ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา 41
คา้ งคาวในพื้นท่เี ขาถ้ำ� เสือ-เขาจ�ำปา
42 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา
ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา 43
ค้างคาวเลบ็ กดุ
วงศ:์ ค้างคาวกินผลไม้ (Family Pteropodidae)
สกลุ : คา้ งคาวเลบ็ กุด (Genus Eonycteris)
ชอื่ วทิ ยาศาสตร:์ Eonycterisspelaea(Dabson,1871)
ชือ่ สามญั : Dawn Bat, Cave Nectar Bat, Lesser
Dawn Bat
เป็นค้างคาวขนาดกลาง (FA = 62-70 mm;
นำ�้ หนัก 45-60 กรมั ) ค้างคาวในสกุลนี้จะไม่มีเล็บที่
ปลายกระดูกน้ิวท่ี 2 และมีหางยาว 1-2 เซนติเมตร
ซึ่งจะยื่นโผล่ออกมาจากพังผืดหาง (interfemoral
membrane) อย่างชัดเจน มีใบหน้าส่วนปากและ
จมูกยื่นยาว มีดวงตาขนาดใหญ่และมีลิ้นยาวส�ำหรับ
กินเกสรดอกไม้และน้�ำหวานจากดอกไม้ (น�้ำต้อย)
เป็นอาหาร อาศัยอยู่รวมกันเป็นกลุ่มขนาดใหญ่
ภายในถ�้ำ
ขอบเขตการกระจาย: เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ อนิ เดยี
เนปาล และจนี ตอนลา่ ง
การกระจายในประเทศไทย: พบกระจายทว่ั ประเทศ
44 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา
ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา 45
ค้างคาวแม่ไกภ่ าคกลาง
วงศ:์ ค้างคาวกนิ ผลไม้ (Family Pteropodidae)
สกุล: ค้างคาวแม่ไก่ (Genus Pteropus)
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร:์ Pteropus lylei K. Anderson, 1908
ชื่อสามญั : Lyle’s Flying Fox
เปน็ คา้ งคาวขนาดใหญม่ าก (FA = 145-160
mm; นำ�้ หนกั 300-500 กรมั ) มีความกวา้ งของปีกที่
กางเต็มท่ี (wing span) ไดถ้ ึง 1 เมตร เปน็ คา้ งคาว
กนิ ผลไมโ้ ดยขนบรเิ วณดา้ นทอ้ งและหลงั มขี นสนี ำ้� ตาล
ทอง มลี กั ษณะปลายหแู หลม ไม่มหี าง มจี มูกที่ไวต่อ
การรับกล่ินและมีดวงตาขนาดใหญ่ส�ำหรับการมอง
เห็นในเวลากลางคืน อาศัยอยู่รวมกันเป็นกลุ่มขนาด
ใหญบ่ นต้นไม้ภายในวัด ปา่ ชายเลน หรอื พน้ื ท่ีรกรา้ ง
ขอบเขตการกระจาย: ไทย กัมพูชา และเวียดนาม
ตอนลา่ ง
การกระจายในประเทศไทย: พบกระจายในบริเวณ
ตอนกลางของประเทศแถบทร่ี าบภาคกลางภาคตะวนั ออก
และภาคตะวนั ตก
46 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา
ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา 47
ค้างคาวหน้ายักษ์สามหลบื
วงศ์: คา้ งคาวหน้ายกั ษ์ (Family Hipposideridae)
สกุล: ค้างคาวหน้ายักษ์ (Genus Hipposideros)
ชื่อวิทยาศาสตร:์
Hipposideros larvatus (Horsfield, 1823)
ช่ือสามัญ: Intermediate Roundleaf Bat,
Intermediate Leaf-nosed Bat, Horsfield’s Leaf-
nosed Bat
เปน็ คา้ งคาวขนาดกลาง (FA = 51-67 mm;
น้�ำหนัก 15-23 กรัม) เป็นค้างคาวกินแมลงในกลุ่ม
คา้ งคาวหนา้ ยกั ษ์มลี กั ษณะเดน่ คือมหี ลืบ 3 หลืบ อยู่
ข้างแผ่นจมูก สีของขนด้านหลังจะเข้มกว่าสีของขน
ทางดา้ นท้อง ส่วนมากมักอาศยั อย่ภู ายในถ�้ำ วดั หรอื
แม้กระท่ังเหมืองที่ถูกท้ิงร้าง โดยมักพบอยู่รวมกัน
เป็นกลุ่มขนาดใหญ่ สามารถพบไดท้ งั้ ในพน้ื ทป่ี า่ และ
พนื้ ทเี่ กษตรกรรม
ขอบเขตการกระจาย: เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ รวมถงึ
จีนตอนลา่ ง
การกระจายในประเทศไทย: พบกระจายทวั่ ประเทศ
48 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา
ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา 49
ค้างคาวแวมไพร์แปลงเลก็
วงศ:์ ค้างคาวแวมไพร์แปลง
(Family Megadermatidae)
สกลุ : คา้ งคาวแวมไพรแ์ ปลง (Genus Megaderma)
ชอ่ื วทิ ยาศาสตร:์
Megaderma spasma (Linnaeus, 1758)
ชอ่ื สามญั : Lesser False Vampire Bat
เปน็ คา้ งคาวขนาดกลาง (FA = 55-58 mm;
น�้ำหนัก 18-21 กรัม) ล�ำตัวด้านบนมีขนสีเทาหม่น
ลำ� ตวั ดา้ นลา่ งมสี นี ำ้� ตาลเทา แผน่ จมกู ยน่ื ตง้ั ขนึ้ ขอบขา้ ง
แผน่ จมกู โคง้ มน อาศยั รวมกนั เปน็ กลมุ่ ในถำ้� ตามโพรง
ตน้ ไม้ และใตห้ ลงั คาบา้ นบางครงั้ เกาะรวมกนั 3-5 ตวั
เปน็ พวงขนาดเลก็ โดยสว่ นใหญก่ ินแมลงเปน็ อาหาร
เช่น ผีเสอ้ื กลางคืน ต๊ักแตน และด้วง
ขอบเขตการกระจาย: อนิ เดีย และเอเชียตะวนั ออก
เฉียงใต้
การกระจายในประเทศไทย: พบกระจายทว่ั ประเทศ
ยกเว้นภาคเหนือตอนบน และภาคตะวันออกเฉียง
เหนอื ตอนบน
50 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา
ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา 51
ค้างคาวมงกุฎปลอมเลก็
วงศ:์ คา้ งคาวมงกฎุ (Family Rhinolophidae)
สกุล: คา้ งคาวมงกฎุ (Genus Rhinolophus)
ชือ่ วทิ ยาศาสตร:์
Rhinolophus coelophyllus (Peters, 1867)
ชือ่ สามัญ: Croslet Horseshoe Bat
เป็นค้างคาวขนาดเล็กกินแมลงเป็นอาหาร
(FA = 41-45 mm; นำ�้ หนกั 6.2-8.6 กรมั ) ค้างคาว
ในสกลุ น้ี มใี บหนา้ รปู รา่ งซบั ซอ้ น สว่ นมงกฏุ (lancet)
ส้ันและพองหนา เช่ือมกับ connecting process
ล�ำตัวมักปกคลุมด้วนขนหนา อาศัยอยู่รวมกันเป็น
กลุ่มขนาดใหญ่ภายในถ�้ำ มักพบในป่าเบญจพรรณ
และป่าดิบ
ขอบเขตการกระจาย: พมา่ ลาว ไทย และมาเลเซยี
การกระจายในประเทศไทย: พบกระจายทว่ั ประเทศ
52 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา
ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา 53
คา้ งคาวมงกฎุ มลายู
วงศ์: ค้างคาวมงกฎุ (Family Rhinolophidae)
สกุล: คา้ งคาวมงกุฎ (Genus Rhinolophus)
ช่ือวิทยาศาสตร:์
Rhinolophus malayanus Bonhote, 1903
ชอ่ื สามญั : Malayan Horseshoe Bat
เป็นค้างคาวขนาดเล็กกินแมลงเป็นอาหาร
(FA = 38-44 mm; น้�ำหนัก 5-9 กรมั ) เป็นค้างคาว
กินแมลง มีแผ่นจมูกขนาดคอ่ นขา้ งใหญเ่ มอื่ เทยี บกบั
ขนาดของใบหนา้ Connecting process รปู รา่ งค่อน
ขา้ งกลม Sella คอ่ นขา้ งกวา้ ง ขนบรเิ วณดา้ นหลงั สว่ น
ใหญ่มีสีน้�ำตาล แต่ขนทางด้านท้องจะมีสีที่อ่อนกว่า
บางครง้ั มสี นี ำ�้ ตาลอมสม้ อาศยั อยเู่ ปน็ กลมุ่ ขนาดใหญ่
ในถำ้� สามารถพบไดท้ งั้ ในพน้ื ทป่ี า่ และพน้ื ทเี่ กษตรกรรม
ขอบเขตการกระจาย: เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้
การกระจายในประเทศไทย: พบกระจายทว่ั ประเทศ
54 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา
ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา 55
ค้างคาวมงกุฎเลยี นมลายูหางส้ันเล็ก
วงศ:์ คา้ งคาวมงกฎุ (Family Rhinolophidae)
สกุล: ค้างคาวมงกุฎ (Genus Rhinolophus)
ชอื่ วทิ ยาศาสตร:์
Rhinolophus stheno K. Andersen, 1905
ชือ่ สามญั : Lesser Brown Horseshoe Bat
เป็นค้างคาวขนาดเล็กกินแมลงเป็นอาหาร
(FA = 42-48 mm; นำ้� หนกั 6-10.5 กรมั ) มแี ผน่ จมกู
ขนาดค่อนข้างใหญ่เม่ือเทียบกับขนาดของใบหน้า
Connecting process รูปร่างค่อนข้างกลม Sella
คอ่ นขา้ งแคบ ขนบรเิ วณดา้ นหลงั มสี ี นำ�้ ตาลเขม้ หรอื
น�้ำตาลแดง แต่ขนทางด้านท้องจะมีสีที่อ่อนกว่า ใน
บางคร้ังพบว่ามีสีน้�ำตาลอมส้ม อาศัยอยู่เป็นกลุ่มใน
ถ�้ำหินปูน หรือโพรงไม้ สามารถพบได้ท้ังในพ้ืนท่ีป่า
และพน้ื ทเ่ี กษตรกรรม
ขอบเขตการกระจาย: เอเชียตะวันออกเฉยี งใต้
การกระจายในประเทศไทย: พบกระจายทวั่ ประเทศ
56 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา
ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา 57
ค้างคาวเพดานเล็ก
วงศ:์ คา้ งคาวลูกหนู (Family Vespertilionidae)
สกุล: ค้างคาวเพดาน (Genus Scotophilus)
ชอื่ วทิ ยาศาสตร:์ Scotophilus kuhlii Leach, 1821
ช่ือสามัญ: Lesser Asiatic Yellow House Bat,
Asiatic Lesser Yellow House Bat, Lesser Asian
House Bat, Lesser Asiatic Yellow Bat
เปน็ คา้ งคาวขนาดกลางกนิ แมลงเปน็ อาหาร
(FA = 45-52 mm; นำ้� หนัก 17-26 กรัม) มลี กั ษณะ
เด่นคือขนทางบริเวณหลังมีสีน้�ำตาล ส่วนขนบริเวณ
ท้องมีสีเหลือง โดยมีขนที่สั้นและอ่อนนุ่ม ใบหูมี
tragus ท่ียาว พบได้ท้ังในเขตเมืองและชนบท
โดยส่วนมากพบอาศัยอยู่ในบ้านใต้เพดานบ้าน ใน
โพรงต้นไม้ ใต้ตน้ ตาล ตามซอกหิน หรอื ในถำ�้
ขอบเขตการกระจาย: เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
รวมถึง ปากีสถาน อินเดีย ศรีลังกา บังคลาเทศ
จีนตอนล่าง และไต้หวัน
การกระจายในประเทศไทย: พบกระจายทวั่ ประเทศ
58 ค้างคาวบริเวณเขาถ้ำ�เสือ-เขาจำ�ปา
บรรณานกุ รม
ธงชยั งามประเสรฐิ วงศ.์ 2555. ความหลากหลายของคา้ งคาวในพนื้ ทโี่ ครงการ อพ.สธ. ผนื ปา่ ตะวนั ตก.
โครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรมพชื อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ� ริ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ
สยามบรมราชกุมารี สนองพระราชด�ำริโดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (อพ.สธ.-จฬ.).
กรงุ เทพมหานคร: สริ บตุ รการพิมพ.์
พพิ ฒั น์ สรอ้ ยสขุ . 2554. บญั ชรี ายชอื่ คา้ งคาวในประเทศไทย. วารสารสตั วป์ า่ เมอื งไทย 18(1): 121-151.
สุเนตร การพนั ธ,์ อมรรัตน์ วอ่ งไว และพิพัฒน์ สร้อยสุข. 2559. คา้ งคาวในถ้ำ� ของเมอื งไทย. กลุม่
งานวิจัยสัตว์ป่า ส�ำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จ�ำกัด.
Altringham, J.D. 2011. Bats: from evolution to conservation. 2nd edition. Oxford: Oxford
University Press.
Fenton, M.B. 2001. Bats. Revised edition. New York: Fitzhenry and Whiteside.
Francis, C.M. 2008. A Field Guide to the Mammals of Thailand and South-East Asia.
Singapore: Tien Wah Press.
IUCN 2017. The IUCN Red List of Threatened Species: version 2017-2. <www.
iucnredlist.org>.
Lekagul, B. and J.A. McNeely. 1977. Mammals of Thailand. Bangkok: Association for
the Conservation of Wildlife.
Neuweiler, G. 2000. The Biology of Bats. English edition. New York: Oxford University
Press.
Nowak, R.M. 1994. Walker’s Bats of the World. 5th edition. Maryland: The John Hopkins
University Press.
Richardson, P. 2011. Bats. Washington, D.C.: Smithsonian Institution Press.
Simmons, N.B. 2005. Order Chiroptera. Pp. 312–529. In Mammal Species of the World:
a taxonomic and geographic reference (D.E. Wilson & D.M. Reeder, eds.).
Baltimore: The Johns Hopkins University Press.
Wilson, D.E. 1997. Bats in Question: the Smithsonian answer book. Washington: The
Smithsonian Institution Press.