราก และเลยี้ ง จน
เจรญิ เตบิ โตเปน็ ต้นกล้าท่ีแข็งแรงสมบูรณ์

1.4.5. ขั้นตอนการเตรยี มออกขวดและการย้ายออกปลกู (Acclimatization)

ตน้ กล้าในขวดท่ีทำการย้ายออกสู่สภาพภายนอกขวดมกั มเี ปอร์เซ็นตร์ อดต่ำ เพราะถกู เล้ียงใน
สภาพปลอดเช้ือ และถูกเลีย้ งในสภาพที่แสงและอณุ หภมู ิคอ่ นข้างต่ำกวา่ สภาพ ภายนอกมาก ดังน้นั ก่อนการ
การยา้ ยออกนอกขวดเพาะจึงต้องมีการเพิ่มความเข้มแสง ปรับ อุณหภูมิ พอตน้ กลา้ มคี วามพร้อมแล้วกท็ ำการ
ย้ายออกนอกขวดนำไปเล้ียงในโรงเรือนตอ่ ไป ตัวอย่างเชน่ การเพาะเลยี้ งเน้ือเยือ่ ของกาแฟโรบสั ตา (ภาพที่ 9)

12

ภาพท่ี 9 ข้นั ตอนการเพาะเล้ียงเน้ือเย่ือกาแฟโรบสั ต้า
ที่มา : Ducos et al. (2007, หนา้ 9)

1.5. หอ้ งปฏิบตั ิการเพาะเลีย้ งเน้ือเยือ่
ห้องปฏบิ ตั กิ ารเพาะเลี้ยงเน้อื เยื่อเป็นพนื้ ทีท่ ป่ี ระกอบดว้ ยการทำงานทุกขน้ั ตอน ตั้งแต่ การ

เตรยี มชน้ิ สว่ นพืช การเตรียมอาหาร การย้ายเนือ้ เยื่อ การเพาะเลี้ยง จงึ ต้องมี ห้องปฏิบัติการทจี่ ดั สรรไว้อย่าง
เหมาะสม คือ

1.5.1. ห้องเตรียมอาหาร (Media Preparation Room)
ห้องเตรยี มอาหารต้องมีเน้ือท่ีกว้างขวางพอที่จะปฏบิ ตั กิ ารไดอ้ ยา่ งสะดวก มีโต๊ะ สำหรบั

ปฏิบัตกิ าร ตูเ้ ย็นสำหรบั เกบ็ สารละลายเข้มขน้ หม้อน่ึงความดนั สำหรับฆา่ เชอ้ื จลุ นิ ทรีย์ เครื่องชัง่ เคร่ืองวัด
ความเป็นกรดด่าง เตาหลอมอาหาร อา่ งน้ำ ตู้เกบ็ สารเคมีและอปุ กรณ์

1.5.2. ห้องเลี้ยงเนอื้ เยื่อ (Culture Room)
ห้องเลย้ี งเน้อื เยื่อต้องปลอดเชอื้ อุปกรณ์ท่ีสำคญั ในห้องนี้ไดแ้ ก่ ชนั้ วางขวด เนื้อเยื่อ เครอ่ื ง

เขย่า ระบบให้แสงสว่างพร้อมเครือ่ งปดิ เปิดไฟอัตโนมัติและเคร่ืองปรบั อากาศ โดยทั่วไปมักจะปรับ
สภาพแวดล้อมภายในห้องให้มอี ณุ หภมู ปิ ระมาณ 25± 2องศาเซลเซยี ส แสง 12 - 18ช่ัวโมงต่อวนั ความเข้มของ
แสง 300-10,000 ลกั ซ์ (ภาพที่ 10)

13

ภาพท่ี 10 หอ้ งเพาะเลยี้ งเนื้อเยอ่ื พืช
ท่มี า : ธญั ญา ทะพิงคแ์ ก (2554, หนา้ 1)
1.6. อาหารเพาะเลี้ยงเน้อื เยื่อ
อาหารเพาะเลี้ยงเน้ือเย่ือเปน็ ปัจจยั ทม่ี ีความสำคญั ยิ่งต่อความสำเรจ็ ในการ ขยายพันธพ์ุ ืช
การพจิ ารณาคัดเลือกอาหารเพือ่ ให้เหมาะสมกับการเพาะเล้ยี งเนอ้ื เยือ่ พชื แต่ละชนิด นั้นขน้ึ อยกู่ ับชนดิ ของพชื
และจดุ ประสงคก์ ารผลติ
1.6.1. ประเภทของอาหาร
อาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมี 2 ประเภท คือ อาหารแขง็ (solid medium) กับอาหารเหลว
(liquid medium) อาหารแข็งใชว้ นุ้ (agar) ในการปรบั สารละลายอาหารให้มีสภาพเปน็ ของแข็ง ความเข้มขน้
ของวนุ้ ท่ีใช้กนั แพร่หลายและได้ผลดี คือ 0.8 เปอร์เซ็นต์ของปรมิ าตรอาหาร ท้งั หมด สว่ นอาหารเหลวเนื้อเย่ือ
จะจมหรือแขวนลอยอยู่บนกระดาษกรองทจ่ี ุ่มในอาหารเหลว ตลอดเวลา เนอ้ื เยื่อที่จมอยู่ในอาหารเหลวอาจถูก
คนทีค่ วามเร็ว 100 - 160 รอบต่อนาที เพอ่ื ช่วย ในการหายใจของพืช
1.6.2. สว่ นประกอบของอาหาร
อาหารเลี้ยงเนือ้ เย่ือมีอยู่ด้วยกันหลายสตู ร เชน่ สตู รมรู าชิกแิ ละสกทู (Murashigi and Skoog:
MS) สำหรับเพาะเล้ียงพืชท่ัวไป และสูตรวาซนิ และเว้นซ์ (Vacin and Went: WV) เพาะเล้ยี งกลว้ ยไม้ เป็นต้น
และมกั มชี อื่ เรียกตามผคู้ ิดค้นสตู รอาหารข้ึนมา ซงึ่ ผู้นำไปใชอ้ าจมีการ ดดั แปลงสูตรอาหารให้เหมาะสมกับงาน
ตอ่ ไป อาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อประกอบไปดว้ ยธาตุอาหาร ท่ีจำเป็นตอ่ การเจริญเตบิ โตของพชื ดังน้ี
1.6.2.1 สารอนนิ ทรยี ์ ได้แก่ ธาตุอาหารที่พืชตอ้ งการในปรมิ าณมาก ได้แก่ คาร์บอน
ไฮโดรเจน ไนโตรเจน ออกซิเจน ฟอสฟอรสั โปแตสเซยี ม ซัลเฟอร์ แคลเซยี ม และ แมกนีเซียม สว่ นธาตอุ าหาร
ทพี่ ชื ต้องการในปริมาณน้อยแตข่ าดไม่ได้(micro nutrients) ได้แก่ เหล็ก คลอรีน แมงกานสี ทองแดง สงั กะสี
โบรอน และ โมลิบดีนัม

14

1.6.2.2 สารประกอบอนิ ทรยี ์ (organic compounds) ไดแ้ ก่ สารประกอบ อนิ ทรียห์ ลายชนดิ
ท่เี ตมิ ในอาหารเพาะเลีย้ งโดยเฉพาะน้ำตาล มีความจำเปน็ ต่อการเจริญของพชื อย่างมาก เนือ่ งจากเน้อื เย่ือพืช
ยังไมม่ ีการสังเคราะห์แสงในสภาพหลอดแกว้ หรือมีการสังเคราะห์ แสงในอัตราท่ีต่ำ น้ำตาลท่ีนิยมใช้ คือ
น้ำตาลซูโครส (sucrose)

1.6.2.3 วิตามิน พืชสามารถสังเคราะห์วติ ามินท่ีจำเป็นต่อการเจริญเตบิ โตไดท้ ุกชนิด แตเ่ ซลล์
พชื ท่ีเล้ยี งในสภาพหลอดแก้วตอ้ งการวิตามินเพิ่ม วิตามินที่ใช้ เชน่ วติ ามินบี 1 (thiamine) วิตามนิ บี 5
(pantothenic acid) วติ ามนิ เอ็ม (folic acid) และวิตามนิ บี 2 (riboflavin)

1.6.2.4 กรดอะมโิ น เช่น กลตู ามีน (glutamine) แอสพาราจีน (asparagine) อะดีนนี
(adenine) ไกลซนี (glycine)

1.6.2.5 สารควบคุมการเจรญิ เติบโต ทใี่ ช้กนั มาก คือ ออกซิน เช่น ไอบีเอ ไอเอเอ เอน็ เอเอ
และไซโตไคนิน เชน่ บเี อพี ไคเนตนิ และ ซเี อติน (zeatin) ส่วนจิบเบอเรลลินใชใ้ นบาง กรณี เชน่ การเลีย้ งปลาย
ยอด

1.6.2.6 สารทไ่ี ดจ้ ากธรรมชาติ สารทไ่ี ดจ้ ากธรรมชาติ เชน่ น้ำมะพร้าว น้ำตม้ มันฝรัง่ น้ำคนั้
มะเขือเทศ กล้วยหอมบด สารสกัดจากยสี ต์ และสารสกัดจากมอลต์

1.6.2.7 ตัวทำให้สารแข็ง เนื้อเยือ่ สว่ นมากจะเลีย้ งในอาหารแข็ง ตวั ทำให้สารแข็ง เชน่ วุ้น
และเจลไรด์ (gelrite) เจลไรดช์ ่วยท าช่วยใหต้ ้นพชื ต้งั อยู่บนอาหารได้ สำหรับสูตร อาหารทไี่ ม่ไดใ้ ส่วนุ้ ต้องมี
การเพิ่มอากาศให้ชิ้นสว่ นได้สัมผสั อากาศอยา่ งเพียงพอ

1.6.2.8 นำ้ (จิรา ณ หนองคาย, 2551, หน้า 323-324)

1.7. วิธกี ารเตรียมอาหารเพาะเลย้ี งเนือ้ เยื่อ

นิยมเตรียมเปน็ สารอาหารเข้มข้น (stock solution) ท่ีมีความเข้มข้นเป็นหลายๆ เทา่ ของ
ความเข้มขน้ ทใ่ี ชจ้ รงิ โดยมากมกั ให้มีความเข้มขน้ เปน็ 100 เทา่ 200 เท่า หรอื 1,000 เทา่ ของ ความเขม้ ข้น
จริง โดยรวมสารเคมชี นิดทไ่ี ม่มีปฏิกิริยาต่อกนั ไว้ดว้ ยกัน จากนั้นจงึ นำสารอาหาร เข้มข้นแตล่ ะชนิดมารวมกนั
และเตมิ สารอ่นื ให้ครบ ปรบั ปริมาตรให้ได้ตามสูตรอาหาร แลว้ ปรบั ค่า ความเป็นกรด-ด่าง เตมิ ผงวุน้ นำไปต้ม
และบรรจุขวด นำอาหารที่เตรยี มได้ไปนงึ่ ฆา่ เช้ือจุลินทรีย์ ในหม้อนึ่งความดนั ไอน้ำ ทอี่ ุณหภมู ิ 121 องศา
เซลเซยี ส ความดนั 15 ปอนด์ตอ่ ตารางนว้ิ เปน็ เวลา15 - 20 นาที (ภาพท่ี 11)

15

ภาพท่ี 11 ขั้นตอนการเตรียมอาหารเพาะเล้ียงเน้ือเยื่อพชื
ท่มี า : ธัญญา ทะพงิ ค์แก (2554, หนา้ 1)

1.8. การเตรยี มชน้ิ ส่วนพืช การฟอกฆ่าเช้อื และการผา่ ตัดเนอ้ื เยือ่
การเตรยี มช้นิ ส่วนพชื และการฟอกฆา่ เช้ือ ประกอบด้วยข้ันตอนตา่ งๆ ดังนี้

1.8.1. การเลือกชน้ิ ส่วนของพชื ทจ่ี ะนำมาเลย้ี ง
ชิน้ สว่ นของจะสามารถพฒั นาไปเปน็ ต้นพชื ไดห้ ลังจากการขยายพันธดุ์ ว้ ยวธิ ี เพาะเล้ยี ง

เนอ้ื เยอ่ื นั้น ข้ึนอยู่กบั อายุหรอื ระยะของพืชท่นี ำมาเลย้ี งชน้ิ ส่วนพืชท่นี ำมาเล้ียงควรเลือก ที่เปน็ ข้อปลายยอด
ตายอด ตาข้าง เน่อื งจากจะสามารถชกั นำยอดไดจ้ ำนวนมาก

1.8.2. เทคนคิ การฟอกฆา่ เชื้อ
การฟอกฆา่ เช้ือบริเวณผวิ พืชเพือ่ ทำใหช้ ิน้ ส่วนพชื ปลอดโรค เปน็ การกำจัดเชื้อ จุลินทรีย์ทีต่ ดิ

มากับชนิ้ ส่วนพืชไม่ใหม้ ามีผลยบั ย้ังการเจริญและพฒั นาการของชิน้ ส่วนพืช เม่ือ เลอื กส่วนของพชื ทจ่ี ะนำมาใช้
ในการขยายพนั ธไ์ุ ด้แล้วตามความตอ้ งการให้ตัดแต่งช้นิ สว่ นพืชใหม้ ี ขนาดท่ีเหมาะสมนำมาทำการลา้ งทำความ
สะอาด โดยการฟอกฆ่าเชื้อท่ีผวิ ของเน้ือเย่ือเพ่ือให้ ปราศจากเชื้อจุลนิ ทรีย์ทำไดห้ ลายวิธีขนึ้ อย่กู ับลกั ษณะของ
เนอ้ื เยื่อพชื เชน่ เนอื้ เยื่อพืชท่ีออ่ นน่ิมและบาง ให้แช่เน้อื เย่ือพชื ลงในสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรท์ (NaOCl)
ความเข้มข้น 0.5 เปอรเ์ ซน็ ตห์ รอื คลอร็อกซ์ 10เปอร์เซ็นต์เป็นเวลา 10-15 นาทเี มื่อครบกำหนดเวลาใหล้ ้างดว้ ย
น้ำกลน่ั ทนี่ ่งึ ฆ่าเชื้อแลว้ 3 ครง้ั สำหรับเนื้อเย่ือพืชทีผ่ ิวนอกแข็ง เชน่ ไม้เนือ้ แข็ง ฝักกล้วยไมใ้ ห้นำเน้อื เย่ือไปล้าง

16

ด้วยน้ำยาซกั ฟอกและน้ำแล้วจุ่มเนื้อเย่ือลงใน 95 เปอร์เซ็นต์เอทิลแอลกอฮอล์และลนไฟ สว่ นเนื้อเยื่อพชื ที่มี
สารประเภทข้ีผง้ึ หรือขนปกคลุม ให้จมุ่ เนือ้ เย่ือลงใน 70-95 เปอรเ์ ซน็ ต์ เอทิลแอลกอฮอล์นาน 30 วินาที- 1 นาที
แลว้ จึงนำไปแชใ่ นสารละลายโซเดยี มไฮโปคลอไรท์ ความเข้มข้น 0.5% หรอื คลอร็อกซ์ 10เปอร์เซน็ ต์เปน็ เวลา
10 - 15 นาทเี มื่อครบกำหนดเวลาให้ ล้างด้วยน้ำกลนั่ ที่นึ่งฆา่ เช้อื แล้ว 3 ครงั้

1.8.3. การผา่ ตัดเนือ้ เยอื่ พืช
การตัดชิน้ ส่วนของพืชท่จี ะนำมาเล้ยี ง เริม่ จากตอ้ งนำช้นิ สว่ นพชื มาล้างน้ำให้ สะอาด และตัด

สว่ นที่ไม่ตอ้ งการใช้ออกให้มากทสี่ ดุ นำชิ้นส่วนพืชทล่ี ้างแล้วมาตดั ใหม้ ขี นาดพอประมาณ แลว้ นำมาฟอกฆ่าเช้ือ
ทีผ่ ิวตามข้นั ตอน จากนั้นจึงตัดเนื้อเยือ่ ออกเปน็ ชิน้ เลก็ ๆ ให้มี ขนาดตามต้องการ นำไปเล้ียงในอาหารเพาะเล้ยี ง
เนอื้ เยอ่ื ขนาดและรปู ร่างของเนอื้ เย่ือที่นำมาเล้ยี งขึน้ อยู่กับลกั ษณะวัตถุประสงคแ์ ละความพอใจของ
ผ้ปู ฏิบัติงาน ถ้าตดั เนือ้ เยื่อช้ินใหญ่ เนื้อเย่ือมีโอกาสรอดชีวติ สูงแต่ก็มีโอกาสปนเปื้อนสูง ถ้าตดั เนอ้ื เย่อื ชิ้นเล็กก็
มีโอกาสรอดชวี ิตต่ำแต่ มีโอกาสปนเป้อื นน้อย ก่อนนำเนื้อเยอื่ ทฟี่ อกฆ่าเชอ้ื แล้วลงในอาหารเล้ยี งเนอื้ เยื่อควร
เช็ดขวด อาหารเพ่ือฆ่าเชอ้ื ด้วยเอททลิ แอลกอฮอล์70 เปอร์เซน็ ต์ ก่อนนำเขา้ ตู้ตัดเนื้อเยื่อ เมอ่ื จะย้ายเนอ้ื เย่ือลง
ขวดใหเ้ ปดิ ฝาและลนไฟทีค่ อขวด ใชป้ ากคีบทีล่ นไฟฆา่ เชื้อและทิ้งให้เยน็ แล้วคบี เนือ้ เยื่อ ใสข่ วด ควรกดเนื้อเยื่อ
ใหจ้ มลงในอาหารเลก็ น้อยแล้วจึงปิดฝาตามเดมิ (พรชยั จุฑามาศ, 2544) ดงั ภาพที่ 12

ภาพท่ี 12 การฟอกฆา่ เชือ้ และการผ่าตัดเนื้อเย่ือพชื
ที่มา : ธัญญา ทะพงิ คแ์ ก (2554, หนา้ 1)

1.9. การดูแลเนอื้ เย่อื ระหวา่ งการเล้ียงในขวด
ความสะอาดเป็นส่ิงจำเปน็ อย่างมากในการเพาะเลี้ยงเนือ้ เย่ือพชื ต้องมีการหม่ันตรวจดู ขวด

หรอื ภาชนะท่ีเล้ยี งเน้ือเย่อื พืช ถ้าพบวา่ มีเช้ือจุลินทรยี ์เจริญขึน้ มาปะปนจะต้องรีบนำออกไปต้มฆา่ เชือ้ และลา้ ง
ทนั ทเี พื่อไมใ่ หเ้ ป็นที่สะสมเช้อื จลุ ินทรยี ซ์ งึ่ อาจจะแพรแ่ ละฟุ้งกระจายอย่ภู ายใน ห้องได้เนอ้ื เยอ่ื พืชทเ่ี ลีย้ งควรมี
การเปลีย่ นอาหารใหม่ (Subculture) ประมาณ 2 สัปดาห์ต่อครงั้

17

1.10. การย้ายพืชออกจากขวด
เม่อื พืชเจรญิ เตบิ โตเป็นตน้ ทส่ี มบูรณแ์ ล้วจะทำการย้ายพืชออกจากขวดเลีย้ งเน้ือเยือ่ เพื่อปลกู

ในกระถาง ควรใชว้ ัสดุปลูกที่มีส่วนผสมของทรายผสมขยุ มะพร้าว หรือทรายผสมถ่าน แกลบ อัตราส่วน 1 : 1
สำหรบั เล้ียงต้นกล้าในระยะแรก โดยใชป้ ากคบี นำตน้ ออกจากขวดอย่าง ระมัดระวังอย่าให้รากขาดหรือเสยี หาย
ล้างเศษวุน้ ท่ีติดอยู่ท่บี ริเวณรากออกใหห้ มดเพ่ือไมใ่ หเ้ ป็น อาหารของจลุ ินทรีย์นำต้นทล่ี า้ งแลว้ จุ่มด้วยยากันรา
กอ่ นปลกู ลงในภาชนะทีใ่ ส่วสั ดปุ ลูกไว้ใน ระยะแรกต้องควบคมุ สภาพ แวดล้อมให้เหมาะสม เช่น ความช้ืน แสง
อุณหภมู ิหรือนำไปไวใ้ น กระบะพ่นหมอก เม่อื ตน้ เจรญิ เติบโตแขง็ แรงแลว้ จงึ ยา้ ยออกปลูกในสภาพปกติต่อไป
ขน้ั ตอนการ ผลิตตน้ กลว้ ยจนกระทั่งย้ายพืชออกปลูก (ภาพที่ 13)

ภาพที่ 13 การย้ายพืชออกปลูกนอกขวด
ทีม่ า : ธัญญา ทะพิงค์แก (2554, หนา้ 1)
บทสรปุ
การเพาะเล้ยี งเนื้อเย่อื เป็นความเจริญก้าวหน้าในด้านการเกษตรเกยี่ วกับพืชท่ีมีการ พฒั นาเทคนิคใน
การขยายพนั ธทุ์ ่ที ำให้ได้พืชตน้ ใหมจ่ ำนวนมากอยา่ งรวดเร็วในเวลาอันจำกัด และ มคี ุณภาพดีเหมือนเดมิ
วธิ กี ารนที้ ำโดยนำเอาส่วนใดส่วนหน่งึ ของพชื ไม่วา่ จะเปน็ อวยั วะเนอ้ื เยื่อ เซลล์หรอื เซลล์ไม่มผี นัง มาเลีย้ งใน
อาหารเลยี้ งในสภาพปลอดเช้ือจลุ นิ ทรยี ์ และอยใู่ นสภาพ ควบคมุ อุณหภูมแิ สงและความชืน้ เพ่ือให้เจรญิ เติบโต
ไดด้ ีการเพาะเลี้ยงเน้ือเยือ่ พืชสามารถทำการเพาะไดจ้ ากทุกสว่ นของพชื ได้แก่ คพั ภะ อวยั วะ เน้ือเยื่อเจริญ
แคลลสั โปรโตพลาสต์ เซลล์แขวนลอย อบั เรณูและละอองเรณูชน้ิ ส่วนของพืชท่นี ำมาขยายพันธจ์ุ ะมรี ปู แบบ
การ เจรญิ เตบิ โตและการพัฒนาของเนื้อเย่ือได้ 3 แบบ คือ เกดิ เปน็ แคลลัส เกิดอวัยวะหรอื ออร์แกโนจเี นซสิ
หรอื เกดิ เกิดคัพภะ หรือเอ็มบรโิ อจีเนซสิ การที่พืชจะเจริญไปเปน็ แบบใดน้ันข้นึ อยกู่ บั ปัจจยั หลาย ประการ

18

ขน้ั ตอนหลกั ในการเพาะเล้ียงเนอื้ เยื่อประกอบไปด้วยการเตรยี มตน้ แม่พันธุ์ให้ พร้อมก่อนนำมา
ขยายพันธ์ุ การฟอกฆ่าเชื้อช้ินส่วนพชื ทจี่ ะเพาะเล้ียง การเพมิ่ ปริมาณต้นกล้า และการชักนำให้ต้นกลา้ เกดิ ราก
แลว้ จึงทำการปรบั สภาพตน้ กล้าเพ่อื ยา้ ยออกปลกู การเพาะเลย้ี ง เนอื้ จำเป็นตอ้ งทำในห้องที่ปลอดเช้อื อาหาร
ทใ่ี ชเ้ ลย้ี งเนอื้ เยื่อพืชประกอบไปด้วยธาตอุ าหารตา่ งๆ ที่พชื ต้องการ ชน้ิ ส่วนพชื ที่จะนำมาเพาะเล้ยี งต้องมีการ
ฟอกฆา่ เชื้อก่อนทำการผ่าตัดเนอ้ื เยื่อพืชน้ัน ความสำเร็จในการขยายพนั ธพ์ุ ืชดว้ ยวธิ นี ้ขี น้ึ อยกู่ ับชนดิ ของพืช
วิธีการเพาะเลีย้ ง อาหารท่ีใช้เลี้ยง สภาพแวดล้อม และการดแู ลรักษา

2. การตอ่ กงิ่

การตอ่ ก่ิงเปน็ วธิ กี ารขยายพันธพุ์ ืชแบบไม่ใช้เพศโดยการนำกงิ่ พันธ์ุดที ่ีมีตามากกวา่ หน่ึงตามาต่อบน
ต้นตอเพอื่ ใหเ้ นื้อเยื่อเจรญิ ทั้งสองเชอื่ มประสานเป็นเนื้อเดียวกนั การตอ่ กิง่ เป็น วธิ กี ารทใ่ี ชท้ ั้งในเร่ืองของการ
ขยายพันธ์ุ และการเปลยี่ นพันธ์ุพืช แต่ความเหมาะสมของวธิ ีการต่อกิ่ง มักจะใช้สำหรบั การเปลี่ยนพันธุ์พืช
มากกว่า ส่วนในดา้ นการขยายพนั ธ์ุน้ันมกั จะใช้เมื่อวธิ ีการติดตาไม่มีความเหมาะสม เช่น ต้นตอโตเกินไป กง่ิ
พนั ธ์ดุ มี ขี นาดเล็ก หรือตาของกง่ิ พันธ์ุดีไมค่ ่อยเจรญิ เป็นต้น (สน่นั ข าเลศิ , 2541, หนา้ 91)

2.1. ขอ้ ดแี ละข้อเสยี ของการต่อกิ่ง

การต่อกง่ิ เปน็ วธิ ีการขยายพันธพุ์ ืชเพอ่ื เพิ่มจำนวนสายตน้ ให้มปี ริมาณมากโดยก่ิง พนั ธุ์ดีไม่
ตอ้ งใช้เวลานานในการออกดอกตดิ ผล ทำใหม้ ีหลายพันธ์ุอยใู่ นตน้ เดียวเดยี วกนั เพ่ือเก็บ ผลผลิตต่างพันธ์ุหรือ
ความสวยงาม พชื เจริญเติบโตดขี ึน้ หรอื มีลักษณะพเิ ศษทต่ี ้องการ เชน่ ทนทานต่อสภาพแวดล้อม ตา้ นทานโรค
และแมลง ใชท้ ำไม้แคระ ชว่ ยเสริมรากทำให้ต้นไม้มีความ แข็งแรง ทำให้ไม่โคน่ ลม้ ง่าย ช่วยให้พืชทเ่ี ขา้ กันไม่ได้
ประสานอยดู่ ้วยกันได้ โดยใช้ต้อตอกลางมา ต่อกิง่ อยู่ระหว่างต้นตอและก่ิงพันธุ์ดี และใชใ้ นการศึกษาโรคไวรสั ท่ี
สามารถถา่ ยทอดจากกิ่งพนั ธ์ุที่ สงสยั มกี ารตดิ โรคตอ่ กิง่ บนต้นท่อี ่อนแอต่อโรค ข้อเสียของการตอ่ กง่ิ คือ ถา้ มกี ิ่ง
พนั ธด์ุ ีจำกัดจะทำ ไดจ้ ำนวนนอ้ ยกวา่ การขยายพนั ธ์ุด้วยการตดิ ตาทใ่ี ช้เพียงตาเดยี วในการติดตา อีกทง้ั ผู้ทำการ
ต่อก่งิ ต้องมีความชำนาญ และความประณีตในการขยายพันธุ์ (สุรนิ ทร์ นลิ สำราญจิต, 2553ก, หนา้ 1)

2.2. วธิ กี ารตอ่ กงิ่

การตอ่ กง่ิ เปน็ ศลิ ปะของการสอดส่วนของก่ิงพชื ต้นหน่งึ ลงบนส่วนของพชื อกี ต้นหนง่ึ เพื่อให้
สว่ นทงั้ สองตดิ กันและเจรญิ เป็นพืชต้นใหมแ่ บ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญๆ่ ดงั น้ี

19

2.2.1. กิ่งพันธุ์ดเี ป็นท่อนมาต่อกบั ต้นตอทเ่ี ตรียมไว้ตามตำแหน่งท่ีตอ่
2.2.1.1. การตอ่ ยอด (apical grafting) ตัดยอดของตน้ ตอออกแลว้ นำกิ่งพนั ธุ์ดมี า ต่อ
เชน่ การตอ่ กิ่งมะละกอ (ภาพท่ี 14)

ภาพที่ 14 การตอ่ กง่ิ มะละกอ
ทมี่ า : ธญั ญา ทะพิงค์แก (2554, หน้า 1)
2.2.1.2. การเสยี บข้าง (side grafting) ใช้เมอ่ื ต้นตอไม่พักตัว นำกิ่งพันธุด์ ีมาตอ่ หรอื
เสยี บทางด้านข้าง เมือ่ ติดดแี ล้วจึงตดั ยอดของต้นตอออก
2.2.2. กง่ิ พันธดุ์ ีและตน้ ตอซึ่งตา่ งมีรากของตนเองมาทาบกนั
วิธีนี้เปน็ การนำต้นพชื ทีต่ ่างก็มีทัง้ รากและยอด มาทำใหเ้ ช่ือมตดิ กนั และหลงั จาก รอยตอ่
เชือ่ มกนั สนิทดีแล้ว จงึ ตัดยอดของต้นท่ไี มต่ ้องการออก เรียกวา่ การทาบก่ิง (approach grafting) ซ่งึ การทาบ
ก่งิ ก็มีหลายวธิ ดี ว้ ยกัน
2.2.3. วิธตี ่อก่ิงวมาซอ่ มแซมหรือค้ำยัน (Repair Grafting Or Supporting)
ต้นพืชท่ีมีการเสียหายของระบบรากใชก้ ารค้ำยนั เสรมิ ราก (inarching) และถา้ เปลือก ถูก
ทำลายใชก้ ารต่อก่ิงแบบสะพาน (bridge grafting) (นนั ทิยา วรรธนะภูต.ิ , 2553, หนา้ 337-338)

20

2.3. วธิ กี ารตอ่ ยอด

วิธีการตอ่ ยอดแบง่ ตามขนาดของต้นตอและก่งิ พนั ธไุ์ ด้ดงั นี้

2.3.1. ต้นตอมขี นาดเท่าๆกบั กงิ่ พนั ธ์ุดี
2.3.1.1. การต่อยอดแบบฝานบวบ (spliced grafting) ใชก้ ับไม้เนอื้ อ่อนหรือไม้อวบน้ำ
(herbaceous หรอื succulent plants) และยอดของไม้เนอ้ื แข็งท่ัวๆ ไป เชน่
ชวนชม โป๊ยเซียน มะละกอ เป็นต้น เลอื กตน้ ตอและกิ่งพันธใ์ุ ห้มีขนาดใกล้เคียง
กนั และมีลกั ษณะทีต่ ่อเรียบและตรง โดยเฉือนกง่ิ ตน้ ตอและก่งิ พันธ์ุดีใหเ้ ฉียง
เปน็ แนวยาวประมาณ 1.0- 1.5 นิว้ ประกบแผลทัง้ สองกงิ่ ให้เขา้ กนั พอดีพันด้วย
ผ้าพลาสติกให้แนน่ (ภาพที่ 15)

2.3.1.2. ภาพท่ี 15 วธิ ีการต่อยอดแบบฝานบวบ

ทีม่ า : Bir et al. (2009, หนา้ 1)

การตอ่ ยอดแบบเข้าเดือย (saddle grafting) ใชก้ ับไมเ้ นอ้ื อ่อนหรือไม้อวบน้ำ
เลือกต้นตอและกิง่ พันธด์ุ เี หมือนวิธีฝานบวบ เฉือนตน้ ตอใหเ้ ฉยี งขน้ึ ท้ังสองขา้ ง
เป็นรูปล่ิม เฉือน กิง่ พนั ธดุ์ ใี หเ้ ปน็ รูปง่าม (รปู ตัว V หงาย) พอเหมาะกับแผลของ
ต้นตอทเ่ี ตรยี มไว้ เสียบกง่ิ พันธุ์ดีลง บนต้นตอให้รอยแผลประกบกันพอดี พนั
ด้วยผา้ พลาสตกิ ใหแ้ น่น (ภาพที่ 16)

ภาพท่ี 16 วิธีการต่อยอดแบบเขา้ เดือย ทมี่ า : สรุ ินทร์ นิลส าราญจติ (2553ก, หน้า 1)

21

2.3.1.3. การตอ่ ยอดแบบเขา้ ล้ิน (tongue grafting or whip grafting) เปน็ วธิ ีท่ีใช้กับพืช
ท่ีมตี น้ ตอและกง่ิ พนั ธุ์ดขี นาดเท่ากนั และเปน็ ก่งิ ท่มี ีขนาดเล็ก นยิ มใชก้ บั พชื ที่มี
ก่ิงตรงและเรียบ โดยเฉือนตน้ ตอเฉยี งขน้ึ ให้เป็นปากฉลามยาวประมาณ 1- 2 นิ้ว
แล้วแต่ขนาดของกงิ่ ผ่าตน้ ตอเขา้ ไปในเน้อื ไม้จากตำแหน่ง 1/3 จากปลายแผล
ลงมายาวเสมอถึงโคนแผลของรอยเฉือน การเตรียม ก่งิ พนั ธ์ดุ ีเฉือนปลายกงิ่ พันธุ์
ดีให้เฉยี งเช่นเดียวกบั ที่เตรียมไว้กบั ตน้ ตอ สอดก่ิงพนั ธด์ุ เี ขา้ ไปในลนิ้ ของตน้ ตอ
ให้ขดั กนั จัดให้ปลายของก่งิ เสมอพอดีกนั แล้วจึงพนั ด้วยผา้ พลาสตกิ (ภาพที่ 17)

ภาพท่ี 17 วิธกี ารต่อยอดแบบเข้าล้ิน

ทมี่ า : Bayerischer Landesverband für Gartenbau und Landespflege (2005, หนา้ 1)

2.3.1.4. การต่อยอดแบบเสียบล่ิม (cleft grafting) เป็นวธิ ที ตี่ อ้ งตัดยอดตน้ ตอและ ไม่
ตอ้ งลอกเปลือกต้นตอ ใชไ้ ด้ท้งั ก่งิ ท่ีมขี นาดเล็กและขนาดใหญ่ นิยมใชใ้ นการ
เปลีย่ นยอดไม้ผล เช่น ลำไย ขนุน นอ้ ยหน่า และสาล่ี เป็นต้น พชื ท่ีขยายพันธ์ุ
ด้วยวธิ นี ้คี วรมเี สี้ยนเน้ือไมต้ รงเม่อื กง่ิ พันธุด์ เี จรญิ แล้วรอยประสานจะแขง็ แรง
กวา่ วธิ ีแบบอน่ื ๆ ข้อเสยี คือ ตอ้ งผ่าเน้ือไม้เข้าไปจงึ อาจมี เชอื้ โรคเขา้ ทำลายได้
งา่ ย และหากต่อกิง่ ไม่ประสพผลสำเรจ็ จะทำใหต้ น้ ตอเสียหายได้ ตัดยอดของ
ตน้ ตอออกแลว้ มดี ผ่าลงไปตรงกลางเสน้ ผา่ ศนู ย์กลางกิ่งของตน้ ตอยาวประมาณ
2 - 3 นวิ้ แล้วแต่ ขนาดของกิ่ง การเตรยี มกิง่ พนั ธดุ์ ี เฉือนโคนกงิ่ พันธุ์ดใี ห้เฉียง
ลงท้งั สองขา้ มเปน็ รูปลิ่ม ควรเฉือนให้ สันลม่ิ ดา้ นหนง่ึ หนากวา่ อีกดา้ นหนึง่
เพื่อให้เนอื้ เย่ือเจรญิ ไดส้ ัมผสั แนบกบั เน้อื เย่ือเจรญิ ของตน้ ตอ ใช้มดี เผยอรอยผา่
ของตน้ ตอออกแลว้ เสียบก่ิงพันธุด์ ีท่ีเตรยี มไวล้ งไป ถ้าขนาดของกง่ิ พนั ธุ์ดเี ล็กกว่า
ตน้ ตอให้วางก่งิ ชดิ ไปทาง ด้านใดดา้ นหนง่ึ ของตน้ ตอ หรือตน้ ตอท่ีมขี นาดใหญ่
มากสามารถก่งิ พันธด์ุ ี ทัง้ สองข้างของรอยผ่าก็ไดจ้ งึ พนั ดว้ ยผา้ พลาสติก หรือทา
ดว้ ยข้ผี งึ้ ตอ่ กิ่ง (ภาพที่ 18 และ 19)

22

ภาพท่ี 18 วิธกี ารต่อยอดแบบเสียบลมิ่ กรณตี น้ ตอและก่งิ พันธด์ุ ีมขี นาดพอๆ กัน
ทม่ี า : สรุ ินทร์ นลิ ส าราญจติ (2553ก, หนา้ 1)

ภาพที่ 19 วิธีการต่อยอดแบบเสยี บลิ่ม กรณตี น้ ตอมขี นาดใหญก่ วา่ กิ่งพันธ์ดุ มี ากๆ
ที่มา : North Carolina coperative extension service (2010, หน้า1)

23

2.3.1.5. การต่อยอดแบบอนิ เลย์ (inlay grafting) ตดั ยอดต้นตอออกแลว้ ใช้มีดผา่ ลง ไป
ในแนวตรงผา่ นตำแหน่งที่มีเนื้อไม้เล็กน้อยยาวประมาณ 1.5 - 2.0 นวิ้ แลว้ แต่
ขนาดของกิ่ง จากน้นั ให้ตัดช้นิ ส่วนทเี่ ฉือนออกเปน็ มุม 45 องศา ให้เหลือเปน็ ลน้ิ
ยาวประมาณหน่ึงสว่ นสามของ ส่วนท่เี ฉอื น การเตรียมกิ่งพันธดุ์ ีใหเ้ ฉือนโคนกงิ่
เป็นรูปล่ิมยาวประมาณ 2 น้ิวและเฉือนด้านเปลอื ก ที่อยู่ตรงข้ามออกเลก็ น้อย
เสยี บกงิ่ เข้าไปในแผลที่เตรยี มไว้บนต้นตอ จัดให้แนวเนื้อเยื่อเจริญสมั ผสั กัน ถา้
ขนาดของก่ิงพนั ธุด์ ีเล็กกว่าต้นตอให้วางกิ่งชดิ ไปทางด้านใดดา้ นหนง่ึ ของต้นตอ
จงึ พนั ดว้ ย ผ้าพลาสติก (ภาพที่ 20)

ภาพท่ี 20 วิธีการต่อยอดแบบอนิ เลย์

ทม่ี า : Steinand Sauls (2011, หนา้ 1)

2.3.2. ต้นตอมขี นาดใหญ่กว่ามาก

วิธีการนเี้ ป็นที่นิยมในการต่อยอดไมผ้ ล ทง้ั พชื ท่ีมีเปลือกหนาและเปลือกบาง ข้อดี ของวิธนี ้ี
คือเน้ือไม้จะไม่ถูกผา่ ออกจากกนั โอกาสทรี่ อยต่อจะเนา่ หรือถูกทำลายจากเชื้อโรคจึงมนี อ้ ย แต่มขี ้อเสียคือ
รอยต่อของกง่ิ พันธด์ุ ีและตน้ ตออาจไมแ่ ข็งแรงนัก ฉีกหักไดง้ ่าย การตอ่ ยอดทำไดห้ ลายแบบดงั นี้

2.3.2.1. การต่อยอดแบบเสยี บเปลอื ก (bark grafting) เลือกตน้ ตอท่มี ลี ักษณะตรง ตดั
ยอดตน้ ตอออกบริเวณใตข้ ้อใช้มดี กรีดเปลือกลงมายาวประมาณ 1 ถึง 2 น้วิ
เผยอเปลอื กออกทัง้ สองข้างของรอยกรีด การเตรยี มกิง่ พันธุ์ดีเฉือนกง่ิ พนั ธดุ์ ใี ห้
เฉียงลงเปน็ ปากฉลาม แล้วบากโคน แผลของรอยเฉือนใหเ้ ป็นบ่าและเฉือนปลาย
รอยเฉอื นทางดา้ นตรงข้ามเล็กนอ้ ย เสยี บยอดพันธ์ุดี ให้รอยบากเขา้ หาตน้ ตอ
และให้บา่ น่ังบนหวั ตน้ ตอพอดีจึงพันดว้ ยผา้ พลาสตกิ (ภาพที่ 21)

24

2.3.2.2. ภาพท่ี 21 วธิ ีการต่อยอดแบบเสียบเปลือก

ท่ีมา : สรุ ินทร์ นลิ ส าราญจติ (2553ก, หนา้ 1)

การต่อยอดแบบเสยี บเปลอื กดัดแปลงวิธที ่ี 1 (modified bark grafting 1) การ
เตรียมต้นตอปฏบิ ัตเิ ช่นเดยี วกับการต่อก่งิ แบบเสียบเปลอื กแต่เผยอเปลือกต้น
ตอเพยี งดา้ น เดยี วของรอยกรดี การเตรยี มกิ่งพนั ธ์ดุ ที ำแบบเดียวกนั และให้
เฉือนบริเวณบา่ เล็กนอ้ ยส่วนปลายก่งิ พนั ธุ์ดีให้เฉอื นเปลอื กด้านนอกออกให้ถงึ
เนื้อไมท้ างดา้ นทเี่ ปดิ เปลือกต้นตอไว้สำหรับให้เน้ือเยอื่ เจริญ ไดส้ มั ผัสกันต้นตอ
กง่ิ พันธด์ุ ีจะเสยี บลงบนตน้ ตอทางด้านท่เี ปิดเปลือกไว้เทา่ นั้นแล้วจึงพนั ด้วยผ้า
พลาสติก (ภาพที่ 22)

ภาพที่ 22 วิธีการต่อยอดแบบเสียบเปลอื กดัดแปลงวธิ ที ี่ 1
ท่ีมา : สรุ ินทร์ นิลส าราญจติ (2553ก, หน้า 1)

25

2.3.2.3. การตอ่ ยอดแบบเสยี บเปลือกดดั แปลงวิธีท่ี 2 (modified bark grafting 2) การ
เลอื กตน้ ตอทำเช่นเดยี วกบั การตอ่ ก่งิ แบบเสยี บเปลือก ใชม้ ดี กรีดเปลอื กลงมา
สองแนวยาว ประมาณ 1 - 2 น้วิ ให้แนวทงั้ สองมรี ะยะหา่ งเทา่ กับขนาดของกิ่ง
พันธด์ุ ตี ดั ขวางเปลือกระหวา่ ง แนวกรดี แลว้ ลอกเปลือกออกไป การเตรยี มก่ิง
พันธ์ดุ จี ะเฉือนโคนกิ่งให้เฉยี งเปน็ แผลยาว 1 นิ้วและ เฉือนด้านเปลือกท่อี ยูต่ รง
ขา้ มกับด้านท่เี ฉือนกิ่งไวอ้ อกถึงเนือ้ ไม้ใหเ้ น้ือเย่ือเจรญิ ไดส้ มั ผสั กบั ตน้ ตอ จึงพัน
ดว้ ยผา้ พลาสตกิ (ภาพที่ 23)

ภาพท่ี 23 วธิ ีการต่อยอดแบบเสยี บเปลือกดัดแปลงวธิ ีท่ี 2

ท่ีมา : North Carolina coperative extension service (2010, หน้า1)

2.3.2.4. การตอ่ ยอดแบบซอว์ เคริ ฟ์ (saw-kerf grafting or notch grafting) เปน็ วิธที ใ่ี ช้

กับพืชที่มีเน้ือไมค้ ดและไมเ่ รยี บ จึงไม่เหมาะกบั การใชว้ ิธตี ่อกงิ่ แบบเสียบลมิ่

และจะต้องใช้กบั ต้นตอท่ีมีขนาดใหญ่ โดยตัดยอดตน้ ตอออกก่อนแลว้ ใช้เล่อื ย

เขา้ ไปบริเวณรอยตดั ให้ลึกเข้าไปใน เนอ้ื ไมป้ ระมาณสองในสามของ

เส้นผา่ ศนู ยก์ ลางกิ่งต้นตอ ทำเชน่ นีส้ องแนวให้เฉยี งเขา้ ไปหากนั แล้วทำให้แผล

กวา้ งพอเหมาะกบั ขนาดของก่ิงพันธดุ์ ี การเตรยี มกิ่งพันธดุ์ ใี ชม้ ีดเฉอื นโคนกิ่งเป็น

รูป ลมิ่ ใหส้ ันลิ่มด้านหนึง่ หนากวา่ อกี ด้านหนึง่ ใหส้ ามารถสอดเขา้ ไปรับพอดีกบั

รอยท่ีเตรียมไวบ้ นต้น ตอโดยดา้ นหนาของก่งิ พนั ธุด์ อี ยู่ขา้ งนอกและวางแนว

เนอื้ เยื่อเจรญิ ใหส้ ัมผสั กัน แล้วจึงพันด้วยผา้ พลาสตกิ (ภาพที่ 24)

26

ภาพที่ 24 วิธีการต่อยอดแบบซอว์ เคิร์ฟ
ทมี่ า : สุรินทร์ นลิ สำราญจิต (2553ก, หน้า 1)
2.4. วิธกี ารเสียบข้าง
วธิ กี ารเสยี บข้างเป็นการนำก่งิ พนั ธด์ุ ีมาต่อหรอื เสยี บทางดา้ นขา้ งของต้นตอท่ีมีขนาด ใหญก่ ว่า
เม่ือตดิ ดีแลว้ จงึ ตดั ยอดต้นตอออก การเสยี บข้างมหี ลายวิธีดงั นี้
2.4.1. การเสยี บขา้ งแบบสดับ (Stub Grafting Or Side Grafting)
การเสียบข้างแบบสตบั เป็นวธิ ีทไ่ี มต่ ้องลอกเปลือกต้นตอ เลอื กต้นตอท่มี ีลักษณะตรง ใชม้ ีด
เฉือนตน้ ตอเขา้ ไปในเน้ือไม้เป็นมุม 20- 30 องศา เป็นแนวยาวลงไปความยาว 2 - 3 น้วิ การ เตรียมกิง่ พันธ์ดุ ีให้
เฉือนโคนกิ่งเปน็ รูปลิ่มยาวประมาณ 2 นวิ้ และเฉือนดา้ นเปลือกท่ีอย่ตู รงข้าม ออกเลก็ นอ้ ย เสยี บกงิ่ เข้าไปใน
แผลท่เี ตรยี มไวบ้ นต้นตอแล้วพนั ด้วยผ้าพลาสติก (ภาพที่ 25)

ภาพท่ี 25 วิธีการเสียบขา้ งแบบสตับ
ที่มา : สรุ ินทร์ นิลสำราญจติ (2553ก, หนา้ 1)

27

2.4.2. การเสยี บขา้ งแบบเขา้ ล้นิ (Side Tongue Grafting)
การเสียบข้างแบบเข้าล้นิ เปน็ วธิ ีที่ไมต่ อ้ งลอกเปลือกตน้ ตอ เฉอื นตน้ ตอให้เข้าเน้ือไม้ เล็กนอ้ ย

เปน็ รูปโล่แลว้ เฉือนลึกเข้าไปในเนือ้ ไมจ้ ากตำแหนง่ หนึง่ ในสามของดา้ นบนลงมาเปน็ แนว เฉยี งลึกเขา้ ไป
เล็กน้อย การเตรยี มกิง่ พนั ธ์ุดีให้เฉือนโคนกงิ่ เป็นรูปลิ่มมคี วามยาวของแผลเท่ากบั ท่ี เตรียมไวบ้ นตน้ ตอ แลว้
เฉือนเข้าไปในเนื้อไม้จากตำแหน่งหนงึ่ ในสามของดา้ นลา่ งจากโคนก่งิ พันธ์ุ ดขี ึน้ ไปเป็นลิ้นสำหรับเสยี บเขา้ กับ
ต้นตอให้ขัดกนั ทำให้รอยประสานมคี วามแข็งแรงมากข้ึนกวา่ แบบแบบเสยี บขา้ ง แลว้ พนั ดว้ ยผา้ พลาสตกิ ดงั
ภาพท่ี 26 (มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, 2553ก)

ภาพท่ี 26 วิธกี ารเสียบขา้ งแบบเข้าลน้ิ
ที่มา : สุรนิ ทร์ นิลสำราญจิต (2553ก, หน้า1)
2.4.3. การเสียบข้างแบบวเี นยี ร์ (Side Veneer Grafting Or Spliced Grafting)
การเสยี บขา้ งแบบวเี นยี รเ์ ปน็ วิธที ่ีปฏบิ ัตเิ ช่นเดียวกบั การต่อกง่ิ แบบเสียบข้าง แตกต่าง กนั ตรง
แผลของต้นตอท่ีเฉือนเข้าไปในเนอื้ ไม้จะต้องตดั ขวางชน้ิ ส่วนเปลอื กออกไปให้เหลือเพยี ง 1/3 สว่ นของท่ีเฉือน
ไว้ (ภาพท่ี 27)

ภาพที่ 27 วธิ ีการเสยี บขา้ งแบบวเี นยี ร์
ทม่ี า : สรุ นิ ทร์ นิลสำราญจติ (2553ก, หนา้ 1)

28

2.4.4. การเสียบขา้ งแบบตัวที (T-Grafting)
การเสียบข้างแบบตวั ทเี ป็นวธิ ดี ดั แปลงของการตอ่ ก่ิงแบบเสียบเปลือกท่ีไมต่ ัดยอด ต้นตอ

เลือกตน้ ตอบริเวณทเ่ี ปน็ ปล้องตรงและเรียบ กรีดเปลือกต้นตอถงึ เน้ือไม้ให้เป็นรูปตัวทีแล้ว เผยอเปลอื กหวั ตัวที
และทำการปาดเปลือกเหนือตัวทีออกเลก็ น้อย เฉอื นก่ิงพันธด์ุ เี ฉียงลงพร้อมท้ังปาดแผ่นเปลอื กโคนก่ิงดา้ นตรง
ขา้ มรอยเฉือนครง้ั แรกออกเล็กน้อย สอดกิง่ พันธ์ุดลี งบนรอยแผลรปู ตวั ทีทีเ่ ตรียมไว้ พันดว้ ยพลาสติกใหแ้ นน่
(ภาพท่ี 28)

ภาพที่ 28 วธิ ีการเสยี บขา้ งแบบตวั ที
ท่ีมา : สุรนิ ทร์ นิลส าราญจติ (2553ก, หนา้ 1)
2.5. วิธีการทาบกง่ิ
การทาบก่งิ เป็นวธิ ีการขยายพันธุแ์ บบไมใ่ ชเ้ พศทนี่ ำต้นพืชสองต้นท่ีมรี ะบบรากมา เช่ือมต่อกงิ่
กนั เมื่อเกิดการประสานตัวของกง่ิ ท้ังสอง แลว้ จึงตดั รากของตน้ หน่งึ ออกเหลอื เป็นตน้ ใหมท่ ่มี รี ะบบรากของ
พันธ์หุ นึง่ และยอดเปน็ อีกพันธ์หุ นง่ึ ดงั น้ันกิง่ พนั ธดุ์ ีทเี่ ปน็ ยอดสามารถเจริญ เตบิ โตออกดอกติดผลได้เร็วกว่า
วธิ ีการเพาะเมล็ด การทาบกิ่งทำไดท้ ุกฤดูและทำไดห้ ลายวธิ ีดังนี้
2.5.1. การทาบก่งิ แบบปาด (Spliced Approach Graft)
เลือกก่ิงพันธด์ุ แี ละต้นตอท่ีมีขนาดใกล้เคียงกนั ใชม้ ดี เฉือนก่ิงพนั ธุด์ เี ป็นรปู โล่ให้แผล ยาว
ประมาณ 2- 3 น้ิว จากน้ันเฉือนต้นตอเปน็ แผลขนาดเท่ากันแลว้ ทาบกนั ใหส้ นิทจึงพนั ดว้ ยผา้ พลาสติก (ภาพท่ี
29)

29

ภาพที่ 29 วธิ กี ารทาบกิ่งแบบปาด
ทมี่ า : Roots of peace (2007, หนา้ 32)
2.5.2. การทาบกิ่งแบบเขา้ ลน้ิ (Tongued Approach Graft)
การทาบกิ่งแบบนป้ี ฏิบัตเิ ช่นเดยี วกบั แบบการทาบกิ่งแบบปาด แตกตา่ งกันบริเวณ รอยเฉอื น
จะทำเปน็ ล้นิ โดยเฉือนเขา้ ในเนื้อไมจ้ ากตำแหน่ง 1/3 ของก่ิงท้ังสองให้หงายข้ึนและคว่ำลง ทาบก่ิงทั้งสองให้
ลิ้นสอดกนั เพื่อทำให้รอยประสานไม่ฉีกหกั งา่ ย และยงั เป็นการเพ่ิมพน้ื ที่สัมผัส ของแนวเน้ือเยอื่ เจรญิ อีกด้วย
นอกจากนน้ั ยังทำใหก้ ารพันผา้ พลาสติกทำไดส้ ะดวก (ภาพท่ี 30)

ภาพท่ี 30 วิธีการทาบก่งิ แบบเข้าลนิ้
ท่ีมา : สวุ ิช แสงหิม (2550, หน้า 1)

30

2.5.3. การทาบกิง่ แบบอินเลย์ (Inlay Approach Graft)
การทาบกงิ่ แบบอินเลย์เป็นวธิ ที ใ่ี ช้กับพืชท่ีมีขนาดแตกต่างกันมากระหว่างตน้ ตอและกิ่ง พันธ์ุ

ดีหรอื พืชท่ีมเี ปลอื กของตน้ ตอหนากวา่ ก่ิงพนั ธุ์ดมี กั เป็นต้นที่มขี นาดใหญ่กวา่ จะต้องมเี ปลือกล่อน สามารถลอก
ออกได้จึงจะใช้วิธีน้ี นิยมใชก้ ับมะมว่ ง กระท้อน ขนนุ มะขามหวาน และทุเรียน การเตรียมตน้ ตอโดยกรดี เปลือก
สองแนวขนานกนั ลงมา กว้างเท่ากับขนาดของกิ่งพันธด์ุ ใี หย้ าว 2 - 3 นว้ิ แล้วกรดี ขวางด้านบนและด้านลา่ งเพ่ือ
ลอกเอาเปลอื กออกมาท้งั ชนิ้ ตอ้ งท าในระยะท่ลี อก เปลือกได้เฉือนด้านหัวและท้ายรอยแผลเขา้ ไปในเน้ือไม้
เฉียงลงให้จรดกับแนวท่กี รีดขวางไวท้ ัง้ ดา้ นบนและล่างจากนั้นเฉือนกงิ่ พันธุ์ดีเปน็ แผลรปู โลย่ าวเทา่ กบั แผลท่ี
เตรยี มไวบ้ นตน้ ตอ น ากิ่งทั้ง สองมาทาบกนั แล้วพันด้วยผ้าพลาสติก เม่อื ต่อกิง่ ไว้ 30- 45 วนั แลว้ จงึ ควั่นกิ่งต้น
ตอเหนอื รอยต่อ และควัน่ ก่งิ พันธุด์ ีใต้รอยต่อกอ่ นตัดออกมาใหย้ อดของกง่ิ พนั ธดุ์ ีเจรญิ เติบโตตอ่ ไป (ภาพที่ 31)

ภาพที่ 31 วิธกี ารทาบกงิ่ แบบอินเลย์
ท่มี า : สวุ ิชแสงหิม (2550, หนา้ 1)
2.6. วิธกี ารต่อเพื่อซ่อมแซมหรอื คำ้ ยนั
การต่อกิ่งที่มวี ตั ถุประสงค์พิเศษนอกเหนือจากการขยายพันธพ์ุ ืชแล้วมดี ังนี้
2.6.1. การต่อกิ่งเพื่อซอ่ มแซม
กรณที ่ีเปลือกไม้ของตน้ พืชทีช่ ำรุดหรอื ถูกทำลาย แตส่ ่วนทเ่ี ป็นระบบรากยังคงอยดู่ ี การ
ซอ่ มแซมจะชว่ ยให้สว่ นรากได้รบั อาหารทป่ี รุงข้ึนจากใบมากข้ึน การต่อก่ิงวิธนี ้ีควรทำในระยะท่ี ตน้ พชื เปลอื ก
ล่อน ก่ิงพนั ธ์ดุ ีควรเปน็ กิ่งชนดิ เดยี วกัน หรอื ตอ่ เขา้ กบั พืชน้ันได้ผลดี ควรมีอายุ ประมาณ 1 ปี และเป็นกิ่งที่กำลงั
พักตัว โดยเฉือนปลายและโคนของกิง่ ทนี่ ำมาต่อแล้วสอดเข้าไป ยังแผลที่เตรยี มไวใ้ หป้ ลายท้งั สองอยู่ใตเ้ ปลือก
ตอกดว้ ยตะปูและทาด้วยข้ผี ึง้ ต่อกิง่ (ภาพที่ 32)

31

ภาพท่ี 32 วิธกี ารต่อก่งิ เพอ่ื ซ่อมเปลอื กไม้ของตน้ พชื ทชี่ ำรุดหรือถูกทำลาย
ทม่ี า : Roots of peace (2007, หน้า31)

2.6.2. การตอ่ กิง่ เพื่อคำ้ ยนั หรอื เสริมราก (Side Tongue Grafting)
การต่อกง่ิ เพือ่ ค้ำยันหรือเสริมรากใชต้ ้นตอมาทาบไว้ได้มากกว่าหนง่ึ ต้นโดยทำรอบ ต้นที่มี

ขนาดใหญ่ ตน้ ทีน่ ำมาเสรมิ ระบบรากเขา้ ไปน้ีจะได้รับอาหารจากตน้ พันธ์ุและมีการเจรญิ ได้ อย่างรวดเร็วทำให้
ระบบรากมคี วามแข็งแรง ชว่ ยยดึ เกาะและหาอาหารมาเล้ียงต้นได้ดีขึ้น ถ้ามี หนอ่ เจริญมาจากต้นตอเหลา่ นใี้ ห้
คอยตดั ทอนออกเพอ่ื ไม่ให้มาแยง่ อาหาร และรบกวนการเจริญเตบิ โต ของตน้ พนั ธุ์ได้ (ภาพที่ 33)

ภาพที่ 33 วธิ กี ารต่อกิ่งเพอ่ื ซ่อมแซมหรอื ค้ำยนั
ทม่ี า : Bir et al. (2009, หนา้ 1)

32

2.7. การดูแลรกั ษาพืชทที่ ำการต่อก่ิง

การปฏิบตั หิ ลงั จากทำการต่อกิง่ แลว้ ควรให้น้ำแกต่ น้ พืชอย่างสม่ำเสมอ พรอ้ มกบั สงั เกตดนู ้ำ
ในตมุ้ ทาบทท่ี าบซ่ึงมกั จะแห้ง จงึ ต้องให้น้ำโดยการใช้หวั ฉดี ฉีดน้ำเข้าไปในถุงตุ้มทาบ หลังจากต่อกิ่งประมาณ 2
สปั ดาหส์ ังเกตดกู ิ่งทท่ี ำการติดไวถ้ ้ายังสดหรือมสี ีเขียวแสดงว่ากงิ่ พนั ธ์ุ เริ่มประสานกับเย่ือเจริญของตน้ ตออาจมี
การบังคบั ตาชว่ ยในการเรง่ ให้กง่ิ พันธดุ์ ีเจรญิ ได้ดีขนึ้ ด้วย

ประมาณ 45 - 60 วัน หลงั จากการต่อก่ิง ใหส้ ังเกตรอยแผลของตน้ ตอและก่งิ พนั ธ์ดุ ี ว่า
ประสานกนั ดเี ปลย่ี นเปน็ สนี ้ำตาลและนูน กรณีกิ่งทาบตุ้มทาบมรี ากเจริญออกมาใหม่เห็นชดั รากเปน็ สีน้ำตาล
และปลายรากมีสีขาว ทำการตดั แยกต้นได้แล้วเอาไปปลกู การดูแลรกั ษาใบของ กิง่ พนั ธดุ์ ีท่ีเจรญิ ออกมาดว้ ย
การฉดี ยาป้องกนั โรคแมลง ต้องทำควบคไู่ ปกบั การปลดิ ต้นตอ เพราะใบของก่ิงพันธ์ุดีจะรบั หน้าทใ่ี นการเลย้ี ง
ตน้ แทนใบของตน้ ตอ หรืออาหารที่สะสมอยู่ในต้นตอ การผกู ยึดก่ิงหรือการค้ำยันก่ิงเป็นเรื่องจำเป็นอย่างย่งิ
โดยเฉพาะกิ่งทเ่ี จริญมากๆจะทำใหก้ ่งิ หรอื ยอด มีนำ้ หนักมากเกินกว่าท่ีรอยต่อจะทานน้ำหนกั ได้หากพายุหรือ
ฝนตกหนักต้องหาไม้มาค้ำก่ิง (สนัน่ ขำเลิศ, 2541, หนา้ 153)

บทสรุป

การต่อกิง่ เปน็ ทน่ี ิยมใชใ้ นการเพอ่ื เปล่ยี นพันธุพ์ ืชเดมิ เปน็ สายพันธ์ใุ หม่และการผลติ พืชต้นใหมท่ ่ีมี
ลกั ษณะตามต้องการ โดยการนำก่งิ พนั ธุ์ดีท่มี ีตามากกว่าหนงึ่ ตามาต่อบนตน้ ตอ เพื่อให้เนอื้ เยื่อเจรญิ ทงั้ สอง
เช่อื มประสานเป็นเนื้อเดยี วกัน การตอ่ ก่ิงช่วยในการขยายพันธุ์สายต้น ที่ใช้วิธีอน่ื ไม่สะดวกและไม่ประหยัด พชื
ท่ีทำการขยายพันธ์ดุ ้วยการต่อกงิ่ จะใหผ้ ลผลิตเรว็ ใชใ้ น การเสริมรากพืชและซอ่ มแซมส่วนของตน้ พชื ท่เี สียหาย
ได้ การต่อก่งิ อาจทำไดโ้ ดยการต่อยอด เสยี บขา้ ง ทาบก่ิงและการต่อกิ่งเพื่อชว่ ยในการ ซ่อมแซมหรือคำ้ ยนั การ
เลอื กใช้วธิ ใี ดนัน้ ขน้ึ อยกู่ ับชนิดของพชื ขนาดและการเขา้ กันได้ของต้นตอ กับกง่ิ พันธดุ์ ี การเชอื่ มต่อระหวา่ งตน้
ตอและกิ่งพนั ธ์ุของการต่อก่ิงใช้หลกั การเดยี วกนั กบั การติดตา ซ่งึ ต้องใช้ความชำนาญ และมีฝีมือในการตอ่ กิ่ง

3. การเพาะเมล็ด
3.1. ประโยชน์ของการเพาะเมล็ด
3.1.1. สามารถขยายพนั ธไุ์ ด้เปน็ จำนวนมาก
3.1.2. ทำให้ลำต้น รากมีความแข็งแรง
3.1.3. ขยายพันธงุ์ ่าย สะดวกรวดเรว็
3.1.4. ได้ต้นพนั ธุท์ ่เี หมอื นกับตน้ แม่พันธุ์
3.1.5. สามารถรวมพชื มากกวา่ หน่งึ ลักษณะไวใ้ นตน้ เดยี วกนั
3.1.6. ควบคุมการเจริญเตบิ โต

33

3.2. วิธีการเพาะเมล็ด

ก่อนการย้ายกล้า สำหรับนำไปปลกู ต่อไปนน้ั เรียกวา่ indirect seeding
นยิ มใช้กับเมลด็ ท่ีมีราคาแพงตอ้ งการการดแู ลเอาใจใส่มากในระยะแรกเป็นวิธที ี่กระทำไดโ้ ดยการเตรยี มวัสดเุ พ
าะทีเ่ หมาะสมต่อการงอกของเมล็ดเช่นทรายหยาบผสมขุยมะพรา้ วอัตราสว่ น1:1โดยปรมิ าตรเปน็ วัสดทุ ใ่ี ช้ได้ดเี
หมาะสมกบั เมล็ดที่งอกได้เร็วและใช้เวลานอ้ ยในการเลย้ี งดูตน้ กล้าสำหรับภาชนะท่ใี ช้เพาะเมล็ดควรมลี ักษณะ
แบนหนา้ กวา้ งมรี รู ะบายน้ำออกไดส้ ะดวกเชน่ ตะกร้าพลาสติกทปี่ ูพืน้ ดว้ ยกระดาษป้องกันการรว่ั ไหลของวสั ดหุ
ลงั จากหยอดเมล็ดให้อยู่ในระยะห่างทเ่ี หมาะสมแลว้ จงึ กลบด้วยวัสดุพอประมาณจากนน้ั อาจใชก้ ระดาษตัดให้
พอดีกบั ด้านบนวสั ดุปดิ ทบั ไว้เพอ่ื ชว่ ยรักษาความช้นื ให้สมำ่ เสมอและเปน็ การกระจายตัวของนำ้ ทร่ี ดได้อยา่ งท่ัว
ถงึ โดยไม่ทำให้เมล็ดถูกกระแทกโดยตรงการรดน้ำในระหว่างการงอกต้องทำอยา่ งสมำ่ เสมอหลงั จากเมล็ดเรม่ิ ง
อกแล้วต้องเอากระดาษทีป่ ดิ ทับไว้ออกทนั ทเี พื่อไมใ่ หต้ น้ กล้าไดร้ ับอนั ตราย

4. การปักชำ
4.1. ประโยชน์ของการปักชำ
4.1.1. กิง่ พนั ธแุ์ ข็งแรง
4.1.2. สะดวกตอ่ การขนส่งทางไกล
4.1.3. ยา้ ยไปปลูกท่ีอื่นไดง้ า่ ย

4.2. การปักชำใบ

สามารถทำได้ถงึ 3 แบบด้วยกนั คือ การปกั ชำแผน่ ใบ การปกั ชำใบที่มีกา้ นใบ และ การปักชำใบทีม่ ีตาตดิ ซง่ึ
วิธกี ารเลือกน้ัน ให้เลอื กตามชนิดของพชื ว่าเหมาะสมกบั วิธไี หน โดยแต่ละวิธีมรี ายละเอยี ดดงั นี้

4.2.1. การปกั ชำแผ่นใบ

4.2.1.1. เลือกใบทีแ่ ก่ มาตดั เปน็ ท่อนยาว 2 – 3 นิ้ว

4.2.1.2. วางในวสั ดุปกั ชาํ ไดแ้ ก่ ดนิ หรือ ทรายผสมข้เี ถ้าแกลบ อัตราส่วน 1 : 1 ปกั ลึก ½ –¾ ของ
ความยาวของใบท่ีมาปกั ชาํ

4.2.1.3. รดนำ้ ใหช้ ุม่ สม่ำเสมอ จะเกดิ ตน้ และรากใหมบ่ ริเวณฐานของใบท่ีปักชาํ ส่วนโคนของ
ใบเก่าจะค่อย ๆ แหง้ ตาย

*วิธีน้ ี้เหมาะกบั พชื เช่น ตน้ ลน้ิ มงั กร ต้นบโี กเนีย

34

4.2.2. การปักชำใบทมี่ ีก้านใบ
4.2.2.1.เลอื กใบท่ีอย่ชู ่วงกลางของตน้ ไม่ควรใชใ้ บแก่หรือใบออ่ น ตดั ใบใหม้ ีก้านใบยาวประมาณ 1 นิว้
4.2.2.2.ปักชาํ กา้ นใบลงในวัสดุปกั ชํา หันหน้าไปทางเดียวกัน อยา่ ใหข้ อบใบชนกัน
4.2.2.3.รดน้ำให้ช่มุ สมำ่ เสมอ จะเกดิ ตน้ และรากใหม่ตรงปลายของก้านใบ
*วิธี้นี้เหมาะกับพืชเชน่ ต้นอฟั ริกันไวโอเล็ต ตน้ กล็อกซีเนีย

4.2.3. การปักชำใบท่ีมีตาตดิ
4.2.3.1.เลอื กใบ ทข่ี ึน้ ตามข้อกิ่ง ซึ่งมีตาสมบูรณ์และแข็งแรง จากนน้ั ใชก้ รรไกรตัดก่ิง ตดั เปน็ แนวเฉียง
ประมาณ 45 องศาออกมา
4.2.3.2.ปักชำในวัสดุปลูก ลกึ ประมาณ 0.5-1.0 น้วิ
4.2.3.3.รดนำ้ ใหช้ ่มุ สมำ่ เสมอ จะเกดิ รากและยอดข้นึ มาใหม่ตรงบริเวณข้อกิ่ง
*วธิ ี้น้เี หมาะกบั พืชเชน่ ยางอินเดีย กหุ ลาบพันปี คาเมเลีย เบญจมาศ แบล็คเบอร่ี เมเปลิ

4.3. การปักชำราก
4.3.1.เลือกรากจากต้นอายุน้อย แล้วตดั รากออกเป็นท่อน ๆ โดยความยาวของท่อนราก จะขึ้นอยูก่ บั ขนาดของ
ราก เชน่ รากขนาดใหญ่ให้ตัดยาวทอ่ นละ 2-6 น้ิว รากขนาดเล็กให้ตดั ยาวท่อนละ 1-2 น้ิว
4.3.2.เวลาตดั ราก ควรตัดปลายรากใหเ้ ฉยี งและด้านบนเป็นรอยตดั ตรง จะไดส้ งั เกตทิศทางการเกดิ ตน้ และราก
ไดง้ ่าย
4.3.3.ปักชำในวัสดปุ ลกู ลึกประมาณ 0.5-1.0 นวิ้ เวลาปกั ชำ ใหป้ กั ปลายรากแนวเฉียงลงดิน หนั ด้านตดั ตรงขนึ้
4.3.4.รดน้ำใหช้ ุ่มสม่ำเสมอ จะต้นใหม่ข้นึ มา
*วิธีน้ ี้เหมาะกบั พชื เช่น กาสะลอง สาเก ขนุน หม่อน ฝรั่ง มะเด่ือ มะขามป้อม แคลฟิ อร์เนยี ป๊อปปี้
5. การปกั ชำก่ิง
5.1.ตัดกง่ิ แบบเฉยี งประมาณ 45 องศา โดยท่ี 1 กา้ นใหญ่ สามารถตัดแยกกง่ิ เล็กๆ ได้อีกหลายก่งิ
5.2.นำกง่ิ ทต่ี ดั มาแลว้ ปกั ลงในวสั ดุปลกู แล้วรดนำ้ ให้ชมุ่ ถา้ ใบของตน้ ไม้นั้น ๆ เยอะเกินไป ใหเ้ ดด็ ทงิ้ ออกบ้าง
เพ่ือลดการคายน้ำ

35

5.3.นำไปไว้ในทีร่ ่มประมาณ 7-10 วัน แลว้ รดนำ้ ใหด้ ินชุ่มสมำ่ เสมอ รอรากงอกแลว้ ยา้ ยไปปลกู ในภาชนะอ่นื ได้
เลย (หากต้องการเร่งให้รากงอกไวๆ แนะนำใหใ้ ช้ถงุ พลาสติกคลมุ ไวต้ ลอดเวลา)

*วิธีนเ้ี หมาะกบั พชื เชน่ สายน้ำผง้ึ ชบา เฟ่ืองฟ้า วาสนา หลวิ มะเด่ือ องุ่น ทับทิม

6. วิธีการติดตา

6.1.1. สามารถขยายพนั ธุ์ได้จำนวนมากเพราะก่งิ พนั ธแ์ุ ต่ละกิ่งจะมหี ลายตา
6.1.2. ชว่ ยสรา้ งมูลค่าเพิม่ ให้กับพันธไ์ุ มด้ ว้ ย โดยเฉพาะการผลิตพชื แฟนซี ซงึ่ เปน็ พืชที่ให้ผล ผลติ หลายอย่างใน
ต้นเดยี วกัน เช่น มะม่วงอกรอ่ งมะม่วงเขยี วเสวย มะม่วงนำ้ ดอกไม้ ในตน้ เดยี วกัน หรือไม้ดอก เช่น กุหลาบจะมี
ดอกหลายสใี นตน้ เดียวกัน

เปน็ วธิ กี ารขยายพนั ธุพ์ ชื อีกวิธีหนง่ึ ทีน่ ำชน้ิ สว่ นของตา เพียงตาเดียวของตน้ พันธ์หุ นง่ึ มาเชื่อมต่อกบั เน้ือเยื่อของ
ต้นอกี พนั ธุ์หน่งึ เพ่ือวัตถุประสงค์ต้องการเปล่ยี นพนั ธเ์ุ ดิมจากตาที่จะเจรญิ เตบิ โตเป็นก่ิงกา้ น และสามารถออก
ดอกตดิ ผลเป็นพนั ธุ์ท่ตี ้องการได้ อาจเรียกการตดิ ตาว่า bud grafting

วิธีการตดิ ตาสามารถทำได้รวดเร็วกวา่ การต่อกงิ่ และประสบผลสำเรจ็ สูงถงึ 90 - 100 เปอร์เซ็นต์ จึงเปน็ วิธที ่ี
นกั ขยายพันธ์พุ ืชนิยมเลือกใช้ ในการปฏิบัติงาน นอกจากน้นั การติดตายังเปน็ วิธีการท่ีใช้ชิน้ สว่ นของ ก่งิ พันธ์ุดี
ในการขยายพันธ์ุตน้ ใหม่ได้จำนวนมากและยังไมส่ น้ิ เปลืองก่ิงพันธด์ุ ี ถ้าไมส่ ามารถหาก่ิงพันธุ์ดไี ดใ้ นปริมาณมาก
นัก การติดตาจึงเป็น การประหยดั ก่ิงพนั ธ์ดุ ไี ด้มากกว่าการตอ่ กง่ิ เน่ืองจากตาเดียวสามารถให้ ต้นใหม่ได้จำนวน
มาก เม่ือแผ่นตาเกดิ รอยเช่อื มประสานกบั ตน้ ตอแลว้ ยังจะใหร้ อยต่อท่ีแข็งแรงกว่าการต่อก่ิงบางวิธดี ้วย
โดยเฉพาะอย่างย่ิง ในระยะแรก หลงั จากการเชือ่ มต่อแล้วกงิ่ พันธดุ์ ีจะไม่ฉีกออกง่ายเม่ือ มีลมแรง สามารถใช้
กับต้นทีม่ ีอายุน้อยหรอื กงิ่ ขนาดเลก็ กงิ่ ท่ีมขี นาด เส้นผา่ ศูนย์กลางตงั้ แต่ 0.25-1.00 น้ิว อาจได้มาจากการปักชำ
ก่ิงหรือ ตอนกง่ิ ก็ได้ แตน่ ยิ มเลอื กใช้ตน้ ตอท่ีไดม้ าจากการเพาะเมลด็ ทม่ี ีอายุ ประมาณหนง่ึ ปหี รือสองปจี ะได้
ระบบรากแล้วของตน้ ตอดว้ ยตน้ ตอท่ีมี ความสมบูรณ์จะ มีความแขง็ แรงและเกิดการเชอื่ มประสานแผลได้ดี
กว่าตน้ ทไ่ี มไ่ ดร้ ับการดแู ลรักษาอยา่ งดี ควรไดจ้ ากก่ิงทสี่ มบูรณ์มอี ายุไมเ่ กนิ หนึ่งปี ตาทจ่ี ะเลอื กมาใชค้ วรอยู่ใน
ระยะ พักตัวยังไมเ่ จริญออกมาเป็นใบอ่อนหรอื ก่งิ ก้านหรือตาทส่ี มบรู ณ์พร้อมท่จี ะ เจริญเตบิ โตเปน็ กง่ิ ได้ ตาท่ี
เล็กและไมส่ มบรู ณ์เพียงพอมักจะใช้ไดไ้ ม่ดี ไม่มี การแตกตาออกมา กงิ่ พันธ์ทุ เี่ ลือกมาควรอยูใ่ นสภาพใหม่และ
สด เม่อื ตดั จาก ตน้ แลว้ ควรริดใบออกเหลือไวเ้ ฉพาะกา้ นใบสำหรับใชจ้ ับขณะทำการติดตา ถา้ ตดั มากิ่งจากตน้
แม่แล้วควรใชใ้ นวนั นัน้ จะทำใหป้ ระสพผลสำเรจ็ ได้ดีกว่า เก็บก่ิงไวน้ าน แต่ถ้าจำเปน็ ต้องเก็บรกั ษากิง่ พนั ธ์ดุ ไี ว้
จะตอ้ งคงสภาพความสด ไม่ควรอยู่ในสภาพแห้ง จงึ ใช้กระดาษห่อแล้ว นำใสถ่ งุ พลาสติกเกบ็ ไวใ้ น สภาพท่ีมี
อณุ หภมู ิตำ่ เมื่อตาเร่ิมเจริญแล้วใหก้ รีดวัสดุพันตาออกด้วย ถา้ ปลอ่ ยไวจ้ ะทำใหต้ าคดุ อยู่ อาจตายได้และต้อง
คอยดแู ลตดั ยอดของกงิ่ ท่ีเจริญขนึ้ จากต้นตอเพอื่ ไม่ให้แยง่ อาหารและบ่มการเจรญิ ของกง่ิ พนั ธดุ์ ีทีเ่ จริญจากตา

36

ทีต่ ดิ ไว้ได้ ตาทเ่ี จริญยาว ออกมามีใบมากพอสมควรอาจใชห้ ลกั ผกู ยึดไวใ้ นระยะแรกป้องกนั การฉีกหกั ก็ได้
การตดิ ตาใหป้ ระสบผลสำเร็จจะตอ้ งเลือกใชต้ ้นตอและก่ิงพันธุ์ดที ีแ่ ขง็ แรง ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานจะตอ้ งมคี วามชำนาญ
สามารถเตรียมแผลบนตน้ ตอและเฉือนแผน่ ตา โดยไม่ทำให้เนือ้ เย่อื ชำ้ หรือเสียหายมากนัก

เคร่อื งมือท่ีใช้ในการทำงาน เชน่ มดี เฉือนกง่ิ ต้องสะอาดและคมเพยี งพอสำหรบั ใชง้ านไดด้ ี จึงจะตอ้ งหม่นั ทำ
ความ สะอาดและลบั มดี เปน็ ประจำ

7.วธิ กี ารตอนก่งิ

7.1.ประโยชนข์ องการตอนกิ่ง
7.1.1.ตน้ หรือกิ่งพืชออกรากขณะทย่ี ังตดิ อยู่กบั ต้นแม่
7.1.2. โอกาสของการท่ีก่งิ พืชจะมชี ีวติ อยู่รอด จึงดกี วา่ การขยายพนั ธุ์ดว้ ยการตดั ชำ

วธิ ีการตอนกิง่

7.2.การคว่ันเปลือก

7.2.1. เรมิ่ จากควน่ั แผลบน ใชม้ ดี ควน่ั เปลือกตำแหน่งชิดใตข้ ้อใหร้ อบก่ิง โดยกดคมมีดเบา ๆ ใหล้ ึกเพียงสมั ผัส
เน้อื ไม้ จากนัน้ ควน่ั แผลลา่ งใหห้ ่างจากแผลบนลงมาประมาณเท่าเส้นรอบวงของกิ่ง หรือ 1.5 – 2.5 เซนตเิ มตร
จะได้เปน็ รอยวงแหวน 2 วง จากน้ันจึงกรีดเปลือกไม้ในแนวต้ังระหว่างแผลบนและล่าง แลว้ ลอกเปลอื กออก

7.2.2. ถัดมาใหใ้ ช้มีดขดู กิ่งบริเวณรอยคว่นั โดยวางคมมีดหรือสันมดี ใหต้ ่ำกว่ารอยควนั่ บนเล็กนอ้ ยและขูดลงมา
ข้างลา่ งทางเดียว เพ่ือไม่ให้รอยคว่ันด้านบนช้ำ เพราะ เป็นตำแหน่งออกราก ถ้ารอยควน่ั ด้านบนชำ้ จะไม่ออก
ราก การขูดตอ้ งทำอย่างเบามือใหร้ อบก่ิงจนหมดความร้สู ึกลื่นเมื่อสมั ผัส

7.3.วธิ ตี อนกิ่ง ด้วยตุ้มตอน

7.3.1.เลือกกิ่งกงึ่ แกก่ งึ่ อ่อนท่ีปราศจากโรคและแมลง มีเส้นผา่ นศนู ย์กลาง 5 – 10 มลิ ลเิ มตรหรือมากกว่า
(ขนาดเท่าดินสอ) ยาวประมาณ 50 เซนติเมตร โดยหากเป็นกิง่ ทีเ่ จริญตง้ั ข้นึ จะออกรากดกี ว่ากง่ิ ที่ทอดเอียงใน
แนวระนาบหรอื กงิ่ ที่ห้อยลง แลว้ ทำแผลบนกงิ่ ให้ชดิ ใต้ข้อ แซะเปลือก รวมถงึ ขูดเยอื่ เจรญิ ที่เป็นเมือกลืน่ ๆ
ออก แล้วทาฮอร์โมนเร่งราก ที่รอยคว่ันด้านบน

7.3.2.ใช้มดี ผ่าตุ้มตอนให้แบะออก แล้วหุ้มบนบาดแผลของก่งิ ตอน ใหป้ ลายตมุ้ ตอนอยู่ดา้ นลา่ ง มดั เชือกใหแ้ นน่
ท้งั บนและล่างรอยแผล เพ่อื ไม่โยกคลอนและติดแนบแน่นกบั ก่ิง เพราะถา้ มักไมแ่ น่นอาจทำใหก้ ารออกรากไมด่ ี
เท่าท่คี วร

37

7.3.3.หลังจากทำการตอนกิ่งไปแล้ว ควรหม่นั ดแู ลต้มุ ตอนให้มีความช้นื อยเู่ สมอ โดยสงั เกตดคู วามช้ืนของตุ้ม
ตอน ถ้ายังมีฝ้าไอนำ้ จบั อยทู่ ่ีผิวของพลาสติกภายในต้มุ ตอน แสดงว่า ความชืน้ ยงั มีอยู่ แต่ถ้าหากไมม่ ีฝ้าไอนำ้ จับ
จำเป็นตอ้ งใหน้ ำ้ ตุ้มตอนเพ่ิมเตมิ แบบชนื้ แตไ่ มแ่ ฉะ จนกว่าก่งิ ตอนจะออกราก หรือถา้ หากพบแมลงเข้าทำลาย
ควรฉดี พน่ ด้วยสารเคมี

7.3.4.ประมาณ 2 – 3 สัปดาหจ์ ะเร่ิมแตกรากใหม่ และแทงผ่านวัสดทุ ่ีห้มุ ภายในออกมาจนมองเห็นดว้ ยตาเปลา่
เมอื่ รากเปล่ียนเปน็ เหลอื งแก่หรือสนี ำ้ ตาล และปลายรากมีสีขาว จึงตัดแยกก่ิงตอนจากต้นแม่ แกะถุงพลาสติก
ตุ้มตอนออก ตัดแต่งใบและกิง่ ออกทง้ิ บ้างเพื่อลดการคายน้ำของใบใหม้ ปี ริมาณน้อยลง แลว้ ชำในถงุ หรือ
กระถางใหต้ ้นสมบรู ณ์ ปกั หลักยึดไวใ้ ห้แน่น กอ่ นนำไปปลูกต่อ

7.4.วิธตี อนก่ิง ดว้ ยถ้วยพลาสติกแทนตมุ้ ตอน

7.4.1.เลือกกงิ่ แม่ทส่ี มบูรณ์ แลว้ คว่ันกิ่งใตข้ ้อเช่นเดียวกบั การตอนก่ิงโดยใชต้ ุ้มตอน แต่ใหผ้ ูกไมจ้ ม้ิ ฟนั ไวใ้ ตแ้ ผล
ห่างจากจุดท่ีควันกง่ิ ไว้ ประมาณ 2 – 4 เซนติเมตร เพ่ือรองรับแก้วพลาสติก

7.4.2.ผา่ ถว้ ยพลาสติกในแนวยาว แล้วสวมลงในกิ่งท่คี ว่ันไว้ โดยใช้ไม้จม้ิ ฟันเป็นตัวรับน้ำหนกั

7.4.3.ใช้เทปกาวปิดรอยผ่าดา้ นข้าง แลว้ ใส่ดนิ ปลูกทรี่ ดน้ำพอชน้ื หรอื ขยุ มะพรา้ วทผ่ี ่านการแช่น้ำไว้จนพอดี
จากนัน้ ให้ลองกดเบา ๆ ให้ก่งิ ไมข่ ยับ เพื่อทดสอบการรบั นำ้ หนกั และความสมดลุ

7.4.4.ปดิ ฝาถว้ ยพลาสตกิ ใหส้ นิท ผนึกดว้ ยเทปกาวและรัดด้วยยาง เพื่อใหร้ ากสามารถเจริญออกมาได้อยา่ งดี

7.4.5.ใชไ้ ม้คำ้ ไมใ่ ห้ก่งิ เอนหรือหัก จากน้ันให้หอ่ ถ้วยด้วยกระดาษหนังสือพิมพ์ เพ่อื ป้องกันแสงแดดและนำ้ ฝน

7.4.6.ประมาณ 20 วนั จะเร่ิมแตกรากใหม่ ซง่ึ เม่ือสงั เกตเหน็ รากเตม็ ถว้ ย จงึ สามารถตัดแยกกิ่งตอนจากต้นแม่
แล้วนำไปชำในถงุ หรือ

38

บทที่ 3
วิธีดำเนนิ การ

รายงานฉบับน้ีเป็นการศกึ ษาเพอื่ นำความร้ทู ่ีได้จากการศึกษาคน้ ควา้ ขอ้ มูลในเรอ่ื งนี้ไปใชใ้ นการเรยี นรู้
ในรายวิชา ง22102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี (งานเกษตร) และนำความรทู้ ่ีได้จากการศึกษาค้นคว้าข้อมูล
ในเรื่องนี้ไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวันเพมิ่ เติม ดงั นน้ั เพื่อให้การศึกษาเรื่องนี้บรรลุวัตถุประสงค์ทตี่ ั้งไว้ ผู้ทำการศกึ ษา
จงึ กำหนดวิธีดำเนนิ การศึกษา ซงึ่ มรี ายละเอยี ดในการดำเนินการศกึ ษาดงั นี้

1. เครื่องมือทีใ่ ช้ในการศึกษา
2. การสรา้ งเครอ่ื งมือ
3. การเกบ็ ข้อมลู
4. การวิเคราะห์ข้อมูล
5. สถิตทิ ่ใี ช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
1. เครอื่ งมือที่ใช้ในการศกึ ษา
ในการศึกษาคน้ คว้าข้อมูล ผ้ทู ำการศึกษาไดท้ ำเคร่ืองมือที่ใช้ในการศึกษาเพื่อนำไปใชใ้ นการวเิ คราะห์
ขอ้ มลู ได้แก่
1.1. การนำข้อมูลที่ได้มาเปรยี บเทียบกนั เพื่อหาความสามารถในการนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวัน
1.2. การนำข้อมูลความสามารถในการนำไปใช้ในชีวิตประจำวนั มาเรียงลำดบั
2. การสร้างเคร่อื งมือ
ในการศึกษาข้อมูล ผ้ทู ำการศึกษาได้ใชเ้ คร่ืองมือในการรวบรวมขอ้ มูลท้ังเชิงปริมาณและคณุ ภาพดังนี้
2.1. การรวบรวมข้อมูลด้วยตัวเอง
เครอ่ื งมือท่ีใชใ้ นการศกึ ษาเป็นการรวบรวมขอ้ มูลดว้ ยตัวเอง ทผ่ี ูท้ ำการศึกษาได้กำหนดขอบเขต
การศกึ ษาข้อมูลจากจุดประสงค์ และเป้าหมายเชิงปริมาณและเชงิ คณุ ภาพ

39

2.1.1. ขนั้ ตอนในการรวบรวมขอ้ มูลดว้ ยตัวเอง

ผู้ทำการศึกษามีขั้นตอนการสรา้ งเครอ่ื งมือ เพ่ือรวบรวมข้อมลู ในหวั ขอ้ การปลกู พืช และการขยายพนั ธุ์
พชื จากส่วนตา่ งๆของพชื เพ่ือเกบ็ ข้อมูลเชิงปรมิ าณและข้อมูลเชงิ คุณภาพ ดังต่อไปนี้

2.1.1.1. ศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกยี่ วกับวิธกี ารขยายพันธุ์พืชจากส่วนตา่ งๆของพชื โดยเริม่ จากวิธีที่
คาดการณไ์ ว้ว่าน่าจะปฏบิ ัตยิ ากท่สี ดุ ก่อนเปน็ ลำดบั แรก คือ การเลยี้ งเน้ือเย่ือพชื

2.1.1.2. คัดเลอื กขอ้ มลู ทเี่ หมาะสมจากการศกึ ษาข้อมลู และสอดคลอ้ งกับจดุ ประสงคแ์ ละเปา้ หมาย
โดยมีประเดน็ ที่ต้องการศึกษาแบ่งออกเปน็ ประเดน็ สำคัญ ดังนี้

2.1.1.2.1. ความหมายของการขยายพันธ์ุพืชวธิ นี ้ันๆ
2.1.1.2.2. ประโยชน์ของการขยายพนั ธพ์ุ ืชวธิ ีนนั้ ๆ
2.1.1.2.3. ข้อดแี ละข้อเสียของการขยายพนั ธ์พุ ืชวธิ ีนั้นๆ
2.1.1.2.4. ประเภทยอ่ ยของการขยายพันธพุ์ ชื วธิ นี ั้นๆ
2.1.1.2.5. วิธีการปฏิบตั ิการขยายพันธพุ์ ืชวิธนี ัน้ ๆ

โดยลักษณะของการรวบรวมข้อมลู ปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภมู ิ โดยกำหนดการรวบรวมข้อมูลตาม
ขอบเขตของการศกึ ษา

2.1.1.3. นำข้อมูลทีผ่ ่านการคัดเลอื กแล้วมาวเิ คราะห์ความสามารถในการนำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั
โดยใช้วิธกี ารต่างๆ ได้แก่ การทดลองปฏิบตั ิจรงิ การวิเคราะหจ์ ากสถติ ิ

2.1.1.4. นำข้อมูลที่ผ่านการวเิ คราะห์แลว้ มาตรวจสอบอกี ครัง้ วา่ เปน็ ไปตามทว่ี ิเคราะห์ไวห้ รอื ไม่โดย
การนำไปเปรยี บเทียบกบั สถติ ิจำนวนบคุ คลท่ีนำไปใช้ประกอบกบั ความยากในการปฏิบัติหรอื
ทดลองเพอื่ หาความเปน้ ไปได้ในการนำไปใช้ในชีวติ ประจำวัน

2.1.1.5. นำขอ้ มูลทผ่ี ่านการตรวจสอบแล้วมาปรับปรงุ กับข้อมูลเดิมแลว้ เรยี งลำดบั ความสามารถใน
การนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั

2.2. การทดลองความสามารถการนำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั

การทดลองความสามารถการนำไปใช้ในชีวติ ประจำวันที่ผูท้ ำการศึกษาสร้างขึน้ จากข้อมลู ปฐมภมู แิ ละ

ขอ้ มลู ทุติยภมู ิท่ีไดท้ ำการศึกษาไว้เพ่ือเปรยี บเทยี บเป้นลำดับขนั้ ผูท้ ำการศึกษาดำเนินการตามขัน้ ตอน

ดังตอ่ ไปน้ี

40

2.2.1. การทดลองจากการปฏิบัติจริง
2.2.1.1. นำขอ้ มลู ของวธิ ีการขยายพนั ธุ์พชื จากส่วนตา่ งๆของพืชที่คาดว่าผทู้ ำการศึกษาสามารถปฏิบัติ

ไดม้ าปฏบิ ัติตามขั้นตอน ซึ่งผ้ทู ำการศึกษาได้ทดลองปฏบิ ัตกิ ารขยายพนั ธ์พุ ชื แบบเพาะเมลด็
ถวั่ เขียว
2.2.1.2. ในระหวา่ งการปฏิบัตติ ามขน้ั ตอนของการขยายพันธุ์พชื วธิ ีนัน้ ๆ ผูท้ ำการศกึ ษาได้สังเกต
วิธีการดูแลพืช ได้แก่ การเตรียมดิน การรดนำ้ การจัดวางตำแหนง่ ภาชนะปลูก
2.2.1.3. ในระหวา่ งการปฏิบัตติ ามขัน้ ตอนของการขยายพันธ์ุพชื วธิ ีน้นั ๆ ผทู้ ำการศึกษาได้สังเกต
ลักษณะการเจรญิ เตบิ โตของพชื
2.2.1.4. เม่ือเวลาผา่ นไประยะหนึ่ง ซ่ึงผู้ทำการศึกษาไม่ใช้เวลาในการทดลองปฏิบัตินาน เนื่องจากมี
ระยะเวลาในการทดลองน้อย ผู้ทำการศึกษาบันทึกข้อมูลทีไ่ ด้จากการทดลองปฏบิ ัติคร้งั นี้
ไดแ้ ก่ ลักษณะการดแู ลพืช และลกั ษณะการเจรญิ เติบโตของพืช
2.2.2. การทดลองจากการเปรียบเทียบสถิติการนำไปใช้
2.2.2.1. นำขอ้ มลู ของวธิ กี ารขยายพันธุ์พืชจากส่วนตา่ งๆของพืชที่คาดวา่ ผู้ทำการศึกษาไมส่ ามารถ
ปฏบิ ตั ิได้มาเปรียบเทยี บสถติ ิการนำไปใช้ของการขยายพันธ์พุ ชื วิธีนน้ั ๆ โดยมจี ุดประสงค์ของ
การเปรียบเทยี บคือ ตอ้ งการสังเกตความสามารถในการนำไปใชใ้ นของการขยายพนั ธุ์พืชวิธี
น้นั ๆ
2.2.2.2. นำผลจากการเปรียบเทยี บสถิติแลว้ บนั ทึกข้อมลู
3. การเก็บขอ้ มูล

ในการเก็บรวบรวมข้อมลู เพือ่ ใช้ในการศกึ ษาครั้งนี้ ผู้ทำการศึกษาได้ดำเนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู โดย
การใช้เคร่ืองมือการศึกษา ได้แก่ การรวบรวมขอ้ มูลดว้ ยตัวเอง และการทดลองความสามารถในการนำไปใชใ้ น
ชวี ิตประจำวัน โดยรวบรวมข้อมูลเอกสารและข้อมูลสนาม ประกอบไปดว้ ยข้อมลู ปฐมภูมแิ ละข้อมลู ทตุ ยิ ภมู ิ
โดยผู้ทำการศกึ ษาได้ทำการเก็บรวบรวมขอ้ มลู จากแหล่งข้อมูลทต่ี รงตามวัตถุประสงค์ของการศึกษา ดงั นี้

3.1. ขอ้ มูลปฐมภูมิ

ผ้ทู ำการศึกษาไดม้ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมูลปฐมภมู ิด้วยวิธีการ ดังต่อไปน้ี

3.1.1. การรวบรวมข้อมลู ด้วยตัวเอง เป็นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจากการทดลองการนำไปใช้ใน

ชีวติ ประจำวันในส่วนของการทดลองจากการปฏบิ ัตจิ ริง


Click to View FlipBook Version