The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือชุด 6 เล่ม (พรรณไม้ ผีเสื้อ แตน สัตว์สะเทินน้ำสะเทินก นก ค้างคาว)
โครงการ อพ.สธ. สนองพระราชดำริโดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dpongchai, 2020-08-13 00:16:47

ค้างคาว

หนังสือชุด 6 เล่ม (พรรณไม้ ผีเสื้อ แตน สัตว์สะเทินน้ำสะเทินก นก ค้างคาว)
โครงการ อพ.สธ. สนองพระราชดำริโดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คา้ งคาว บรเิ วณเขาถ้�ำเสอื -เขาจ�ำปา

ผู้แตง่ : ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธงชัย งามประเสรฐิ วงศ์,
นายกษดิ ิศ ริสอน, นายจติ รทิวสั พรประเสรฐิ และ นายพชรพล จมุ่ ศรี
ภาพ: ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธงชยั งามประเสรฐิ วงศ์
นายจติ รทวิ ัส พรประเสริฐ
ISBN: 978-616-407-235-0
พมิ พค์ รง้ั ท่:ี 1
จ�ำนวนที่พิมพ:์ 1,000 เล่ม
เดือนปที ่พี มิ พ:์ พฤศจกิ ายน 2560
พิมพท์ ่ี: โรงพมิ พ์แหง่ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย โทร. 0-2218-3563
อา้ งอิง: ธงชยั งามประเสรฐิ วงศ์, กษดิ ศิ ริสอน, จิตรทวิ สั พรประเสริฐ
และ พชรพล จุ่มศรี. 2560. ค้างคาว บริเวณเขาถ�้ำเสือ-เขาจ�ำปา.
โรงพมิ พแ์ หง่ จฬุ าฯ. กรงุ เทพฯ. 64 หนา้ .

ประสานงานการจดั พมิ พ์

โดย
ศนู ยเ์ ครอื ขา่ ยการเรียนรู้เพอ่ื ภมู ิภาค

จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย

ค้างคาว

บริเวณเขาถำ�้ เสอื -เขาจำ�ปา

ผผูชูชววภภยยาาศคศคโาโวาควสคนสชินรชิรตสาตงาสางายมรกชยสมรกชสจเาาีวนจเาาีวดนจรดติวจรอิตว็จออา็จทิอรางิทพรรนงพรนพทยพทยยรรุยรรุิวาระิวกัาระกัะสัเดะษัสคเดทษรคทรรณพารพพณพาพพ.ชัน.ธชรนัธระรดรวะงธัตดวงธตัปำุกปิทชนำุกทิชนรรรรรยยัรริโยยัระรโิดาะเารดาสเามชสศงมยชศงยรพสาารจพสาาจฐิมสชืุดุฬฐิมสืชุดุฬอปตาาอปตาแานัแรลรฯลนัรลรฯลเะงะเะเงนะจสกเนสจสกสนือุฬรนรยอืุฬรรยางณาิฐางณาายฐิมามยมลวมมลวพามบพางงหบจงงหจชรศกาชารศกาามรกวม,รรกว,รรพิทพรณพนิทพาณนายรลาชยรลาชมาะยมกาะยกลรหจลกรมุหจกาุมยั ามุาัยษาาุมชษาวชรศวดิดรศิดทิดีทิรีิศำรศิยำียรีราิราิรลลิสิสัยยัออนน,,

คำ� นำ�

หนังสือคา้ งคาว บริเวณเขาถ�้ำเสือ-เขาจำ� ปา อ�ำเภอแก่งคอย จงั หวัดสระบรุ ี
เป็นการรวบรวมผลการส�ำรวจและการวิจัยสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในกลุ่มค้างคาว โดย
อาจารย์และนสิ ิต ภาควชิ าชวี วิทยา คณะวทิ ยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั เพ่ือ
เปน็ ขอ้ มลู พนื้ ฐานทางวชิ าการสำ� หรบั การจดั การทรพั ยากรและวางแผนการใชพ้ น้ื ทข่ี อง
จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ณ อ�ำเภอแกง่ คอย จังหวัดสระบุรี ภายใต้การสนบั สนนุ ของ
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราช
สุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี สนองพระราชด�ำรโิ ดยจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั (อพ.สธ.-
จฬ.)

หนังสือเล่มน้ีส�ำเร็จลุล่วงได้ด้วยความอนุเคราะห์จากหลายฝ่าย โดยเฉพาะ
อย่างยิ่ง ศูนย์เครือข่ายการเรียนรู้เพื่อภูมิภาค จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตลอดจน
คณาจารย์ นิสิต และศิษย์เก่า ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย ทางคณะผู้จดั ท�ำจึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ และหวังเปน็ อยา่ งยงิ่ ว่า
หนังสือเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์แก่ผู้สนใจศึกษาวิจัยค้างคาวในประเทศไทย ตลอดจน
ปลูกฝังจิตส�ำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและเสริมสร้างความตระหนักใน
คุณคา่ ของคา้ งคาวตอ่ ระบบนิเวศ แก่คนรุน่ ใหมต่ ่อไป

คณะผู้จัดท�ำ
ตุลาคม 2560

คำ� นิยม

เนอื่ งในโอกาสทจ่ี ฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ไดร้ บั พระราชทานพระราชานญุ าต
จากสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารใี หเ้ ปน็ เจา้ ภาพรว่ มกบั โครงการ
อนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ริ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยาม
บรมราชกุมารี (โครงการ อพ.สธ.) จดั งานประชุมวิชาการและนทิ รรศการคร้งั ที่ 9 ใน
หัวข้อ ทรัพยากรไทย: ศักยภาพมากล้นมีให้เห็น ในปีพุทธศักราช 2560 ณ พื้นที่
จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย สระบรุ ี ตำ� บลชำ� ผักแพว อ�ำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี นบั
เป็นพระมหากรณุ าธิคุณเปน็ ล้นพ้นแกช่ าวจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั

​นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 เป็นต้นมา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ขยายพ้ืนที่
ดำ� เนินกจิ กรรมทางด้านการเรยี นการสอน การวิจัย การบรกิ ารวชิ าการและกิจกรรม
ในรปู แบบอนื่ ๆ ของคณาจารย์ บคุ ลากรและนสิ ติ มายงั พนื้ ทจ่ี ฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั
สระ บุรี ซ่ึงแต่เดิม คือ โครงการพัฒนาที่ดินของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อ�ำเภอ
แกง่ คอย จงั หวดั สระบรุ ี ท่ไี ดเ้ รมิ่ ด�ำเนินการมาต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2532 จากการรเิ รม่ิ จดั หา
ท่ีดนิ โดย ศาสตราจารย์ ดร.บญุ รอด บิณฑสนั ต์ และไดม้ อบพืน้ ท่ีให้กบั จฬุ าลงกรณ์
มหาวิทยาลยั ต่อมาในปี พ.ศ. 2548 มหาวิทยาลัยได้แต่งต้ังคณะกรรมการวางแผน
พัฒ นาพื้นที่สระบุรี และในปี พ.ศ. 2549 มอบหมายให้คณะวิทยาศาสตร์จัดท�ำ
“โครงการส�ำรวจส่ิงแวดล้อมทางชีวภาพ กายภาพ และการประเมินสถานภาพทาง
นิเ วศวิทยาในพื้นที่โครงการ” เพื่อส�ำรวจและเก็บข้อมูลท้ังทางด้านกายภาพและ
ชีวภาพของพ้ืนที่

​ กิจกรรมการสำ� รวจธรรมชาติวทิ ยาในพื้นที่จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั สระบุรี
ไ ด้ ด�ำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง จนเป็นแผนพัฒนาเครือข่ายวิชาการจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัยในภูมิภาค ท่ีได้ถวายรายงานต่อสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม
บรมราชกุมารี ในโอกาสเสด็จพระราชด�ำเนินมาทรงติดตามความก้าวหน้าโครงการ
พัฒ น า ที่ดินของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อ�ำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ในวัน
พฤหัสบดีที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2556 ซึ่งมีสาระที่ส�ำคัญตอนหนึ่งเกี่ยวข้องกับการ
พัฒนาพ้ืนท่ีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จังหวัดสระบุรี เพ่ือการเรียนการสอนธรรมชาติ
วทิ ยา แบบต่อเนอ่ื งในระยะยาว โดยมอบหมายใหภ้ าควิชาชีววิทยา คณะวทิ ยาศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหนึ่งในหน่วยงานท่ีร่วมรับผิดชอบด�ำเนินการ

​ ขอ้ มลู ทางธรรมชาตวิ ทิ ยาที่ คณาจารย์ นกั วจิ ยั และนสิ ติ ของภาควชิ าชวี วทิ ยา
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ไดร้ ่วมสำ� รวจ ภายใต้การสนบั สนุนของ
จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2549 จนถงึ ปจั จุบนั มีคณุ ค่าเชงิ วิชาการสงู
มาก สมควรไดร้ บั การรวบรวมไว้อยา่ งเปน็ ระบบ ภาควิชาชวี วิทยา คณะวทิ ยาศาสตร์
จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย จงึ มคี วามยินดีและขอขอบพระคณุ เป็นอย่างยิ่งทศ่ี ูนย์เครอื
ข่ายการเรยี นรู้เพอื่ ภมู ภิ าค จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ได้จัดพมิ พ์หนังสือเก่ียวกับสรรพ
ชวี ติ ในพนื้ ทสี่ ระบรุ จี ำ� นวน 6 เรอื่ งไดแ้ ก่ พชื พรรณในพนื้ ที่ ผเี สอื้ แตนเบยี น สตั วส์ ะเทนิ
นำ�้ สะเทนิ บก นก และ คา้ งคาว ไวเ้ พอื่ เปน็ แหลง่ อา้ งองิ ของพนื้ ทแ่ี ละของจงั หวดั สระบรุ ี
อนั จะยงั ใหเ้ กดิ ความรู้ ความเข้าใจ จนนำ� ไปสกู่ ารอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาตไิ วต้ อ่ ไป

ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นพดล กติ นะ
หวั หนา้ ภาควชิ าชวี วทิ ยา คณะวิทยาศาสตร์

จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย

สารบญั

คำ� น�ำ หนา้
ค�ำนิยม
สารบญั 1
บทนำ� 5
สัณฐานวทิ ยาของคา้ งคาว 8
การบินของคา้ งคาว 10
อาหารของค้างคาว 13
แหล่งเกาะนอนของคา้ งคาว 14
ความส�ำคญั ของค้างคาวตอ่ ระบบนเิ วศ 23
ค้างคาวในประเทศไทย 24
  วงศค์ า้ งคาวกินผลไม้ (Family Pteropodidae) 26
  วงศ์ค้างคาวคุณกติ ติ (Family Craseonycteridae) 28
  วงศ์ค้างคาวหางโผล่ (Family Emballonuridae) 31
  วงศ์ค้างคาวหนา้ ยกั ษ์ (Family Hipposideridae) 32
  วงศค์ ้างคาวแวมไพร์แปลง (Family Megadermatidae) 33
  วงศ์คา้ งคาวปกี พบั (Family Miniopteridae) 35
  วงศค์ า้ งคาวปากยน่ (Family Molossidae)

                    หน้า

  วงศ์ค้างคาวหน้ารอ่ ง (Family Nycteridae) 35
  วงศค์ ้างคาวมงกุฎ (Family Rhinolophidae) 36
  วงศ์คา้ งคาวหางหนู (Family Rhinopomatidae) 39
  วงศค์ า้ งคาวลูกหนู (Family Vespertilionidae) 39
ถ่นิ อาศัยของค้างคาวในพื้นท่เี ขาถำ�้ เสือ-เขาจำ� ปา 40
คา้ งคาวในพน้ื ที่เขาถำ้� เสือ-เขาจ�ำปา
  ค้างคาวเลบ็ กุด 43
  ค้างคาวแมไ่ กภ่ าคกลาง 45
  คา้ งคาวหนา้ ยกั ษ์สามหลืบ 47
  คา้ งคาวแวมไพร์แปลงเลก็ 49
  ค้างคาวมงกฎุ ปลอมเลก็ 51
  คา้ งคาวมงกุฎมลายู 53
  ค้างคาวมงกฎุ เลยี นมลายูหางสน้ั เลก็ 55
  คา้ งคาวเพดานเล็ก 57
บรรณานุกรม 58

ค้างคาว บรเิ วณเขาถำ�้ เสือ-เขาจ�ำปา

บทน�ำ

ค้างคาวจัดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม เหมือนกับมนุษย์ โดยมีลักษณะร่วมกัน
ท้ังการเป็นสัตว์เลือดอุ่นท่ีมีขนปกคลุมท่ัวร่างกาย มีการผลิตน�้ำนมส�ำหรับเล้ียงดูลูก
มคี วามสามารถในการได้ยนิ มองเห็น หรอื แมก้ ระทั่งการดมกลิ่น เชน่ เดียวกับมนุษย์
แตม่ สี ง่ิ หนง่ึ ทม่ี คี วามพเิ ศษทพี่ บไดเ้ ฉพาะในคา้ งคาว คอื ความสามารถในการบนิ อยา่ ง
แทจ้ ริง โดยคา้ งคาวเป็นสัตวเ์ ลย้ี งลูกดว้ ยนมกลุ่มเดียวเทา่ นนั้ ทม่ี ีปกี ซึง่ เป็นพงั ผดื หนัง
แผ่ออกจากบริเวณด้านข้างล�ำตัวทั้งสองข้างเชื่อมติดกับกระดูกขา กระดูกแขน และ
กระดกู นวิ้ ทง้ั หา้ ดว้ ยความสามารถนที้ ำ� ใหเ้ ราพบคา้ งคาวไดแ้ ทบทกุ ทใ่ี นทกุ ทวปี ยกเวน้
เพียงทวีปอาร์คติกและแอนตาร์กติกเท่าน้ัน นอกจากนั้นค้างคาวหลายชนิดสามารถ
ปลอ่ ยคลนื่ ความถสี่ งู (20-200 kHz) เพอื่ ใชใ้ นการระบตุ ำ� แหนง่ ของวตั ถผุ า่ นการสะทอ้ น
กลับ (echolocation) ซ่ึงท�ำให้สามารถบินออกหากินได้แม้ในยามค่�ำคืนที่มืดสนิท
ความมืดกไ็ ม่เปน็ อุปสรรคในการด�ำรงชวี ติ ของค้างคาว

ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าค้างคาวมีวิวัฒนาการมาจากสัตว์เล้ียงลูกด้วยนมกลุ่มอื่น
อยา่ งไร แตค่ าดวา่ นา่ จะเกดิ ขนึ้ ในชว่ ง 70-100 ลา้ นปที ผ่ี า่ นมาเมอ่ื ววิ ฒั นาการของพชื ดอก
เกดิ ขนึ้ อยา่ งรวดเรว็ พชื ดอกมกี ารแพรก่ ระจายและความหลากหลายเพม่ิ ขนึ้ อยา่ งมาก
ส่งผลให้มีปริมาณและความหลากหลายของแมลงเพิ่มข้ึนตามไปด้วย ซ่ึงน�ำไปสู่การ
ววิ ฒั นาการอยา่ งรวดเรว็ ของสตั วเ์ ลย้ี งลกู ดว้ ยนมรวมทง้ั คา้ งคาวทก่ี นิ พชื และแมลงเปน็
อาหารในชว่ งเวลาดงั กลา่ ว และจากหลกั ฐานทางบรรพชวี นิ วทิ ยาบง่ ชวี้ า่ คา้ งคาวมคี วาม
สามารถในการบนิ และการใชค้ ลน่ื เสยี งในการระบตุ ำ� แหนง่ มานานกวา่ 50 ลา้ นปแี ลว้

2 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา

ค้างคาวเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในอันดับ
Chiroptera ซึง่ มคี วามหลากหลายสูงเป็นอนั ดับสอง
รองจากสัตวฟ์ ันแทะ (อันดับ Rodentia) ในปจั จุบัน
มีการค้นพบค้างคาวแล้วมากกวา่ 1300 ชนดิ ท่วั โลก
และยังคงมีการค้นพบค้างคาวชนิดพันธุ์ใหม่อย่างต่อ
เนอ่ื งจากการศกึ ษาและพฒั นาองคค์ วามรพู้ น้ื ฐานทาง
อนกุ รมวธิ าน
จากข้อมูลทางพันธุกรรมและความสัมพันธ์
ทางวิวัฒนาการ ค้างคาวถูกแบ่งออกเป็นสองอันดับ
ย่อย คือ อันดับย่อย Yinpterochiroptera ซ่ึง
ประกอบดว้ ย6วงศ์และอนั ดบั ยอ่ ยYangochiroptera
ซึ่งประกอบด้วย 13 วงศ์ อย่างไรก็ตามเราสามารถ
จ�ำแนกกลุ่มค้างคาวอย่างง่าย ได้เป็นสองกลุ่มคือ
ค้างคาวกินผลไม้ (Megabat) และค้างคาวกินแมลง
(Microbat)

คา้ งคาวกินผลไมป้ ระกอบดว้ ยหนึง่ วงศ์ คือ Family Pteropodidae มจี �ำนวนชนดิ

ทง้ั หมด 195 ชนดิ โดยพบเฉพาะในทวีปเอเชีย แอฟรกิ า และออสเตเรีย กนิ ผลไมแ้ ละ
น�้ำหวานจากดอกไม้เป็นอาหาร ค้างคาวกลุ่มน้ีใช้ตาและจมูกในการน�ำทางและหา
อาหาร แตก่ ม็ บี างชนดิ สามารถใชเ้ สยี งในการนำ� ทางและระบตุ ำ� แหนง่ (echolocation
call) ไดเ้ ชน่ เดยี วกบั คา้ งคาวกนิ เเมลง แตเ่ ปน็ การใชเ้ สยี งสะทอ้ นทเี่ กดิ จากการกระดก
ล้ินหรือกระพือปีกไม่ใช่สร้างจากกล่องเสียง เช่น ค้างคาวบัว ค้างคาวเล็บกุด และ
ค้างคาวขอบหขู าว

ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา 3

ค้างคาวกินแมลงประกอบด้วย 18 วงศ์ (1115 ชนดิ ) เป็นคา้ งคาวทสี่ ามารถปลอ่ ย

คล่ืนความถี่สูงจากกล่องเสียง (larynx) เพ่ือใช้น�ำทางและระบุต�ำแหน่งของเหยื่อใน
ความมดื คา้ งคาวกลมุ่ นม้ี คี วามหลากหลายสงู และพบไดใ้ นหลายทวปี ทวั่ โลก สว่ นใหญ่
กนิ แมลงเปน็ อาหารหลกั รวมถงึ สตั วไ์ มม่ กี ระดกู สนั หลงั ทม่ี ขี อ้ ปลอ้ ง (arthropods) อน่ื
เช่น ตะขาบและแมงมุม ค้างคาวบางชนิดสามารถกินสัตว์มีกระดูกสนั หลงั ขนาดเลก็
เชน่ สตั วเ์ ลอ้ื ยคลาน สตั วส์ ะเทนิ นำ�้ สะเทนิ บก นก สตั วเ์ ลยี้ งลกู ดว้ ยนมรวมทั้งค้างคาว
ชนิดอืน่ และคา้ งคาวบางชนิดกินเลอื ดเปน็ อาหาร

4 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา

จ�ำนวนชนดิ ของค้างคาวในแต่ละวงศท์ พี่ บในประเทศไทยและทวั่ โลก

อันดับย่อย Yinpterochiroptera วงศ์ในอนั ดับค้างคาว จำ�นวนชนิดใน จำ�นวนชนิด
ประเทศไทย [1] ทั่วโลก [2]
ัอน ัดบ ่ยอย Yangochiroptera กลุม่ คา้ งคาวกนิ ผลไม้
Family Pteropodidae 21 195
กลมุ่ ค้างคาวกินแมลง
Family Rhinolophidae 23 95
Family Hipposideridae 19 94
Family Rhinopomatidae 16
Family Craseonycteridae 11
Family Megadermatidae 35
Family Emballonuridae 5 53
Family Nycteridae 1 16
Family Molossidae 5 121
Family Miniopteridae 4 31
Family Vespertilionidae 63 457
Family Natalidae - 12
Family Myzopodidae -2
Family Mystacinidae -2
Family Thyropteridae -5
Family Furipteridae -2
Family Noctilionidae -2
Family Mormoopidae - 11
Family Phyllostomidae - 200
146 1310
รวม

[1] ดัดแปลงจาก พิพฒั น์ สร้อยสขุ (2554)
[2] http://www.globalspecies.org/ntree/115202 [ตลุ าคม 2560]

ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา 5

สัณฐานวทิ ยาของคา้ งคาว

Chiroptera มาจากรากศพั ท์ภาษากรีกสองค�ำ คอื
cheir แปลว่ามือ และ pteron แปลวา่ ปกี ซึง่ บ่งบอกว่าปกี
ของค้างคาววิวัฒนาการมาจากมือ โดยมีกระดูกแขน
ส่วนปลาย (forearm: FA) และกระดูกน้ิวท่ียาวเป็นพิเศษ
มารองรบั พงั ผดื หนงั ทปี่ กี (wing membrane) และในคา้ งคาว
กนิ แมลงสว่ นใหญจ่ ะมพี งั ผดื หนงั เชอื่ มระหวา่ งขาทง้ั สองขา้ ง
(interfemoral หรอื tail membrane) ชว่ ยเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ
ในการบินและการจับเหย่อื

ค้างคาวไม่มีเล็บที่ปลายน้ิวยกเว้นที่นิ้วหัวแม่มือ
(thumb) จะมีเล็บสำ� หรบั เกาะยดึ และชว่ ยในการเคล่ือนที่
ตามตน้ ไม้ ผนงั ถำ�้ หรอื พนื้ ดนิ (กลมุ่ คา้ งคาวกนิ ผลไมจ้ ะมเี ลบ็
ที่ปลายนิ้วท่ีสองด้วย) ขาของค้างคาวมีขนาดเล็กและไม่ได้
ท�ำหน้าท่ีรบั น�้ำหนักตัว แตม่ ีหัวเขา่ ท่ีหมนุ ได้ถึง 180° ทำ� ให้
งอไปด้านหลังและด้านข้างได้ ช่วยให้คลานส่ีขาได้สะดวก
และทีป่ ลายตนี (hind foot) จะมีกรงเล็บท่มี ีลกั ษณะพเิ ศษ
คอื การหดตวั ของกลา้ มเนอ้ื จะดงึ เสน้ เอน็ ทำ� ใหก้ รงเลบ็ คลาย
ออก และเม่ือกล้ามเน้ือคลายตัว น�้ำหนักตัวของค้างคาวท่ี
ถว่ งลงตามแรงโนม้ ถว่ งจะทำ� ใหก้ รงเลบ็ เกาะยดึ กบั กงิ่ ไมห้ รอื
ผนงั ถำ้� ได้ โดยไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งใชพ้ ลงั งานในการเกาะหอ้ ยหวั ซงึ่
การเกาะหอ้ ยหวั ยงั สะดวกตอ่ ค้างคาวในการทงิ้ ตวั ลงเพ่อื บนิ
ออกจากทเ่ี กาะอกี ดว้ ย

6 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา

ค้างคาวเป็นสตั วท์ ีห่ ากนิ ในเวลากลางคืน จงึ
มีประสาทสัมผัสท่ีดีทั้งในการมองเห็น ฟังเสียง และ
ดมกลิ่น ค้างคาวมีดวงตา (eye) ที่ไวต่อการรับแสง
มาก และมจี มกู ที่มปี ระสิทธภิ าพในการรบั กลนิ่ โดย
เฉพาะคา้ งคาวกนิ ผลไมท้ ม่ี ดี วงตาขนาดใหญท่ ำ� ใหม้ อง
เหน็ ไดด้ แี มม้ แี สงเพยี งเลก็ นอ้ ย และมจี มกู ทไ่ี วตอ่ กลนิ่
ของดอกไม้และผลไม้สุก นอกจากน้ันค้างคาวหลาย
ชนิดโดยเฉพาะค้างคาวกินแมลงจะมีหู (ear) ขนาด
ใหญห่ รอื มรี ปู รา่ งซบั ซอ้ นทช่ี ว่ ยในการรบั ฟงั เสยี งของ
เหยื่อและคล่ืนเสียงความถี่สูงของค้างคาวท่ีสะท้อน
กลับมา และเพ่ือให้คล่ืนเสียงความถี่สูงที่ค้างคาว
ปล่อยออกมามีประสิทธิภาพมากขึ้นในการตรวจจับ
เหยอื่ คา้ งคาวกนิ แมลงบางกลมุ่ เชน่ คา้ งคาวแวมไพร์
แปลง คา้ งคาวมงกุฎ คา้ งคาวหน้ายกั ษ์ และค้างคาว
หน้าร่อง จะส่งคลื่นเสียงความถ่ีสูงออกมาผ่านแผ่น
จมูก (noseleaf) ที่มีรูปร่างแตกต่างกันซึ่งเป็น
เอกลกั ษณ์ของค้างคาวแต่ละชนิด

ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา 7

1st digit (Thumb)

Forearm 2nd digit

Ear
Noseleaf Eye

3rd digit

4th digit

5th digit
Wing membrane

Hind foot
Interfemoral membrane

8 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา

การบินของคา้ งคาว

การกระพอื ปกี ของคา้ งคาวทำ� ใหเ้ กดิ แรงยกขนึ้ และแรงผลกั ไปขา้ งหนา้ รปู รา่ ง
ของปกี จะสง่ ผลตอ่ รปู แบบและความเรว็ ในการบนิ ของคา้ งคาว ซง่ึ จะสอดคลอ้ งกบั ชนดิ
ของอาหารและพฤติกรรมการหาอาหารของคา้ งคาว

• ปกี ทีเ่ รียวยาว ประหยัดพลงั งานในการบิน ท�ำใหส้ ามารถบนิ ได้เรว็ และไกล แตก่ าร

บังคับทิศทางจะไมด่ ี ท�ำใหเ้ หมาะตอ่ การบินในทโี่ ล่ง

• ปีกท่ีสั้นและกว้าง ท�ำให้บินได้ช้าแต่สามารถบังคับทิศทางได้ดี เหมาะต่อการบิน

ฉวดั เฉวยี นตามพมุ่ ไมห้ รอื พนื้ ทร่ี กชฏั ทมี่ สี งิ่ กดี ขวางมาก เชน่ ในปา่ ทบึ
ความสามารถในการบินเป็นส่วนหน่ึงในการด�ำรงชีวิตของค้างคาว ท�ำให้
ค้างคาวสามารถเคลื่อนที่ได้ไกลภายในระยะเวลาอันส้ัน แต่เป็นกิจกรรมที่ใช้พลังงาน
สูงมาก ดังน้ันค้างคาวจึงมีการปรับตัวทางสรีรวิทยาและพฤติกรรมเพ่ือควบคุมและ
สงวนการใช้พลังงานให้เหมาะสม

ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา 9

ตวั อย่างการปรบั ตัวทางสรรี วทิ ยา
หัวใจของค้างคาวมีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับขนาดของร่างกาย (0.6-1.3%
ของน้ำ� หนักตวั ) และมีกล้ามเนื้อหัวใจท่แี ขง็ แรงจึงสามารถรองรับอตั ราการเต้นของหวั ใจ
ทสี่ งู มากได้ โดยคา้ งคาวกนิ แมลงจะมอี ตั ราการเตน้ ของหวั ใจโดยเฉลย่ี ประมาณ 450 ครง้ั
ต่อนาที และในขณะท่ีค้างคาวบินจะมีอัตราการเต้นของหัวใจสูงถึง 1100 ครั้งต่อนาที
ทำ� ใหส้ ามารถสบู ฉดี เลอื ดไปยังสว่ นต่างๆ ของรา่ งกายไดป้ รมิ าณมาก แมว้ า่ ปรมิ าณเลอื ด
ในตวั คา้ งคาวจะมสี ดั สว่ นใกลเ้ คยี งกบั สตั วเ์ ลยี้ งลกู ดว้ ยนมกลมุ่ อน่ื แตเ่ ลอื ดคา้ งคาวจะขน้
กว่าเน่ืองจากมีเม็ดเลอื ดแดงจำ� นวนมากและมขี นาดเล็กกวา่ สัตว์เลี้ยงลกู ดว้ ยนมกลุ่มอ่ืน
เพอ่ื เพิ่มปริมาณการล�ำเลียงออกซเิ จนในกระแสเลอื ด
ปอดค้างคาวมีปริมาตรมาก และถุงลมในปอดมีขนาดเล็กท�ำให้มีพื้นผิวในการ
แลกเปลยี่ นกา๊ ซมากกวา่ สตั วช์ นดิ อน่ื และคา้ งคาวยงั มอี ตั ราการหายใจทสี่ งู กวา่ สตั วช์ นดิ อนื่
โดยในขณะบนิ คา้ งคาวจะมอี ตั ราการหายใจทเ่ี พม่ิ ขนึ้ อยา่ งมาก (100-600 ครง้ั ตอ่ นาท)ี

ตวั อย่างการปรบั ตวั ทางพฤตกิ รรม
ค้างคาวขนาดเล็กบางชนิด เช่น คา้ งคาวคณุ กิตติ จะบินออกหากินบรเิ วณโดย
รอบถำ้� ทอ่ี าศยั เฉพาะในเวลาหวั คำ่� และเชา้ มดื ซง่ึ เปน็ ชว่ งทจ่ี ะพบแมลงไดเ้ ปน็ จำ� นวนมาก
เพอื่ หาอาหารใหไ้ ดม้ ากที่สดุ โดยใชพ้ ลังงานในการบนิ ใหน้ อ้ ยทีส่ ุด
ขณะเกาะนอนภายในถำ�้ หรอื แหลง่ เกาะนอนอนื่ ทมี่ อี ณุ หภมู ติ ำ�่ กวา่ 25-30 องศา
เซลเซียส ค้างคาวกินแมลงบางชนิดโดยเฉพาะค้างคาวที่มีขนาดเล็กซึ่งมีพลังงานสะสม
น้อยจะเข้าสู่สภาวะการจ�ำศีลช่ัวคราว (torpor) โดยลดอุณหภมู ิภายในรา่ งกายให้อยใู่ น
ระดบั ทสี่ งู กวา่ อณุ หภมู ภิ ายนอกเพยี งเลก็ นอ้ ย และลดอตั ราการเผาผลาญ การหายใจและ
การเต้นของหวั ใจลง เพ่ือลดการใช้พลังงานในการรกั ษาอุณหภูมิในร่างกายใหอ้ บอนุ่

10 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา

อาหารของค้างคาว

ความหลากชนดิ ของคา้ งคาวและการกระจายพนั ธท์ุ ก่ี วา้ งขวางทำ� ใหค้ า้ งคาวมี
ความหลายหลายของอาหารสงู ซงึ่ อาหารของคา้ งคาวแตล่ ะชนดิ จะแตกตา่ งกนั ขน้ึ กบั
สภาพแวดลอ้ มและธรรมชาตวิ ทิ ยาของคา้ งคาวชนดิ นนั้ ๆ ววิ ฒั นาการของคา้ งคาวทำ� ให้
เกดิ ความสามารถเฉพาะตวั ในการหาอาหารประเภทตา่ งๆ คา้ งคาวกนิ แมลงสามารถปลอ่ ย
คลน่ื เสยี งความถส่ี งู สำ� หรบั ตรวจจบั การเคลอ่ื นไหวแมเ้ พยี งนอ้ ยนดิ ของเหยอื่ คา้ งคาวกนิ
ผลไมห้ ลายชนดิ มจี มกู ทส่ี ามารถรบั กลนิ่ ของผลไมส้ กุ ทหี่ า่ งออกไปหลายกโิ ลเมตร

กลมุ่ คา้ งคาวกนิ แมลงเปน็ นกั ลา่ ทเ่ี กง่ กาจปรบั ตวั ใหม้ คี วามสามารถในการกนิ
อาหารไดห้ ลายประเภท อาหารสว่ นใหญข่ องคา้ งคาวกลมุ่ นเี้ ปน็ แมลงชนดิ ตา่ งๆ เชน่ ดว้ ง
ตก๊ั แตน ยงุ ผเี สอื้ รวมถงึ สตั วไ์ มม่ กี ระดกู สนั หลงั อน่ื ในกลมุ่ Arthropods เชน่ แมงมมุ
ตะขาบ แมงปอ่ ง นอกจากนน้ั คา้ งคาวขนาดใหญบ่ างชนดิ (นำ�้ หนกั >20 กรมั ) เชน่ คา้ งคาว
แวมไพรแ์ ปลง คา้ งคาวหนา้ รอ่ ง สามารถกนิ สตั วจ์ ำ� พวกกง้ิ กา่ กบ นก สตั วฟ์ นั แทะ และ
คา้ งคาวขนาดเลก็ เปน็ อาหาร คา้ งคาวบางชนดิ จบั และกนิ ปลาขนาดเลก็ ได้ ในเขตทวปี
อเมรกิ าซง่ึ ไมพ่ บคา้ งคาวกนิ ผลไม้ จะพบวา่ คา้ งคาวบางชนดิ ในวงศ์ Phyllostomidae
กนิ ไดท้ งั้ แมลง ผลไม้ และนำ�้ หวาน คา้ งคาวแวมไพรซ์ งึ่ อยใู่ นวงศ์ Phyllostomidae วงศย์ อ่ ย
Desmodontinae มี 3 ชนดิ (นำ้� หนกั 25-40 กรมั ) จะกนิ เลอื ดเปน็ อาหาร โดยพบเฉพาะใน
อเมรกิ ากลาง และอเมรกิ าใตเ้ ทา่ นนั้ โดยชนดิ ของเหยอ่ื และพนื้ ทหี่ ากนิ จะแตกตา่ งกนั ไปขน้ึ
กบั รปู แบบการบนิ เทคนคิ การหากนิ ลกั ษณะและความถข่ี องคลน่ื เสยี งทป่ี ลอ่ ยออกมา
ของคา้ งคาวแตล่ ะชนดิ

กลมุ่ คา้ งคาวกนิ ผลไมเ้ ปน็ มงั สวริ ตั ิ กนิ ผลไม้ นำ�้ หวานหรอื ละอองเรณเู ปน็ หลกั
สว่ นใหญจ่ ะตาโต หเู ลก็ และรปู ทรงไมแ่ ปลกประหลาดเทา่ คา้ งคาวกนิ แมลง และมจี มกู ที่
รบั กลนิ่ ไดด้ ี คา้ งคาวกนิ ผลไมม้ อี าชพี หลกั ในการปลกู ปา่ ชว่ ยกระจายเมลด็ พนั ธพ์ุ ชื และ
คา้ งคาวหลายชนดิ ยงั เปน็ ควิ ปดิ สอื่ รกั ทชี่ ว่ ยในการผสมเกสรของพชื หลายชนดิ อกี ดว้ ย

ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา 11

ต�ำนานคา้ งคาวแวมไพร์
ในยามค่�ำคืนค้างคาวแวมไพร์จะบินออกหาเหย่ือ
จำ� พวกววั มา้ และหมู โดยใชฟ้ นั หนา้ ทแ่ี หลมคมกดั ทะลผุ วิ หนงั
ของเหยอ่ื (สาร Draculin ในนำ�้ ลายปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ ลอื ดแขง็ ตวั )
และเลยี กนิ เลอื ดทไี่ หลออกมาเปน็ เวลา 20-30 นาที กอ่ นบนิ
กลบั ไปรวมฝงู เพอื่ แบง่ ปนั เลอื ดใหก้ บั คา้ งคาวอนื่

12 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา

ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา 13

แหลง่ เกาะนอนของคา้ งคาว

คา้ งคาวจะใชเ้ วลาสว่ นใหญอ่ ยใู่ นแหลง่ เกาะนอน (roost)
ซง่ึ เปรยี บเสมอื นบา้ นของคา้ งคาวทใี่ ชใ้ นการพกั ผอ่ น เลย้ี งดลู กู รวม
ถงึ ใชห้ ลบจากภยั อนั ตรายตา่ งๆ ดว้ ยคา้ งคาวเปน็ สตั วส์ งั คมจงึ มกี าร
อยรู่ วมกนั เปน็ กลมุ่ ทม่ี ขี นาดแตกตา่ งกนั ไปตามชนดิ พนั ธ์ุ เชน่ คา้ งคาว
ยอดกลว้ ยปกี ผเี สอ้ื จะเกาะอยดู่ ว้ ยกนั เพยี ง 1-2 ตวั ภายในซอกใบ
กลว้ ยแหง้ คา้ งคาวปากยน่ จะอยรู่ วมกนั เปน็ กลมุ่ ขนาดใหญจ่ ำ� นวน
หลายลา้ นตวั ภายในถำ้� เดยี วกนั คา้ งคาวแตล่ ะชนดิ จะใชแ้ หลง่ เกาะ
นอนทแ่ี ตกตา่ งกนั ซง่ึ สามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ 3 ประเภทหลกั คอื

• ตน้ ไมห้ รอื โพรงไม้ เปน็ แหลง่ เกาะนอนทม่ี คี วามหลากหลาย แตจ่ ะ

มคี วามจำ� เพาะตอ่ คา้ งคาวแตล่ ะชนดิ โดยคา้ งคาวกนิ ผลไมบ้ างชนดิ
เชน่ คา้ งคาวแมไ่ ก่ คา้ งคาวขอบหขู าว จะเกาะหอ้ ยหวั กบั กง่ิ ไมบ้ น
ตน้ ไมส้ งู คา้ งคาวเพดานจะเกาะอยภู่ ายในซอกของใบตาลแหง้ ท่ี
โนม้ หกั ลงมา คา้ งคาวไผห่ วั แบนจะมดุ เขา้ ไปอาศยั ภายในตน้ ไผผ่ า่ น
รอยแตกของลำ� ไผ่

• ถำ�้ หรอื ซอกหนิ ซง่ึ บางครงั้ อาจเกดิ จากการทำ� เหมอื งแร่ การระเบดิ

หนิ หรอื การเจาะอโุ มงคใ์ ตด้ นิ คา้ งคาวหลายชนดิ สามารถเขา้ ไป
อาศยั อยรู่ ว่ มกนั ภายในถำ�้ ขนาดใหญไ่ ด้ เนอ่ื งจากมพี น้ื ทเ่ี กาะพกั
เพยี งพอและมลี กั ษณะของโถงและเพดานถำ้� ทหี่ ลากหลาย

• ส่ิงปลูกสร้างต่างๆ เช่น ตึก อาคารบ้านเรือน ก�ำแพง สะพาน

สสุ าน อโุ มงค์

14 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา

ความส�ำคญั ของคา้ งคาวตอ่ ระบบนเิ วศ

คา้ งคาวจดั เปน็ สงิ่ มชี วี ติ ทมี่ บี ทบาทสำ� คญั ในระบบ
นเิ วศเปน็ อยา่ งมาก กลมุ่ คา้ งคาวกนิ แมลงเปน็ ผลู้ า่ ทส่ี ำ� คญั
โดยเฉลยี่ คา้ งคาวแตล่ ะตวั สามารถกนิ แมลงไดม้ ากถงึ 70%
ของนำ้� หนกั ตวั เทยี บเทา่ กบั จำ� นวนแมลงขนาดเลก็ หรอื ยงุ
หลายพันตัวในแต่ละคืน ดังน้ันค้างคาวกลุ่มน้ีจึงมีหน้าท่ี
ส�ำคัญในการควบคุมประชากรแมลงในธรรมชาติไม่ให้มี
จำ� นวนมากเกนิ ไป เพอื่ รกั ษาสมดลุ ในระบบนเิ วศ และยงั
เปน็ การชว่ ยควบคมุ แมลงทเี่ ปน็ พาหะนำ� โรคและแมลงศตั รู
พชื หลายชนดิ

กลุ่มค้างคาวกินผลไม้มีความส�ำคัญอย่างมากต่อ
ระบบนิเวศเช่นเดียวกัน เมล็ดพันธุ์พืชหลายชนิดใน
ธรรมชาตสิ ามารถกระจายไปตกในพน้ื ทใี่ หมท่ หี่ า่ งไกลจาก
ต้นเดิมได้ โดยถูกน�ำพาไปในมูลค้างคาวหรือเศษผลไม้ที่
ตกหล่นระหว่างเส้นทางการบินหากินของค้างคาวกลุ่มนี้
และคา้ งคาวบางชนดิ ทก่ี นิ นำ้� หวานจากดอกไมจ้ ะทำ� หนา้ ที่
ชว่ ยผสมเกสรของพนั ธพ์ุ ชื หลายชนดิ ในธรรมชาติ พชื หลาย
ชนดิ มวี วิ ฒั นาการของดอกไมใ้ หด้ งึ ดดู คา้ งคาวมาชว่ ยผสม
เกสรโดยเฉพาะ ไมผ้ ลทส่ี ำ� คญั หลายชนดิ เชน่ ทเุ รยี น สะตอ
ยังต้องอาศัยค้างคาวบางชนิด เช่น ค้างคาวแม่ไก่เกาะ
คา้ งคาวเลบ็ กดุ มาชว่ ยผสมเกสรในตอนกลางคนื

บทบาทในการกำ� จดั แมลงศตั รตู า่ งๆ และการขยาย
พนั ธพ์ุ ชื ของคา้ งคาวนน้ั เออ้ื ประโยชนต์ อ่ มนษุ ยท์ งั้ ทางตรง
และทางออ้ ม คดิ เปน็ มลู คา่ มหาศาลทางเศรษฐกจิ นอกจาก
นมี้ ลู ของคา้ งคาวยงั จดั เปน็ ปยุ๋ ชน้ั เลศิ ทมี่ แี รธ่ าตหุ ลายชนดิ

ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา 15

และมีไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในปริมาณมากกว่าปุ๋ยมูลสัตว์ชนิดอ่ืนๆ ท�ำให้ปุ๋ยมูล
คา้ งคาวเปน็ ทนี่ ยิ มและมรี าคาสงู
แต่ในปัจจุบัน ค้างคาวหลายชนิดทั่วโลกมีความเส่ียงต่อการสูญพันธุ์มากขึ้น
เนอื่ งจากกจิ กรรมตา่ งๆ ของมนษุ ยท์ สี่ ง่ ผลใหค้ า้ งคาวถกู ลา่ และสญู เสยี ทอ่ี ยอู่ าศยั โดย
เฉพาะอยา่ งยง่ิ จากการบกุ รกุ ทำ� ลายปา่ การระเบดิ เขาหนิ ปนู ซงึ่ สง่ ผลกระทบโดยตรงตอ่
ประชากรคา้ งคาวทอ่ี าศยั อยภู่ ายในถำ�้ การใชส้ ารเคมกี ำ� จดั ศตั รพู ชื ซง่ึ ทำ� ใหเ้ กดิ การปน
เปอ้ื นสารพษิ ในอาหารของคา้ งคาว ดงั นนั้ เราจงึ ควรรว่ มกนั สง่ เสรมิ และผลกั ดนั ใหเ้ กดิ การ
อนรุ กั ษค์ า้ งคาวทงั้ ทางตรงและทางออ้ ม การปกปกั ษร์ กั ษาแหลง่ อาศยั ของคา้ งคาว ตลอด
จนเสรมิ สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจ และตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของคา้ งคาวตอ่ ระบบนเิ วศ
และมนษุ ยชาติ

16 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา

บัญชีรายชอ่ื ชนิดพันธุแ์ ละสถานภาพของค้างคาวในประเทศไทย

ชนดิ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ IUCN[1] พ.ร.บ.[2] อาหาร[3] ทอ่ี าศยั [4]

วงศค์ า้ งคาวกนิ ผลไม้ (Family PTEROPODIDAE)

คา้ งคาวแคระป่ามาเลย์ Aethalops alecto LC - F V

คา้ งคาวปีกจุด Balionycteris maculata LC ค F,(I),N V,C

ค้างคาวหวั ด�ำ Chironax melanocephalus LC ค F V

ค้างคาวขอบหขู าวเล็กปา่ Cynopterus cf. brachyotis LC - F V
‘Forest’

คา้ งคาวขอบหูขาวเล็กซนุ ดา Cynopterus cf. brachyotis LC - F V
‘Sunda’

คา้ งคาวขอบหูขาวใหญ่ Cynopterus horsfieldii LC - F C,V

ค้างคาวขอบหูขาวกลาง Cynopterus sphinx LC - F V

คา้ งคาวดายคั Dyacopterus spadiceus NT - F V

ค้างคาวเล็บกดุ Eonycteris spelaea LC ค F,N C,V

ค้างคาวหนา้ ยาวเลก็ Macroglossus minimus LC ค N V

คา้ งคาวหน้ายาวใหญ่ Macroglossus sobrinus LC ค F,N V

คา้ งคาวขอบหดู ำ� ใต้ Megaerops ecaudatus LC - F V

ค้างคาวขอบหดู �ำเหนือ Megaerops niphanae LC - F V

ค้างคาวฟันหนา้ คสู่ เี ขมา่ Penthetor lucasii NE - F V

ค้างคาวแม่ไกเ่ กาะ Pteropus hypomelanus LC ค F,N V

ค้างคาวแม่ไก่นครสวรรค์ Pteropus intermedius DD ค F V

ค้างคาวแมไ่ กภ่ าคกลาง Pteropus lylei VU ค F V

ค้างคาวแมไ่ ก่ปา่ ฝน Pteropus vampyrus NT ค F,N V

ค้างคาวบวั ฟนั กลม Rousettus amplexicaudatus LC - F,N C

ค้างคาวบัวฟันรี Rousettus leschenaultii LC - F,N C,M

ค้างคาวดอย Sphaerias blanfordi LC ค F V

ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา 17

บัญชรี ายช่อื ชนิดพันธุแ์ ละสถานภาพของคา้ งคาวในประเทศไทย (ต่อ)

ชนดิ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ IUCN[1] พ.ร.บ.[2] อาหาร[3] ทอี่ าศยั [4]

วงศค์ า้ งคาวคณุ กิตติ (Family CRASEONYCTERIDAE)

ค้างคาวคณุ กติ ติ Craseonycteris thonglongyai VU ค I C

วงศค์ ้างคางหางโผล่ (Family EMBALLONURIDAE)

คา้ งคาวหางโผล่ Emballonura monticola LC ค (F),I C,V

ค้างคาวปกี ถุงปลอม Saccolaimus saccolaimus LC ค I C,M

คา้ งคาวปีกถงุ ตอ่ มคาง Taphozous longimanus LC ค I C,M,V

ค้างคาวปีกถงุ เคราด�ำ Taphozous melanopogon LC ค I C,V,M

ค้างคาวปกี ถุงใหญ่ Taphozous theobaldi LC ค I C

วงศค์ ้างคาวหนา้ ยักษ์ (Family HIPPOSIDERIDAE)

ค้างคาวสามศร Aselliscus stoliczkanus LC ค I C

คา้ งคาวไอ้แหวง่ ใหญ่ Coelops frithii LC ค I C,M

ค้างคาวไอ้แหวง่ เลก็ Coelops robinsoni VU - I C,V

ค้างคาวหนา้ ยกั ษท์ ศกัณฐ์ Hipposideros armiger LC ค I C,M

ค้างคาวหน้ายักษ์สองสีเลก็ Hipposideros atrox NE - I C,M,V

คา้ งคาวหน้ายกั ษ์สองสี Hipposideros bicolor LC ค I C,M

ค้างคาวหน้ายักษเ์ ลก็ สจี าง Hipposideros cineraceus LC ค I C,V

ค้างคาวหน้ายักษห์ มอนโคง้ Hipposideros diadema LC ค C,I C,V,M

ค้างคาวหนา้ ยกั ษ์เลก็ หมู น Hipposideros doriae NT - I U

คา้ งคาวหนา้ ยกั ษเ์ ลก็ ฮาลาบา Hipposideros dyacorum LC - I C,V

คา้ งคาวหนา้ ยักษ์สองหลืบ Hipposideros galeritus LC ค I C,M

คา้ งคาวหนา้ ยกั ษส์ ามหลบื Hipposideros grandis DD - I C

คา้ งคาวหน้ายกั ษจ์ มกู ปมุ่ Hipposideros halophyllus EN ค I C

คา้ งคาวหน้ายักษ์สามหลืบ Hipposideros larvatus LC ค I C,M

ค้างคาวหนา้ ยกั ษห์ มอบุญสง่ Hipposideros lekaguli NT ค I C

18 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา

บญั ชรี ายช่อื ชนดิ พันธแุ์ ละสถานภาพของค้างคาวในประเทศไทย (ตอ่ )

ชนดิ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ IUCN[1] พ.ร.บ.[2] อาหาร[3] ทอ่ี าศยั [4]
LC ค I C
ค้างคาวหน้ายกั ษ์กระบังหน้า Hipposideros lylei NT ค I C
LC ค I C,M
ค้างคาวหน้ายกั ษ์กุมภกรรณ Hipposideros pendleburyi VU - I V

คา้ งคาวหน้ายักษเ์ ล็กหูใหญ่ Hipposideros pomona

ค้างคาวหนา้ ยักษ์รดิ ลยี ์ Hipposideros ridleyi

วงศ์ค้างคาวแวมไพร์แปลง (Family MEGADERMATIDAE)

คา้ งคาวแวมไพร์แปลงใหญ่ Megaderma lyra LC ค C,I C,M,V
LC ค C,I C,M,V
คา้ งคาวแวมไพรแ์ ปลงเลก็ Megaderma spasma CR - I V,M

คา้ งคาวแวมไพร์ทองอารยี ์ Eudiscoderma thongareeae

วงศค์ า้ งคาวปีกพบั (Family MINIOPTERIDAE)

ค้างคาวปีกพบั ใหญ่ Miniopterus fuliginosus LC ค IC
LC ค IC
คา้ งคาวปกี พับดำ� ใหญ่ Miniopterus magnater LC ค I C,M
LC ค I C,M,V
คา้ งคาวปีกพับกลาง Miniopterus medius

ค้างคาวปีกพับเลก็ Miniopterus pusillus

วงศค์ า้ งคาวปากยน่ (Family MOLOSSIDAE)

ค้างคาวปากย่นฮาลา-บาลา Chaerephon johorensis VU - IV
LC ค I C,M
ค้างคาวปากย่น Chaerephon plicatus LC ค I C,M,V
NT - IV
คา้ งคาวขนุ ชา้ ง Cheiromeles torquatus DD - IC

คา้ งคาวปากยน่ มลายู Mops mops

คา้ งคาวปากยน่ ภหู ลวง Tadarida latouchei

วงศค์ ้างคาวหนา้ ร่อง (Family NYCTERIDAE)

คา้ งคาวหนา้ รอ่ ง Nycteris tragata NT ค I C,V

วงศ์คา้ งคาวมงกฎุ (Family RHINOLOPHIDAE)

ค้างคาวมงกฎุ ยอดสนั้ ใหญ่ Rhinolophus acuminatus LC ค I C,M
LC ค I C,V
ค้างคาวมงกุฎเทาแดง Rhinolophus affinis

ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา 19

บญั ชีรายชื่อชนดิ พันธ์แุ ละสถานภาพของค้างคาวในประเทศไทย (ต่อ)

ชนดิ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ IUCN[1] พ.ร.บ.[2] อาหาร[3] ทอ่ี าศยั [4]

คา้ งคาวมงกฎุ สามใบพดั เทาดำ� Rhinolophus beddomei LC - I C,M,V

ค้างคาวมงกุฎปลอมเลก็ Rhinolophus coelophyllus LC ค I C

คา้ งคาวมงกุฎจมูกแหลม Rhinolophus lepidus LC ค I C,M

ค้างคาวมงกุฎจมกู แหลมใต้ Rhinolophus refulgens NE ค I C,M

ค้างคาวมงกุฎใหญ่ Rhinolophus luctus LC ค C,I C,V

คา้ งคาวมงกุฎหูโตเลก็ Rhinolophus macrotis LC ค I C,M

คา้ งคาวมงกฎุ ภเู ขา Rhinolophus monticolus NE - I V

คา้ งคาวมงกุฎมลายู Rhinolophus malayanus LC ค I C

ค้างคาวมงกฎุ หูโตมาร์แชล Rhinolophus marshalli LC ค I C

คา้ งคาวมงกุฎเลยี นมลายู Rhinolophus microglobosus LC - I C
หางส้นั เลก็
ค้างคาวมงกฎุ หูโตใหญ่ Rhinolophus paradoxolophus LC ค I C

ค้างคาวมงกุฎจมูกยาวเลก็ Rhinolophus pearsonii LC ค I C,M

คา้ งคาวมงกุฎเล็ก Rhinolophus pusillus LC ค I C,M

คา้ งคาวมงกฎุ เลียนมลายูเลก็ Rhinolophus robinsoni NT ค I C,V

ค้างคาวมงกุฎปลอมใหญ่ Rhinolophus shameli LC ค I C

คา้ งคาวมงกฎุ หโู ตสยาม Rhinolophus siamensis LC - I C

คา้ งคาวมงกฎุ เลยี นมลายหู าง Rhinolophus stheno LC ค I C,V

ค้างคาวมงกฎุ จมกู ยาวสยาม Rhinolophus thailandensis NE - I C

ค้างคาวมงกฎุ ยอดสนั้ เลก็ Rhinolophus thomasi LC ค I C

ค้างคาวมงกฎุ สามใบพดั Rhinolophus trifoliatus LC ค I V

ค้างคาวมงกฎุ จมูกยาวใหญ่ Rhinolophus yunanensis LC ค I C,M

วงศค์ ้างคาวหางหนู (Family RHINOPOMATIDAE)

คา้ งคาวหางหนู Rhinopoma microphyllum LC ค I C,M

20 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา

บญั ชีรายชอ่ื ชนิดพนั ธ์ุและสถานภาพของค้างคาวในประเทศไทย (ต่อ)

ชนดิ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ IUCN[1] พ.ร.บ.[2] อาหาร[3] ทอี่ าศยั [4]

วงศ์คา้ งคาวลูกหนู (Family VESPERTILIONIDAE)

คา้ งคาวลกู หนสู รอ้ ยคอเหลอื ง Arielulus aureocollaris LC - IV
LC ค IV
คา้ งคาวลกู หนดู ำ� เหลอื บ Arielulus circumdatus VU - IV
DD ค IU
ค้างคาวลกู หนมู ลายู Arielulus societatis LC ค IU
LC ค I C,M
คา้ งคาวท้องนำ�้ ตาลสรุ าษฎร์ Eptesicus dimissus LC - IV
NE - I C,V
คา้ งคาวท้องน�ำ้ ตาลหูหนา Eptesicus pachyotis LC ค I C,V
LC ค IV
คา้ งคาวท้องน้�ำตาลใหญ่ Eptesicus serotinus LC ค IC
LC ค IV
ค้างคาวตีนปุ่ม Eudiscopus denticulus VU - IV
LC ค IV
คา้ งคาวมือปุ่มใหญ่ Glischropus bucephalus LC ค I C,M
LC ค IC
ค้างคาวมอื ปุ่ม Glischropus tylopus LC - I M,V
LC ค I M,V
คา้ งคาวปีกขนใต้ Harpiocephalus harpia LC - IV
NT ค IV
ค้างคาวฟนั หน้าซ้อนเล็ก Hesperoptenus blanfordi LC ค IV
NT - IV
ค้างคาวฟนั หนา้ ซอ้ นใหญ่ Hesperoptenus tickelli LC ค I M,V
LC - IV
ค้างคาวฟันหน้าซอ้ นปลอม Hesperoptenus tomesi

คา้ งคาวลกู หนกู รามหนา้ บนเลก็ Hypsugo cadornae

ค้างคาวลูกหนูถ้ำ� Hypsugo pulveratus

ค้างคาวออี าอีโอ Ia io

ค้างคาวยอดกล้วยหวั แบน Kerivoula depressa

คา้ งคาวยอดกลว้ ยปีกใส Kerivoula hardwickii

คา้ งคาวยอดกลว้ ยคะฉน่ิ Kerivoula kachinensis

คา้ งคาวยอดกลว้ ยเลก็ Kerivoula minuta

ค้างคาวยอดกล้วยปีกป่มุ Kerivoula papillosa

คา้ งคาวยอดกล้วยปกี บาง Kerivoula pellucida

คา้ งคาวยอดกล้วยผีเสือ้ Kerivoula picta

คา้ งคาวยอดกล้วยไททาเนยี Kerivoula titania

ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา 21

บญั ชรี ายชอื่ ชนดิ พันธุแ์ ละสถานภาพของคา้ งคาวในประเทศไทย (ตอ่ )

ชนดิ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ IUCN[1] พ.ร.บ.[2] อาหาร[3] ทอี่ าศยั [4]
LC ค I V
คา้ งคาวยอดกล้วยปา่ Kerivoula whiteheadi DD - I V
VU - I V
ค้างคาวยอดกล้วยหลังสีทอง Kerivoula krauensis LC ค I C,V
LC ค I V
คา้ งคาวจมูกหลอดสีทองแดง Murina aenea NE - I V
LC - I C,V
ค้างคาวจมูกหลอดหสู นั้ Murina cyclotis NE - I V
LC - I V
คา้ งคาวจมกู หลอดหูยาว Murina huttoni NE - I V
NE - I V
คา้ งคาวจมกู หลอดมลายู Murina peninsularis VU - I V
CR - I V
คา้ งคาวจมกู หลอดสีนำ�้ ตาล Murina suilla NE - I V
LC ค I C
ค้างคาวจมกู หลอดหูส้นั ใต้ Murina guilleni LC ค I V
LC - I M
คา้ งคาวจมกู หลอดอินโดจีน Murina harrisoni LC ค I C
LC ค I,(C) C,M,V
ค้างคาวจมกู หลอดสีเทา Murina feae DD - I V
LC ค I C,M,V
ค้างคาวจมูกหลอดสที อง Murina eleryi LC ค I C,M
LC ค I C,V
Gilded Tube-nosed Bat Murina rozendaali NT - I C,M
LC ค I M,V
ค้างคาวจมกู หลอดบาลา Murina balaensis

คา้ งคาวจมกู หลอดเลก็ ทอ้ งขาว Murina walstoni

ค้างคาวหหู นดู อยอ่างขาง Myotis altarium

คา้ งคาวหูหนูหน้าขน Myotis annectans

ค้างคาวหหู นูด�ำเหลือบ Myotis ater

ค้างคาวหหู นยู ักษ์ Myotis chinensis

คา้ งคาวหหู นูตนี โตใหญ่ Myotis hasseltii

คา้ งคาวหูหนเู ฮอรแ์ มน Myotis hermani

ค้างคาวหหู นตู นี โตเลก็ Myotis horsfieldii

ค้างคาวหหู นูพมา่ Myotis montivagus

ค้างคาวหหู นตู นี เลก็ เข้ยี วยาว Myotis muricola

ค้างคาวหหู นูตีนเล็กปา่ ใต้ Myotis ridleyi

ค้างคาวหูหนูมือตนี ป่มุ Myotis rosseti

22 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา

บัญชีรายชื่อชนิดพันธแ์ุ ละสถานภาพของค้างคาวในประเทศไทย (ตอ่ )

ชนดิ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ IUCN[1] พ.ร.บ.[2] อาหาร[3] ทอ่ี าศยั [4]
ค้างคาวหูหนตู นี เล็กเขย้ี วสน้ั Myotis siligorensis LC ค I C,M
ค้างคาวลกู หนูปกี สัน้ Philetor brachypterus LC - I V
ค้างคาวฟันร่องเล็ก Phoniscus atrox NT ค I V
คา้ งคาวฟนั ร่องใหญ่ Phoniscus jagorii LC - I V
คา้ งคาวลกู หนอู ินเดยี Pipistrellus coromandra LC ค I C,M,V
ค้างคาวลูกหนบู ้าน Pipistrellus javanicus LC ค I C,M,V
ค้างคาวลูกหนูอินโดจีน Pipistrellus paterculus LC - I C,V
ค้างคาวลูกหนปู ีกแคบ Pipistrellus stenopterus LC ค I V
คา้ งคาวลกู หนูจวิ๋ Pipistrellus tenuis LC ค I M,V
คา้ งคาวดอยหลังลายขาว Scotomanes ornatus LC - I V
คา้ งคาวเพดานใหญ่ Scotophilus heathii LC ค I C,M,V
ค้างคาวเพดานเลก็ Scotophilus kuhlii LC ค I C,M,V
ค้างคาวไผ่หวั แบนเลก็ Tylonycteris pachypus LC ค I C,V
คา้ งคาวไผ่หัวแบนใหญ่ Tylonycteris robustula LC ค I C,V

[1] The IUCN Red List of Threatened Species version 2017-2: CR = ใกลส้ ญู พนั ธอ์ุ ยา่ งยง่ิ (critically
endangered), EN = ใกล้สญู พันธุ์ (endangered), VU = มีแนวโน้มใกล้สญู พนั ธุ์ (vulnerable),
NT = ใกลถ้ ูกคกุ คาม (near threatened), LC = มีความเสยี่ งต่�ำ (least concern), DD = มขี ้อมลู
ไมเ่ พยี งพอ (data deficient), NE = ยงั ไม่ไดร้ บั การประเมิน (not evaluated)

[2] บัญชีสัตวป์ า่ คมุ้ ครอง พ.ศ. 2546 ตามพระราชบัญญัติสงวนและคมุ้ ครองสัตวป์ า่ พ.ศ. 2535:
ค = สตั วป์ ่าคุ้มครอง
[3] หน้าที่เชงิ อาหาร: F= frugivore, I= insectivore, C= carnivore, N= nectarivore
[4] ดัดแปลงจาก สุเนตร การพันธ,์ อมรรตั น์ วอ่ งไว และพพิ ัฒน์ สร้อยสุข (2559): C= cave,

V= vegetation, M=man-made structure, U=unknown

ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา 23

ค้างคาวในประเทศไทย

ในปจั จบุ นั มกี ารคน้ พบคา้ งคาวในประเทศไทย
ถงึ 146 ชนดิ ใน 11 วงศ์ คดิ เปน็ จำ� นวนมากกวา่ 10%
ของชนิดค้างคาวท่ีพบท่ัวโลก สืบเน่ืองมาจาก
ประเทศไทยอุดมไปด้วยความหลากหลายของท้ังพืช
และสัตว์ มีลักษณะถ่ินอาศัยที่หลากหลาย โดยใน
ประเทศไทยน้ันสามารถพบได้ท้ังค้างคาวที่มีขนาด
ทเี่ ล็กทสี่ ดุ และใหญ่ท่ีสดุ ในโลก

คา้ งคาวคณุ กติ ติ (Craseonycteris thonglongyai)

เปน็ ค้างคาวกินแมลง มนี ำ้� หนักเพยี ง 2 กรมั ปกี เมื่อ
กางออกเต็มทีก่ ว้างเพยี ง 16 เซนติเมตร อาศยั อย่ใู น
ถ�้ำหินปูนทางภาคตะวันตกของประเทศไทย โดยท่ี
นอกจากจะเปน็ คา้ งคาวทมี่ ขี นาดเลก็ ทส่ี ดุ ในโลกแลว้
ยังถูกจัดเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมท่ีมีขนาดเล็กที่สุด
ในโลกอกี ด้วย

ค้างคาวแม่ไก่ป่าฝน (Pteropus vampyrus) เป็น

คา้ งคาวกนิ ผลไม้ มนี ำ้� หนกั มากถงึ 1 กโิ ลกรมั โดยเมอื่
กางปีกออกทงั้ สองข้างอาจมคี วามกวา้ งถงึ 1.5 เมตร
โดยส่วนมากจะพบค้างคาวชนิดน้ีอยู่รวมเป็นกลุ่ม
ขนาดใหญ่ โดยจะเกาะบนตน้ ไม้ใหญ่ในป่าลึก ถกู จดั
เป็นคา้ งคาวทีม่ ขี นาดใหญ่ที่สุดในโลก

24 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา

วงศ์คา้ งคาวกนิ ผลไม้ (Family Pteropodidae)

มกี ารกระจายตวั ตงั้ เเตท่ วปี แอฟรกิ า เอเชยี ใต้ เอเชยี ตะวนั
ออกเฉยี งใต้ เเละ ออสเตรเลยี คา้ งคาวในกลุ่มนม้ี ีหน้าตาคล้ายสุนขั
มตี าขนาดใหญ่ รปู รา่ งหไู มซ่ บั ซอ้ น และจมกู ยาว สว่ นใหญไ่ มส่ ามารถ
ใช้ echolocation call ได้ จึงอาศัยตาที่มขี นาดใหญเ่ เละจมูกทด่ี ี
ในการน�ำทางเเละหาอาหาร บางชนิดอาจมีหางหรือไม่มีหางก็ได้
ค้างคาวทุกชนิดในกลุ่มน้ีจะมีเล็บที่ปลายนิ้วที่สอง ยกเว้นค้างคาว
เล็บกุด น�้ำหนักของค้างคาวในกลุ่มนี้มีความหลากหลายตั้งเเต่
มากกวา่ 1 กโิ ลกรัมเชน่ ค้างคาวแม่ไก่ จนถงึ ค้างคาวกินผลไม้ขนาด
เลก็ นำ้� หนกั ประมาณ 15 กรมั เชน่ คา้ งคาวปกี จดุ คา้ งคาวกลมุ่ นก้ี นิ
ผลไม้ น�ำ้ หวานจากดอกไมเ้ ปน็ หลกั บางชนดิ อาศยั อยบู่ นตน้ ไม้ เชน่ คา้ ง
คาวเเมไ่ ก่ บางชนดิ อาศยั อยใู่ นถำ้� เชน่ คา้ งคาวเลบ็ กดุ ค้างคาวบัว บาง
ชนดิ สรา้ งท่ีอยอู่ าศยั เองจากใบไม้ เช่น ค้างคาวขอบหูขาว 

ท่ัวโลกพบค้างคาววงศ์น้ี 42 สกลุ 195 ชนิด ประเทศไทย
พบ 12 สกุล 21 ชนิด ได้เเก่ สกุลคา้ งคาวแมไ่ ก่ (Genus Pteropus)
สกลุ คา้ งคาวขอบหดู ำ� (Genus Megaerops) สกลุ คา้ งคาวแคระปา่
(Genus Aethalops) สกุลค้างคาวฟนั หนา้ คู่ (Genus Penthetor)
สกุลค้างคาวปีกจุด (Genus Balionycteris) สกุลค้างคาวหัวด�ำ
(Genus Chironax) สกลุ ค้างคาวดอย (Genus Sphaerias) สกลุ
ค้างคาวขอบหูขาว (Genus Cynopterus) สกุลค้างคาวดายัค
(Genus Dyacopterus) สกลุ คา้ งคาวบวั (Genus Rousettus) สกลุ
ค้างคาวเล็บกุด (Genus Eonycteris) และสกุลค้างคาวหน้ายาว
(Genus Mecroglossus)

ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา 25

26 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา

วงศค์ า้ งคาวคุณกิตติ
(Family Craseonycteridae)

วงศ์นี้มีค้างคาวเพียงชนิดเดียวคือ ค้างคาว
คุณกิตติ Craseonycteris thonglongyai เป็น
คา้ งคาวทเี่ ลก็ ทสี่ ดุ ในโลก ไมม่ หี าง นำ้� หนกั ตวั นอ้ ยกวา่
2 กรัม ถูกค้นพบเมื่อปี พ.ศ. 2515 มกี ารกระจายตวั
เเคบๆ อยใู่ นแนวเทอื กเขาหนิ ปนู จงั หวดั กาญจนบุรี
เเละบางสว่ นของประเทศพมา่ มแี นวโนม้ ใกลส้ ญู พนั ธ์ุ

ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา 27

28 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา

วงศค์ า้ วคาวหางโผล่
(Family Emballonuridae)

เป็นคา้ งคาวกนิ แมลงขนาดกลาง โดยมหี าง
ท่ีโผล่ออกมาจากพังผืดที่เชื่อมระหว่างขา เป็นที่มา
ของชอ่ื คา้ งคาวกลมุ่ นี้ บางชนดิ มถี งุ หรอื รเู ปดิ ใกลก้ บั
ปีก ค้างคาวในกลุ่มนี้มีขนาดเล็กถึงกลาง มีลักษณะ
หนา้ ตาไมม่ ีความซบั ซ้อนมาก หคู ่อนขา้ งใหญ่ รูปรา่ ง
ปีกมักเป็นเเบบเรียวยาว มีลักษณะการเกาะบนผนัง
ถ�้ำเฉพาะตัว มักใช้น้ิวหัวแม่มือช่วยเกาะบนผนังใน
ลกั ษณะหอ้ ยหัวลง ต่างจากค้างคาวท่ัวไปที่เกาะหอ้ ย
หัวโดยใช้ขาคู่หลังเท่านน้ั
ท่วั โลกพบค้างคาววงศ์น้ี 14 สกุล 53 ชนดิ
ประเทศไทย พบ 3 สกลุ 5 ชนดิ ไดเ้ เก่ สกลุ ค้างคาว
ปีกถุง (Genus Taphozous) สกุลค้างคาวหางโผล่
(Genus Emballonura)  และสกุลค้างคาวปีกถุง
ปลอม (Genus Saccolaimus)

ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา 29

30 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา

ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา 31

วงศ์ค้างคาวหนา้ ยกั ษ์
(Family Hipposideridae)

คา้ งคาววงศน์ มี้ ลี กั ษณะแผน่ ขอบจมกู ทเ่ี เตก
ตา่ งเเละซบั ซ้อน โดยมี anterior noseleaf ค่อนข้าง
สั้น และมี posterior noseleaf เป็นเเนวนอน มีตา
ขนาดเลก็   สามารถปล่อยคล่นื เสยี งท่ใี ช้เพือ่ การระบุ
ต�ำแหน่ง (echolocation call) ผ่านทางรูจมูก
(nostril) คา้ งคาวกลมุ่ นอี้ าศยั ภายในถำ�้ หรอื โพรงไม้
บางชนดิ อยเู่ ปน็ กลมุ่ ขนาดใหญ่ เชน่ คา้ งคาวหนา้ ยกั ษ์
ทศกัณฐ์ บางชนดิ อยเู่ ปน็ กลมุ่ ขนาดเลก็ เชน่ คา้ งคาว
หนา้ ยกั ษส์ องหลบื

ท่ัวโลกพบค้างคาววงศ์นี้ 9 สกุล 94 ชนิด
ประเทศไทยพบ 3 สกุล 19 ชนดิ ได้เเก่ สกลุ คา้ งคาว
หนา้ ยกั ษ์ (Genus Hipposideros) สกลุ คา้ งคาวสามศร
(Genus Aselliscus) และสกุลค้างคาวไอ้แหว่ง
(Genus Coelops)

Posterior noseleaf Lateral leaflets
Anterior noseleaf

32 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา

วงศ์คา้ งคาวแวมไพรแ์ ปลง (Family Megadermatidae)

ค้างคาวกินแมลงขนาดกลาง มลี กั ษณะเดน่
คอื แผน่ จมกู ทต่ี ง้ั ตรง ใบหมู ขี นาดใหญโ่ ดยใบหทู งั้ 2 ขา้ ง
เชื่อมต่อกันบริเวณเหนือหน้าผาก ลักษณะของใบหู
คล้ายใบหูของกระต่าย ค้างคาวแวมไพร์สามารถพบ
ไดท้ ้ังในถำ�้ ในโพรงต้นไม้ หรืออาคารร้างอาหารส่วน
ใหญ่ของค้างคาวแวมไพร์แปลงส่วนใหญ่เป็นแมลง
ในประเทศไทยพบค้างคาวแวมไพรแ์ ปลงได้ 3 ชนิด

ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา 33

วงศค์ า้ งคาวปกี พบั (Family Miniopteridae)

ค้างคาวกินแมลงขนาดเล็ก เดิมถูกจัดอยู่
รวมกบั วงศ์คา้ งคาวลูกหนู มีลกั ษณะเดน่ คือ คา้ งคาว
กลมุ่ นม้ี กี ระดกู นวิ้ ทอ่ นทสี่ องของนวิ้ ทสี่ ามมคี วามยาว
มาก ท�ำให้เวลาหุบปกี นวิ้ น้ีจะพบั ข้ึนเขา้ หาล�ำตัว ท่วั
โลกพบคา้ งคาววงศน์ ี้ 1 สกุล 31 ชนดิ ประเทศไทย
พบ 1 สกลุ 4 ชนดิ ไดแ้ ก่ สกลุ คา้ งคาวปกี พบั (Genus
Miniopterus)

34 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา

ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา 35

วงศค์ ้างคาวปากยน่
(Family Molossidae)

ค้างคาวกินแมลงขนาดกลาง มีปีกยาวเเละเรียว
ท�ำใหบ้ ินเร็วและนาน ช่อื ภาษาองั กฤษคือ free-tailed bat
มาจากลักษณะท่ีหางยืดออกเป็นอิสระจากพังผืดระหว่างขา
อยา่ งไรกต็ ามพงั ผดื นส้ี ามารถยดื ไดถ้ งึ ปลายหางในกรณที ค่ี า้ ง
คางใช้พงั ผดื ท่ีหางชว่ ยจับแมลงกลางอากาศ อาศัยภายในถ�้ำ
บางครง้ั อยู่รวมกนั เป็นกลุ่มขนาดใหญ่มาก อาจมากถึงหลาย
ลา้ นตวั เชน่ คา้ งคาวปากยน่ ทถ่ี ำ�้ เขาชอ่ งพราน จงั หวดั ราชบรุ  ี

ทั่วโลกพบค้างคาววงศ์น้ี 15 สกุล 121 ชนิด
ประเทศไทยพบทง้ั หมด 4 สกุล 5 ชนดิ ไดเ้ เก่ สกลุ ค้างคาว
ปากยน่ หหู นา (Genus Chaerephon) สกลุ คา้ งคาวปากย่น
(Genus Tadariada) สกุลค้างคาวปากย่นมลายู (Genus
Mops) และสกลุ คา้ งคาวขุนชา้ ง (Genus Cheiromeles)

วงศ์คา้ งคาวหน้ารอ่ ง
(Family Nycteridae)

คา้ งคาวกนิ แมลง ลกั ษณะใบหนา้ มรี อ่ งลกึ ทเี่ กดิ จาก
การพบั ของผวิ หนงั สว่ นปลายจมกู คา้ งคาวในกลมุ่ นม้ี หี างยาว
เเละปลายหางโผล่มาจากพังผืดระหว่างขา แตป่ ลายหางเปน็
รูปร่าง T-shape มหี ใู หญ่ สว่ นมากอาศัยอยใู่ นถ�ำ้  

ทั่วโลกพบค้างคาววงศ์นี้ 1 สกุล 16 ชนิด
ในประเทศไทยพบเพียงชนิดเดียวคือ ค้างคาวหน้าร่อง
Nyteris tragata

36 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา

Lancet
Posterior noseleaf
Connecting process

Sella

Anterior noseleaf

วงศ์ค้างคาวมงกฎุ
(Family Rhinolophidae)

คา้ งคาววงศน์ มี้ ลี กั ษณะแผน่ ขอบจมกู ทเี่ เตก
ต่างเเละซับซ้อน ส่วนขอบจมูกล่างมีลักษณะรูปร่าง
คล้ายเกือกม้า เป็นท่ีมาของชื่อภาษาอังกฤษว่า
horseshoe bat สามารถใชล้ กั ษณะขอบจมูกในการ
จ�ำแนกชนิดของค้างคาววงศ์นี้ ค้างคาวมงกุฎมีตา
ขนาดเล็ก สามารถปล่อยคลื่นเสียงที่ใช้เพื่อการระบุ
ต�ำแหน่ง (echolocation call) ผ่านทางรูจมูก
(nostril) ลักษณะที่ซับซ้อนของแผ่นจมูกจะช่วยใน
การส่งคลื่นเสียงให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน ค้างคาว
กลมุ่ น้อี าศัยภายในถ้�ำ หรือ โพรงไม้
ท่ัวโลกพบค้างคาววงศ์นี้ 1 สกุล 95 ชนิด
ประเทศไทย พบ 1 สกุล 23 ชนิด ไดเ้ เก่ สกลุ คา้ งคาว
มงกุฎ (Genus Rhinolophus)

ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา 37

38 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา

ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา 39

วงศ์ค้างคาวหางหนู
(Family Rhinopomatidae)

คา้ งคาวกนิ แมลงขนาดกลาง มลี กั ษณะเดน่
คอื มหี างทยี่ าว คล้ายหางของหนู โดยคา้ งคาวในวงศ์
นพ้ี บเพยี ง 6 ชนดิ โดยในประเทศไทยพบเพยี ง 1 ชนดิ
คอื คา้ งคาวหางหนใู หญ่Rhinopomamicrophyllum
มกั พบอาศยั อยภู่ ายในถำ้� หนา้ ผา บอ่ นำ้� หรอื บา้ นรา้ ง
สามารถพบได้เป็นกลุ่มขนาดเล็กถึงกลุ่มขนาดใหญ่
ตง้ั แต่ 1000 ตวั ขึ้นไป

วงศ์คา้ งคาวลกู หนู
(Family Vespertilionidae)

ค้างคาวกินแมลง เป็นวงศ์ที่มีความหลาก
หลายมากทส่ี ดุ มขี นาดเล็กมาก เช่น คา้ งคาวหหู นตู ีน
เลก็ เขีย้ วสัน้ Myotis siligorensis (น้ำ� หนกั 3 กรมั )
จนถึงขนาดใหญ่ เชน่ คา้ งคาวออี าอโี อ Ia io (น้ำ� หนัก
49-63 กรัม) มีทั้งท่ีอาศัยอยู่ในถ�้ำ โพรงไม้ หรือใต้
ใบไม้ ลักษณะท่ีใช้จ�ำแนกชนิดค้างคาวในวงศ์นี้ คือ
ลักษณะใบหู และต�ำแหนง่ ทพ่ี งั ผืดปีกเชือ่ มขาหลงั
ทว่ั โลกพบคา้ งคาววงศน์ ้ี 50 สกลุ 457 ชนดิ
ประเทศไทยพบ 17 สกลุ 63 ชนดิ

40 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา

ถิ่นอาศัยของคา้ งคาวในพนื้ ที่เขาถำ้� เสือ-เขาจ�ำปา

พนื้ ทเี่ ขาถำ�้ เสอื -เขาจำ� ปา จดั อยใู่ นสว่ นหนงึ่ ของพน้ื ทจ่ี ฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั
ท่ีตง้ั อยู่ ณ อำ� เภอแกง่ คอย จงั หวัดสระบรุ ี ซงึ่ มพี ื้นท่ที ้งั สิ้น 3364 ไร่ โดยในอดีตพืน้ ที่
บรเิ วณเขาถ้�ำเสอื -เขาจ�ำปา ไดถ้ ูกรบกวนจากการปลูกมันส�ำปะหลงั ขา้ วโพด และการ
ตดั ไมเ้ พอื่ เผาถ่าน
ต่อมาจึงมีประกาศจากกรมป่าไม้ให้พ้ืนที่ป่าให้เป็นป่าสงวนแห่งชาติ ป่าเขา
โปง่ และปา่ เขาถำ�้ เสือ โดยมหี นว่ ยงานของกรมปา่ ไมเ้ ขา้ มาดูแล และบงั คับใช้กฎหมาย
ทำ� ให้เกษตรกรไมส่ ามารถท�ำการเกษตรต่อได้ ส่งผลให้พ้ืนทป่ี ่าแห่งนี้ ถกู ปล่อยท้งิ ร้าง
ใหม้ กี ารทดแทนตามธรรมชาตเิ ปน็ เวลานาน 20 ปจี นถงึ ปจั จบุ นั ในปจั จบุ นั พน้ื ทเ่ี ขาถำ้�
เสอื -เขาจำ� ปา่ มีระบบนิเวศท่ีหลากหลาย เชน่ ป่าเบญจพรรณ ป่าเบญจพรรณผสมไผ่
ป่าเต็งรัง และระบบนิเวศทุ่งหญ้าเป็นต้น ประกอบกับในพ้ืนท่ียังมีถ้�ำหินปูนอยู่หลาย
แห่งนอกจากน้ีในพื้นท่ียังมีอ่างเก็บน้�ำขนาดใหญ่ ซ่ึงระบบนิเวศท่ีหลากหลายเหล่านี้
สามารถรองรบั คา้ งคาวได้หลากหลายชนดิ


Click to View FlipBook Version