แผนจดั การเรียนรู้
รหสั วิชา ๒๐๐๐–๑๖๐๔ วิชา การปอ้ งกนั ตนเองจากภัยสงั คม
ธีรณ์ วัช ตอ่ ตัน
ประจาภาคเรยี นท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒
วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาแพร่
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
กระทรวงศึกษาธิการ
แผนการจดั การเรียนรู้แบบบูรณาการท่ี ๑ หน่วยท่ี ๑
รหัสวิชา ๒๐๐๐–๑๖๐๔ วชิ า การปอ้ งกนั ตนเองจากภัยสังคม สอนครั้งที่ ๑-๒
ชื่อหนว่ ย/เรอ่ื ง ปฐมนิเทศ/ภยั สังคม จานวน ๒ ชั่วโมง
จุดประสงค์รายวิชา
๑. เพือ่ ให้มคี วามรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั สมั พันธภาพระหว่างเพศในวัยรนุ่ ปจั จยั เส่ียงและสถานการณ์ที่ไม่
ปลอดภัย
๒. เพ่ือใหม้ ที ักษะในการป้องกนั ตนเองโดยศิลปะในการป้องกันตัวและเอาตวั รอด
สมรรถนะรายวิชา
๑. แสดงความร้เู กี่ยวกับสมั พนั ธภาพระหว่างเพศในวัยร่นุ ปัจจยั เส่ยี งและสถานการณ์ที่ไม่ปลอดภยั
สาระสาคญั
ภยั สงั คม หมายถงึ ส่ิงท่ีอันตรายที่เกดิ ขึ้นจากจิตใจ หรือการกระทาที่มงุ่ ร้ายตอ่ ผ้คู นในสังคมดว้ ยกนั รูแบบ
ของภัยสังคมมีหลายรูปแบบ รวมถึงรูปแบบใหม่ๆ เช่น ภัยท่ีเกิดจากการใช้เทคโนโลยีที่ผิด และไม่เหมาะสมการ
เรียนรเู้ ทา่ ทันภัยสังคม ในรูปแบบตา่ งๆเปน็ วิธหี นง่ึ ท่จี ะชว่ ยใหส้ ามารถปอ้ งกันตนจากภยั สังคมได้
ผลการเรยี นรู้ท่คี าดหวัง
๑. อธิบายความหมาย ของภัยสังคมได้
๒. ยกตวั อยา่ งรูปแบบของภัยสังคม
๓. บอกถึงภัยสงั คมรูปแบบใหม่
๔. ยกตัวอยา่ งสถานการณ์เส่ียงต่อภัยสงั คม
๕. บอกหลักของความปลอดภัย
๖. บอกวธิ ีการป้องกันตนจากภัยสังคม
๗. มีการพฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงคข์ องผสู้ าเร็จการศกึ ษา
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ที่ครสู ามารถสงั เกตได้ขณะทาการสอนในเรื่อง
๑. ความมมี นุษยส์ มั พนั ธ์ ๒. ความมีวนิ ยั ๓. ความรับผดิ ชอบ
๔. ความซ่ือสัตยส์ จุ รติ ๕. ๕. ความเชือ่ มนั่ ในตนเอง
๖. การประหยดั
๗. ความสนใจใฝร่ ู้ ๘. การละเว้นสิง่ เสพติดและการพนัน
๙. ความรกั สามัคคี ๑๐. ความกตญั ญูกตเวที
สาระการเรียนรู้
ปฐมนเิ ทศ
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ผลการเรียนรทู้ คี่ าดหวงั และระเบียบปฏบิ ัตใิ นการเรยี น
ภัยสังคม
๑. ความหมายของภยั สงั คม
๒. รปู แบบของภัยสงั คม
๓. ภัยสังคมรูปแบบใหม่
๔. สถานการณ์ทเ่ี สี่ยงต่อภยั สังคม
๕. หลักของความปลอดภยั
๖. การป้องกนั ตนจากภัยสงั คม
กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขน้ั นาเขา้ ส่บู ทเรียน
๑. ครูพูดคุยกับนักเรียนเก่ียวกับเรื่องภัยสังคมเพื่อเป็นการสร้างความเข้าใจ แลกเปล่ียนประสบการณ์ท่ี
เกิดข้ึนกับนักเรียนหรือได้พบเห็นมาเพื่อเป็นตัวอย่างกับทุกคนภัยสังคมที่เกิดข้ึนกับบุคคลใดก็ตาม
อาจจะนามาซ่ึงความสูญเสีย ทรัพย์สินเงินทอง สุขภาพจิต และชีวิตของทุกคน เป็นเพราะ สังคมใน
การดาเนินชีวิตในปัจจุบัน ต้องดิ้นรนทามาหากิน แข่งขันกันทุกรูปแบบให้ได้มาท้ังทรัพย์สินเงินทอง
และ ผลประโยชน์เป็นของตน แต่คนในสังคมก็มีหลากหลาย มีทั้งฐานะท่ีดีและยากจน ด้วยเหตุผล
ของการดาเนินชีวิตท่ีแข่งขัน แย่งชิงในสังคมให้ได้มาเป็นของตนเอง โดยเฉพาะกับคนทีขาดโอกาสมี
การศึกษาน้อยหรือยากจน รวมท้ังคนที่มีปัญหาติดสารเสพติด อาจเป็นเหตุให้คิดกระทาอันตราย ที่
เกิดข้นึ จากจิตใจ หรือการกระทามุ่งร้ายของผคู้ นในสงั คมดว้ ยกันเอง เป็นเหตุของภยั สังคมท่เี กิดขึ้นได้
ตลอดเวลาไมว่ ่ารปู แบบไหน เพือ่ ใหเ้ รารู้เท่าทันในการดาเนินชีวิตยอ่ มนามาซึงความปลอดภัย จากภัย
สังคมทอ่ี าจเกิดข้นึ กบั ทกุ คน
๒. นกั เรียนดูสื่อ ภยั สังคมรวมๆ หลายๆเร่ืองจากครนู ามาให้ดู คลิป วีดีโอ หนังสือพมิ พ์ ให้นกั เรียนได้รับ
รู้กับภัยสงั คมทีอ่ าจเกิดขึน้
๓. นักเรยี นแข่งขนั เล่นเกมทายปัญหา โดยใหน้ กั เรียนจบั คูก่ ับคนท่ีใกล้ท่สี ดุ แล้วแต่ละคู่ยืนขึน้ ผลัดกนั
กล่าวถงึ เหตุหรอื ลักษณะของภยั สงั คมรูปแบบท่ีไม่ให้ซ้ากัน โดยครใู ห้สญั ญาณเร่มิ และให้สญั ญาณ
หยุด (ระยะเวลาตามความเหมาะสม)นักเรยี นท่ชี นะนง่ั ลงและนักเรียนที่กล่าวไม่ทันผูแ้ พ้หนั หน้าไปหา
คู่ทีใ่ กล้ท่ีสดุ และครูใหส้ ญั ญาณเร่มิ และหยุด จนกว่าจะเหลอื จานวนผู้แพ้ตามท่ีครตู ้องการกาหนด ผู้
แพอ้ อกมาเตน้ ท่าทางตามเพลงทต่ี กลงกนั ไวก้ ่อนการแขง่ ขนั (ตัวอย่างเชน่ นายเอพูดว่า ..กระชาก
สรอ้ ย นายบีพูดวา่ ..กรดี กระเป๋า ผลดั กันพูดลักษณะและเหตุการณ)์ ในการเล่นเกมเพ่ือใหน้ ักเรียนมี
ความสุขสนุกสนานกับการเรียน
ขน้ั สอน
๔. นกั เรียนรบั ฟงั คาชแ้ี จงสังเขปรายวชิ าการป้องกนั ตนเองจากภัยสงั คม และการวดั ประเมินผล
๕. เปิดโอกาสให้นักเรยี นไดซ้ กั ถามข้อปญั หา รวมทงั้ แสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับการเรยี นวิชานี้
๖. นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น ๒๐ ขอ้
๗. ครูกล่าวนาเร่ืองของภยั สงั คมที่อาจเกิดขนึ้ ในการดาเนินชีวิตประจาวันของแตล่ ะคน .ซ่ึงอาจเกดิ ขึ้นได้
กับทุกคน อาจมีภัยสังคมรูปแบบใหม่ที่เกิดขึ้นหลากหลายรูปแบบ ท่ีมีสถานการณ์ท่ีต่างกัน เพื่อ
เรียนรู้ในการท่ีจะป้องกันตนเองที่อาจเกิดข้ึนและถ้าเกิดขน้ึ จะปฏิบัติตนอย่างไร เพื่อให้อยู่ในสงั คมได้
อยา่ งปลอดภัย
๘. นักเรียนตอบคาถามเก่ียวกับความหมายของภัยสังคม รูปแบบ สถานการณ์เสี่ยง หลักของความ
ปลอดภัย และการป้องกันตนเองจากภยั สงั คม
ข้นั สรปุ และการประยกุ ต์
๙. นกั เรยี นสลบั กนั ตรวจแบบทดสอบ หรือให้ตรวจแบบทดสอบด้วยตนเองเพือ่ ทดสอบความซือ่ สัตย์
โดยครูเฉลย เสรจ็ แลว้ ส่งครู
๑๐.ใหน้ กั เรียนและครรู ว่ มกนั สรุป ความหมายรูปแบบ การปอ้ งกันตนเองจากภัยสงั คม
สือ่ และแหล่งการเรยี นรู้
๑. หนังสือเรียน วิชาหนา้ ท่กี ารป้องกันตนเอง ของสานักพิมพเ์ อมพนั ธ์
๒. ขา่ วจากหนงั สอื พมิ พ์ ประสบการณ์จรงิ จากครแู ละนักเรียน คลปิ วดี โี อเร่ืองจริงท่เี กดิ ขึ้น
๓. สือ่ PowerPoint วิชา การปอ้ งกันตนเองจาภยั สังคม
๔. ใบงาน
หลกั ฐาน
๑. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คาถาม
๒. การเชค็ ช่อื เข้าเรียนในวชิ า
๓. แบบทดสอบก่อนเรียน
๔. สมดุ
การวดั ผลและการประเมนิ ผล
วิธีวดั ผล
๑. สังเกตการณต์ อบคาถามจากครู
๒. ตรวจใบงาน
๓. สงั เกตพฤตกิ รรมเป็นรายบคุ คล
๔. ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน/หลงั เรยี น
๕. การสงั เกตและประเมนิ พฤติกรรมดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
๖. จากใบเช็คชื่อเขา้ เรียน
เครอ่ื งมอื วัดผล
๑. คามถามจากครู
๒. ใบงาน
๓. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๔. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น/หลังเรียน ๒๐ ข้อ
๕. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ในครงั้ แรกครูจะเป็นผู้
ประเมิน
๖. สมุดเช็คชอื่
เกณฑก์ ารประเมินผล
๑. นกั เรียนตอบคาถามจากครไู ด้โดยรวม
๒. ตอ้ งผ่านทุกใบงานจึงถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน
๓. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ต้องไมม่ ชี ่องปรับปรงุ
๔. แบบทดสอบก่อนเรยี นไม่มีเกณฑ์ผ่าน เก็บคะแนนไวเ้ ปรียบเทียบกบั คะแนนท่ีได้จากการทดสอบหลงั
เรียน
๕. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนข้นึ อย่กู ับการ
ประเมนิ ตามสภาพจริง
กจิ กรรมเสนอแนะ
ใหน้ กั เรียนบันทึกข้อมลู เกีย่ วกบั ภยั สงั คมทเี่ กิดขน้ึ ลงในสมุด หลงั จากนั้นนามาเล่าสูก่ ันฟังในชั้นเรียน
แผนการจดั การเรียนรแู้ บบบูรณาการที่ ๒ หนว่ ยที่ ๒
รหสั วชิ า ๒๐๐๐–๑๖๐๔ วิชา การปอ้ งกนั ตนเองจากภัยสังคม สอนคร้ังที่ ๓-๔
ชื่อหน่วย/เรื่อง การป้องกนั ตนเองจากภยั สงั คม จานวน ๒ ช่ัวโมง
_____________________________________________________________________________
_
จุดประสงค์รายวชิ า
๑. เพ่อื ใหม้ คี วามรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมั พนั ธภาพระหวา่ งเพศในวัยรุ่น ปัจจยั เสีย่ งและสถานการณ์ท่ีไม่
ปลอดภัย
๒. เพอ่ื ใหม้ ีทักษะในการปอ้ งกันตนเองโดยใช้ศิลปะในการป้องกันตัวและเอาตวั รอด
สมรรถนะรายวิชา
๑. แสดงความรเู้ กีย่ วกับสัมพันธภาพระหวา่ งเพศในวัยรุ่น ปจั จยั เสีย่ งและสถานการณท์ ี่ไมป่ ลอดภัย
๒. ออกกาลังกายเพื่อป้องกันตนเองโดยใชศ้ ลิ ปะการป้องกนั ตวั และเอาตวั รอด
สาระสาคัญ
การป้องกันตนเองจากภยั สังคม เป็นการเตรียมความพร้อม และฝึกทกั ษะในการเอาชีวิตรอด เมื่อต้องเผชญิ
กบั รูปแบบของภยั สงั คมต่างๆ โดยสิง่ สาคัญท่ีสุด คือตอ้ งไมป่ ระมาทและหากมสี ่ิงผิดปกตเิ กิดขึน้ ตอ้ งตงั้ รับอย่างมสี ติ
ผลการเรียนรทู้ ี่คาดหวงั
๑. ปฏบิ ัตติ นในการป้องกันตนเองจากภัยรูปแบบต่างๆได้
๒. รูเ้ ท่าทันภัยรูปแบบตา่ งๆ
๓. อธบิ ายวธิ ีการหลีกเล่ียงจากภยั ที่เกิดขึ้นได้
๔. มกี ารพัฒนาคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา
สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ท่คี รูสามารถสังเกตได้ขณะทาการสอนในเรื่อง
๑. ความมีมนุษยส์ ัมพันธ์ ๒. ความมีวินยั
๓. ความรบั ผดิ ชอบ ๔. ความซื่อสัตยส์ ุจรติ
๕. ความเชอ่ื ม่นั ในตนเอง ๖. การประหยัด
๗. ความสนใจใฝ่รู้ ๘. การละเวน้ ส่ิงเสพติดและการพนัน
๙. ความรกั สามัคคี ๑๐. ความกตัญญกู ตเวที
สาระการเรยี นรู้
การป้องกนั ตนเองจากภัยสงั คม
๑. การป้องกันภัยจากการโจรกรรมลกั ทรพั ย์ในท่ีพกั อาศัย
๒. การปอ้ งกันภยั จากการฉกชงิ วิ่งราวจี้ปล้น รา้ นค้า
๓. การป้องกนั ภัยจากการน่ังแท็กซี่
๔. การป้องกันภยั จากการถูกชิงทรัพย์ระหว่างไปกลับธนาคาร
๕. การปอ้ งกันภยั จากการนั่งรถตู้โดยสาร
(สาระท่ี ๖ – ๑๐ เรยี นในคร้ังท่ี ๕ – ๖)
๖. การปอ้ งกนั ภัยจากโรคจติ เช่นโทรศัพท์โรคจิต โรคจิตประสาท ชอบโชว์อวยั วะเพศชอบลวนลามในที่
สาธารณะ
๗. การปอ้ งกันภยั จากการถูกจับเป็นตวั ประกัน โดยมากจะเป็นผเู้ สพสารเสพตดิ
๘. การปอ้ งกันภัยจากการถูกชงิ ทรัพย์ ทุบกระจกในบริเวณจอดรถหรือจอดรถในที่เปล่ียว
๙. การปอ้ งกนั ภยั จากการถูกข่มขนื
๑๐.การป้องกันภัยจากเหตุจลาจลและอัคคภี ัย
กิจกรรมการเรยี นรู้
ข้นั นาเขา้ ส่บู ทเรียน
๑. ครแู ละนักเรียนคยุ กันเรื่องภัยสังคมทเี่ กิดขึ้นตามสื่อตา่ งๆและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในเรื่องของภัย
ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันตามส่ือต่างๆในการดาเนินชีวิตประจาวันไม่ว่าลักษณะใด หน้าท่ี
รับผิดชอบ การเดินทาง การพบเจอเร่ืองราวต่างๆสถานการณ์ต่างๆในสังคม และอาจต้อง
เจอเหตุการณ์ท่ีเป็นภัยอันตรายท่ีเกิดขึ้นกับตัวเราหรือคนรอบข้าง เราต้องไม่ประมาท และ
อาจมีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้นกับตัวเรา ต้องต้ังรับอย่างมีสติ การป้องกันตนเองจากภัยทางสังคม
เปน็ การเตรียมความพรอ้ มและฝกึ ทกั ษะในการเอาชีวิตรอดเมือต้องเผชิญกับรูปแบบภยั ต่างๆ
ขน้ั สอน
๒. ครูอภปิ รายถึงการป้องกันภยั ลกั ษณะตา่ งๆ
- การป้องกันภัยจากการโจรกรรมลกั ทรัพยใ์ นทพี่ กั อาศัย
- การปอ้ งกันภยั จากการฉกชิงวง่ิ ราว จ้ปี ลน้ รา้ นคา้
- การป้องกันภัยจากการนงั่ แทก็ ซ่ี
- การป้องกนั ภัยจากการถูกชิงทรพั ย์ระหวา่ งไปกลับธนาคาร
- การป้องกันภัยจากการนั่งรถตูโ้ ดยสาร
๓. นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๕ กลุ่มศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับภัยของสังคมจากสาเหตุท้ัง ๕ เหตุการณ์ มีสื่อคลิปวีดีโอ
และหนงั สือพมิ พ์ท่ีครนู ามาใหน้ ักเรียนดูและวิเคราะห์เหตุที่เกิดขึ้น
๔. นักเรียนส่งตัวแทนอภิปรายในเรื่องของภัยสังคมหัวข้อของกลุ่มตน เหตุท่ีเกดิ และวิธกี ารป้องกันในการ
ดาเนินชีวติ ถ้าหากต้องพบเจอกบั เหตุการณเ์ กิดขึ้นกบั ตัวเอง และพฤติกรรมกจิ วัตรประจาวันของตัวเอง
ท่อี าจตอ้ งเสยี่ งกบั การพบเจอ จะปฏิบัติกนั อย่างไร
ขน้ั สรปุ และการประยกุ ต์
๕. นักเรยี นสรปุ วิธีการปอ้ งกันตนเองจากภัยสังคม
๖. จากการทีค่ รูได้แบ่งกลุ่ม ๑๐ กลุ่มให้นักเรียนเตรียมแสดงบทบาทสมมุติในเรอ่ื ง ภัยสงั คมจากรูปแบบ
ต่าง ท่นี ักเรยี นมานาเสนอ ในการเรยี นครงั้ ต่อไป
สอ่ื และแหล่งการเรยี นรู้
๑. ขา่ วจากหนังสอื พิมพ์
๒. หนงั สือเรียน วชิ าการป้องกันตนเองจากภัยสงั คม ของสานักพิมพ์เอมพนั ธ์
๓. ใบงาน
๔. คลปิ วดี ีโอ ประสบการณ์
๕. แบบประเมนิ ตนเอง
๖. ส่อื PowerPoint วิชาการป้องกันตนเองจากภยั สังคม
หลักฐาน
๑. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คาถาม
๒. การเชค็ ชื่อเข้าเรยี น
๓. สมุด
การวดั ผลและการประเมินผล
วธิ วี ัดผล
๑. สังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
๒. ประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม
๓. สังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่
๔. ตรวจใบงาน
๕. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้
๖. การสงั เกตและประเมนิ พฤติกรรมดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
เคร่อื งมือวดั ผล
๑. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
๒. แบบประเมินพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกล่มุ
๓. ใบงาน
๔. แบบประเมินคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ โดยครูและนักเรียนร่วมกนั
ประเมิน
เกณฑก์ ารประเมินผล
๑. เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล ต้องไมม่ ีชอ่ งปรบั ปรุง
๒. เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุม่ คอื ปานกลาง (๕๐ % ขึ้นไป)
๓. ตอบคาถามใบงานได้ทกุ ใบงานจึงจะถือว่าผา่ นเกณฑ์การประเมนิ
๔. แบบประเมนิ ผลการเรียนรเู้ กณฑผ์ า่ น คือ พอใช้ (๕-๖ คะแนน)
๕. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนขนึ้ อยูก่ ับการ
ประเมนิ ตามสภาพจรงิ
กิจกรรมเสนอแนะ
ใหน้ กั เรยี นทาบันทกึ วธิ ีการป้องกนั ตนเองจากภัยสงั คม ลงในสมดุ
แผนการจดั การเรียนรแู้ บบบูรณาการที่ ๓ หนว่ ยที่ ๒
รหสั วชิ า ๒๐๐๐–๑๖๐๔ วิชา การปอ้ งกนั ตนเองจากภัยสังคม สอนคร้ังที่ ๕-๖
ชื่อหน่วย/เรื่อง การป้องกนั ตนเองจากภยั สงั คม จานวน ๒ ช่ัวโมง
_____________________________________________________________________________
_
จุดประสงค์รายวชิ า
๑. เพ่อื ใหม้ คี วามรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมั พนั ธภาพระหวา่ งเพศในวัยรุ่น ปัจจยั เสีย่ งและสถานการณ์ท่ีไม่
ปลอดภัย
๒. เพอ่ื ใหม้ ีทักษะในการปอ้ งกันตนเองโดยใช้ศิลปะในการป้องกันตัวและเอาตวั รอด
สมรรถนะรายวิชา
๓. แสดงความรเู้ กีย่ วกับสัมพันธภาพระหวา่ งเพศในวัยรุ่น ปจั จยั เสีย่ งและสถานการณท์ ี่ไมป่ ลอดภัย
๔. ออกกาลังกายเพื่อป้องกันตนเองโดยใชศ้ ลิ ปะการป้องกนั ตวั และเอาตวั รอด
สาระสาคัญ
การป้องกันตนเองจากภยั สังคม เป็นการเตรียมความพร้อม และฝึกทกั ษะในการเอาชีวิตรอด เมื่อต้องเผชญิ
กบั รูปแบบของภยั สงั คมต่างๆ โดยสิง่ สาคัญท่ีสุด คือตอ้ งไมป่ ระมาทและหากมสี ่ิงผิดปกตเิ กิดขึน้ ตอ้ งตงั้ รับอย่างมสี ติ
ผลการเรียนรทู้ ี่คาดหวงั
๕. ปฏบิ ัตติ นในการป้องกันตนเองจากภัยรูปแบบต่างๆได้
๖. รูเ้ ท่าทันภัยรูปแบบตา่ งๆ
๗. อธบิ ายวธิ ีการหลีกเล่ียงจากภยั ที่เกิดขึ้นได้
๘. มกี ารพัฒนาคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา
สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ท่คี รูสามารถสังเกตได้ขณะทาการสอนในเรื่อง
๑. ความมีมนุษยส์ ัมพันธ์ ๒. ความมีวินยั
๓. ความรบั ผดิ ชอบ ๔. ความซื่อสัตยส์ ุจรติ
๕. ความเช่อื มั่นในตนเอง ๖. การประหยดั
๗. ความสนใจใฝร่ ู้ ๘. การละเว้นสิ่งเสพติดและการพนัน
๙. ความรักสามัคคี ๑๐. ความกตัญญูกตเวที
สาระการเรียนรู้
การปอ้ งกันตนเองจากภัยสังคม
(สาระทเ่ี หลือจากการเรียนครั้งท่แี ลว้ )
๑. การปอ้ งกนั ภัยจากโรคจิต เช่น โทรศัพท์โรคจติ โรคจติ ประสาท ชอบโชว์อวยั วะเพศ ชอบลวนลามใน
ทส่ี าธารณะ
๒. การปอ้ งกนั ภยั จากการถูกจบั เป็นตัวประกนั โดยมากจะเปน็ ผู้เสพสารเสพติด
๓. การปอ้ งกันภยั จากการถูกชิงทรพั ย์ ทบุ กระจกในบรเิ วณท่ีจอดรถหรอื จอดรถในทเี่ ปลีย่ ว
๔. การป้องกันภยั จากการถูกขม่ ขนื
๕. การปอ้ งกันภัยจากเหตจุ ลาจลและอัคคีภัย
กจิ กรรมการเรียนรู้
ขน้ั นาเขา้ ส่บู ทเรียน
๑. ครูและนักเรยี นร่วมคยุ ผลจากการเรยี นครง้ั ท่ีแลว้ จากการป้องกันภัยท้งั ๕ เรื่อง และสัปดาห์น้จี ะมาเรียน
ต่อในการปอ้ งกันภัยจากเหตุท่ีเหลอื อีก ๕ เร่อื ง
ขั้นสอน
๒. ครอู ภิปรายถงึ การป้องกันภัยลกั ษณะต่างๆ
- การป้องกันภัยจากโรคจิต เช่น โทรศัพท์โรคจิต โรคจิตประสาท ชอบโชว์อวัยวะเพศ ชอบ
ลวนลามในทสี่ าธารณะ
- การป้องกันภยั จากการถูกจบั เป็นตวั ประกนั โดยมากจะเป็นผเู้ สพสารเสพตดิ
- การป้องกันภยั จากการถูกชิงทรัพย์ ทบุ กระจกในบรเิ วณที่จอดรถหรอื จอดรถในทีเ่ ปลีย่ ว
- การปอ้ งกนั ภยั จากการถูกข่มขนื
- การปอ้ งกันภยั จากเหตุจลาจลและอัคคีภยั
๓. นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๕ กลุ่มศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับภัยของสังคมจากสาเหตุท้ัง ๕ เหตุการณ์ มีสื่อคลิปวีดโี อ และ
หนังสือพิมพ์ทีค่ รนู ามาให้นักเรยี นดูและวิเคราะห์เหตุท่ีเกิดข้ึน
๔. นักเรียนส่งตัวแทนอภิปรายในเร่ืองของภัยสังคมหัวข้อของกลุ่มตน เหตุท่ีเกิด และวิธีการป้องกันในการ
ดาเนินชีวิตถ้าหากต้องพบเจอกับเหตุการณ์เกิดขึ้นกับตัวเอง และพฤติกรรมกิจวัตรประจาวันของตัวเองที่
อาจต้องเส่ียงกบั การพบเจอ จะปฏบิ ตั กิ ันอยา่ งไร
๕. จากการที่ครูได้แบ่งกลุ่ม ๑๐ กลุ่มให้นักเรียนเตรียมแสดงบทบาทสมมุติในเรื่อง ภัยสังคมจากรูปแบบต่าง
ทีน่ ักเรยี นมานาเสนอ ในการเรยี นคร้งั ต่อไป
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๖. นักเรียนและครรู ว่ มกนั สรปุ วธิ กี ารป้องกันตนเองจากภัยสังคมสื่อและแหลง่ การเรียนรู้
๗. ขา่ วจากหนงั สอื พิมพ์
๘. หนงั สือเรียน วชิ าการป้องกนั ตนเองจากภยั สงั คม ของสานกั พิมพเ์ อมพันธ์
๙. ใบงาน
๑๐. คลิป วีดโี อ ประสบการณ์
๑๑. แบบประเมนิ ตนเอง
๑๒. ส่อื PowerPoint วชิ าการป้องกนั ตนเองจากภยั สงั คม
หลกั ฐาน
๑. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คาถาม
๒. การเชค็ ช่ือเข้าเรียน
๓. สมดุ
การวดั ผลและการประเมนิ ผล
วธิ ีวดั ผล
๑. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๒. ประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่
๓. สงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่
๔. ตรวจใบงาน
๕. ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรู้
๖. การสงั เกตและประเมนิ พฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพงึ
ประสงค์
เคร่อื งมอื วดั ผล
๑. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล
๒. แบบประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม
๓. ใบงาน
๔. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยครูและนักเรียน
รว่ มกนั ประเมิน
เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
๑. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ต้องไม่มีชอ่ งปรบั ปรงุ
๒. เกณฑ์ผา่ นการประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (๕๐ % ขนึ้ ไป)
๓. ตอบคาถามใบงานไดท้ ุกใบงานจงึ จะถือวา่ ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ
๔. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรเู้ กณฑผ์ า่ น คือ พอใช้ (๕-๖ คะแนน)
๕. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คะแนนขน้ึ อยู่กบั
การประเมนิ ตามสภาพจรงิ
กจิ กรรมเสนอแนะ
ให้นักเรียนนาเสนอวิธีการป้องกันตนเองจากภยั สังคม ท่บี นั ทกึ ในสมุดเมอื่ สัปดาห์ทแ่ี ล้ว
แผนการจดั การเรียนรู้แบบบรู ณาการท่ี ๔ หน่วยที่ ๓
รหสั วชิ า ๒๐๐๐–๑๖๐๔ วิชา การปอ้ งกนั ตนเองจากภยั สงั คม สอนครัง้ ที่ ๗-๘
ชอ่ื หนว่ ย/เรอ่ื ง การปอ้ งกันอันตรายโดยใช้เทคนิค การใช้ตวั เราเปน็ อาวธุ จานวน ๒ ชั่วโมง
_____________________________________________________________________________
_
จดุ ประสงค์รายวชิ า
๑. เพอ่ื ใหม้ คี วามรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั สมั พนั ธภาพระหวา่ งเพศในวัยรุ่น ปัจจัยเสี่ยงและสถานการณท์ ่ีไม่
ปลอดภัย
๒. เพือ่ ให้มที ักษะในการป้องกันตนเองในการป้องกนั ตนเองโดยใช้ศิลปะการป้องกันตวั
สมรรถนะรายวิชา
๑. แสดงความรูเ้ กย่ี วกบั สัมพันธภาพระหวา่ งเพศในวัยรนุ่ ปจั จัยเส่ียงและสถานการณท์ ่ีไม่ปลอดภยั
๒. ออกกาลังกายเพ่อื ป้องกนั ตนเองโดยใช้ศลิ ปะการป้องกันตัว
สาระสาคญั
เทคนคิ ในการป้องกันอันตราย จากมิจฉาชีพ เป็นสง่ิ ท่ีต้องเรียนรู้และฝกึ ปฏิบัติให้เกิดทักษะรวมถึงเทคนิค
ในการจดจาคนรา้ ย และหลกั การสังเกตจดจายานพาหนะของคนร้ายเมื่อเกิดภัยอันตรายส่ิงท่ีต้องคานึงถึง คือ การ
เอาชีวิตรอดอยา่ งมีสติ
ผลการเรยี นรูท้ ี่คาดหวัง
๑. สามารถปฏบิ ตั ิตนในการป้องกันอันตรายจากมิจฉาชีพเบ้ืองต้นได้
๒. สามารถปฏบิ ตั ิตนในการป้องกันอันตรายโดยใช้เทคนคิ การใช้ตวั เราเปน็ อาวุธ
๓. อธิบายจดุ อ่อนบนร่างกายผ้ชู ายได้
๔. เขา้ ใจวิธกี ารจดจาคนร้ายได้
๕. มกี ารพฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ของผู้สาเรจ็ การศึกษา
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ท่ีครูสามารถสังเกตได้ขณะทาการสอนในเร่ือง
๑. ความมีมนุษยส์ ัมพันธ์ ๒. ความมวี นิ ัย
๓. ความรับผดิ ชอบ ๔. ความซ่อื สตั ย์สุจรติ
สาระการเรียนรู้
การปอ้ งกันอันตรายโดยใช้เทคนคิ การใช้ตวั เราเป็นอาวุธ
๑. การป้องกันอันตรายจามิจฉาชีพ
๒. การปอ้ งกนั ตนเองโดยใชเ้ ทคนิคการใชอ้ วยั วะเป็นอาวุธ
๓. จดุ อ่อนบนร่างกายผู้ชาย
(สาระการเรยี นที ๔ – ๖ เรียนในครัง้ ต่อไป)
๔. เกร็ดป้องกันภัยในกรณตี า่ งๆ
๕. เทคนิคการจดจาคนร้าย
๖. หลกั การสังเกต จดจายานพาหนะของคนร้าย
กจิ กรรมการเรียนรู้
ขน้ั นาเข้าสู่บทเรยี น
๑. ครูสนทนากบั นักเรียนเกี่ยวกับอนั ตรายจากมิจฉาชีพ
๒. ครูถามนักเรียนเก่ียวกับประสบการณ์หรือเร่ืองราวที่ได้รับรู้จากส่ือหรือประสบมาด้วยตนเองหรือคน
รอบขา้ งก็ตามวา่ นกั เรยี นร้สู ึกอยา่ งไรกบั เหตุการณน์ ้นั และถา้ เปน็ นกั เรียนจะทาอย่างไร
๓. ครูเน้นให้นักเรียนให้ความสาคัญกับข่าวสาร ประสบการณ์จากบุคคลอื่นเพื่อเป็นบทเรียนในการใช้
ชีวิตประจาวันในเรื่องของภัยอันตรายลักษณะต่างท่ีอาจเกิดขึ้นได้กับตัวเราจะได้เอาชีวิตรอดได้อย่าง
ปลอดภยั
ขนั้ สอน
๔. ครูอธิบายเกยี่ วกับการป้องกนั อนั ตรายจากมจิ ฉาชีพ
๕. ครูอธิบายวิธีการป้องกันตนเองโดยใช้เทคนิคการใช้อวัยวะเป็นอาวุธ ตามรูปภาพในหนังสือเรียน
รวมท้งั วธิ กี ารป้องกนั ลักษณะอนื่ นอกจากในหนังสอื ถ้าครสู ามารถหามาเรยี นร้ฝู กึ ปฏิบัตไิ ด้
๖. ครใู หน้ ักเรียนจบั คฝู่ ึกปฏบิ ัตวิ ิธปี อ้ งกันตวั เองจากการถกู ลวนลามหรือทาร้าย
๗. ครูอธิบายจดุ ออ่ นบนรา่ งกาย ใหน้ กั เรียนเขา้ ใจ
ขั้นสรปุ และการประยกุ ต์
๘. นกั เรียนสรปุ วิธกี ารปอ้ งกนั อนั ตรายจากมิจฉาชพี และวธิ กี ารป้องกันตนเอง จากเทคนิคตา่ งๆ
๙. ให้นกั เรียนทาใบงาน ท้ายหนว่ ย
ส่ือและแหล่งการเรียนรู้
๑. หนงั สือเรยี น วชิ าการป้องกันตนเองจากภัยสังคม ของสานักพิมพ์เอมพนั ธ์
๒. จากการปฏบิ ัตจิ ริง
๓. หนังสอื พมิ พ์ข่าวสาร
๔. คลปิ วดี โี อ
๕. ใบงาน
๖. สอื่ PowerPoint วชิ า การป้องกนั ตนเองจากภัยสงั คม
หลักฐาน
๑. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คาถาม
๒. การเชค็ ช่อื เข้าเรียน
๓. การลงมอื ปฏิบัติจริง
๔. สมุด
การวดั ผลและการประเมินผล
วธิ ีวดั ผล
๑. ตรวจใบงาน
๒. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้
๓. สังเกตพฤติกรรมเป็นรายบุคคล
๔. สังเกตจากการลงมือปฏิบัตจิ ริง
๕. การสงั เกตและประเมนิ พฤติกรรมดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
เคร่อื งมือวดั ผล
๑. ใบงาน
๒. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
๓. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ในครั้งแรกครจู ะเปน็ ฝ่าย
ประเมนิ
เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
๑. นักเรยี นตอบคาถามจากกิจกรรมสง่ เสริมการเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งนอ้ ย ๕ ขอ้
๒. ต้องผา่ นทุกใบงานจึงถือวา่ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ
๓. เกณฑ์ผ่านการสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มชี อ่ งปรบั ปรงุ
๔. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ คะแนนข้ึนอยู่กับการ
ประเมนิ ตามสภาพจรงิ
กิจกรรมเสนอแนะ
บันทึกเก่ยี วกับจุดอ่อนบนร่างกายมนุษยล์ งในสมดุ
แผนการจัดการเรยี นรู้แบบบรู ณาการท่ี ๕ หนว่ ยที่ ๓
รหสั วิชา ๒๐๐๐–๑๖๐๔ วิชา การปอ้ งกันตนเองจากภยั สังคม สอนครง้ั ที่ ๙-๑๐
ช่อื หน่วย/เรื่อง การปอ้ งกันอันตรายโดยใชเ้ ทคนิค การใช้ตัวเราเปน็ อาวุธ จานวน ๒ ช่ัวโมง
_____________________________________________________________________________
_
จุดประสงค์รายวิชา
๑. เพื่อใหม้ ีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั สมั พันธภาพระหว่างเพศในวยั รนุ่ ปัจจยั เสีย่ งและสถานการณ์
ที่ไม่ปลอดภัย
๒. เพ่ือใหม้ ีทักษะในการปอ้ งกนั ตนเองในการปอ้ งกันตนเองโดยใชศ้ ลิ ปะการป้องกนั ตัว
สมรรถนะรายวิชา
๑. แสดงความรู้เกยี่ วกับสัมพนั ธภาพระหวา่ งเพศในวัยรุ่น ปจั จัยเสยี่ งและสถานการณท์ ี่ไมป่ ลอดภัย
๒. ออกกาลังกายเพ่อื ป้องกันตนเองโดยใชศ้ ิลปะการป้องกนั ตวั
สาระสาคัญ
เทคนคิ ในการป้องกันอันตราย จากมจิ ฉาชีพ เป็นสิง่ ท่ีต้องเรียนรู้และฝึกปฏิบัติให้เกิดทักษะรวมถึงเทคนิค
ในการจดจาคนรา้ ย และหลกั การสังเกตจดจายานพาหนะของคนรา้ ยเมือ่ เกดิ ภัยอันตรายส่ิงท่ีตอ้ งคานึงถึง คือ การ
เอาชีวิตรอดอย่างมสี ติ
ผลการเรยี นรู้ที่คาดหวงั
๑. สามารถปฏบิ ตั ิตนในการป้องกันอันตรายจากมิจฉาชีพเบื้องต้นได้
๒. สามารถปฏิบตั ิตนในการป้องกันอันตรายโดยใช้เทคนคิ การใช้ตัวเราเป็นอาวธุ
๓. อธิบายจดุ อ่อนบนร่างกายผู้ชายได้
๔. เข้าใจวิธกี ารจดจาคนร้ายได้
๕. มกี ารพฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องผ้สู าเร็จการศึกษา สานกั งาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ทีค่ รูสามารถสงั เกตไดข้ ณะทาการสอนในเรอื่ ง
๑. ความมมี นุษยส์ มั พนั ธ์ ๒. ความมวี ินัย
๓. ความรับผดิ ชอบ ๔. ความซือ่ สัตย์สุจริต
๕. ความเช่อื มัน่ ในตนเอง ๖. การประหยดั
๗. ความสนใจใฝ่รู้ ๘. การละเวน้ ส่ิงเสพตดิ และการพนัน
๙. ความรกั สามัคคี ๑๐. ความกตญั ญูกตเวที
สาระการเรยี นรู้
การป้องกันอันตรายโดยใชเ้ ทคนคิ การใช้ตวั เราเปน็ อาวธุ
๔. เกรด็ ป้องกนั ภยั ในกรณีต่างๆ
๕. เทคนคิ การจดจาคนรา้ ย
๖. หลกั การสงั เกต จดจายานพาหนะของคนร้าย
กจิ กรรมการเรยี นรู้
ข้ันนาเข้าส่บู ทเรยี น
๑. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกบั อนั ตรายจากมิจฉาชพี และการป้องกนั ตนเองจากการเรียนในครัง้ ที่
แลว้ และในครั้งนเ้ี ราจะมาเรียนรู้กันต่อในเรอื่ งของ
- เกรด็ การปอ้ งกนั ภัยในกรณีตา่ งๆ
- เทคนิคการจดจาคนร้าย
- หลักการสงั เกต จดจายานพาหนะของคนรา้ ย
๒. ครูถามนักเรียนเกี่ยวกับประสบการณ์หรือเรื่องราวท่ีได้รับรจู้ ากส่ือหรือประสบมาด้วยตนเองหรือ
คนรอบขา้ งกต็ ามว่านกั เรียนรู้สึกอยา่ งไรกบั เหตุการณน์ ัน้ และถ้าเป็นนกั เรียนจะทาอย่างไร
๓. ครูเน้นให้นักเรียนให้ความสาคัญกับข่าวสาร ประสบการณ์จากบุคคลอ่ืนเพื่อเป็นบทเรียนในการใช้
ชีวิตประจาวันในเร่ืองของภัยอันตรายลักษณะต่างที่อาจเกิดขึ้นได้กับตัวเราจะได้เอาชีวิตรอดได้
อย่างปลอดภัย
ขนั้ สอน
๔. ครูอภปิ รายเกรด็ การปอ้ งกันภัยในกรณตี า่ งๆ
๕. ครอู ภปิ รายเทคนคิ การจดจาคนรา้ ย
๖. ครูสร้างสถานการณ์ที่เตรียมไว้แล้ว โดยการนัดแนะบุคคลอ่ืน หรือนักเรียน ให้แต่กายผิดปกติสัก
๑๐ จุดวิง่ มาขอความช่วยเหลือครูในห้องเรียนแล้วกลับออกไป ..ครูถามนักเรียนวา่ สักครูน่ ักเรียน
เห็นอะไรผดิ ปกติบา้ งไหม และถ้าเห็นผดิ ปกติอะไรบ้าง แล้วเฉลย ว่านกั เรียนจดจาอะไรทีผ่ ดิ ปกติ
ได้บ้าง
๗. ครอู ภปิ รายหลักการสังเกตจดจายานพาหนะของคนรา้ ย
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๘. นกั เรยี นสรุป เกร็ดการป้องกันภัยในกรณตี า่ งๆและหลกั การจดจา และหลกั การสงั เกต
๙. ให้นักเรยี นทาใบงาน ท้ายหน่วย
สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้
๑. หนงั สือเรยี น วชิ าการป้องกันตนเองจากภัยสังคม ของสานักพิมพ์เอมพนั ธ์
๒. จากการปฏิบัติจรงิ
๓. หนงั สือพิมพข์ ่าวสาร
๔. คลปิ วดี โี อ
๕. ใบงาน
๖. สื่อ PowerPoint วิชา การปอ้ งกันตนเองจากภัยสังคม
หลักฐาน
๑. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คาถาม
๒. การเชค็ ชอื่ เข้าเรียน
๓. การลงมอื ปฏิบัติจริง
๔. สมดุ
การวัดผลและการประเมนิ ผล
วธิ ีวดั ผล
๑. ตรวจใบงาน
๒. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๓. สังเกตพฤตกิ รรมเปน็ รายบคุ คล
๔. สังเกตจากการลงมือปฏิบตั ิจริง
๕. จากการถามตอบบทบาทสมมุติ
๖. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
เครื่องมือวดั ผล
๑. ใบงาน
๒. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
๓. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ในครงั้ แรกครจู ะเปน็
ฝา่ ยประเมิน
เกณฑ์การประเมนิ ผล
๑. นกั เรยี นตอบคาถามจากกจิ กรรมส่งเสริมการเรยี นรู้ไดอ้ ย่างนอ้ ย ๕ ขอ้
๒. ต้องผ่านทุกใบงานจึงถือวา่ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ
๓. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไมม่ ชี ่องปรับปรงุ
๔. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คะแนนขน้ึ อยู่กบั
การประเมนิ ตามสภาพจรงิ
กจิ กรรมเสนอแนะ
ใหน้ กั เรยี นหาข้อมูลคนรา้ ยที่ตารวจกาลังตามจบั เลา่ ส่กู ันฟังในช้นั เรยี น
แผนการจดั การเรียนร้แู บบบรู ณาการที่ ๖ หน่วยที่ ๔
รหัสวชิ า ๒๐๐๐–๑๖๐๔ วชิ า การป้องกนั ตนเองจากภัยสงั คม สอนครง้ั ท่ี ๑๑-๑๒
ชอ่ื หน่วย/เรื่อง วยั รนุ่ วัยวนุ่ จานวน ๒ ชั่วโมง
_____________________________________________________________________________
_
จดุ ประสงค์รายวิชา
๑. เพื่อใหม้ คี วามรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสัมพันธภาพระหวา่ งเพศในวยั รุ่น ปจั จยั เส่ยี งและสถานการณ์ท่ีไม่
ปลอดภัย
๒. เพอ่ื ให้มีเจตคติท่ดี ใี นการเสริมสรา้ งความสมบูรณ์ทางกายโดยใช้กจิ กรรมนนั ทนาการ
สมรรถนะรายวิชา
๑. แสดงความรู้เกยี่ วกับสมั พนั ธภาพระหวา่ งเพศในวัยรุ่น ปจั จัยเสย่ี งและสถานการณท์ ่ีไม่ปลอดภยั
๒. ออกกาลงั กายเพอื่ ป้องกันตนเองโดยใชศ้ ลิ ปะการป้องกนั ตัวเองและเอาตัวรอด
สาระสาคัญ
เรียนรู้การเปลี่ยนแปลง ของวัยรุ่น ในช่วงชีวิต ช่วงหนึ่งท่ีมีการเปล่ียนแปลงอย่างมาก การเปลี่ยนแปลง
หลายๆด้านมีผลต่อความสัมพันธ์ระหว่างวัยรุ่นด้วยกันเอง รวมทั้ง ครอบครัว สังคม ท่ีวัยรุ่นต้องปรับตัวและดูแล
ตนเองและปฏิบัติตัวอย่างถูกต้อง และเหมาะสม ซ่ึงจะทาให้วัยรุ่นสามารถปรับตัวและดาเนินชีวิตได้อย่างมี
ความสุข
ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวงั
๑. อธบิ ายการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ เพศ สตปิ ัญญาและสงั คมวัยรุ่น
๒. ปรบั ตวั ต่อการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ เพศ สติปัญญา และสังคมวยั รุ่น
๓. เขา้ ใจและร้จู ักดูแลสุขภาพตนเอง
๔. มกี ารพัฒนาคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคณุ ลักษณะอันพึงประสงคข์ องผ้สู าเรจ็ การศึกษา
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ทคี่ รสู ามารถสงั เกตได้ขณะทาการสอนในเรื่อง
๑. ความมีมนุษย์สัมพนั ธ์ ๒. ความมีวินัย
๓. ความรบั ผิดชอบ ๔. ความซื่อสตั ย์สจุ รติ
๕. ความเชอ่ื ม่นั ในตนเอง ๖. การประหยดั
๗. ความสนใจใฝร่ ู้ ๘. การละเวน้ ส่ิงเสพตดิ และการพนนั
๙. ความรักสามัคคี ๑๐. ความกตัญญูกตเวที
สาระการเรยี นรู้
วัยรุน่ วัยวนุ่
๑. วยั รนุ่
๒. การเปลย่ี นแปลงในวยั รุน่
๓. การเปล่ียนแปลงทางด้านร่างกาย
๔. การเปลีย่ นแปลงทางด้านจติ ใจ
๕. การเปลี่ยนแปลงทางด้านเพศ
๖. การเปลี่ยนแปลงทางด้านสติปัญญา
๗. การเปลี่ยนแปลงทางด้านสงั คม
๘. การส่งเสรมิ สขุ ภาพของวัยรุ่น
กิจกรรมการเรียนรู้
ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรยี น
๑. ครูและนักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงของตัวเองจาก วัยเด็กเรียนรู้การเปล่ียนแปลง
ของวัยรุ่น ในช่วงชีวิต ช่วงหนึ่งท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก การเปลี่ยนแปลง หลายๆด้านมีผลต่อ
ความสัมพันธ์ระหว่างวัยรุ่นด้วยกันเอง รวมท้ัง ครอบครัว สังคม ที่วัยรุ่นต้องปรับตัวและดูแลตนเอง
และปฏิบัติตัวอย่างถูกต้อง และเหมาะสม ซ่ึงจะทาให้วัยรุ่นสามารถปรับตัวและดาเนินชีวิตได้อย่างมี
ความสุข
๒. ให้นักเรียน เล่นเกม ตอบคาถาม การเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่นมีการเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง ตอบคนละ
๑ อย่าง ห้ามซ้า โดยเร่ิมจากนักเรียนคนแรกท่ีตอบและต้องการให้ใครตอบต่อให้เรียกช่ือ ลุกขึ้นมา
ตอบ ผูเ้ รียกจับเวลาโดยการนบั ๑ถงึ ๑๐ วินาที ใครตอบได้ก็เรยี กคนตอ่ ไป
ขัน้ สอน
๓. นักเรียนรบั ฟังคาอธิบายจากครูเร่ือง การเปลีย่ นแปลงในวยั รุ่น
การเปลี่ยนแปลงทางด้านรา่ งกาย
การเปล่ยี นแปลงทางด้านจิตใจและอารมณ์
การเปล่ียนแปลงทางดา้ นเพศ
การเปลีย่ นแปลงทางด้านสติปญั ญา
การเปลย่ี นแปลงทางด้านสงั คม
การส่งเสริมสุขภาพของวัยรุ่น
ขน้ั สรุปและประยุกต์
๔. ครูนกั เรยี นร่วมกนั อภิปรายสรุปการเปลี่ยนแปลงในวยั รนุ่
๕. ให้นกั เรียนเลน่ เกมถามตอบอีกครงั้ โดยกาหนดเวลา นับถึง ๕ วินาที เท่าน้ัน เพ่ือทดสอบความเข้าใจ
หลงั เรียนไปแลว้
๖. นักเรียนทาใบงานและทาแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรยี นรู้
สอื่ และแหล่งการเรียนรู้
๑. หนังสือเรยี น วชิ าการป้องกนั ตนเองจากภัยสงั คม ของสานักพิมพเ์ อมพันธ์
๒. ใบงาน
๓. ส่อื PowerPoint วชิ า การปอ้ งกนั ตนเองจากภยั สงั คม
๔. คลิป วดี โี อ
หลักฐาน
๑. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คาถาม
๒. การเช็คช่อื เข้าเรียนในวิชา
๓. สมุด
การวัดผลและการประเมนิ ผล
วิธีวดั ผล
๑. สังเกตการตอบคาถามจากบตั รคาถาม
๒. ตรวจใบงาน
๓ สังเกตพฤตกิ รรมเป็นรายบคุ คล
๕. สังเกตแบบทดสอบจากการเล่นเกม
๖. การสังเกตและประเมินพฤติกรรมดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
เคร่ืองมอื วัดผล
๑. บตั รคาถาม
๒. ใบงาน
๓. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
๔. สงั เกตจากการเลน่ เกม
๕. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ในครัง้ แรกครจู ะเปน็
ผู้ประเมนิ
เกณฑ์การประเมนิ ผล
๑. นักเรียนตอบคาถามจากบตั รคาถามได้ ๕ คาถาม
๒. ต้องผ่านทุกใบงานจึงถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน
๓. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไม่มชี อ่ งปรับปรงุ
๔. จากการสังเกตถามตอบจากการเลน่ เกม ว่ามีการพัฒนาสว่ นรวมเปน็ อยา่ งไร
๕. แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ คะแนนขึน้ อยูก่ ับการ
ประเมนิ ตามสภาพจรงิ
กจิ กรรมเสนอแนะ
ใหน้ กั เรียนบันทึกการสง่ เสรมิ สุขภาพของวัยรนุ่ ลงในสมดุ
แผนการจัดการเรียนร้แู บบบรู ณาการที่ ๗ หน่วยท่ี ๕
รหสั วชิ า ๒๐๐๐–๑๖๐๔ วิชา การปอ้ งกันตนเองจากภยั สงั คม สอนคร้งั ท่ี ๑๓-๑๔
ชื่อหน่วย/เร่อื ง ทศั นคตเิ รอื่ งเพศ ที่พงึ ประสงคต์ ามวัฒนธรรม จานวน ๒ ช่วั โมง
_____________________________________________________________________________
_
จดุ ประสงคร์ ายวชิ า
๑. เพอื่ ให้มคี วามรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั สมั พันธภาพระหวา่ งเพศในวัยรุ่น ปัจจยั เส่ียงและสถานการณ์ท่ีไม่
ปลอดภยั
สมรรถนะรายวิชา
๑. แสดงความรเู้ กีย่ วกบั สัมพนั ธภาพระหวา่ งเพศในวยั ร่นุ ปัจจัยเสี่ยงและสถานการณท์ ี่ไม่ปลอดภยั
สาระสาคัญ
ทัศนคติเรื่องเพศ เป็นความรู้สึกนึกคิด ความเช่ือ การให้คุณค่าในเรื่องเพศของแต่ละบุคคลซ่ึงมีความ
แตกต่างกัน ปัจจัยสาคัญที่มีอิทธิพลต่อทัศนคติเร่ืองเพศ ได้แก่ครอบครัว เพ่ือน สื่อ สังคม และวัฒนธรรมการ
เรียนรู้และทาความเข้าใจเก่ียวกับทัศนคติเรื่องเพศ และปัจจัยท่ีมีอิทธิพลเรื่องเพศ จะทาให้มีความเข้าใจและมี
ทัศนคติ ค่านิยมในเรื่องเพศที่ถูกต้อง อันจะเป็นแนวทางการประพฤติปฏิบัติและการแสดงออกในเร่ืองเพศของ
บคุ คลไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสม
ผลการเรียนรู้ทีค่ าดหวัง
๑. อธบิ ายการมีทัศนคตเิ รื่องเพศที่พึงประสงค์
๒. วิเคราะห์ปจั จัยทม่ี ีอิทธิพลต่อทศั นคติในเรื่องเพศ
๓. ปฏบิ ตั ิตนในเรื่องเพศทีพ่ ึงประสงค์ตามวฒั นธรรมไทย
๔. มีการพัฒนาคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา
สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ท่คี รสู ามารถสงั เกตได้ขณะทาการสอนในเร่ือง
๑. ความมมี นุษย์สัมพนั ธ์ ๒. ความมีวนิ ยั
๓. ความรบั ผดิ ชอบ ๔. ความซื่อสัตยส์ จุ รติ
๕. ความเชอ่ื มน่ั ในตนเอง ๖. การประหยดั
๗. ความสนใจใฝ่รู้ ๘. การละเว้นสิ่งเสพตดิ และการพนัน
๙. ความรกั สามัคคี ๑๐. ความกตญั ญกู ตเวที
สาระการเรียนรู้
ทศั นคตเิ รอื่ งเพศ ทพี่ งึ ประสงค์ตามวัฒนธรรมไทย
๑. ทศั นคติเร่ืองเพศ
๒. ปัจจยั ทมี่ อี ิทธพิ ลต่อทัศนคตเิ รือ่ งเพศ
๓. ทัศนคตเิ ร่ืองเพศท่ีพึงประสงค์ตามวฒั นธรรมไทย
กิจกรรมการเรยี นรู้
ขัน้ นาเข้าสบู่ ทเรยี น
๑. ครูอภิปรายถึง ทัศนคติเร่ืองเพศ ตามวัฒนธรรมไทยที่มีแบบแผนในการดาเนินชีวิต ท่ีแบ่งแยก
ลกั ษณะความประพฤติทด่ี ีงามในเรอ่ื งเพศระหวา่ งชายหญิงท่ีมีแนวปฏิบัตติ วั ที่ต่างกนั ถา้ ฝา่ ยหนึ่งฝ่าย
ไดป้ ฏิบตั ิตนตา่ งไปจากท่ีกาหนด ก็จะไมเ่ ป็นที่ยอมรับของสังคมรวมทัง้ ปจั จยั ท่มี ีอิทธพิ ลต่อทัศนคติใน
เรื่องเพศส่งผลต่อความคิดของแต่ละบุคคล ท่ีมีความแตกต่างกันไป ตามทัศนคติความเชื่อท่ีดีและ
เหมาะสม
๒. ครูและนักเรียนพูดถึงข่าวในหน้าหนังสือพิมพ์เกี่ยวกับนักเรียนต้ังท้องก่อนวัยอันควรเกริ่นนาว่ามา
จากสาเหตุใดและพฤติกรรมของวยั รน่ ครใู หค้ วามรู้อย่างถูกต้องกับนกั เรยี นที่ถามตอบปญั หาเร่ืองเพศ
ข้ันสอน
๓. ครูพดู ถงึ ทศั นคติเร่ืองเพศอนั พึงประสงค์ และทศั นคติตามสังคมไทย
๔. อธบิ ายปัจจยั ทม่ี ีอิทธพิ ลต่อทัศนคตใิ นเร่ืองเพศ
๕. อธบิ ายทัศนคติในเรื่องเพศที่พึงประสงค์ตามวัฒนธรรมไทย
๖. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มและรวบรวม คากล่าวท่ีดีงามในเรื่องเพศตามวัฒนธรรมไทยของแต่ละเพศเช่น การรัก
นวลสงวน
ตัวและออกมาแสดงบทบาท ตามคากล่าวท่ีเลือก ๑ ประโยค ให้ออกมาบอกครู เพื่อหัวข้อไม่ซ้ากันใคร
บอกก่อนได้
ประโยคนั้นไปแสดงบทบาท
ข้ันสรุปและการประยุกต์
๗. ครูช้ีแนะให้นักเรียนเห็นคุณค่า และความสาคัญของทัศนคติในเรื่องเพศที่พึงประสงค์ตามวัฒนธรรม
ไทย
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
๑. หนังสือเรยี น วชิ าการป้องกันตนเองจากภัยสงั คม ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
๒. ใบงาน
๓. ส่อื PowerPoint วิชา การปอ้ งกนั ตนเองจากภัยสงั คม
๔. คลปิ วดี โี อ
หลกั ฐาน
๑. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คาถาม
๒. การเช็คชอื่ เข้าเรยี น
๓. สมุด
การวัดผลและการประเมินผล
วิธีวดั ผล
๑. สังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
๒. ประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่
๓. สงั เกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุม่
๔. ตรวจใบงาน
๕. การสงั เกตและประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เครื่องมอื วัดผล
๑. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
๒. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่ (โดยคร)ู
๓. แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม (โดยนกั เรียน)
๔. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ โดยครแู ละนักเรยี นร่วมกัน
ประเมนิ
เกณฑ์การประเมินผล
๑. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ต้องไมม่ ชี อ่ งปรับปรุง
๒. เกณฑ์ผา่ นการประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม คอื ปานกลาง (๕๐ % ขน้ึ ไป)
๓. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (๕๐ % ขึ้นไป)
๔. ตอบคาถามใบงานได้ทกุ ใบงานจงึ จะถือว่าผ่านเกณฑป์ ระเมิน
๕. แบบประเมินผลการเรยี นรู้ เกณฑ์ผ่าน คือ พอใช้ (๕-๖ คะแนน)
๖. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยกู่ ับการ
ประเมนิ ตามสภาพจริง
กิจกรรมเสนอแนะ
ให้นกั เรยี นบันทึกผลเสยี ที่เกิดข้ึนเมอื่ ชายหญิงปฏบิ ัตติ นเรอ่ื งเพศ ที่ไม่เปน็ ไปตามวฒั นธรรมท่ดี ีงาม ลงใน
สมุด
แผนการจดั การเรียนรู้แบบบรู ณาการที่ ๘ หนว่ ยท่ี ๖
รหัสวชิ า ๒๐๐๐–๑๖๐๔ วิชา การป้องกันตนเองจากภยั สงั คม สอนครง้ั ที่ ๑๕-๑๖
ชื่อหน่วย/เรอื่ ง สถานการณเ์ สีย่ งตอ่ การมีเพศสัมพันธใ์ นวยั เรียน จานวน ๒ ชัว่ โมง
__________________________________________________________________
จุดประสงคร์ ายวิชา
๑. เพ่อื ให้มคี วามรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั สมั พันธภาพระหว่างเพศในวยั ร่นุ ปัจจัยเสี่ยงและสถานการณ์ท่ีไม่
ปลอดภัย
สมรรถนะรายวิชา
๑. แสดงความร้เู ก่ยี วกับสัมพนั ธภาพระหว่างเพศในวยั รนุ่ ปจั จยั เสี่ยงและสถานการณ์ที่ไมป่ ลอดภยั
สาระสาคญั
ผลของการเปล่ียนแปลงฮอร์โมนเพศในร่างกายของวัยรุ่นเป็นแรงขับดันให้วัยรุ่นมีความสนใจเพศตรงข้าม
จึงทาให้ในวัยนี้ตกอยู่ในสถานการณ์เส่ียงที่จะก่อให้เกิดการมีเพศสัมพันธ์ทางเพศในวัยเรียน และส่งผลให้เกิด
ปัญหาท่ีตามมา ดังน้ันเราควรศึกษาและป้องกันเพ่ือหลีกเลี่ยงสถานการณ์เส่ียงต่อการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียนที่
ส่งผลกระทบและความเสยี หายที่จะเกิดขึ้นตามมา
ผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวัง
๑. บอกความสาคัญของความเสมอภาคทางเพศและการวางตัวต่อเพศตรงขา้ มได้อยา่ งเหมาะสม
๒. อธบิ ายสถานการณ์เสยี่ งต่อการมีเพศสมั พันธใ์ นวัยเรยี น
๓. วิเคราะห์ปัญหาและผลกระทบจากการมีเพศสัมพนั ธ์ในวยั เรยี น
๔. ป้องกนั และหลกี เลยี่ งสถานการณ์เสี่ยงต่อการมเี พศสมั พันธใ์ นวัยเรยี น
๕. มีการพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ของผ้สู าเร็จการศึกษา
สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ทค่ี รสู ามารถสังเกตได้ขณะทาการสอนในเร่ือง
๑. ความมมี นุษยส์ มั พันธ์ ๒. ความมีวินยั
๓. ความรับผิดชอบ ๔. ความซื่อสัตย์สุจริต
๕. ความเชือ่ มน่ั ในตนเอง ๖. การประหยดั
๗. ความสนใจใฝ่รู้ ๘. การละเว้นสิ่งเสพติดและการพนัน
๙. ความรักสามัคคี ๑๐. ความกตัญญกู ตเวที
สาระการเรียนรู้
สถานการณเ์ สยี่ งต่อการมเี พศสมั พันธ์ในวยั เรยี น
๑. ความเสมอภาคทางเพศและการวางตวั ต่อเพศตรงข้าม
๒. สถานการณเ์ ส่ยี งตอ่ การมีเพศสมั พนั ธ์ในวยั เรียน
๓. ปัญหาและผลกระทบจากการมีเพศสัมพันธ์ในวยั เรยี น
๔. การหลกี เล่ยี งสถานการณ์เส่ียงต่อการมีเพศสมั พันธใ์ นวัยเรยี น
กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขัน้ นาเขา้ ส่บู ทเรยี น
๑. ครูกล่าวถึงบทบาทและพฤติกรรมการแสดงออกของผชู้ าย ท่ีมีต่อฝา่ ยหญงิ หรือพฤตกิ รรมท่แี สดงออกของ
ผู้หญิงทีม่ ตี ่อฝา่ ยชาย และความเหมาะสมท่ีจะสรา้ งโอกาสเส่ยี งให้มเี พศสัมพนั ธ์ต่อกนั ได้
๒. นกั เรียนเลน่ เกมถามตอบ โดยนกั เรียน คนไหนสมัครใจเร่ิมต้นตอบก่อน และเม่ือตอบเสรจ็ ใหเ้ ลอื กคนต่อไป
ตอบ ภายใน ๑๐ วนิ าที ตอบเสรจ็ เลือกคนต่อไปตอบ เช่นกัน โดยไม่ซา้ คนและคาตอบ (คาถามคือ ปัญหา
และผลกระทบจากการมีเพศสมั พันธ์ในวัยเรยี น)
ขน้ั สอน
๓. ครูอภิปราย
๑. ความเสมอภาคทางเพศและการวางตวั ตอ่ เพศตรงข้าม
๒. สถานการณ์เส่ยี งต่อการมเี พศสมั พนั ธ์ในวัยเรียน
๓. ปญั หาและผลกระทบจากการมเี พศสัมพันธ์ในวัยเรียน
๔. การหลีกเล่ยี งสถานการณเ์ สี่ยงตอ่ การมีเพศสมั พันธ์ในวยั เรียน
๔. ครูใหน้ ักเรยี นแบง่ เป็น ๒ กลุ่ม กลุ่มแรกเปน็ ตัวแทนผ้ชู าย กลุ่มสองเปน็ ตัวแทนผหู้ ญิง (ถ้ามีนักเรยี นชาย
และนกั เรยี นหญิงในห้องกแ็ บ่งเป็นชายหญิงเลย) ให้นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ รวบรวมสถานการณ์ที่เสี่ยงตอ่ การ
มีเพศสัมพนั ธ์ แตล่ ะเหตุการณ์ที่รวบรวมได้ สง่ ตัวแทนของกล่มุ ออกมาอภปิ รายวา่ เกดิ จากฝา่ ยใด ตาม
เหตุผลประกอบ
๕. ครคู อยอภปิ รายให้ข้อคิดเห็นท้งั ๒ ฝ่าย จากสถานการณ์ท่ีน่าจะเปน็ จรงิ
ขนั้ สรปุ และการประยุกต์
๖. นกั เรียนและครรู ว่ มกันสรปุ เหตกุ ารณ์สถานการณ์การเสี่ยงอกี ครั้ง
๗. นกั เรยี นทาใบงานและทาแบบประเมินผล ครูเฉลยใหน้ ักเรยี นตรวจเอง และประเมินตนเองจากแบบสรุป
สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้
๑. หนงั สือเรยี น วชิ า การป้องกนั ตนเองจากภัยสังคม ของสานกั พิมพ์เอมพันธ์
๒. ใบงาน
๓. ส่อื PowerPoint วชิ า การป้องกันตนเองจากภยั สังคม
๔. คลปิ วีดีโอ
หลักฐาน
๑. การตรวจใบงาน กิจกรรม คาถาม
๒. การเชค็ ชื่อเข้าเรยี นในวชิ า
๓. ความคดิ ของนักเรยี นจากการอภปิ ราย
๔. สมดุ
การวัดผลและการประเมนิ ผล
วธิ ีวดั ผล
๑. สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
๒. ประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ จากการอภปิ ราย
๓. สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ จากการอภปิ ราย
๔. ตรวจใบงาน
๕. การสงั เกตและประเมินพฤติกรรมดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
เครอ่ื งมือวัดผล
๑. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๒. แบบประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุ่ม (โดยครู)
๓. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม (โดยนกั เรียน)
๔. ใบงาน
๕. แบบประเมินผลการเรยี นรู้ และแบบประเมนิ ตนเอง
๖. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ โดยครแู ละนักเรยี นร่วมกัน
ประเมนิ
เกณฑ์การประเมนิ ผล
๑. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ต้องไมม่ ีชอ่ งปรับปรงุ
๒. เกณฑผ์ า่ นการประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (๕๐ % ขน้ึ ไป)
๓. เกณฑ์ผา่ นการสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม คอื ปานกลาง (๕๐ % ขึ้นไป)
๔. ตอบคาถามใบงานไดท้ ุกใบงานจงึ จะถือว่าผา่ นการประเมนิ
๖. แบบประเมินผลการเรยี นรู้ เกณฑ์ผา่ น คือ พอใช้ (๕-๖ คะแนน)
๗. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนข้ึนอยู่กับการ
ประเมนิ ตามสภาพจริง
กิจกรรมเสนอแนะ
ใหน้ กั เรียนบนั ทึกผลเสยี ทเ่ี กดิ ขนึ้ เม่ือมเี พศสมั พันธ์ในวัยเรียน ลงในสมุด
แผนการจดั การเรยี นรแู้ บบบูรณาการที่ ๙ หนว่ ยที่ -
รหสั วิชา ๒๐๐๐–๑๖๐๔ วชิ า การปอ้ งกันตนเองจากภยั สงั คม สอนคร้งั ที่ ๑๗-๑๘
ชอื่ หนว่ ย/เรื่อง ทบทวน/สอบกลางภาค จานวน ๒ ชัว่ โมง
_____________________________________________________________________________
_
จดุ ประสงค์รายวชิ า
๑. เพอ่ื ใหม้ คี วามรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกับสัมพันธภาพระหวา่ งเพศในวยั รนุ่ ปัจจยั เสีย่ งและสถานการณ์ท่ีไม่
ปลอดภัย
๒. เพอ่ื ให้มที ักษะในการปอ้ งกันตนเองโดยใชศ้ ิลปะในการป้องกันตวั และเอาตวั รอด
สมรรถนะรายวิชา
๑. แสดงความรู้เก่ียวกบั สัมพนั ธภาพระหวา่ งเพศในวยั ร่นุ ปจั จยั เส่ียงและสถานการณ์ไมป่ ลอดภยั
๒. ออกกาลังกายเพื่อป้องกันตนเองโดยใช้ศิลปะการป้องกนั ตวั และเอาตวั รอด
สาระสาคญั
ทบทวน/สอบกลางภาค
แผนการจัดการเรียนรแู้ บบบูรณาการท่ี ๑๐ หน่วยท่ี ๗
รหสั วชิ า ๒๐๐๐–๑๖๐๔ วิชา การปอ้ งกันตนเองจากภัยสงั คม สอนคร้งั ที่ ๑๙-๒๐
ช่อื หน่วย/เรอื่ ง การล่วงละเมดิ ทางเพศ การป้องกนั และหลีกเล่ยี งสถานการณเ์ สยี่ ง จานวน ๒ ชวั่ โมง
_____________________________________________________________________________
_
จุดประสงคร์ ายวิชา
๑. เพ่อื ใหม้ ีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั สัมพนั ธภาพระหว่างเพศในวยั ร่นุ ปัจจัยเสีย่ งและสถานการณท์ ี่ไม่
ปลอดภยั
สมรรถนะรายวิชา
๑. แสดงความรเู้ ก่ยี วกบั สัมพันธภาพระหวา่ งเพศในวัยร่นุ ปัจจัยเสยี่ งและสถานการณ์ที่ไมป่ ลอดภยั
สาระสาคญั
การล่วงละเมิดทางเพศ มีข่าวตามหน้าหนงั สือพิมพ์มากมาย เป็นปัญหาทางสังคมที่เกิดขึ้น ซงึ่ มผี ลกระทบ
ต่อผทู้ ี่ถูกกระทามผี ลเสีย ทัง้ ทางรา่ งกาย จิตใจ และสังคม ฉะนั้นเราควรเรียนรู้เกี่ยวกับสาเหตุ ปญั หาที่เกดิ ข้ึนเพื่อ
หาทางป้องกัน เมื่อเกิดปัญหาสามารถขอความช่วยเหลือตนเองได้และยังขอความช่วยเหลือได้จากหน่วยงานท่ี
รับผดิ ชอบ
ผลการเรียนร้ทู ่คี าดหวงั
๑. อธิบายความหมายและประเภทของการถูกละเมิดทางเพศ
๒. ตระหนักถึงสาเหตุของการถูกลว่ งละเมิดทางเพศ
๓. ตระหนักถึงผลกระทบจากการถกู ลว่ งละเมิดทางเพศ
๔. บอกถงึ หน่วยงานท่ีให้ความชว่ ยเหลือผู้ถูกลว่ งละเมิดทางเพศ
๕. มีการพัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องผ้สู าเรจ็ การศึกษา
สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ท่ีครูสามารถสงั เกตได้ขณะทาการสอนในเร่ือง
๑. ความมีมนุษย์สัมพันธ์ ๒. ความมวี ินัย
๓. ความรับผดิ ชอบ ๔. ความซอื่ สัตยส์ ุจริต
๕. ความเชือ่ มัน่ ในตนเอง ๖. การประหยัด
๗. ความสนใจใฝ่รู้ ๘. การละเว้นส่งิ เสพตดิ และการพนัน
๙. ความรักสามัคคี ๑๐. ความกตัญญกู ตเวที
สาระการเรยี นรู้
การล่วงละเมดิ ทางเพศ การป้องกันและหลีกเล่ียงสถานการณ์เส่ยี ง
๑. ความหมายและประเภทของการถูกล่วงละเมดิ ทางเพศ
๒. สาเหตุของการถูกลว่ งละเมดิ ทางเพศ
๓. ผลกระทบจากการถกู ลว่ งละเมิดทางเพศ
๔. การปอ้ งกนั และหลกี เล่ียงสถานการณ์เส่ยี งต่อการถูกล่วงละเมดิ ทางเพศ
๕. หน่วยงานท่ีให้ความช่วยเหลอื แก่ผถู้ กู ลว่ งละเมดิ ทางเพศ
กิจกรรมการเรียนรู้
ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน
๑. ครแู ละนักเรียนกลา่ วถึงปัญหาการถกู ลว่ งละเมิดทางเพศตามส่อื ข่าวต่างที่นักเรยี นเคยได้รับรแู้ ละร้สู ึก
อย่างไร
ข้นั สอน
๒. ครูอภปิ รายหัวข้อ
๑. ความหมายและประเภทของการถูกล่วงละเมิดทางเพศ
๒. สาเหตขุ องการถูกลว่ งละเมดิ ทางเพศ
๓. ผลกระทบจากการถูกลว่ งละเมดิ ทางเพศ
๔. การปอ้ งกันและหลีกเลยี่ งสถานการณเ์ ส่ียงต่อการถกู ลว่ งละเมดิ ทางเพศ
๕. หน่วยงานทใี่ หค้ วามชว่ ยเหลอื แกผ่ ้ถู ูกลว่ งละเมดิ ทางเพศ
๓. ให้นักเรียนจับกลุ่มๆละ ๕ คนเลือกหัวข้อจาก การป้องกันและหลีกเลี่ยงสถานการณ์เสี่ยงต่อกรถูล่วง
ละเมดิ ทางเพศ กลมุ่ ละ ๑ เร่ือง ให้เวลาคดิ ออกมาแสดงบทบาทสมมุติ
๔. นักเรยี นและครูชว่ ยกันวิเคราะหเ์ หตุการณ์ การแสดงบทบาทแต่ละกลุ่ม
ข้ันสรุปและการประยกุ ต์
๕. นกั เรยี นและครูร่วมสรปุ ความเข้าใจจากการเรยี น
๖. ทาและตรวจคาถามท้ายหน่วยร่วมกัน
สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้
๑. หนงั สือเรียน วิชาการป้องกันตนเองจากภัยสังคม ของสานกั พิมพ์เอมพันธ์
๒. ใบงาน
๓. ส่อื PowerPoint วชิ า การปอ้ งกนั ตนเองจากภยั สังคม
๔. คลปิ วดี ีโอข่าวจากการถูกละเมดิ ทางเพศ
หลักฐาน
๑. การตรวจใบงาน กิจกรรม คาถาม
๒. การเช็คชือ่ เข้าเรียนใน
๓. สมดุ
การวัดผลและการประเมินผล
วธิ วี ดั ผล
๑. สังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
๒. ประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกล่มุ
๓. สังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่
๔. ตรวจใบงาน
๕. การสงั เกตและประเมนิ พฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
เคร่ืองมือวดั ผล
๑. แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
๒. แบบประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ (โดยครู)
๓. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม (โดยนักเรยี น)
๔. ใบงาน
๕. แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ โดยครแู ละนักเรียนร่วมกนั
ประเมิน
เกณฑ์การประเมินผล
๑. เกณฑผ์ า่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมรายบุคคล ต้องไม่มชี อ่ งปรบั ปรุง
๒. เกณฑผ์ า่ นการประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (๕๐ % ขน้ึ ไป)
๓. เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกล่มุ คือ ปานกลาง (๕๐ % ข้ึนไป)
๔. ตอบคาถามใบงานได้ มคี ะแนนไม่ต่ากวา่ ๑๐ คะแนน
๕. ตอบคาถามใบงานได้ทกุ ใบงานจงึ จะถือว่าผ่านการประเมิน
๖. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เกณฑผ์ า่ น คือ พอใช้ (๕-๖ คะแนน)
๗. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนนขนึ้ อย่กู ับการ
ประเมนิ ตามสภาพจริง
กจิ กรรมเสนอแนะ
ให้นกั เรียนเสนอแนะวธิ ีการป้องกันและหลีกเล่ยี งสถานการณ์เสยี่ งต่อการถูกล่วงละเมดิ ทางเพศ
แผนการจดั การเรียนรแู้ บบบูรณาการท่ี ๑๑ หน่วยที่ ๘
รหสั วิชา ๒๐๐๐–๑๖๐๔ วชิ า การปอ้ งกนั ตนเองจากภยั สังคม สอนคร้งั ที่ ๒๑-๒๒
ชอ่ื หนว่ ย/เรอ่ื ง อันตรายจาก สารเสพติด จานวน ๒ ชว่ั โมง
___________________________________________________________________
จุดประสงค์รายวิชา
๑. เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสัมพนั ธภาพระหว่างเพศในวัยรนุ่ ปจั จัยเส่ียงและสถานการณท์ ่ีไม่
ปลอดภัย
๒. เพ่ือให้มีทักษะในการปอ้ งกนั ตนเองโดยใช้ศิลปะในการป้องกันตวั และเอาตัวรอด
สมรรถนะรายวิชา
๑. แสดงความรู้เกีย่ วกับสัมพันธภาพระหวา่ งเพศในวยั รนุ่ ปัจจยั เสย่ี งและสถานการณท์ ี่ไม่ปลอดภยั
๒. ออกกาลังกายเพอื่ ป้องกันตนเองโดยใช้ศลิ ปะการป้องกันตัวและเอาตัวรอด
สาระสาคัญ
สารเสพติดเป็นมหันตภัยร้ายแรง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สาคัญระดับประเทศ พิษภัยและอันตราย ของ
สารเสพติดส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ใช้สารเสพติด ครอบครัวสังคมและประเทศชาติจึงควรร่วมมือกันไนการ
ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างจริงจังท้ังในระดับตนเอง สถานศึกษาและชุมชน เพ่ือให้วัยรุ่นห่างไกลยา
เสพตดิ
ผลการเรียนร้ทู คี่ าดหวัง
๑. อธิบายความหมายของสารเสพติดได้
๒. จาแนกประเภทของสารเสพตดิ ได้
๓. รถู้ งึ ผลกระทบของผู้เสพสารเสพติด
๔. อธิบายลักษณะและอาการของผูเ้ สพสารเสพติดได้
๕. อธบิ ายถึงความสมั พันธข์ องการเกิดโรคและอุบัติเหตุ
๖. ปฏบิ ตั ิตนเองตามแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปญั หาสารเสพตดิ
๗. มกี ารพัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะอันพึงประสงคข์ องผู้สาเรจ็ การศึกษา
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ท่ีครสู ามารถสงั เกตได้ขณะทาการสอนในเร่ือง
๑. ความมมี นุษย์สัมพันธ์ ๒. ความมวี ินัย
๓. ความรับผดิ ชอบ ๔. ความซือ่ สัตย์สุจริต
๕. ความเช่อื มั่นในตนเอง ๖. การประหยดั
๗. ความสนใจใฝ่รู้ ๘. การละเวน้ สง่ิ เสพติดและการพนนั
๙. ความรกั สามัคคี ๑๐. ความกตญั ญกู ตเวที
สาระการเรียนรู้
อันตรายจากสารเสพตดิ
๑. ความหมายของสารเสพติด
๒. ประเภทของสารเสพติด
๓. ผลกระทบต่อผ้เู สพสารเสพติด
๔. การสังเกตอาการคนตดิ ยาเสพตดิ
๕. แนวทางการป้องกนั และแกไ้ ขปญั หายาเสพติด
๖. ความสมั พันธข์ องการใช้สารเสพติดกับการเกดิ อบุ ตั ิเหตุ
๗. การดาเนนิ งานป้องกันสารเสพตดิ ในสถานศึกษา
กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขัน้ นาเขา้ สู่บทเรยี น
๑. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงเหตุการณ์ตามสื่อ ข่าวหนังสือพิมพ์ เร่ืองของ ยาเสพติด อุบัติเหตุ
จากการเสพสารเสพติดสถานการณ์ยาเสพติดในประเทศเราจะเห็นว่ามีข่าวตามส่ือหรือหน้า
หนังสือพิมพ์เป็นประจาทุกวัน ไม่ว่าจะในเร่ืองของผู้ค้าผู้ขาย ผู้เสพ การจ้ปี ล้นชิงทรัพย์ อุบัติเหตุจาก
การใช้สารเสพติด จึงเป็นปัญหาสาคัญของประเทศท่ีส่งผลเสียอย่างร้ายแรงเราจึงควรร่วมมือในการ
ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด รวมทั้งให้ความรู้แก่เยาวชนของประเทศท่ีจะเป็นกาลังของชาติ
ต่อไป ในทกุ ระดบั ไม่ว่าจะเปน็ ชมุ ชน สงั คมใด ใหห้ า่ งไกลยาเสพติด
๒. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปถึงขา่ วสารยาเสพติด
ขัน้ สอน
๓. แบ่งกลุม่ ผ้เู รียนออกเปน็ ๗ กลุ่ม ตามหวั ข้อสาระสาคัญ ให้นักเรยี นนาเนอ้ื หาในหนังสอื เรียนมา
อภปิ รายและความรูท้ น่ี กั เรยี นมปี ระสบการณ์ ครคู อยให้ความรู้เพิ่มเติม สนบั สนนุ
กลุ่มท่ี ๑ อภิปรายถึง ความหมายของสารเสพตดิ
กลุ่มท่ี ๒ อภปิ รายถงึ ประเภทของสารเสพตดิ
กลุม่ ที่ ๓ อภปิ รายถงึ ผลกระทบต่อผเู้ สพสารเสพติด
กลุ่มที่ ๔ อภิปรายถึงการสงั เกตอาการคนตดิ สารเสพตดิ
กลุม่ ท่ี ๕ แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
กลุ่มท่ี ๖ ความสมั พนั ธข์ องการใชส้ ารเสพตดิ กับการเกดิ อุบัติเหตุ
กลมุ่ ท่ี ๗ การดาเนินงานป้องกันสารเสพติดในสถานศึกษา
ขนั้ สรุปและการประยุกต์
๔. แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลงานการอภิปราย
๕. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันสรปุ ผลการอภิปราย
๖. นกั เรยี นทาแบบประเมนิ ผลการเรียนรู้ และประเมนิ ตนเองเพ่อื ทดสอบความซื่อสตั ย์
ส่อื และแหล่งการเรียนรู้
๑. หนังสือเรียน วชิ าการป้องกันตนเองจากภัยสงั คม ของสานักพมิ พ์เอมพันธ์ จากดั
๒. ใบงาน
๓. แบบประเมนิ ตนเอง
๔. สอื่ PowerPoint วชิ า การป้องกนั ตนเองจากภัยสงั คม
๕. คลิป วดี โี อขา่ วสาร หนังสอื พิมพ์
หลกั ฐาน
๑. การตรวจใบงาน กจิ กรรม คาถาม
๒. การเช็คชื่อเข้าเรียน
๓. สมุด
การวัดผลและการประเมนิ ผล
วิธวี ดั ผล
๑. สงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล
๒. ประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่
๓. สังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกล่มุ
๔. ตรวจใบงาน
๕. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรู้
๖. การสงั เกตและประเมนิ พฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
เครื่องมือวัดผล
๑. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
๒. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกล่มุ (โดยครู)
๓. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยนักเรียน)
๔. ใบงาน
๕. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และแบบประเมนิ ตนเองจากหนังสือการป้องกันตนเองจากภัยสังคม
๖. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ โดยครแู ละนักเรียนร่วมกัน
ประเมนิ
เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
๑. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล ตอ้ งไม่มีชอ่ งปรับปรุง
๒. เกณฑ์ผ่านการประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกล่มุ คือ ปานกลาง (๕๐ % ข้ึนไป)
๓. เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุม่ คือ ปานกลาง (๕๐ % ขึน้ ไป)
๔. ตอบคาถามใบงานไดท้ กุ ใบงานจึงจะถือวา่ ผา่ นการประเมิน
๕. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เกณฑผ์ ่าน คือ พอใช้ (๕-๖ คะแนน)
๖. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คะแนนข้นึ อย่กู ับการ
ประเมินตามสภาพจรงิ
กจิ กรรมเสนอแนะ
ใหน้ กั เรยี นบันทึกโทษและพาภยั ของยาเสพติดลงในสมดุ
แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการที่ ๑๒ หน่วยท่ี ๙
รหสั วิชา ๒๐๐๐–๑๖๐๔ วิชา การปอ้ งกนั ตนเองจากภัยสงั คม สอนคร้งั ที่ ๒๓-๒๔
ชื่อหน่วย/เรอื่ ง ปจั จัยเส่ยี งในการใชส้ ารเสพติด จานวน ๒ ชวั่ โมง
จุดประสงค์รายวชิ า
๑. เพ่อื ใหม้ ีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั สัมพันธภาพระหว่างเพศในวยั รนุ่ ปจั จัยเสี่ยงและสถานการณท์ ี่ไม่
ปลอดภยั
๒. เพอ่ื ใหม้ ที ักษะในการปอ้ งกนั ตนเองโดยใช้ศิลปะในการป้องกนั ตวั และเอาตัวรอด
สมรรถนะรายวิชา
๑. แสดงความรู้เกี่ยวกับสมั พันธภาพระหวา่ งเพศในวัยร่นุ ปจั จยั เส่ียงและสถานการณ์ท่ีไม่ปลอดภยั
๒. ออกกาลงั กายเพอ่ื ป้องกันตนเองโดยใชศ้ ิลปะการป้องกันตัวและเอาตัวรอด
สาระสาคญั
การติดสารเสพติดเป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมมนุษย์ท่ีส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้เสพโดยตรง
ก่อให้เกิดปัญหาสังคม และเป็นปัญหาสาคัญของประเทศ โดยเฉพาะการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การเรียนรู้
เกี่ยวกับสถานการณ์ท่ีเส่ียงต่อการติดสารเสพติด และการใช้ทักษะต่างๆ ในการหลีกเล่ียงจากการเข้าไปเก่ียวข้อง
กับสารเสพติด รวมท้ังรู้จักวิธีการชักชวนให้ลด ละ เลิกสารเสพติดซ่งึ จะทาให้นกั เรียนปลดภัยและห่างไกลจากการ
ตดิ สารเสพติด
ผลการเรยี นรู้ทคี่ าดหวงั
๑. อธบิ ายถึงสถานการณ์เสีย่ งต่อการติดสารเสพตดิ
๒. ตระหนักถึงสถานการณ์ที่เสี่ยงตอ่ การติดสารเสพตดิ
๓. ใชท้ กั ษะชวี ิตเพื่อป้องกนั และแก้ไขปัญหาสารเสพตดิ
๔. มีการพัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ของผู้สาเร็จการศกึ ษา
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ทีค่ รสู ามารถสังเกตได้ขณะทาการสอนในเร่ือง
๑. ความมมี นุษย์สัมพันธ์ ๒. ความมีวินยั
๓. ความรับผิดชอบ ๔. ความซ่อื สัตยส์ ุจริต
๕. ความเชอื่ มั่นในตนเอง ๖. การประหยดั
๗. ความสนใจใฝร่ ู้ ๘. การละเว้นส่งิ เสพติดและการพนนั
๙. ความรักสามัคคี ๑๐. ความกตัญญกู ตเวที
สาระการเรียนรู้
ปัจจัยเส่ยี งในการใชส้ ารเสพติด
๑. สถานการณ์เสย่ี งตอ่ การตดิ สารเสพติด
๒. ทกั ษะชวี ติ เพ่ือป้องกันและแก้ไขปญั หาสารเสพตดิ
กจิ กรรมการเรียนรู้
ขน้ั นาเขา้ ส่บู ทเรยี น
๑. ครูและนักเรียนร่วมกันกล่าวถึงหน่วยท่ีเรียนมาแล้วผลของการเสพสารเสพติด มีผลร้ายต่อชีวิตอย่าง
มหาศาลเรื่องของสารเสพติดเปน็ ปัญหาระดับประเทศ ไม่วา่ จะเปน็ ชุมชน สังคมสว่ นไหนร่วมไปถึงตัว
บุคคลโดยเฉพาะเยาวชนของชาติอยู่ในกลุ่มคนที่มีความเส่ียงมากที่สุด เรารู้อยู่แล้วว่าผู้ที่เข้าไปยุ่ง
เกี่ยวกบั สารเสพติด จะมีแตผ่ ลรา้ ย ต่อสุขภาพ ผลเสยี ต่อการศึกษา ความปลอดภยั ในการดาเนินชีวิต
ทรพั ยส์ นิ และเรอ่ื งอืน่ ๆอีกมากมาย เราควรเรียนรู้เพ่อื หลกี เล่ยี งสถานการณ์หรอื ปัจจยั ที่เสย่ี งท่จี ะเข้า
ไปยุ่งเกีย่ วกบั สารเสพติด เพอื่ ชีวิตทีด่ ีตอ่ ไป
๒. ครูและนักเรียนรว่ มกันอภปิ รายความคิดเห็นถึงเร่อื งผลของเสพสารเสพตดิ
ขนั้ สอน
๓. ครูถามนักเรยี นเปน็ รายบุคคลถึงปัจจยั หรอื สถานการณเ์ สย่ี งที่จะเข้าไปยุ่งเกีย่ วกับสารเสพตดิ และ
นกั เรียนจะปฏิเสธอยา่ งไร ให้นกั เรียนกล้าคิดและแสดงเหตุผล