The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การจัดการความรู้-KM เรื่อง เรียนรู้เพื่อป้องกันภัยพิบัติใกล้ตัว จัดทำโดย สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 9

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kaweewong88, 2021-07-02 23:46:52

เรียนรู้เพื่อป้องกันภัยพิบัติใกล้ตัว

การจัดการความรู้-KM เรื่อง เรียนรู้เพื่อป้องกันภัยพิบัติใกล้ตัว จัดทำโดย สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 9

Keywords: ภัยพิบัติ

การจัดการความรู้
(Knowledge Management : KM)

เรือ่ ง

องคค์ วามรเู้ กี่ยวกับสถานการณ์ภยั พิบตั ิ "เรยี นรเู้ พ่ือป้องกนั ภัยพิบตั ิใกลตั ัว"

โดย สำนักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ วชิ าการ 9
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์

เรียนรเู้ พ่อื ปอ้ งกนั ภยั พบิ ตั ิใกลตั วั ก

คำนำ

การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM ) เรื่อง องค์ความรู้
เกี่ยวกับสถานการณ์ภัยพิบัติ "เรียนรู้เพื่อป้องกันภัยพิบัติใกลัตัว" เป็นกิจกรรมตามโครงการ
ศูนย์บริการวชิ าการพฒั นาสังคมและจัดสวัสดิการสังคม ประจำปี พ.ศ.2564 ซง่ึ ดำเนินการโดย
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 9 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ
มนุษย์ โดยเป็นการ การรวบรวม สร้าง จัดระเบียบ แลกเปลี่ยน และประยุกต์ใช้ความรู้ใน
องค์กร โดยพัฒนาระบบจากข้อมูล ไปสู่สารสนเทศ เพื่อให้เกิดความรู้และปัญญา รวมทั้งเพ่ือ
ประโยชน์ในการนำไปใช้และเกิดการเรียนรู้ภายในองค์กร ภายใต้การดำเนินการ 7
กระบวนการ คือ การบ่งชี้ความรู้ การสร้างและแสวงหาความรู้ การประมวลและกลั่นกรอง
ความรู้ การจดั ความรใู้ หเ้ ป็นระบบ การเข้าถึงความรู้ การแลกเปล่ยี นแบง่ ปันความรู้ การเรียนรู้
เพ่ือสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารนำความรู้ไปใช้เพอ่ื เกิดการเรียนรใู้ นองค์กรและเกดิ องค์ความร้ใู หม่

ขอขอบคุณทุกความคิด ทุกการแลกเปลี่ยน การแบ่งปันความรู้ และการเรียนรู้จาก
ทีมงานกลุ่มการวิจัยและการพัฒนาระบบเครือข่าย สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวชิ าการ 9
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ทุกท่าน ที่เป็นกำลังสำคัญในการ
ขับเคลื่อนพลังการทำงาน ก่อเกิดพัฒนางานด้านการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสังคมส่งผล
ต่อวิธีคิด วิธีการทำงาน รวมไปถึงการเสริมสร้างนวัตกรรมทางสังคม ด้วยการจัดการความรู้
ส่งผลให้บคุ ลากรเกิดการพฒั นาการเรยี นรู้ เกดิ ชมุ ชนการเรยี นรู้ ความรขู้ ององค์กร เป็นองค์กร
เป็นองค์กรแห่งการเรยี นรูต้ อ่ ไป

สำนักงานสง่ เสริมและสนบั สนุนวชิ าการ 9
กรกฎาคม 2564

เรียนร้เู พ่ือปอ้ งกันภยั พิบตั ิใกลัตัว ข

บทสรุปผ้บู รหิ าร

องค์ความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ภัยพิบัติ "เรียนรู้เพื่อป้องกันภัยพิบัติใกล้ตัว"
ได้รวบรวมข้อมูลที่เป็นประโยชนต์ ่อประชาชนคนไทยได้รับทราบเข้าใจ เพื่อเตรียมความพร้อม
รับมือกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ ซึ่งในปัจจุบันมีผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สิน และเกิดข้ึน
อย่างต่อเนื่อง เช่น ภัยน้ำท่วม ดินถล่ม แผ่นดินไหว ภัยแล้ง ปัญหาหมอกควัน เพราะสภาพ
ภูมิอากาศแปรปรวนจากการคาดเดาได้ยาก ส่งผลให้การดำรงชวี ิตของประชาชนในพื้นที่ตา่ งๆ
ในภาคเหนือ และภาคอื่นๆ อย่ใู นสภาวะเสี่ยง อยา่ งไรก็ตาม หากมคี วามเขา้ ใจและมีการเตรียม
ความพร้อมรองรับกับภัยพิบัติเหล่านั้น ก็จะช่วยลดความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินลงได้
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ประชาชนภาคเหนือ ได้ทราบเข้าใจเพื่อเตรียมความพร้อมใน
การรับมือกับภัยพิบัติธรรมชาติใกล้ตัว เพื่อให้ทุกคนเตรียมพร้อมเผชิญภัยพิบัติหลากหลาย
รปู แบบท่อี าจเกิดขนึ้ เพื่อลดความสูญเสียของประชาชนใหน้ ้อยลง โดยเน้ือหาของคู่มือดังกล่าว
เกี่ยวข้องกับแนวทางการปฏิบัติตัวของบุคคล ครอบครัว ชุมชน ตลอดจนสังคมส่วนรวม
อย่างเป็นระบบ ทุกขั้นตอนครอบคลุมภัยพิบัติหลากหลายรูปแบบที่อาจเกิดขึ้น ทั้งภัยพิบัติ
ตามธรรมชาติ (Natural Disaster) ภัยพิบัติเทคโนโลยี (Technological Disaster) และ
ภัยพิบัติ ซับซ้อน (Complex Disaster) เพื่อให้ประชาชน ครอบครัว ชุมชน หรือสังคมมีความ
ปลอดภยั

สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 9 ได้ดำเนินการตามกระบวนการ
การจัดการความรู้โดยมีขั้นตอน การเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการการจัดการ
ความรู้ (Knowledge Management : KM) การจัดทำเค้าโครงการดำเนินการจัดทำความรู้
ในประเด็นการบ่งชี้ความรู้ การสร้างและแสวงหาความรู้ เพื่อการจัดทำความรู้ และการจัดทำ
แผนปฏบิ ัตกิ ารและกจิ กรรมการดำเนนิ การจัดทำความรู้ นอกจากนยี้ ังมีกิจกรรมในการรวบรวม
องค์ความรู้ ยงั มีบทสำหรับผู้ด้อยโอกาสทางสังคม อาทิ ผทู้ ุพพลภาพ ผู้พกิ ารทางสายตา และผู้
พิการทางการได้ยนิ ตลอดจน ได้เพิม่ สาระเก่ยี วกบั เตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติ ลดเสี่ยงอนั ตราย
ดำเนินชีวิตปลอดภัยให้ประชาชนภาคเหนือ การบริหารจัดการภัยพิบัติทางธรรมชาติของ
ประเทศไทย และการประเมินความเสียหายและฟื้นฟูโครงสร้างพื้นฐาน ได้ใช้เป็นแนวทาง
ปฏิบัติหากต้องประสบภัยพิบัติ จึงหวังว่าคู่มือฉบับนี้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการลดความ

สูญเสียจากภัยพิบัติที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต องค์ความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์พิบัติ "เรียนรู้
เพื่อป้องกันพิบัติภัยใกล้ตัว" นี้ได้รับความอนุเคราะห์ข้อมูลต่างๆ จากหน่วยงานที่มีความรู้และ
ปฏิบัติงานโดยตรง หวังว่าคู่มือเล่มนี้เป็นหนังสือที่ช่วยให้ทุกคนได้เตรียมความพร้อมรับมือกับ
ภยั บัติ และปลอดภยั กันทกุ คน

เรยี นร้เู พอ่ื ป้องกนั ภยั พบิ ัติใกลตั ัว ค

สารบัญ

เร่อื ง หนา้
1. คำนำ ก
2. บทสรปุ ผูบ้ รหิ าร ข
3. สารบญั ค
4. ความเปน็ มาของการจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) 1

องค์ความรเู้ ก่ียวกบั สถานการณ์ภยั พบิ ตั ิ "เรยี นรูเ้ พอ่ื ปอ้ งกนั ภัยพิบัติภัยใกล้ตัว" 3
5. การจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) 4
6. ตารางแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) 6
7. ภยั ธรรมชาติและภัยพบิ ตั ิ (ภาคเหนอื ) 37
8. การเตรยี มพร้อมรับมือภัยพบิ ตั ติ า่ งๆ 40
9. การชว่ ยเหลือผ้พู ิการหรอื ทุพพลภาพ 42
48
10. การบริหารจดั การภยั พบิ ัติทางธรรมชาติของประเทศไทย 51
11. การประเมนิ ความเสียหายและฟน้ื ฟูโครงสร้างพืน้ ฐาน
12. ระยะฟนื้ ฟผู ปู้ ระสบภยั หลังส้นิ สุดภัยพิบตั ิ 54
55
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ 56
13. หนว่ ยงานชว่ ยเหลอื ยามฉุกเฉิน 57
13. บทสรุป
14. อนิ โฟกราฟกิ
15. เอกสารอ้างอิง

เรยี นรูเ้ พอ่ื ป้องกันภยั พบิ ตั ใิ กลัตัว 1

ความเป็นมาของการจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM )
เรื่อง องคค์ วามรูเ้ ก่ียวกบั สถานการณ์ภัยพบิ ัติ "เรยี นรเู้ พือ่ ป้องกันภัยพิบตั ใิ กล้ตัว"

สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 9 (สสว.9) เป็นส่วนราชการส่วนกลาง
ที่ตั้งอยู่ในส่วนภูมิภาค สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ ตาม พ.ร.บ. ปรับปรุงกระทรวง
ทบวง กรม (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2558 โดยมีอำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ
สำนกั งานปลดั กระทรวง กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พ.ศ. 2559 ดงั น้ี
1) พัฒนางานด้านวิชาการเก่ียวกับการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ให้สอดคล้องกับ
พื้นที่และกลุ่มเป้าหมาย 2) ส่งเสริมและสนับสนุนงานด้านวิชาการ องค์ความรู้ ข้อมูล
สารสนเทศ ให้คำปรึกษาแนะนำแก่หน่วยงานบริการทุกกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ให้บริการ
ในความรับผิดชอบของกระทรวง รวมทั้ง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
องค์กรภาคเอกชนและประชาชน 3) ศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์และสภาพแวดล้อม
เพื่อคาดการณ์แนวโน้มของสถานการณ์ทางสังคมและผลกระทบ รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะ
การพัฒนาสังคมและจัดทำยุทธศาสตร์ในพื้นที่กลุ่มจังหวัด 4) สนับสนุนการนิเทศงาน ติดตาม
ประเมนิ ผลการดำเนนิ งานเชงิ วิชาการตามนโยบายและภารกจิ ของกระทรวงในพืน้ ที่กลมุ่ จังหวัด
ซึ่งสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 9 ได้ดำเนินการขับเคลื่อนงานตามภารกิจดังกล่าว
ในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ได้แก่ เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน เชียงราย
พะเยา แพร่ น่าน และเป็นกลไกในการขับเคลื่อนภารกิจของกระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันและส่งเสริมโอกาสทางสังคมบนพื้นฐานแห่ง
ความพอเพียงและเสริมประสิทธิภาพทางสังคม ในลักษณะการพัฒนาศักยภาพและสร้าง
เครือข่ายที่ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
รวมทั้งเป็นหน่วยเคลื่อนท่ีทางวิชาการพัฒนาสังคมบริการแก่หน่วยงานในความรับผิดชอบของ
กระทรวงฯ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคีเครือข่ายและประชาชน และพัฒนาแหล่งเรียนรู้เป็น
องคก์ รต้นแบบดา้ นการพัฒนาสังคมและจัดสวสั ดิการสังคม เพอ่ื แลกเปลย่ี นความรู้ ส่งผลให้เกิด
การปรับเปล่ียนวธิ ีการทำงาน ทงั้ มติ เิ ชงิ พ้ืนท่ี เชิงประเดน็ และเชิงกล่มุ เปา้ หมาย

เรียนรู้เพอื่ ป้องกนั ภยั พบิ ัตใิ กลตั วั 2

สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 9 ให้ความสำคัญกับการเตรียม
ความพร้อมด้านระบบบริหารจัดการข้อมูล ทรัพยากรและบุคลากร เพื่อให้เป็นศูนย์บริการ
วิชาการ ด้านการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสังคม รวมทั้งเสริมสร้างนวัตกรรมทางสังคม
ที่เหมาะสมกับพื้นที่ เป็นศูนย์รวมการให้บริการคำปรึกษาทางวิชาการที่ครบวงจร และเป็น
หน่วยเชิงรุกในการส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการให้การปฏิบัติงานของหน่วยงานในความ
รับผิดชอบของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ท้องถิ่น ชุมชน และภาคี
เครือข่ายที่เกี่ยวข้องให้เกิดการขับเคลื่อนงานที่ได้มาตรฐาน มีประสิทธิภาพและเหมาะสม
กับสภาพพื้นที่ รวมทั้ง ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตและมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม
โดยในปี 2564 สสว.9 ไดด้ ำเนนิ การโครงการศนู ย์บริการวิชาการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการ
สังคม ประจำปี 2564 มีวัตถุประสงค์เพือ่ เป็นศูนย์บริการงานวิชาการ ศูนย์พัฒนาศักยภาพคน
ด้านการพัฒนาสังคมและการจัดสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ รวมทั้งหน่วย
เคลื่อนที่ทางวิชาการเพื่อให้บริการแก่หน่วยงานบริการทุกกลุ่มเป้าหมายในความรับผิดชอบ
ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์และภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง
และกลุ่มเป้าหมาย คือหน่วยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
และภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ประกอบด้วยวิธีการ
ดำเนินงานโดยการรวบรวม สร้าง จัดระเบียบ แลกเปลี่ยนและประยุกต์ให้ความรู้ในองค์กร
ภาคีเครือข่าย ร่วมกับการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ เพื่อให้เกิดการถ่ายทอดความรู้และ
ปญั ญา ในพ้นื ที่รับผิดชอบของ สสว.9

โดยมขี ้ันตอนการดำเนินงานการจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
คือ การจัดทำแผนปฏิบัติการกิจกรรมการจัดการความรู้ เริ่มจากการเริมสร้างความรู้ความ
เข้าใจกระบวนการการจัดการความรู้ ให้กับทีมงาน เพื่อสร้างความรู้เกี่ยวกับการจัดทำ
(Knowledge Management : KM) การจดั ทำเคา้ โครงการดำเนินการจัดทำความรู้ ในประเดน็
การบ่งชี้ความรู้ การสร้างและแสวงหาความรู้ เพื่อการจัดทำความรู้ และการจัดทำแผนปฏิบัติ
การและกิจกรรมการดำเนินการจัดทำความรู้ และกิจกรรมในการรวบรวมองค์ความรู้
เพื่อ พัฒนาให้เป็นระบบและนำความรู้นั้นขับเคลื่อนการปฏิบัติงาน การประมวลกลั่นกรอง
ความรู้ การจัดความรู้ให้เป็นระบบ การเข้าถึงความรู้ การแลกเปลี่ยนแบ่งปันความรู้
การส่งเสริมการเรียนรู้ การสรุปบทเรียนการดำเนินงาน การขับเคลื่อนการดำเนินงานการนำ
การจัดการความรู้ไปใช้ประโยชน์ การจัดทำรายงานการจัดการความรู้ รูปเล่มองค์ความรู้
การเผยแพร่องค์ความรู้ รวมถึงการรายงานความก้าวหนา้ การดำเนนิ งาน

เรยี นรเู้ พอื่ ป้องกนั ภยั พบิ ตั ใิ กลตั วั 3

การจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM)

คือ การรวบรวม สร้าง จัดระเบียบ แลกเปลี่ยน และประยุกต์ใช้ความรู้ในองค์กร
โดยพัฒนาระบบจากข้อมลู ไปสู่สารสนเทศ เพอื่ ให้เกิดความรแู้ ละปัญญา รวมท้งั เพ่ือประโยชน์
ในการนำไปใชแ้ ละเกดิ การเรยี นรภู้ ายในองคก์ ร

การดำเนินการจดั การความรู้ (KM Process)

1. การบง่ ชค้ี วามรู้ (ความรู้หลกั คือ อะไร อยู่ทไ่ี หน ยังขาดอะไร)
2. การสรา้ งและแสวงหาความรู้ (จะหามาได้อยา่ งไร สรา้ งได้อยา่ งไร)
3. การประมวลและกล่นั กรองความรู้ (ปรบั ปรงุ เนอื้ หา ภาษา และรปู แบบข้อมูล)
4. การจัดความรู้ให้เปน็ ระบบ (จดั หมวดหม่แู ละเกบ็ เปน็ ระบบ)
5. การเขา้ ถงึ ความรู้ (กำหนดวิธกี ารเข้าถึงความร้ทู จ่ี ดั เก็บไว้)
6. การแลกเปลี่ยนแบ่งปันความรู้ (กำหนดวิธีการและช่องทางการถ่ายทอด
ความรู้)
7. การเรียนรู้ (ส่งเสริมให้มีการนำความรู้ไปใช้เพื่อเกิดการเรียนรู้ในองค์กร :
เกิดองคค์ วามรใู้ หม)่
ผ่านการดำเนินการจัดการความรู้ Change Management Process ด้วยการ
ปรบั เปล่ียนพฤติกรรม ทำให้คนในองคก์ รอยากเป็นทงั้ ผ้ใู ห้และผู้รบั ความรู้ มีการส่ือสาร ให้ทุก
คนเข้าใจ มีกระบวนการ เครื่องมือ การให้ความรู้เรื่องการจัดการความรู้ การวัดผล
การดำเนินการตามแผน ผลผลิตและผลลัพธ์ที่ได้ รวมถึงการยกย่อง ชมเชย ให้รางวัล เพื่อเปน็
แรงจูงใจให้คนในองค์กรสนใจการจัดการความรู้ เพื่อพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กร
ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ของงานดีขึ้น หรือได้นวัตกรรมใหม่ บุคลากรเกิดการพัฒนาการเรียนรู้
เกิดชุมชนการเรียนรู้ ความรู้ขององค์กร มีการจัดระบบและสั่งสมไว้พร้อมที่จะนำไปใช้
ประโยชน์ สูอ่ งคก์ รเปน็ องค์กรแหง่ การเรยี นรู้

เรยี นรเู้ พ่ือปอ้ งกนั ภยั พิบตั ิใกลัตัว 4

ตารางแผนการจดั การความรู้ (KM Action Plan)
: กระบวนการจัดการความรู้ (KM Process)

เรือ่ ง องค์ความรเู้ กย่ี วกบั สถานการณ์ภยั พิบัติ "เรียนรู้เพื่อปอ้ งกันพิบตั ิภยั ใกล้ตัว"

โดย ทีมงานกล่มุ การวจิ ัยและการพฒั นาระบบเครอื ข่าย
สำนักงานส่งเสรมิ และสนับสนุนวชิ าการ 9

ที่ กระบวนการ กจิ กรรม/วธิ ีการสู่ ระยะเวลา หวั ข้อ/ข้อมลู หมาย
ความสำเร็จ ดำเนนิ การ ในการสิบค้น ผรู้ บั ผดิ ชอบ เหตุ
ขอ้ มูลเพิม่ เตมิ

1 การบง่ ช้ีความรู้ การประชมุ ชี้แจงแนวทาง มกราคม 2564 แผนการจดั การ ทมี งานกลุ่ม
การดำเนนิ งานการจดั การ ณ หอ้ งประชุม ความรู้ การวิจยั และ
ความรู้ (Knowledge
Management-KM) สสว.9 การพัฒนา
- การจัดทำเค้าโครงการ ระบบ
จัดการความรู้ ในประเด็น เครือขา่ ย

1. การบ่งชี้ความรู้ (ความรู้

หลกั คือ อะไร อยูท่ ไ่ี หน ยัง

ขาดอะไร)

2. การสร้างและแสวงหา

ความรู้ (จะหามาได้อย่างไร

สรา้ งได้อย่างไร)

- การจัดทำ แผนปฏิบัติการ

และกิจกรรมการดำเนินงาน

การจดั การความรู้

- การนำเสนอแลกเปลี่ยน

ข้อมูล เรื่อง การขับเคลื่อน

การดำเนินงานการจัดการ

ความรู้

2 การสร้างและ - การศกึ ษาข้อมูล กมุ ภาพันธ-์ ทมี งานกลมุ่

แสวงหาความรู้ 1. ข้อมลู พื้นฐาน มนี าคม การวจิ ัยและ

2. แนวคดิ ท่นี ำมาใช้ 2564 การพัฒนา

3. เอกสารอนื่ ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง ระบบ

4. เว็ปไซต์ แหล่งข่าวต่าง ๆ เครอื ขา่ ย

คลิปขา่ ว

เรียนรู้เพอื่ ป้องกันภยั พิบตั ใิ กลตั วั 5

ท่ี กระบวนการ กจิ กรรม/วธิ ีการสู่ ระยะเวลา หัวข้อ/ขอ้ มูล ผูร้ บั ผิดชอบ หมาย
ความสำเรจ็ ดำเนินการ ในการสบิ ค้น เหตุ
เมษายน - ขอ้ มลู เพม่ิ เติม ทีมงานกลุ่ม
พฤษภาคม การวิจยั และ
3 การประมวล - การประมวลและกลั่นกรอง การพัฒนา
และกลั่นกรอง การจดั การความรู้ 2564
ความรู้ - การจดั ทำและปรับปรุงเน้ือหา ระบบ
ข้อมูล มิถนุ ายน- เครอื ข่าย
กรกฎาคม ทมี งานกลุ่ม
4 การจัดกา ร -การออกแบบรูปแบบการ การวจิ ัยและ
2564 การพฒั นา
ความรู้ให้เป็น จัดเก็บข้อมูล เช่น การจัดทำ ระบบ
กรกฎาคม เครอื ข่าย
ระบบ เปน็ หนงั สอื แผน่ พับ E-book/ 2564 ทีมงานกลมุ่
การวจิ ัยและ
Website สิงหาคม การพฒั นา
2564 ระบบ
-การจัดข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ เครอื ขา่ ย
กันยายน
5 ก า ร เ ข ้ า ถึ ง -กจิ กรรมการจัดช่องทาง 2564 ทีมงานกลุ่ม
ความรู้ เผยแพร่ความรู้ โดยการจดั การวิจัยและ
ประชาสมั พันธ์ทาง Social การพฒั นา
Media เชน่ Website
Facebook ระบบ
เ อ ก ส า ร เผยแพร ่ ความรู้ เครือขา่ ย
(รายงาน/แผ่นพับ/คู่มือ/วีซีดี/
Infographic/จดหมายข่าว/QR ทมี งานกลุ่ม
Code) การวจิ ัยและ
การพฒั นา
6 ก า ร แ บ ่ ง ปั น -การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้
ระบบ
และแลกเปลีย่ น - ขับเคลื่อนการนำผลการ เครือขา่ ย

ความรู้ จัดการความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์

7 การเรียนรู้/การ - สง่ เสรมิ การเรียนรู้ให้

ขยายผล บคุ ลากรท้งั ในและนอก

หน่วยงาน

- ส่งเสรมิ ให้หน่วยงาน พม. นำ

องคค์ วามรู้ ไปขยายผล

เรียนรู้เพอ่ื ปอ้ งกนั ภยั พบิ ัติใกลัตัว 6

ภยั ธรรมชาติและภยั พบิ ตั ิ (ภาคเหนอื )

ภัยธรรมชาติ (Natural Disasters) หมายถึง ภัยอันตรายต่างๆ ที่เกิดขึ้น
ตามธรรมชาติ และมีผลกระทบต่อชีวิต ความเป็นอยู่ ของมนุษย์ นับตั้งแต่โบราณกาลมาแล้ว
ที่มนุษย์ ผจญกับความยิ่งใหญ่ของภัยธรรมชาติ ไม่ว่าจะยาวนานปานใดที่ มนุษย์พยายาม
เรียนรู้และเอาชนะภัยธรรมชาติ ตราบจนปัจจุบัน มนุษย์ยังไม่สามารถเอาชนะได้เลย
นอกจากนย้ี ัง ไมม่ ใี ครท่เี ข้าใจถงึ ลักษณะกระบวนการและปรากฏการณท์ างธรรมชาติที่ละเอียด
ลกึ ซงึ้ ปจั จบุ ันมนุษยม์ ี เทคโนโลยีที่สามารถชว่ ยให้เดินทางไปในอวกาศได้ แตส่ ำหรับธรรมชาติ
อันยิ่งใหญ่ในโลกที่มนุษย์อาศัยอยู่นี้ ความรู้ที่มีอยู่นั้นนับว่าน้อยมาก การเกิดปรากฏการณ์
ต่างๆ ในธรรมชาติไม่ว่าจะเป็น แผ่นดินไหว ภัยร้อน ภัย หนาวฯลฯ เหล่านี้ แต่ละครั้งนำมา
ซึ่งความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินของมนุษย์เป็นอย่างมาก ยิ่งมนุษย์พยายาม ที่จะเรียนรู้
ศึกษาถึงปรากฏการณธ์ รรมชาตมิ ากเท่าใด ยิ่งพบว่าธรรมชาตินั้นยิ่งมีความยิง่ ใหญ่ สุดที่มนุษย์
จะ สามารถควบคุมได้ หนทางเดียวที่ดีที่สุด พึงกระทำตอนนี้คือพยายามเรียนรู้ธรรมชาติ
ของภัยต่างๆเหล่านี้แล้ว หาทางป้องกันและลดความเสียหายที่จะเกิดจากภัยธรรมชาติต่างๆ
เหลา่ นใ้ี ห้มากทส่ี ดุ

ภัยพบิ ัติ คือ ภัยทีก่ ่อให้เกิดความเสียหายต่อชวี ิต และทรัพยส์ ิน โดยส่งผลกระทบ
ต่อภาวะเศรษฐกิจ และวถิ ชี ีวิตของผู้คนในสังคมทั้งในระยะสั้น และระยะยาว ภัยพิบัติแบ่งเป็น
2 ประเภท คอื ภยั พบิ ัติทางธรรมชาติ และภยั พิบัตทิ ่ีมนษุ ยส์ ร้างข้ึน

ภัยพิบัติทางธรรมชาติ คือ ภัยที่มีสาเหตุมาจากธรรมชาติ อาทิ แผ่นดินไหว
อุทกภัย อัคคีภัย พายุการระเบิดที่กล่าวถึงนี้คือการระเบิดของแก๊สที่ธรรมชาติปล่อยออกมาสู่
ภายนอก นอกจากน้ีภัยพิบัติทางธรรมชาตยิ งั รวมถงึ ภัยจากนอกโลกดว้ ย เช่น อกุ กาบาต

ภัยพิบัติที่มนุษย์สร้างขึน้ คือ ภัยพิบัติที่มีสาเหตุมาจากมนุษย์ เช่น การสูบน้ำใต้
ดินปริมาณมากจนส่งผลให้เกิดการทรุดตัวของพื้นดิน การปล่อยก๊าซเรือนกระจกปริมาณมาก
จากโรงงานอุตสาหกรรมจนส่งผลให้ระดับน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้นและท่วมพื้นที่ในระดับต่ำ
การเปลี่ยนทางน้ำจนทำให้เกิดภัยแล้งในบางพื้นที่ เป็นต้น รวมถึงการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เช่น การทดลองระเบิดนวิ เคลียร์ใต้ดนิ ซง่ึ สง่ ผลต่อชั้นหินใต้เปลือกโลก โดยอาจมีผลกระทบต่อ
โลกในระยะยาว เป็นตน้

เรยี นรเู้ พื่อปอ้ งกนั ภยั พิบัติใกลตั วั 7

ประเภทของภัยธรรมชาติ ภัยธรรมชาติภาคเหนือ สามารถแบ่งเป็น 8 ประเภท
ใหญๆ่ ไดด้ งั นี้

1. วาตภัย
2. อทุ กภัย
3. ความแหง้ แล้ง
4. พายฝุ นฟา้ คะนอง
5. แผน่ ดนิ ไหว
6. แผน่ ดนิ ถลม่
7. ไฟปา่
8. ภยั หนาว

1. วาตภัย : หมายถึง ภัยธรรมชาตซิ ่งึ เกดิ จาก พายลุ มแรง แบง่ ได้ 2 ชนิด
1.1 วาตภัยจากพายุฤดูร้อน จะเกิดขึ้นในช่วงฤดูร้อน เกิดจากกระแสอากาศร้อน

ยกขึ้นเบื้องบนอย่างรุนแรงและเย็นตัวลงอย่างรวดเร็วจนสามารถกลั่นตัวเป็นหยดน้ำหรือเป็น
น้ำแข็งแล้วตกลงมา บางครั้งจะเกิดพายุ ฝนฟ้าคะนองและอาจมีลูกเห็บทำความเสียหายได้ใน
บริเวณเล็กๆ ช่วงเวลาสั้นๆ ความเร็วลมที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ประมาณ 50 กม./ชม. ทำให้
สิ่งก่อสร้าง บ้านเรือน พืชผลทางการเกษตรเสียหาย ฝนตกหนัก ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า เป็น อันตราย
แก่ชวี ติ มนุษย์และสัตว์ได้

ข้อสังเกตกอ่ น/ขณะ/หลงั พายฤุ ดรู อ้ น (มนี าคม-พฤษภาคม)
กอ่ นเกิด
~ อากาศรอ้ นอบอา้ ว ติดต่อกันหลายวัน
~ ลมสงบ แม้ใบไม้ก็ไมส่ ่นั ไหว
~ ความชน้ื ในอากาศสูง จนรสู้ ึกเหนยี วตามร่างกาย
~ ท้องฟา้ มัว ทัศนะวสิ ยั การมองเห็นระยะไกลไมช่ ัดเจน (อากาศมวั )
~ เมฆทวีมากขนึ้ ท้องฟ้ามดื ครมึ้ อากาศรอ้ นอบอา้ ว
ขณะเกดิ
~ พายลุ มแรง 15-20 นาที ความเร็วมากกว่า 50 กม./ชม.
~ เมฆทวีขึ้นอย่างรวดเร็ว ลมกระโชกแรงเป็นครั้งคราว ในช่วง 1-2 นาทีแรก
ความเร็วลมอาจสูงถึง 60-70 กม/ชม. บางครั้งมีฝนตกหนัก อาจจะมีลูกเห็บตกได้ในบางครั้ง

เรยี นรเู้ พือ่ ป้องกนั ภยั พบิ ตั ใิ กลัตวั 8

มีฟ้าคะนอง ฟ้าแลบถ้านับในใจ 1-2-3 แล้ว ได้ยินเสียงฟ้าร้อง และพายุจะห่างไปประมาณ
1 กม. ถา้ เหน็ ฟ้าแลบและฟ้าร้องพร้อมกัน พายจุ ะอยูใ่ กล้มาก

~ สภาวะน้ีจะอยู่ประมาณ 1 ชม.
หลังเกิด
~ พายุสลายไปแล้วอากาศจะเย็นลง รู้สึกสดชื่นขึ้น ท้องฟ้าแจ่มใส ทัศนะวิสัย
ชดั เจน
การปอ้ งกนั พายฤุ ดรู ้อน
~ ตดิ ตามสภาวะอากาศ ฟังคำเตอื นจากกรมอุตุนยิ มวิทยา
~ สอบถาม แจ้งสภาวะอากาศร้าย โทร 0-2399-4012-3, 0-2398-9838
ตลอด 24 ช่วั โมง
~ ติดตั้งสายลอ่ ฟา้ สำหรับอาคารสูงๆ
~ ปลูกสรา้ ง ซอ่ มแซม อาคารให้แข็งแรง เตรียมปอ้ งกันภัยใหส้ ัตว์เลี้ยงและพืชผล
การเกษตรเมอ่ื ยา่ งเข้าฤดูรอ้ น
~ ไม่ใชอ้ ุปกรณไ์ ฟฟ้าทุกชนดิ ขณะมีฟา้ คะนอง
~ ไม่ใสเ่ ครอ่ื งประดบั โลหะ และอยูก่ ลางแจ้ง ขณะมฝี นฟ้าคะนอง
1.2 วาตภยั จากพายุหมุนเขตร้อน จะเกดิ ข้ึนในช่วงฤดูฝน เป็นพายุที่เกิดข้ึนเหนือ
ทะเลจีนใต้ และ มหาสมุทรแปซิฟิกในเขตร้อน มีศูนย์กลางประมาณ 200 กม.หรือมากกว่า
มีลมพัดเวียนรอบศูนย์กลางทิศทวนเข็ม นาฬิกา (ในซีกโลกเหนือ) หากมีความแรงถึงขั้นพายุ
ไต้ฝุ่นจะมีศูนย์กลางเป็นวงกลมประมาณ 15-60 กม. เรียกว่า ตาพายุ มองเห็นได้จากภาพถา่ ย
เมฆจากดาวเทียม เมื่อพายุหมุนเขตร้อนเคลื่อนตัวขึ้นฝั่งจะทำความเสียหายให้ บริเวณที่
เคลอ่ื นผา่ น เปน็ อยา่ งมาก
ความรุนแรง ของพายุหมุนเขตร้อนแบ่งตามความเร็วลมสูงสุดใกล้จุดศูนย์กลาง
ไดด้ งั น้ี
~ พายดุ ีเปรสชั่น มกี ำลงั ออ่ น ความเร็วลมใกลศ้ ูนย์กลาง ไมเ่ กนิ 63 กม /ชม
~ พายโุ ซนรอ้ น มีกำลงั ปานกลาง ความเร็วลมใกลศ้ ูนย์กลาง 63-117 กม/ชม.
~ พายไุ ต้ฝุ่น มีกำลงั แรง ความเรว็ ลมใกลศ้ นู ย์กลางตง้ั แต่ 118 กม/ชม. ขนึ้ ไป
ข้อสังเกตก่อน/ขณะ/หลงั เกิด สภาวะอากาศของพายุหมุนเขตร้อน (กรกฎาคม-
ตลุ าคม)

เรยี นรเู้ พอื่ ป้องกันภยั พบิ ตั ิใกลตั วั 9

กอ่ นเกิด
~ อากาศดี ลมตะวันออกเฉียงเหนอื พัดผา่ น
~ เมฆทวขี ้ึนเป็นลำดบั
~ ฝนตกเป็นระยะๆ
ขณะเกดิ
~ เมฆเตม็ ทอ้ งฟ้า ฝนตกต่อเนื่องเกือบตลอดเวลา ลมพดั จัดและแนท่ ศิ
~ เมื่อตาพายุผ่านมา ลมสงบ ท้องฟ้าแจ่มใส แต่ยังจะมีลมรุนแรงตามมาอีกคร้ัง
ในระยะเวลาสั้นๆ
~ เมฆเตม็ ทอ้ งฟ้า ฝนตกเกอื บตลอดเวลา ลมพดั กลบั ทิศ
หลังเกดิ
~ พายุสลายไปแลว้ จะทง้ิ ความเสียหายไวต้ ามทางผ่าน อากาศดีขึ้น
เป็นลำดับ
อันตรายท่ีเกดิ จากพายแุ ละลมแรงจัด สง่ ผลความเสยี หายดังนี้
บนบก ต้นไม้ถอนรากถอนโคน ต้นไม้ทับบ้านเรือนพัง ผู้คนได้รับบาดเจ็บถึงตาย
เรือกสวนไร่นา เสียหายหนักมาก บ้านเรือนที่ไม่แข็งแรง ไม่สามารถต้านทานความรุนแรง
ของลมได้พังระเนระนาด หลังคาบ้านที่ทำด้วยสังกะสจี ะ ถูกพัดเปิด กระเบื้องหลังคาปลิวว่อน
เป็นอันตรายต่อผู้ที่อยู่ในที่โล่งแจ้ง เสาไฟฟ้า เสาโทรเลข เสาโทรศัพท์ล้ม สายไฟฟ้าขาด
ไฟฟ้าลัดวงจร เกิดเพลิงไหม้ ผู้คนเสียชีวิตจากไฟฟ้าดูดได้ ผู้คนที่พักอยู่ริมทะเล จะถูกคลื่นซัด
ท่วมบ้านเรือน และกวาดลงทะเล ผู้คนอาจจมน้ำตายในทะเลได้ ฝนตกหนักมากทั้งวันและ
ท้ังคืน อุทกภัยจะตามมา นำ้ ปา่ จากภเู ขาไหลหลากลงมาอยา่ ง รนุ แรง ท่วมบ้านเรอื น ถนน และ
เรอื นสวนไรน่ า เส้นทางคมนาคม ทางรถไฟ สะพาน และถนนถกู ตดั ขาด
ในทะเล มลี มพดั แรงจดั มาก คล่ืนใหญ่ เรอื ขนาดใหญ่อาจถูกพัดพาไปเกยฝ่ังหรือ
ชนหินโสโครกทำให้จมได้ เรือทุกชนิดควรงดออกจากฝั่งหรือหลีกเลี่ยงการเดินเรือเข้าใกล้
ศูนย์กลางพายุ มีคลื่นใหญ่ซัดฝั่งทำให้ระดับน้ำสูง ท่วม อาคารบ้านเรือนบริเวณริมทะเล
และอาจกวาด สิ่งก่อสรา้ งทไ่ี มแ่ ขง็ แรงลงทะเลได้ เรือประมงบรเิ วณชายฝ่ัง จะถกู ทำลาย
การเตรียมการและป้องกันอันตราย พายหุ มุนเขตรอ้ น
~ ตดิ ตามสภาวะอากาศ ฟังคำเตือนจากกรมอุตนุ ยิ มวทิ ยา
~ สอบถาม แจ้งสภาวะอากาศร้าย โทร 0-2399-4012-3, 0-2398-9838 ตลอด
24 ช่ัวโมง

เรยี นรู้เพอ่ื ป้องกันภยั พบิ ตั ิใกลัตัว 10

~ ฝึกซ้อมการปอ้ งกนั ภัยพิบัติ เตรียมพรอ้ มรับมือ และวางแผนอพยพหากจำเปน็
~ เตรียมเครื่องอุปโภค บริโภค ยารักษาโรค ไฟฉาย แบตเตอรี่ วิทยุกระเป๋าหิ้ว
ตดิ ตามข่าวสาร และยานพาหนะ
~ ซอ่ มแซมอาคารให้แข็งแรง เตรยี มป้องกนั ภยั ให้สตั ว์เลี้ยงและพชื ผลการเกษตร
~ เตรียมพรอ้ มอพยพเม่อื ไดร้ ับแจ้งให้อพยพ
ภัยธรรมชาตซิ ่งึ เกิดจาก พายลุ มแรง

2. อทุ กภยั : หมายถงึ ภยั และอนั ตรายทีเ่ กิดจากสภาวะนำ้ ท่วมหรอื น้ำทว่ มฉบั พลัน มสี าเหตมุ า
จากการเกิดฝนตกหนักหรอื ฝน ตอ่ เนอื่ งเป็นเวลานาน มีสาเหตจุ าก เนอ่ื งมาจาก

2.1 หยอ่ มความกดอากาศตำ่
2.2 พายุหมุนเขตรอ้ น ไดแ้ ก่ พายดุ ีเปรสชนั่ , พายุโซนร้อน, พายุใต้ฝุ่น
2.3 ร่องมรสุมหรอื รอ่ งความกดอากาศต่ำกำลงั แรง
2.4 ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ กำลังแรง
2.5 ลมมรสมุ ตะวันออกเฉยี งเหนอื
2.6 เขื่อนพัง (อาจมสี าเหตุจากแผน่ ดินไหว และอน่ื ๆ)
ภยั จากน้ำท่วมหรอื อทุ กภยั สามารถแบง่ ไดด้ งั น้ี
~ อุทกภัยจากน้ำป่าไหลหลากและน้ำท่วมฉับพลัน มักจะเกิดขึ้นในที่ราบต่ำหรือ
ที่ราบลุ่มบริเวณใกล้ภูเขาต้นน้ำ เมื่อมีฝนตกหนักเหนือภูเขาต่อเนื่องเป็นเวลานาน จะทำให้
จำนวนน้ำสะสมมีปริมาณมากจนพ้ืนดิน และต้นไม้ดูด ซับไม่ไหวไหลบ่าลงสู่ท่ีราบต่ำ เบื้องล่าง
อย่างรวดเร็ว มีอำนาจทำลายร้างรุนแรงระดับหนึ่ง ที่ทำให้บ้านเรือน พังทลายเสียหาย และ
อาจทำให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้ ความแรงของน้ำสามารถทำลายต้นไม้ อาคาร ถนน สะพาน
ชีวิตและทรัพยส์ ิน

เรียนร้เู พ่ือปอ้ งกันภยั พิบตั ิใกลตั ัว 11

~ อุทกภัยจากนำ้ ท่วมขังและน้ำเอ่อทน้ เกิดจากน้ำในแม่น้ำลำธารลน้ ตลิ่ง หรือมี
ระดับสูงจากปกติ เอ่อท่วมล้นไหล บ่าออกจากระดับตลิ่งในแนวระนาบ จากที่สูงไปยังที่ต่ำเข้า
ทว่ มอาคารบา้ นเรอื น เรอื กสวนไรน่ าไดร้ บั ความ เสยี หาย หรอื เป็นสภาพนำ้ ท่วมขงั ในเขตเมือง
ใหญ่ที่เกิดจากฝนตกหนัก ต่อเนื่องเป็นเวลานาน มีสาเหตุมาจาก ระบบการระบายน้ำไม่ดีพอ
มสี ่ิงก่อสรา้ งกดี ขวางทางระบายน้ำหรือเกิดนำ้ ทะเลหนนุ สูงกรณีพืน้ ที่อย่ใู กล้ชายฝงั่ ทะเลทำให้
การคมนาคมชะงักเกิดโรคระบาดทำลายสาธารณปู โภคและพืชผลการเกษตร

เมื่อเกิดอุทกภัยอันตรายและความเสียหายที่เกิดขึ้นมีอะไรบ้าง สามารถแบ่ง
อันตรายและความเสียหายทเี่ กดิ จากอุทกภัย ไดด้ ังนี้ ความเสยี หายโดยตรง

1. น้ำท่วมอาคารบ้านเรือน สิ่งก่อสร้างและสาธารณสถาน ซึ่งจะทำให้เกิดความ
เสียหายทางเศรษฐกิจอย่างมาก บ้านเรือนหรืออาคารสิ่งก่อสร้างที่ไม่แข็งแรงจะถูกกระแสน้ำ
ที่ไกลเชี่ยวพังทลายได้ คนและสัตว์พาหนะและสัตว์ เลี้ยงอาจได้รับอันตรายถึงชีวิตจากการ
จมนำ้ ตาย

2. เส้นทางคมนาคมและการขนส่ง อาจจะถูกตัดเป็นช่วงๆ โดยความแรงของ
กระแสน้ำ ถนน และสะพานอาจจะ ถูกกระแสน้ำพัดให้พังทลายได้สินค้าพัสดุอยู่ระหว่าง
การขนสง่ จะได้รับความเสยี หายมาก

3. ระบบสาธารณูปโภค จะไดร้ ับความเสยี หาย เช่น โทรศพั ท์ โทรเลข ไฟฟา้ และ
ประปา ฯลฯ

4. พื้นที่การเกษตรและการปศุสัตว์จะได้รับความเสียหาย เช่น พืชผล ไร่นา
ทุกประการที่กำลังผลิดอกออกผล อาจ ถูกน้ำท่วมตายได้ สัตว์พาหนะ วัว ควาย สัตว์เลี้ยง
ตลอดจนผลผลติ ท่ีเก็บกกั ตุน หรอื มีไว้เพือ่ ทำพนั ธ์ุจะได้รับ ความเสยี หาย ความเสยี หายทางอ้อม
จะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจโดยทั่วไป เกิดโรคระบาด สุขภาพจิตเสื่อม และ สูญเสียความ
ปลอดภยั เปน็ ต้น

การป้องกัน อุทกภยั สามารถกลา่ วโดยยอ่ พอสังเขป ไดด้ ังนี้
~ ติดตามสภาวะอากาศ ฟงั คำเตือนจากกรมอุตุนยิ มวิทยา
~ สอบถาม แจ้งสภาวะอากาศร้าย โทร 0-2399-4012-3, 0-2398-9838 ตลอด
24 ชวั่ โมง
~ ฝึกซอ้ มการป้องกนั ภัยพบิ ตั ิ เตรียมพร้อมรับมือ และวางแผนอพยพหากจำเปน็
~ เตรียมน้ำดื่ม เครื่องอุปโภค บริโภค ไฟฉาย แบตเตอรี่ วิทยุกระเป๋าหิ้วติดตาม
ข่าวสาร

เรียนรู้เพื่อป้องกนั ภยั พบิ ัตใิ กลตั วั 12

~ ซอ่ มแซมอาคารใหแ้ ข็งแรง เตรียมปอ้ งกนั ภัยให้สตั วเ์ ล้ยี งและพชื ผลการเกษตร
~ เตรียมพร้อมเสมอเมื่อได้รับแจ้งให้อพยพไปที่สูง เมื่ออยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัย
และฝนตกหนกั ตอ่ เนอื่ ง
~ ไม่ลงเล่นน้ำ ไม่ขับรถผ่านน้ำหลากแม้อยู่บนถนน ถ้าอยู่ใกล้น้ำ เตรียมเรือ
เพ่ือการคมนาคม
~ หากอยู่ในพื้นที่น้ำท่วมขัง ป้องกันโรคระบาด ระวังเรื่องน้ำและอาหาร ต้องสุก
และสะอาดกอ่ นบรโิ ภค
เมอ่ื ได้รบั คำเตอื น เรื่อง อุทกภัยจากกรมอตุ นุ ิยมวทิ ยา ควรปฏิบตั ิตนอย่างไร
กอ่ นเกดิ ควรปฏิบตั ดิ งั นี้
1. เช่อื ฟงั คำเตือนอย่างเครง่ ครดั
2. ตดิ ตามรายงานของกรมอุตนุ ิยมวิทยาอยา่ งต่อเน่อื ง
3. เคลื่อนย้ายคน สัตว์เลี้ยง เช่น วัว ควาย และสิ่งของไปอยู่ในที่สูง ซึ่งเป็นที่พ้น
ระดับน้ำทีเ่ คยทว่ มมากอ่ น
4. ทำคันดนิ หรอื กำแพงก้ันนำ้ โดยรอบ
5. เคลื่อนย้ายพาหนะ เช่น รถยนต์หรือล้อเลื่อนไปอยู่ที่สูง หรือทำแพสำหรับที่
พักรถยนต์ อาจจะใช้ถงั น้ำขนาด 200 ลติ ร ผูกตดิ กนั แลว้ ใช้กระดานปกู ็ได้
6. เตรียมกระสอบใส่ดินหรือทราย เพ่อื เสริมคันดินท่ีกั้นน้ำให้สูงขึ้น เมื่อระดับน้ำ
ขึ้นสงู ท่วมคนั ดินท่สี ร้างอยู่
7. ควรเตรียมเรือไม้ เรือยาง หรือแพไม้ไว้ใช้ด้วย เพื่อใช้เป็นพาหนะในขณะน้ำ
ทว่ มเป็นเวลานาน เรอื เหลา่ นี้ สามารถชว่ ยชีวติ ไดเ้ ม่ืออทุ กภัยคกุ คาม
8. เตรยี มเคร่ืองมอื ช่างไม้ ไมก้ ระดาน และเชือกไว้บา้ งสำหรบั ตอ่ แพ เพอ่ื ชว่ ยชวี ิต
ในยามคับขัน เมื่อน้ำท่วมมากขึ้น จะได้ใช้เครื่องมือช่างไม้เปิดหลังคารื้อฝาไม้ เพื่อใช้ช่วยพยุง
ตัวในนำ้ ได้
9. เตรียมอาหารกระป๋อง หรืออาหารสำรองไว้บ้าง พอที่จะมีอาหารรับประทาน
เมอ่ื นำ้ ท่วมเป็นระยะเวลาหลาย ๆ วนั อาหารย่อมขาดแคลนและไม่มที ี่หุงต้ม
10. เตรียมน้ำด่มื เกบ็ ไวใ้ นขวดและภาชนะที่ปดิ แน่น ๆ ไว้บา้ ง เพราะน้ำที่สะอาด
ทใ่ี ช้ตามปกติขาดแคลนลง ระบบ การส่งนำ้ ประปาอาจจะหยดุ ชะงักเป็นเวลานาน

เรียนรเู้ พื่อปอ้ งกนั ภยั พบิ ตั ใิ กลตั ัว 13

11. เตรียมเครื่องเวชภัณฑ์ไว้บ้างพอสมควร เช่น ยาแก้พิษกัดต่อยแมลงป่อง
ตะขาบ งู และสตั ว์อนื่ ๆ เพราะเมือ่ เกิด น้ำท่วมพวกสตั ว์มพี ิษ เหล่าน้ีจะหนีนำ้ ข้ึนมาอยูบ่ นบา้ น
และหลงั คาเรือน

12. เตรียมเชือกมนิลามีความยาวไม่น้อยกว่า 10 เมตร ใช้ปลายหนึ่งผูกมัดกับ
ต้นไม้เป็นที่ยึดเหนี่ยว ในกรณีที่ กระแสน้ำเชี่ยว และคลื่นลูกใหญ่ซัดมากวาดผู้คนลงทะเล
จะช่วยไมใ่ ห้ไหลลอยไปตามกระแสน้ำ

13. เตรียมวิทยุที่ใช้ถ่านไฟฉาย เพื่อไว้ติดตามฟังรายงานข่าวลักษณะอากาศ
จากกรมอตุ นุ ยิ มวทิ ยา

14. เตรียมไฟฉาย ถ่านไฟฉาย และเทยี นไข เพอื่ ไว้ใช้เม่ือไฟฟา้ ดับ
ขณะเกิด ควรตั้งสติให้มั่นคง อย่าตื่นกลัวหรือตกใจ ควรเตรียมพร้อมที่จะเผชิญ
เหตุการณ์ดว้ ยความสุขมุ รอบคอบ และควรปฏบิ ัตดิ งั ต่อไปน้ี
1. ตัดสะพานไฟ และปดิ แกส๊ หงุ ต้มให้เรยี บร้อย
2. จงอยู่ในอาคารท่ีแข็งแรง และอย่ใู นทส่ี งู พน้ ระดับน้ำทเ่ี คยทว่ มมากอ่ น
3. จงทำให้ร่างกายอบอนุ่ อย่เู สมอ
4. ไมค่ วรขับขีย่ านพาหนะฝา่ ลงไปในกระแสนำ้ หลาก
5. ไมค่ วรเลน่ น้ำหรอื ว่ายน้ำเล่นในขณะนำ้ ทว่ ม
6. ระวังสัตว์มีพิษที่หนีน้ำท่วมขึ้นมาอยู่บนบ้าน และหลังคาเรือนกัดต่อย เช่น งู
แมลงปอ่ ง ตะขาบ เปน็ ตน้
7. ติดตามเหตุการณ์อย่างใกล้ชิด เช่น สังเกตลมฟ้าอากาศ และติดตามคำเตือน
เกี่ยวกับ ลกั ษณะอากาศจากกรม อตุ นุ ิยมวทิ ยา
8. เตรียมพร้อมที่จะอพยพไปในที่ปลอดภัยเมื่อสถานการณ์จวนตัว หรือปฏิบัติ
ตามคำแนะนำของทางราชการ
9. เมื่อจวนตัวใหค้ ำนึงถึงความปลอดภัยของชวี ติ มากกว่าหว่ งทรัพยส์ มบัติ
หลังเกิด เมื่อระดับน้ำลดลงจนเป็นปกติ การบูรณะซ่อมแซมสิ่งต่างๆ จะต้อง
เริม่ ตน้ ทนั ทีง่ านบูรณะตา่ ง ๆ เหล่าน้ี จะประกอบดว้ ย
1. การขนส่งคนอพยพกลับยังภมู ลิ ำเนาเดมิ
2. การช่วยเหลือในการรื้อสิ่งปรักหักพัง ซ่อมแซมบ้านเรือนที่หักพัง และถ้า
บ้านเรือนท่ีถูกทำลายสิ้น ก็ใหไ้ ดร้ ับ ความชว่ ยเหลอื ในการจัดหาท่ีพักอาศัยและการดำรงชีพช่ัว
ระยะหนง่ึ

เรยี นรู้เพื่อปอ้ งกนั ภยั พิบตั ใิ กลตั ัว 14

3. การกวาดเก็บขนสิ่งปรักหักพังทั่วไป การทำความสะอาดบ้านเรือน ถนน
หนทางที่เต็มไปด้วยโคลนตม และสิ่ง ชำรุดเสียหายที่เกลื่อนกลาดอยู่ทั่วไปกลับสู่สภาพปกติ
โดยเร็ว

4. ซ่อมแซมบ้านเรือนอาคาร โรงเรียนที่พักอาศัย สะพานที่หักพังชำรุดเสียหาย
และที่เสยี หายมากจนไม่อาจ ซ่อมแซมได้ กใ็ ห้ร้ือถอนเพราะจะเป็นอนั ตรายได้

5. จัดซ่อมทำเครื่องสาธารณูปโภค ให้กลับคืนสู่สภาพปกติโดยเร็วที่สุด เช่น
การไฟฟ้า ประปา โทรเลข โทรศัพท์

6. ภายหลังน้ำท่วมจะมีซากสัตว์ตาย ปรากฏในที่ต่างๆ ซึ่งจะต้องจัดการเก็บฝัง
โดยเร็ว สัตวท์ ีม่ ชี ีวติ อยู่ซึ่งอด อาหารเปน็ เวลานาน ใหร้ ีบใหอ้ าหารและนำกลบั คืนให้เจ้าของ

7. ซ่อมถนน สะพาน และทางรถไฟที่ขาดตอนชำรุดเสียหายให้กลับสู่สภาพเดิม
เพอ่ื ใช้ในการคมนาคมไดโ้ ดยเร็วทีส่ ุด

8. สร้างอาคารชั่วคราวสำหรับผู้ที่อาศัย เนื่องจากถูกอุทกภัยทำลายให้อยู่อาศัย
เปน็ การชัว่ คราว

9. การสงเคราะหผ์ ู้ประสบอุทกภัย มีการแจกเสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่ม และอาหารแก่
ผู้ประสบภัยความอดอยาก ความ ขาดแคลนจะมีอยู่ระยะหนึ่ง ซึ่งควรจะได้รับความช่วยเหลือ
จากหนว่ ยบรรเทาทุกข์หรือมูลนิธิ และอีกประการหน่งึ

10. ภายหลังอุทกภยั เนื่องจากสิ่งแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก จะทำให้
เกดิ เจบ็ ไข้และโรคระบาดได้

เรียนรู้เพือ่ ปอ้ งกันภยั พบิ ัตใิ กลตั วั 15

3. ความแหง้ แลง้ หรอื ภัยแลง้ : ภยั แลง้ คือ ภัยที่เกิดจากการขาดแคลนนำ้ ในพน้ื ที่ใดพืน้ ที่หน่ึง
เป็นเวลานาน ฝนแล้งไม่ตกต้องตามฤดูกาล จน ก่อให้เกิดความแห้งแล้ง และส่งผลกระทบต่อ
ชุมชน มีสาเหตุจาก พายุหมุนเขตร้อนเคลื่อนผ่านประเทศไทยน้อย หรือไม่มีผ่านเข้ามาเลย
ร่องความกดอากาศต่ำมีกำลังอ่อน มรสุมตะวันตกเฉียงใต้มีกำลังอ่อน เกิดสภาวะฝนท้ิง
ช่วงเป็นเวลานาน หรือเกิดปรากฏการณ์เอลนิโญรุนแรง ทำให้ฝนน้อยกว่าปกติ ทำให้ผลผลิต
การเกษตรเสียหาย ขาดน้ำ เหี่ยวเฉา แห้งตายในที่สุด โรคพืชระบาด คุณภาพด้อยลง
อตุ สาหกรรมเกษตรเสียหาย ขาดแคลนอุปโภค บริโภค กระทบกับการผลิตไฟฟ้าพลงั น้ำ

สภาวะอากาศของฝนแลง้
~ มักเกิดช่วงครึ่งหลังเดือนตุลาคม-กลางพฤษภาคม สิ้นฤดูฝน -ฤดูร้อน ฝนน้อย
กวา่ ปกติในฤดูฝน
~ ในชว่ งปลายเดือนมิถุนายน-กลาง กรกฎาคม ฝนทงิ้ ชว่ งมากกว่า 2 สปั ดาห์
สาเหตขุ องการเกดิ ภัยแลง้ มีอะไรบ้าง
~ โดยธรรมชาติ
1. การเปล่ียนแปลงอุณหภูมิโลก
2. การเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ
3. การเปลีย่ นแปลงของระดับนำ้ ทะเล เช่นปรากฏการณเ์ อลนโิ ญ
4. ภัยธรรมชาติ เช่น วาตภัย แผ่นดินไหว ซึ่งก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิ
ประเทศ
~ โดยการกระทำของมนษุ ย์
1. การทำลายช้ันโอโซน
2. ผลกระทบของภาวะเรอื นกระจก
3. การพัฒนาดา้ นอุตสาหกรรม
4. การตัดไม้ทำลายปา่
สำหรับภัยแล้งในประเทศไทย ส่วนใหญเ่ กิดจากฝนแลง้ และทิ้งช่วง ซึ่งฝนแล้งเปน็ ภาวะปริมาณ
ฝนตกน้อยกว่าปกติหรือฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล กับการเคลื่อนผ่านของพายุหมุนเขตร้อนที่
นอ้ ยกวา่ ปกติ
ฝนแลง้ มคี วามหมายอย่างไร ด้านอตุ นุ ิยมวทิ ยา : ฝนแลง้ หมายถึง สภาวะที่มีฝน
น้อยหรือไม่มีฝนเลยในช่วงเวลาหนึ่ง ซึ่งตามปกติควรจะต้องมี ฝน โดยขึ้นอยู่กับสถานที่และ
ฤดูกาล ณ ท่ีนั้น ๆ ด้วย

เรยี นรู้เพือ่ ปอ้ งกนั ภยั พบิ ัตใิ กลัตัว 16

ด้านการเกษตร : ฝนแล้ง หมายถึง สภาวะการขาดแคลนน้ำของพืช
ด้านอุทกวิทยา : ฝนแล้ง หมายถึง สภาวะที่ระดับน้ำผิวดินและใต้ดินลดลง หรือน้ำในแม่น้ำ
ลำคลองลดลง

ด้านเศรษฐศาสตร์ : ฝนแล้ง หมายถึง สภาวะการขาดแคลนน้ำ ซึ่งมีผลกระทบ
ตอ่ สภาพเศรษฐกจิ ในภมู ิภาค

ฝนทิ้งช่วงคืออะไร หมายถึง ช่วงที่มีปริมาณฝนตกไม่ถึงวันละ 1 มิลลิเมตร
ติดต่อกันเกิน 15 วัน ในช่วงฤดูฝน เดือนที่มีโอกาสเกิดฝน ทิ้งช่วงสูงคือ เดือนมิถุนายนและ
กรกฎาคม

ภัยแล้งในประเทศไทยสามารถเกิดช่วงเวลาใดบ้าง ภัยแล้งในประเทศไทย
จะเกิดใน 2 ชว่ ง ได้แก่

1. ช่วงฤดูหนาวตอ่ เน่ืองถึงฤดรู ้อน ซ่ึงเริม่ จากครง่ึ หลังของเดือนตุลาคมเป็นต้นไป
บริเวณประเทศไทยตอนบน (ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลางและ
ภาคตะวันออก) จะมีปริมาณฝนลดลงเป็นลำดับ จนกระทั่งเข้า สู่ฤดูฝนในช่วงกลางเดือน
พฤษภาคมของ ปีถดั ไป ซึง่ ภัยแล้งลักษณะนี้จะเกิดข้ึนเป็นประจำทุกปี

2. ช่วงกลางฤดูฝน ประมาณปลายเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม จะมีฝนท้ิง
ช่วงเกิดขึ้น ภัยแล้งลักษณะนี้จะ เกิดขึ้นเฉพาะท้องถิ่นหรือบางบริเวณ บางครั้งอาจครอบคลุม
พืน้ ทีเ่ ปน็ บริเวณกว้างเกอื บท่วั ประเทศ

เรียนร้เู พอ่ื ปอ้ งกนั ภยั พบิ ัตใิ กลัตวั 17

4. ฝนฟา้ คะนอง : พายุฝนฟ้าคะนอง เปน็ ปรากฏการณท์ างธรรมชาติทเ่ี กดิ ข้ึนเป็นประจำทุกวัน
เหนือ พื้นผิวโลก โดยการก่อตัวที่ เกิดขึ้นในแต่ละพื้นที่จะเป็นไปตามฤดูกาล ในบริเวณใกล้
เสน้ ศูนยส์ ตู ร มีโอกาสท่จี ะเกดิ พายุฝนฟา้ คะนองได้ ตลอดปี เนอื่ งจากมสี ภาพอากาศในเขตร้อน
จึงมีอากาศร้อน อบอ้าว ซึ่งเอื้อต่อการก่อตัวของพายุฝนฟ้าคะนองได้ ตลอดปี โดยอากาศร้อน
ในระดับต่ำลอยสูงขึ้น อากาศข้างเคียงที่เย็นกว่าไหลเข้ามาแทนที่ อากาศร้อนที่มีไอน้ำ
เมื่อ ลอยตัวสูงขึ้นกระทบกับความเยน็ ในระดับสูง ไอน้ำจะกลั่นตัวเป็นเมฆ ทวีความสูงมากขึน้
มองเห็นคล้ายทั่งตี เหล็กสีเทาเข้ม มีฟ้าแลบ ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า เกิดพายุฝนฟ้าคะนอง
ลมกระโชกแรง บางครั้งมีลูกเห็บ หากตกต่อเนื่อง หลายชั่วโมง อาจเกิดน้ำป่าไหลหลาก
น้ำท่วมฉับพลัน อาจ เกิดพายุลมหมุนหรือ พายุงวงช้างมีลมแรงมาก ทำความเสียหายบริเวณ
ที่เคลื่อนผ่านโดยเฉพาะในเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม พายุฝนฟ้าคะนองที่เกิดขึ้นจะมี
ความรุนแรงกว่าปกติ จนเกิดเป็นลักษณะที่เรียกว่า “พายุฤดูร้อน” ส่วนบริเวณขั้วโลกเหนือ
และขวั้ โลกใตท้ ี่อยู่ใน ละตจิ ูดทีส่ ูงขน้ึ ไป มกั จะเกดิ ข้ึนในฤดูรอ้ น

ข้อสังเกตก่อน/ขณะ/หลัง สภาวะอากาศของพายุฝนฟ้าคะนอง (มีนาคม-
พฤษภาคม)

กอ่ นเกดิ
~ อากาศร้อนอบอ้าว
~ ลมสงบ หรือลมสงบ
~ ความช้ืนในอากาศสงู จนรู้สกึ เหนียวตามรา่ งกาย
~ เมฆก่อตัวเปน็ รปู ทัง่ สีเทาเข้ม ยอดเมฆสูงกวา่ 10 กม.
ขณะเกดิ
~ ฟา้ แลบ ฟา้ ร้อง และฟา้ ผ่า ลมกระโชกแรง
~ ฝนตกหนกั ถงึ หนกั มาก บางคร้งั มีลูกเห็บ
หลังเกดิ
~ พายสุ ลายไปแล้วอากาศจะเย็นลง ร้สู กึ สดชนื่ ขนึ้ ทอ้ งฟ้าแจม่ ใส
สาเหตกุ ารเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง
พายฝุ นฟ้าคะนอง เกดิ จากเมฆท่กี ่อตัวขึน้ ในทางตงั้ (แนวดิง่ ) ขนาดใหญท่ ่ีเรียกว่า
เมมคิวมูโลนิมบัส (Cumulonimbus) หรือเมฆรูปทั่ง ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดลักษณะ
อากาศร้ายชนิดต่าง เช่น ลมกระโชก ฟ้า แลบ และฟ้าผ่า ฝนตกหนัก อากาศปั่นป่วนรุนแรง
ทำให้มีลูกเห็บตกและอาจเกิดน้ำแข็ง เกาะจับเครื่องบินที่บิน รุนแรง ฯลฯ นอกจากน้ี

เรยี นรู้เพือ่ ปอ้ งกันภยั พบิ ตั ใิ กลตั ัว 18

เมมคิวมูโลนิมบัส ที่ก่อตัวขึ้นในบริเวณพื้นที่ระบบกว้างใหญ่ เช่น ทางตะวันออกของภูเขา
รอกกี้ในสหรัฐอเมริกา เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดพายุทอร์นาโดหรือพายุลมงวง เมฆพายุฝน
ฟ้าคะนองดังกล่าว จะมีฐานเมฆต่ำ และมีกระแสอากาศไหลลงรุนแรง (Downdraft) จนทำให้
เกิดเมฆเป็นลำคล้ายงวงชา้ ง ยื่นจากใต้ฐานเมฆหนาทบึ ลงมายงั พื้นดิน โดยที่ภายในของลำเมฆ
ที่หมุนวนนี้จะมคี วามกดอากาศต่ำมาก จนเกือบเปน็ สุญญากาศจงึ สามารถดดู ส่ิงต่างๆ ให้ลอย
ขึน้ สู่อากาศเบอ้ื งบนได้

ลำดบั ชั้นการเกดิ พายุฝนฟา้ คะนอง
1. ระยะเจริญเติบโต โดยเริ่มจากการที่อากาศร้อนลอยตัวขึ้นสู่บรรยากาศ
พร้อมกับการมีแรงมากระทำ หรือผลักดันให้มวลอากาศยก ตัวขึ้นไปสู่ความสูงระดับหนึ่ง
โดยมวลอากาศจะเย็นลงเมื่อลอยสูงขึ้น และเริ่มที่จะเคลื่อนตัวเป็นละอองน้ำเล็กๆ เป็นการ
ก่อตัวของเมมคิวมูลัส ในขณะที่ความร้อนแฝงจากการกลั่นตัว ของไอน้ำจะช่วยให้อัตราการ
ลอยตัว ของ กระแสอากาศภายในก้อนเมฆเร็วมากยิ่งขึ้น ซึ่งเป็นสาเหตุให้ขนาดของ
เมฆคิวมูลัสมีขนาดใหญ่ขึ้น และยอดเมฆ สูงเพิ่มขึ้นเป็นลำดับ จนเคลื่อนที่ขึ้นถึงระดับบนสุด
แลว้ (จดุ อิม่ ตวั ) จนพฒั นามาเป็นเมฆควิ มูโลนิมบัส กระแส อากาศบางสว่ นก็จะเร่ิมเคล่ือนท่ีลง
และจะเพิ่มมากขึ้นจนกลายเปน็ กระแสอากาศท่ีเคลอื่ นทีล่ งอย่างเดยี ว
2. ระยะเจริญเติบโตเต็มที่ เป็นช่วงที่กระแสอากาศมีทั้งไหลขึ้นและไหลลง
ปริมาณความร้อนแฝงที่เกิดข้ึนจากการกลั่นตวั ลดน้อยลง ซึ่งมี สาเหตุมาจากการทีห่ ยาดนำ้ ฟา้
ที่ตกลงมามอี ุณหภูมติ ่ำ ช่วยทำให้อณุ หภูมขิ องกลุ่มอากาศเยน็ กวา่ อากาศแวดล้อม ดังนั้นอัตรา
การเคลื่อนที่ลงของกระแสอากาศจะมีค่าเพิ่มขึ้นเป็นลำดับ กระแสอากาศที่เคลื่อนที่ลงมา
จะแผ่ ขยายตัวออกด้านข้าง ก่อให้เกิดลมกระโชกรุนแรง อุณหภูมิจะลดลงทันทีทันใด และ
ความกดอากาศจะเพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็วและยาวนาน แผ่ออกไปไกลถึง 60 กิโลเมตรได้
โดยเฉพาะส่วนที่อยู่ด้านหน้าของทิศทาง การเคลื่อนที่ ของพายุฝนฟ้าคะนอง พร้อมกันนั้น
การที่กระแสอากาศเคลื่อนที่ขึ้น และเคลื่อนที่ลงจะก่อให้เกิดลมเชียร์รุนแรง และเกิดอากาศ
ปั่นปว่ นโดยรอบ
3. ระยะสลายตัว เป็นระยะที่พายุฝนฟ้าคะนองมีกระแสอากาศเคลื่อนที่ลงเพียง
อย่างเดยี ว หยาด น้ำฟา้ ตกลงมาอย่างรวดเรว็ และ หมดไป พร้อมๆ กบั กระแสอากาศที่ไหลลงก็
จะเบาบางลง

เรียนร้เู พือ่ ปอ้ งกนั ภยั พบิ ตั ใิ กลัตัว 19

ลักษณะอากาศรา้ ยเน่อื งจากพายฝุ นฟา้ คะนอง
1. พายุทอร์นาโด (TORNADO) หรือพายุลมงวง เป็นอากาศร้ายรุนแรงที่สุด
ซ่งึ เกิดจากพายฝุ นฟ้าคะนอง มลี ักษณะ เป็นลำเหมือนงวงช้างยื่นออกมาจากฐานเมฆ มลี ักษณะ
การหมนุ วนบดิ เปน็ เกลียว มีเส้นผา่ ศนู ยก์ ลางประมาณ 1,000 ฟตุ มักจะเกดิ ในที่ราบกว้างใหญ่
เช่น พื้นที่ราบในทวีปออสเตรเลีย ที่งานทางตะวันออก ของเทือกเขารอกกี้ ที่ในสหรัฐอเมริกา
สำหรับในประเทศไทยจะมีลักษณะเป็นพายุลมงวงขนาดเล็ก ซึ่งเกิดจากเมฆพายุฝนฟ้าคะนอง
รนุ แรงที่มีฐานเมฆต่ำ และมีกระแสอากาศไหลลงรุนแรง จนเกิดเมฆเปน็ ลำพวย พ่งุ ลงมาจนใกล้
พื้นดินดูดเอา อากาศ และเศษวัสดุหมุนวนเป็นลำพุ่งขึ้นไปในอากาศ ความรุนแรงของลำพวย
อากาศนี้สามารถ บิดให้ต้นไม้ ขนาดใหญ่หักขาดได้ ในขณะที่บ้านเปียกและสิ่งก่อสร้าง ก็จะ
ไดร้ ับความเสียหายตามแนวท่พี าลมงวงเคลือ่ นท่ีผ่าน
2. อากาศปั่นป่วน กระแสอากาศที่ปั่นป่วนและลมกระโชกที่รุนแรง ก่อให้เกิด
ความเสียหายต่อสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ บนพื้นดิน ซึ่งบางครั้งพบห่างออกไปกว่า 30 กิโลเมตร
จากกล่มุ เมฆพายุฝนฟ้าคะนอง
3. พายลุ ูกเหบ็ ลูกเหบ็ ท่ีเกดิ ขน้ึ พร้อม ๆ กับอากาศที่ปน่ั ปว่ นรุนแรง มกั จะเกิดข้ึน
จากพายฝุ นฟา้ คะนองทม่ี ีออกเมฆ สงู มาก กระแสอากาศที่เคล่ือนที่ข้ึนไปในระดบั สูงมาก ทำให้
หยดน้ำเริ่มแข็งตัวเป็นหยดน้ำแข็ง มีหยดน้ำอื่น ๆ รวมเข้าด้วยกันสะสมจนมีขนาดโตขึ้น และ
ในที่สุดเมื่อกระแสอากาศพยุงรับทั้งหน้าที่เพิ่มขึ้นไม่ได้ ก็จะตกลงมา เป็นลูกเห็บ ทำความ
เสียหายไปพน้ื ท่ี การเกษตรได้
4. ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า ฟ้าแลบและฟ้าผ่าเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดควบคู่กัน
นับเป็นภยั ธรรมชาตทิ ี่มีอันตรายต่อ ชีวติ มนุษย์มากกวา่ ปรากฏการณ์ธรรมชาติอ่ืน ฟ้าแลบและ
ฟ้าผ่าเกิดขึ้น จากการปล่อยประจุอิเล็กตรอน ระหว่าง ก้อนเมฆกับก้อนเมฆ หรือภายใน
กลุ่มเมฆเดียวกัน หรือเกิดขึ้นระหว่างก้อนเมฆกับพื้นดิน เมื่อเกิดความต่าง ศักย์ไฟฟ้าระหว่าง
ตำแหน่งทั้งสองที่มีค่าระดับหนึ่ง ซึ่งเกิดจากปฏิกิริยาที่ก่อให้เกิดสนามไฟฟ้าขนาดใหญ่
โดย ประจุไฟฟ้าบวกจะอยู่ทางด้านบนของเมฆ และประจุไฟฟ้าลบจะอยู่ทางตอนล่างของเมฆ
ประจุไฟฟ้าลบนจี้ ะชกั น้ำใหป้ ระจไุ ฟฟา้ พวกที่อยู่ดา้ นบนก้อนเมฆ และประจุไฟฟา้ บวกที่อยู่ใต้
พื้นผิวโลก เคลื่อนที่เข้าหาประจุไฟฟ้า ลบบริเวณใต้กลุ่มเมฆ โดยมีอากาศทำหน้าที่เป็นฉนวน
ป้องกันการถา่ ยเทของประจุไฟฟา้ ทงั้ สองกำลังแรงพอ ก็ จะทำให้เกิดเปน็ กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน
อากาศทำให้เกิดฟ้าแลบในก้อนเมฆ หรือระหว่างภยั เมฆและเกิด กระแสไฟฟา้ ไหลผ่าน อากาศ
อยา่ งเฉียบพลันจากเมฆถงึ ทำให้เกิดฟา้ ผ่า

เรยี นรูเ้ พือ่ ป้องกันภยั พบิ ตั ิใกลตั วั 20

5. ฝนตกหนัก พายุฝนฟ้าคะนองสามารถก่อให้เกิดฝนตกหนัก และน้ำท่วม
ฉับพลันได้ในพนื้ ทซี่ งึ่ เปน็ ทรี่ าบลุม่ หรือท่ีต่ำและพ้ืนท่ีตามบรเิ วณเชงิ เขา

การเตรยี มการและหลบเล่ียงจากพายุฝนฟา้ คะนอง
เนื่องจากพายุฝนฟ้าคะนองสามารถทำให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินและ
อนั ตราย ต่อชวี ิตของมนุษยไ์ ด้ จงึ ควร หลบเหลี่ยงจากสาเหตดุ ังกล่าว คอื
- ในขณะปรากฏพายุฝนฟ้าคะนอง หากอยู่ใกล้อาคารหรือบ้านเรือนที่แข็งแรง
และปลอดภยั จากน้ำทว่ ม ควรอยแู่ ต่ ภายในอาคารจนกว่าพายฝุ นฟ้าคะนองจะยุตลิ ง ซึ่งใช้เวลา
ไม่นานนัก
- การอยู่ในรถยนต์จะเป็นวิธีการที่ปลอดภัยวิธีหนึ่ง แต่ควรจอดรถให้อยู่ห่างไกล
จากบริเวณท่ีน้ำอาจทว่ มได้
- อยู่ห่างจากบริเวณที่เป็นน้ำ ขึ้นจากเรือ ออกห่างจากชายหาดเมื่อปรากฏพายุ
ฝนฟา้ คะนองเพื่อหลีกเลี่ยงอนั ตรายจากน้ำทว่ มและฟา้ ผา่
- ในกรณีที่อยูใ่ นป่า ในทุ่งราบ หรือในที่โล่ง ควรคุกเข่าและโน้มตัวไปขา้ งหน้าแต่
ไม่ควรนอนราบกบั พ้นื เน่อื งจากพื้นเปียกเปน็ สือ่ ไฟฟา้ และไม่ควรอยใู่ นทตี่ ำ่ ซ่ึงอาจเกิดน้ำท่วม
ฉบั พลนั ได้ ไมค่ วรอย่ใู นทีโ่ ดดเด่ียวหรอื อยูส่ งู กวา่ สภาพส่ิงแวดลอ้ ม
- ออกห่างจากวัตถุที่เป็นสื่อไฟฟ้าทุกชนิด เช่น ลวด โลหะ ท่อน้ำ แนวรั้วบ้าน
รถแทรกเตอร์ จักรยานยนต์ เครื่องมืออุปกรณ์ทำสวนทุกชนิด รางรถไฟ ต้นไม้สูง ต้นไม้
โดดเดย่ี วในทีแ่ จง้
- ไม่ควรใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น โทรทัศน์ ฯลฯ และควรงดใช้โทรศัพท์ชั่วคราว
นอกจากกรณีฉกุ เฉิน
- ไม่ควรใส่เครื่องประดับโลหะ เช่น ทองเหลือง ทองแดง ฯลฯ ในที่แจ้งหรือถือ
วัตถุโลหะ เช่น ร่ม ฯลฯ ในขณะ ปรากฏพายุฝนฟ้าคะนอง นอกจากนี้ ควรดูแลสิ่งของต่างๆ
ให้อยู่ในสภาพที่แข็งแรงและปลอดภัยอยู่เสมอโดยเฉพาะสิ่งของที่อาจจะหัก โค่นได้ เช่น
หลงั คาบา้ น ตน้ ไม้ ป้ายโฆษณา เสาไฟฟา้ ฯลฯ
การปอ้ งกัน พายุฝนฟ้าคะนอง
~ ติดตามสภาวะอากาศ ฟังคำเตอื นจากกรมอตุ นุ ิยมวิทยา
~ สอบถาม แจ้งสภาวะอากาศร้าย โทร 0-2399-4012-3, 0-2398-9838
ตลอด 24 ชว่ั โมง

เรียนรูเ้ พอ่ื ป้องกันภยั พบิ ตั ใิ กลตั วั 21

~ ตดิ ต้งั สายลอ่ ฟ้าสำหรับอาคารสูงๆ
~ ปลูกสรา้ ง ซอ่ มแซม อาคารให้แขง็ แรง เตรียมป้องกนั ภยั ให้สตั ว์เลยี้ งและพืชผล
การเกษตร
~ ไม่ใช้อปุ กรณไ์ ฟฟา้ ทุกชนดิ ขณะมฟี ้าคะนอง
~ ไมใ่ สเ่ คร่อื งประดับโลหะ และอยกู่ ลางแจ้ง ขณะมฝี นฟา้ คะนอง

5. แผ่นดินไหว : หมายถึงภยั ธรรมชาติซงึ่ เกิดจากการปลดปลอ่ ยพลังงานใต้พภิ พ ทำใหแ้ ผ่นดิน
เกิดการสั่นสะเทือน อาจทำให้เกิด ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินเลื่อน ถล่ม สาเหตุการเกิด
แผ่นดินไหว หรือความสั่นสะเทือนของพื้นดินเกิดขึ้นได้ทั้งจาก การกระทำของธรรมชาติและ
มนษุ ย์

- ส่วนที่เกิดจากธรรมชาติ ได้แก่ การเคลื่อนตัวของเปลือกโลกโดยฉับพลัน
ตามแนวขอบของแผ่นเปลือกโลก หรือตามแนวรอยเลื่อน การระเบิดของภูเขาไฟ การยุบตัว
ของโพรงใตด้ นิ แผน่ ดนิ ถล่ม อกุ าบาตขนาดใหญต่ ก เป็น ต้น

- ส่วนที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ ทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น การระเบิด
ต่างๆ การทำเหมือง สร้างอ่างเก็บน้ำ ใกล้รอยเลื่อน การทำงานของเครื่องจักรกล การจราจร
เปน็ ตน้

แผน่ ดินไหวในประเทศไทยเกดิ ขน้ึ ได้อย่างไร
1. แผ่นดนิ ไหวขนาดใหญ่ท่ีมีแหลง่ กำเนิดจากภายนอกประเทศส่งแรงสั่นสะเทือน
มายังประเทศไทย โดยมี แหล่งกำเนิดจากตอนใต้ของสาธารณรฐั ประชาชนจีน พมา่ สาธารณรัฐ
ประชาธิปไตยประชาชนลาว ทะเลอนั ดามนั ตอนเหนือของเกาะสมุ าตรา ส่วนมากบรเิ วณที่รู้สึก
สั่นไหวได้แก่ บริเวณภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันตก ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือและ
กรุงเทพมหานคร
2. แผ่นดนิ ไหวเกดิ จากแนวรอยเลื่อนท่ียงั สามารถเคลื่อนตวั ซึ่งยบู่ ริเวณภาคเหนือ
และภาคตะวันตกของประเทศ เช่น รอยเลื่อนเชียงแสน รอยเลื่อนแม่ทา รอยเลื่อนแพร่
รอยเลื่อนเถิน รอยเลื่อนเมยอุทัยธานี รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ รอยเลื่อนเจดีย์สามองค์ รอยเลื่อน
คลองมะรยุ เป็นตน้
ภัยจากแผ่นดินไหวมีอะไรบ้างและส่งผลกระทบอย่างไร ภัยแผ่นดินไหวที่
เกิดขึ้นมีทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น พื้นดินแยก ภูเขาไฟระเบิด อาคารสิ่งก่อสร้างพังทลาย
เน่อื งจากแรงสนั่ ไหว ไฟไหม้ กา๊ ซรั่ว คลืน่ สนึ ามิ แผน่ ดินถล่ม เสน้ ทางคมนาคมเสียหาย เกิดโรค

เรยี นร้เู พือ่ ป้องกนั ภยั พบิ ตั ใิ กลัตัว 22

ระบาด ปัญหา ด้านสุขภาพจิตของผู้ประสบภัย ความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สิน เกิดความ
สูญเสียทางเศรษฐกิจ เช่น การสื่อสาร โทรคมนาคมขาดช่วง เครื่องคอมพิวเตอร์หยุดหรือ
ขัดข้อง การคมนาคมทางบก ทางอากาศชะงัก ประชาชนตื่น ตระหนก มีผลต่อการลงทุนและ
การประกันภยั เป็นต้น

บริเวณใดในประเทศไทยที่มีความเสี่ยงต่อแผ่นดินไหวสูงกว่าบริเวณอ่ืน
บริเวณทมี่ คี วามเสยี่ งต่อภยั แผน่ ดินไหวสูงในประเทศไทยได้แก่

1. บริเวณที่อยู่ใกล้แหล่งกำเนิดแผ่นดินไหว ตามแนวรอยเลื่อนทั้งภายในและ
ภายนอกประเทศ ส่วนใหญ่อยูบ่ ริเวณ ภาคเหนอื และตะวันตก ของประเทศไทย

2. บริเวณที่เคยมีประวัติหรือสถิติแผ่นดินไหวในอดีตและมีความเสียหายเกิดขึ้น
จากนั้นเว้นช่วงการเกิด แผ่นดินไหว เป็นระยะเวลานาน ๆ บริเวณนั้นจะมีโอกาสการเกิด
แผ่นดนิ ไหว ท่ีมีขนาดใกล้เคียงกับสถติ เิ ดิมไดอ้ ีก

3. บริเวณที่เป็นดินอ่อนซึ่งสามารถขยายการสั่นสะเทือนได้ดี เช่น บริเวณที่มีดิน
เหนียวอยู่ใต้พ้ืนดนิ เปน็ ชัน้ หนา เช่น บรเิ วณที่ล่มุ หรืออยใู่ กล้ปากแม่นำ้ เปน็ ต้น

4. บริเวณ 6 จังหวัดในภาคใต้ อันได้แก่ จังหวัด ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง
และสตูล เป็นบริเวณท่ีมีอตั ราเสีย่ ง ภัยสูงจากคลนื่ สึนามิ เมอื่ เกดิ แผน่ ดินไหวบรเิ วณรอยต่อของ
แผ่นเปลอื กโลก ในทะเลอนั ดามัน หรือมหาสมทุ ร อินเดยี

องคป์ ระกอบอะไรทีท่ ำใหค้ วามเสยี่ งและอนั ตรายจากแผน่ ดินไหวเพิ่มมากขนึ้
มีองค์ประกอบหลายประการที่ทำให้บางบริเวณมีความเสี่ยงภัยแผ่นดินไหวหรือ

อาจไดร้ ับความเสียหายมากกว่า บริเวณอืน่ ไดแ้ ก่
1. บริเวณท่ีอยู่ใกลแ้ หล่งกำเนดิ แผ่นดินไหวทีม่ ีขนาดใหญ่
2. บริเวณที่เป็นชุมชนหนาแน่น อยู่ใกล้แหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวซึ่งมีศักยภาพ

พอเพยี งทจ่ี ะทำเกดิ ความเสยี หาย เช่น รอยเลื่อนขนาดใหญ่ ซง่ึ เคยมปี ระวตั ิการเกดิ แผ่นดินไหว

เรยี นรเู้ พื่อป้องกันภยั พบิ ตั ใิ กลัตวั 23

3. ช่วงเวลาที่เกิดแผ่นดินไหว หากเป็นช่วงที่เหมาะสม บางครั้งในบริเวณหน่ึง
แผ่นดินไหว เกิดในเวลากลางวันจะ ทำความเสียหายมาก แต่บางบริเวณแผ่นดินไหวที่เกิดใน
เวลากลางคืนอาจทำความเสียหายมากกว่า ขึ้นอยู่กับการ ทำกิจกรรมหรือการอยู่อาศัย ของ
มนุษย์ในชว่ งเวลานน้ั ๆ

4. มีการวางแผน และประชาชนมีความรอบรู้ในเรื่องมาตรการป้องกันและ
บรรเทาภัย แผ่นดินไหวของบริเวณ ที่ ได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหว หากมีแผนที่ดี อาคาร
สิ่งก่อสร้าง สร้างได้แข็งแรงมีมาตรฐาน โดยมีความ แข็งแรงสามารถ ป้องกันได้ตามค่าอัตรา
เสี่ยงภัยแผ่นดินไหวที่เหมาะสม ตลอดจนรูปร่างที่ดีของสิ่งก่อสร้าง จะ สามารถบรรเทาภัย
แผ่นดินไหวทเี่ กิดข้ึน ลดความสูญเสยี ในชวี ิต และทรัพยส์ ินของชมุ ชนนัน้ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

5. ตำแหน่งท่ีไดร้ ับผลกระทบจากการสั่นสะเทือน มีสภาพทางธรณวี ิทยาเปน็ เชน่
ไร บริเวณที่เป็นหินแข็งย่อมมี การดูดซับพลังงาน ความส่ันสะเทือนได้ดีกว่าบริเวณที่เป็นดิน
อ่อนซึ่งมักจะขยายค่าความสั่นสะเทือนได้ดี ดังนั้น อาคารสิ่งก่อสร้างในบริเวณ ที่เป็นดินอ่อน
จึงควรมกี ารพิจารณาในเรือ่ งการก่อสร้างท่ีเหมาะสมกบั ค่าแรง แผน่ ดินไหวทเี่ กิดขนึ้

6. ความยาวนานของการสั่นไหว ถ้ายิ่งมีช่วงเวลามาก ความเสียหายจะเพ่ิม
ขน้ึ มาก

7. ความลึกของแผ่นดินไหว แผ่นดินไหวที่เกิดลึกๆ จะสร้างความเสียหายได้
น้อยกว่า แผ่นดินไหวตน้ื

8. ทิศทางการเคลื่อนตัวของรอยเล่ือน จะมีผลต่อสิ่งก่อสร้างทีอ่ ยูต่ รงหรือรับแรง
ในทศิ ทางของการเคล่ือนตวั

หน่วยงานใดที่มีความรับผิดชอบหรือมีความเกี่ยวข้องเรื่องแผ่นดินไหว
ในประเทศไทย

สำหรับการวางนโยบายในระดับประเทศ มีคณะกรรมการแผ่นดินไหวแห่งชาติ
ซึ่งประกอบด้วยหลายหน่วยงาน และผู้เชี่ยวชาญด้านแผ่นดินไหว วิศวกร รวมทั้งหน่วยงานท่ี
อยู่ในภาครัฐและเอกชน ทำหน้าที่ดำเนิน กิจกรรม ด้านแผ่นดินไหวของประเทศทาง
ด้านวิชาการ โดยจัดตั้งโครงการ แผนงานต่าง ๆ เพื่อการป้องกัน และบรรเทาภัย แผ่นดินไหว
ของชาติ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เปน็ ประธานกรรมการ
อธิบดกี รมอุตนุ ยิ มวทิ ยาเป็น รองประธานฯ สำนกั แผ่นดินไหวเป็นฝา่ ยเลขานุการฯ นอกจากนั้น
มีหลายหน่วยงานที่ดำเนินการตรวจวัดแผ่นดินไหว ได้แก่ กรมอุตุนิยมวิทยา ซึ่งมีเครือข่าย

เรียนรเู้ พ่ือปอ้ งกนั ภยั พบิ ตั ใิ กลัตวั 24

สถานีตรวจ แผ่นดินไหวอยู่ทั่วประเทศ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย จัดตั้งเครือข่าย
บริเวณเขื่อนต่างๆ กรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ ติดตั้งเครือข่าย แบบ ARRAY ที่จังหวัด
เชียงใหม่ และกรมชลประทาน ตดิ ต้ังเครอื ขา่ ยเลก็ ๆ บริเวณจังหวดั แพร่

เมอ่ื เกิดแผน่ ดนิ ไหวในประเทศไทย จะเกดิ แผน่ ดินไหวตามมา (After Shock)
อีกหรือไม่ โดยปกติไม่ว่าจะเกิดแผ่นดินไหว ณ ที่ใด เมื่อเกิดแผ่นดินไหวขนาดในระดับ
ปานกลาง ตั้งแต่ 5.0 ริคเตอร์ ขึ้นไป มักเกิดแผ่นดินไหวตามมาอีก แต่ขนาดของแผ่นดินไหวท่ี
เกิดขึ้นมักจะลดลง เช่น เกิดแผ่นดินไหว ขนาด 6.0 ริค เตอร์ ขนาด แผ่นดินไหวตามมาจะเป็น
แผน่ ดนิ ไหว ขนาดโดยประมาณตั้งแตร่ ะดับ 6 รคิ เตอร์ ลงไป เป็นตน้

ขนาดแผ่นดินไหว (Magnitude) เป็นปริมาณทีส่ ัมพันธ์กับพลงั งานแผ่นดินไหว
คำนวณขนาดไดจ้ ากความสงู ของคล่นื แผ่นดินไหว ทตี่ รวจวดั ได้ ด้วยเครอื่ งมอื ตรวจแผ่นดินไหว
เพ่ือบ่งบอกขนาดของแผ่นดนิ ไหว ณ ตำแหนง่ ท่เี กดิ หรอื ทเี่ รยี กกันว่า “ศนู ยก์ ลาง แผน่ ดนิ ไหว”
ขนาดแผ่นดินไหวในทางทฤษฏีไม่มีขีดจำกัด แต่ในความเป็นจริงยังไม่มีแผ่นดินไหวใดเกิดขึ้น
เกนิ กว่า 10.0 ริคเตอร์

ความรุนแรงแผ่นดินไหวคืออะไร ความรุนแรงแผ่นดินไหว คือ อันดับความ
รุนแรงของแผ่นดินไหว วัดโดยใช้ความรู้สึกของการสั่นสะเทือน กับ ความเสียหายที่เกิดขึ้น
จากแผน่ ดนิ ไหว เป็นส่งิ กำหนดอันดับความรุนแรง โดยมตี ารางบรรยายเปรียบเทียบ เรยี งลำดับ
จากความรู้สึก ความเสียหายจากน้อยไปมาก รวมถึงสภาพทางธรณีวิทยาที่เปลี่ยนแปลง
ในกรณขี อง ประเทศไทยใชม้ าตราเมอรแ์ คลลซี ึ่งแบง่ ออกเป็น 12 อนั ดบั

ประชาชนควรปฏิบัติตนอยา่ งไรเมือ่ เกิดแผ่นดินไหว เมื่อเกิดแผ่นดนิ ไหว ให้อยู่
อยา่ งสงบ มีสติ คดิ หาหนทางท่ีปลอดภัย หมอบอยู่บริเวณท่ีสามารถปอ้ งกันสิง่ ของหลน่ ใส่ เชน่
บริเวณใต้โต๊ะ ใต้เตียง หลีกเลี่ยงให้ห่างจากหน้าต่าง หากอยู่นอกอาคารให้อยู่ในที่โล่ง อยู่ให้
ห่างจากสิ่ง ห้อยแขวนตา่ งๆ ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการป้องกันตนเองจากภยั แผ่นดนิ ไหว เปน็ ต้น

ข้อมูลแผ่นดินไหวในอดีตของประเทศไทยเป็นอย่างไร ข้อมูลแผ่นดินไหว
ในอดีตส่วนใหญ่ บ่งบอกถึงความรุนแรงแผ่นดินไหว ได้รับการบันทึกอยู่ในเอกสารทาง
ประวัติศาสตร์ เช่น พงศาวดาร ศิลาจารึก เป็นต้น มีแผ่นดินไหวรู้สึกได้โดยทั่วไป ส่วนใหญ่มี
ตำแหนง่ บริเวณ ภาคเหนือ และภาคตะวนั ตกของประเทศ ขอ้ มลู แผ่นดินไหวตา่ งๆ สามารถค้น
จากการบันทึกเหล่านี้ พบว่าเกิด เหตุการณ์แผ่นดินไหวรู้สึกได้ในประเทศไทยเกิดขึ้น ตั้งแต่
624 ปี ก่อนคริสตศักราช บางครั้งเหตุการณ์รุนแรงจน ทำให้เมืองล่ม เช่น เหตุการณ์เม่ือ
ปี พ.ศ.1003 มกี ารบนั ทกึ วา่ เมอื งโยนกนครล่ม เนอ่ื งจากการสั่นสะเทอื น สว่ นใหญ่เหตกุ ารณ์ได้

เรยี นรเู้ พ่อื ปอ้ งกนั ภยั พิบตั ิใกลตั วั 25

บันทึกถึงความรู้สึกสั่นไหว ความเสียหาย และความตื่นตระหนก ของผู้คน ปัจจุบันพบว่า
แผ่นดินไหวรู้สึกได้ในประเทศไทยเกิดขึ้นปีละ 6-8 ครั้ง โดยเป็นแผ่นดินไหวขนาดเล็กถึงปาน
กลาง มีตำแหน่ง ศูนย์กลางทั้งภายในประเทศและนอกประเทศ ส่วนสาเหตุที่ดูเหมือนว่า
ความถี่ของการเกิดแผ่นดินไหวเพิ่มขึ้นน้นั แท้ท่ีจรงิ แผน่ ดนิ ไหวเกดิ ขึ้นเปน็ ปกติเช่นนี้ตั้งแต่อดีต
แต่เนื่องจากการสือ่ สารในอดีตไม่รวดเร็ว จึงทำให้การรับรู้ เรื่องความส่ันสะเทือนไม่แพรห่ ลาย
ต่างจากปัจจุบันที่การสื่อสารรวดเร็ว เมื่อเกิดแผ่นดินไหวแม้ว่าอยู่ห่างไกลอีก มุมหนึ่งของโลก
ก็สามารถทราบข่าวได้ทันที อีกทั้งความเจริญทำให้เกิดชุมชนขยายตัวล้ำเข้าไป อยู่ใกล้บริเวณ
แหลง่ กำเนดิ แผน่ ดินไหว ชมุ ชนรับรูถ้ งึ แรงสนั่ สะเทือนได้ง่ายขน้ึ จึงทำให้ดูเหมอื นว่าแผน่ ดนิ ไหว
เกิดขึน้ บ่อยคร้งั กว่าในอดตี

กรมอุตุนิยมวิทยา บริการข้อมูลแผ่นดินไหวและด้านวิชาการแผ่นดินไหว
ประเภทใด กรมอุตุนิยมวิทยาให้บริการข้อมลู ด้านการตรวจวัด ตำแหน่งศูนย์กลางแผ่นดินไหว
ทงั้ ในและต่างประเทศ เวลาเกิด ขนาด สถิตแิ ผ่นดนิ ไหวที่เคยเกิดข้ึนในอดตี และปจั จุบนั ความรู้
วิชาการด้านแผ่นดินไหวและวิศวกรรม แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว การดำเนินงานของ
คณะกรรมการแผ่นดินไหวแห่งชาติ ความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยน ข้อมูลระหว่างประเทศ
ความร่วมมือด้านแผ่นดินไหว และวิศวกรรมแผ่นดินไหวระหว่างประเทศไทยกับ สาธารณรัฐ
ประชาชนจนี ญปี่ ุ่น สหรัฐอเมรกิ า อังกฤษ อาเซยี น เปน็ ต้น

เครื่องมือตรวจแผ่นดินไหวทำงานอย่างไร รัศมีการตรวจวัดเท่าใด เครื่องมือ
ตรวจแผ่นดินไหว เรียกว่า Seismograph มีหลักทำงานอย่างง่ายๆ คือ เครื่องมือจะ
ประกอบด้วย เครื่องรับ ความสั่นสะเทือน แปลงสัญญานความสั่นสะเทือนเป็นสัญญาณไฟฟ้า
จากนนั้ ถูกขยายดว้ ยระบบขยายสญั ญาณ และแปลงกลบั มาเปน็ การสัน่ ไหว ของปากกาที่บันทึก
บนแผ่นกระดาษ ตลอดเวลา 24 ชั่วโมง โดยมีสัญญาณเวลา ปรากฏบนกระดาษบันทึกอย่าง
สม่ำเสมอทุกนาที ทำให้ทราบว่าคลื่นแผ่นดินไหว ที่เดินทางมาถึงสถานีเมื่อไร รัศมีการตรวจ
วัดคลื่นแผ่นดินไหว ของกรมอุตุนิยมวิทยาสามารถ ตรวจคลื่นแผ่นดินไหวได้ทั่วโลก แต่ส่วน
ใหญ่ การคำนวณตำแหน่ง เวลาเกิด ขนาดแผ่นดินไหว กรมอุตุนิยมวิทยาจะคำนวณเฉพาะ
คลื่นแผ่นดินไหว ใกลซ้ ง่ึ อยูห่ ่างจากสถานีไมเ่ กิน 1,000 กโิ ลเมตร

เรียนรู้เพ่ือป้องกนั ภยั พิบัตใิ กลัตัว 26

เครือข่ายสถานีตรวจแผ่นดินไหวกรมอุตุนิยมวิทยามีกี่แห่งที่ไหนบ้าง ปัจจุบัน
กรมอตุ นุ ิยมวิทยามสี ถานตี รวจแผ่นดนิ ไหวอยู่ 2 ระบบ ได้แก่

1. ระบบ Analog ได้แก่ ที่ จังหวัด เชียงราย น่าน
ตาก นครสวรรค์ เขื่อนเขาแหลม กาญจนบุรี เลย อุบลราชธานี
ขอนแก่น ประจวบคีรขี ันธ์ ภูเก็ต สงขลา และจันทบรุ ี

2. ระบบ Digital ได้แก่ ที่ จังหวัด เชียงใหม่
เชียงราย ตากแม่ฮ่องสอน แพร่ เลย ขอนแก่น นครราชสีมา
กาญจนบุรี ประจวบครี ขี ันธ์ สรุ าษฏร์ธานี และสงขลา

สถานตี รวจแผ่นดนิ ไหวจงั หวดั เชยี งใหม่ (ทีม่ า: สำนกั แผน่ ดินไหว กรมอตุ ุนิยมวทิ ยา)

แผ่นดินไหวที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อยู่บริเวณใด เกิดเมื่อไร ขนาด
เท่าใด ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2506 จนถึงปัจจุบันกรมอุตุนิยมวิทยาตรวจพบแผน่ ดินไหวที่มีขนาดสูงสุด
ที่บริเวณอำเภอศรีสวัสดิ์ จ.กาญจนบุรี เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2526 ขนาด 5.9 ริคเตอร์
มีความสั่นสะเทือนซึ่งประชาชน รู้สึกถึงการสั่นสะเทือน ได้เกือบทั้งประเทศ นอกจากน้ี
ภาคเหนือส่วนมากจะเกดิ แผน่ ดนิ ไหวขนาด 3-4 ริกเตอร์ และเคยเกิดขนาดใหญ่สุดทีบ่ ันทึกได้
5.6 ริกเตอร์ ที่ อ.ท่าสองยาง จ.ตาก วันที่ 17 กุมภาล 2518 ขนาดแผ่นดินไหว ในอดีตนั้นเคย
มแี ผ่นดินไหวในประเทศไทยซ่งึ ทำความเสียหายกับสิง่ ก่อสรา้ งอย่าง

แผ่นดินไหวที่เกิด บริเวณอำเภอพาน จังหวัดเชียงราย เมื่อวันที่ 17
กนั ยายน 2537 ขนาด 5.1 ริคเตอร์ ทำใหค้ วาม เสยี หายให้กบั โรงพยาบาลอำเภอพาน โรงเรียน
และวดั ตา่ งๆ นับสิบๆ แหง่ บรเิ วณใกลศ้ ูนย์กลาง บางอาคาร ถงึ กบั ขน้ั ใช้การไมไ่ ด้

ทำไมจึงเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ ๆ ในต่างประเทศ แต่ไม่เกิดแผ่นดินไหว
ใหญ่ในประเทศไทย การป้องกันและบรรเทาภัยแผ่นดินไหวทำได้อย่างไร แผ่นดินไหวใหญ่
ที่เกิดในต่างประเทศ เกิดเนื่องจากประเทศ เหล่านั้นอยู่ในแนวของ แผ่นดินไหวโลก ซึ่งเป็น
รอยตอ่ ของแผ่นเปลือกโลก ส่วนประเทศไทยน้นั ไมอ่ ยยู่ ่าน ดงั กล่าว แต่มใิ ชว่ ่าจะไมม่ คี วามเส่ียง
จากภัยแผ่นดินไหว นักธรณีวิทยาพบว่า ยังมีแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวได้แก่ รอยเลื่อนใหญ่ๆ
หลายแนวซง่ึ ยงั ไมม่ กี ารพสิ ูจน์ทราบถงึ ลักษณะท่กี ่อใหเ้ กดิ แผ่นดนิ ไหวใหญ่ได้หรือไม่ โดยท่ัวไป
ในปัจจุบันอันตรายที่เกิดขึ้นของภัยแผ่นดินไหว ในประเทศไทยมักเกิดจากแผ่นดินไหว
ขนาดกลาง ส่วนเรอ่ื งการป้องกันและบรรเทาภัยแผน่ ดนิ ไหวน้ัน จำเป็นตอ้ งมกี ารวางแผนท้ังใน
ระยะสั้นระยะยาว ให้มีการ แบ่งเขตแผ่นดินไหวตามความเสี่ยงที่เหมาะสม สร้างอาคาร

เรยี นรู้เพื่อป้องกันภยั พิบัติใกลัตัว 27

สิ่งก่อสร้างต่างๆ ตามความเสี่ยงของแผ่นดินไหว ให้ ความรู้ประชาชนในการป้องกัน และ
บรรเทาภัยเม่อื กอ่ นเกิด ขณะเกิด และภายหลงั การเกดิ แผน่ ดนิ ไหว เป็นต้น

นักวิทยาศาสตรส์ ามารถพยากรณแ์ ผน่ ดินไหว ได้หรือไม่ เรอ่ื งของการพยากรณ์
แผ่นดินไหวปัจจุบันยังไม่สามารถกระทำได้ให้ถูกต้องแม่นยำ ทั้งด้านเวลาและสถานที่
ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ทางวิทยาศาสตร์ จึงยังจำเป็นต้องมีการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมอีก
ในอนาคต การดำเนินการศึกษา เพ่ือการพยากรณ์แผ่นดินไหวในปัจจุบันมีการรวบรวม และ
วิเคราะห์ข้อมูลจากการตรวจวัดของค่า พารามิเตอร์ ต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงผิดปกติก่อนเกิด
แผ่นดินไหว เช่น วัดการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก วัดค่า แรงเค้น (Stress) และความเครียด
(Strain) ของเปลอื กโลก วัดกา๊ ซเรดอน วดั สนามแม่เหลก็ โลก วัดคา่ ความโนม้ ถ่วงในพื้นท่ีต่างๆ
วัดคลื่นความถี่วิทยุ รวมถึงการสังเกตสิ่งผิดปกติต่างๆ ก่อนเกิดแผ่นดินไหว เช่น น้ำใต้ดิน
พฤติกรรมของสตั ว์ และอ่ืนๆ เปน็ ตน้

ขนาด (รกิ เตอร์) ระดับความรนุ แรงของแผน่ ดินไหว

ความสมั พันธข์ องขนาดโดยประมาณกับความส่นั สะเทือนใกลศ้ ูนย์กลาง

1-2.9 เกดิ การสน่ั ไหวเล็กนอ้ ย ผู้คนเรม่ิ มีความรูส้ กึ ถึงการสัน่ ไหวบางครัง้ รูส้ กึ เวียนศีรษะ
3-3.9 เกดิ การสน่ั ไหวเลก็ น้อยผูค้ นทอ่ี ยใู่ นอาคารรสู้ ึกเหมอื นรถไฟวง่ิ ผ่าน

เกดิ การสั่นไหวปานกลาง ผ้ทู ีอ่ าศัยอยู่ทง้ั ภายในอาคาร และนอกอาคารรู้สกึ ถึงการ
4-4.9 สนั่ สะเทือน วัตถหุ ้อยแขวนแกวง่ ไกว

5-5.9 เกิดการส่นั ไหวรนุ แรงเป็นบริเวณกว้าง เคร่อื งเรือนและวัตถุมกี ารเคลอื่ นท่ี
6-6.9
เกิดการสน่ั ไหวรุนแรงมาก อาคารเร่ิมเสียหาย พังทลาย
7.0 ข้ึนไป
เกิดการสั่นไหวร้ายแรง อาคาร สิ่งก่อสร้างมีความเสียหายอย่างมาก แผ่นดินแยก
วัตถุทอ่ี ยู่บนพื้นถูกเหวี่ยงกระเดน็

เรยี นรเู้ พ่อื ปอ้ งกนั ภยั พบิ ตั ใิ กลัตวั 28

สำหรับเหตุการณ์แผ่นดินไหวในประเทศไทยมักเกิดขึ้นบริเวณภาคเหนือ
ครั้งล่าสุดได้เกิดแผ่นดินไหวขึ้น ในวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 วัดแรงสั่นสะเทือนได้
6.7 ริกเตอร์ โดยมีศูนย์กลางอยู่ในเขตประเทศพม่าห่างจากชายแดนไทย-พม่า ด้านอำเภอ
แม่สาย ไปทางทิศเหนือประมาณ 56 กิโลเมตร ส่งผลให้พุทธสถานในจังหวัดเชียงรายเกิด
ความเสียหาย

ข้อควรปฏิบัติ กอ่ น/ขณะ/หลงั แผ่นดินไหว
กอ่ น
~ เตรยี มอุปกรณ์ปฐมพยาบาล อุปโภค บรโิ ภค กรณีฉกุ เฉนิ
~ เตรยี มพร้อม สมาชกิ ในครอบครัว วางแผนอพยพหากจำเปน็
~ ไม่วางของหนักบนช้นั สงู ๆ ยึดตหู้ นกั ไวก้ ับผนังห้อง
ขณะ
~ อยใู่ นอาคารสูง ควบคุมสติ หลบใตโ้ ตะ๊ แขง็ แรง ไม่ว่ิงลงกระได ลงลฟิ ต์
~ ขบั รถให้หยุดรถ ควบคมุ สติ อยู่ภายในรถจนการสั่นสะเทือนหยดุ ลง
~ อยนู่ อกอาคาร ห่างจากอาคารสูง กำแพง เสาไฟฟา้ ไปอยู่ทโ่ี ลง่ แจ้ง
หลงั
~ ออกจากอาคารสูง รถยนต์ สำรวจผปู้ ระสบภัย ตรวจสอบความเสียหาย
~ ปฐมพยาบาลผไู้ ดร้ ับบาดเจ็บ ส่งแพทยห์ ากเจ็บหนัก
~ ยกสะพานไฟ อย่หู ่างจากสายไฟทไ่ี มอ่ ยกู่ ับท่ี ซอ่ มแซมสงิ่ ท่สี กึ หรอทนั ที

6. แผ่นดินถล่ม : แผ่นดินถล่มเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติ ของการสึกกร่อนชนิดหนึ่งท่ี
ก่อให้เกิดความเสียหาย ต่อบริเวณพื้นที่ที่ เป็นเนินสูงหรือภูเขาที่มีความลาดชันมาก เนื่องจาก
ขาดความสมดุลในการทรงตัวบริเวณดังกล่าว ทำให้เกิดการ ปรับตัวของพื้นดินต่อแรงดึงดูด
ของโลก และเกิดการเคลื่อนตวั ขององค์ประกอบธรณีวทิ ยาบริเวณน้ันจากท่ีสงู ลงส่ทู ่ีต่ำ แผ่นดิน
ถล่มมักเกิดในกรณีที่มีฝนตกหนักมาก บริเวณภูเขาและภูเขานั้นอุ้มน้ำไว้จนเกิดการอิ่มตัว
โดยเฉพาะภเู ขาหินแกรนิต มีพันธุ์ไม้ปกคลุมน้อย ต้นน้ำลำธารถูกทำลาย มักจะเกิดเม่ือมีฝนตก
หนกั หลายชวั่ โมง จนทำให้เกดิ การพงั ทลายตามลักษณะการเคลือ่ นตวั ได้ 3 ชนดิ คอื

เรยี นรเู้ พอ่ื ปอ้ งกันภยั พบิ ัตใิ กลัตวั 29

1. แผน่ ดนิ ถล่มทเี่ คล่อื นตัวอย่างแผ่นดินถล่มท่เี คล่อื นตวั อย่างช้าๆ เรียกวา่ Creep
เชน่ Surficial Creep

2. แผ่นดินถล่มที่เคลื่อนตัวอย่างรวดเร็วเรียกว่า Slide หรือ Flow เช่น Surficial
Slide

3. แผ่นดินถล่มที่เคลื่อนตัวอย่างฉับพลัน เรียกว่า Fall Rock Fall นอกจากนี้ยัง
สามารถแบง่ ออกไดต้ ามลกั ษณะของวัสดุท่รี ่วงหล่นลงมาได้ 3 ชนดิ คอื

แผ่นดินถล่มที่เกิดจากการเคลื่อนตัวของผิวหน้าดินของภูเขา แผ่นดินถล่มที่เกิด
จากการเคลอื่ นท่ีของวัตถุที่ยงั ไมแ่ ขง็ ตวั แผน่ ดนิ ถลม่ ท่เี กิดจาการเคล่อื นตัวของชั้นหิน
แผน่ ดนิ ถล่มในประเทศไทย มกั เกดิ ขน้ึ เมอื่ ไร และบริเวณใด

แผ่นดินถล่มในประเทศไทย ส่วนใหญม่ ักเกิดภายหลังฝนตกหนักมากบรเิ วณภูเขา
ซึ่งเป็นต้นน้ำลำธาร บริเวณ ตอนบนของประเทศ โดยเฉพาะในภาคเหนือและภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ มีโอกาสเกิดแผ่นดินถล่มเนื่องมาจาก พายุหมุนเขตร้อนเคลื่อนผ่านใน
ระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงสิงหาคม ในขณะที่ภาคใต้จะเกิดในช่วงฤดูมรสุม
ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ระหว่างเดอื นพฤศจกิ ายนถึงธนั วาคม
ความรนุ แรงของแผน่ ดินถลม่ มีองคป์ ระกอบอะไรบา้ ง

1. ปรมิ าณฝนที่ตกบนภูเขา
2. ความลาดชันของภเู ขา
3. ความสมบูรณ์ของปา่ ไม้
4. ลกั ษณะทางธรณีวิทยาของภูเขา
รูปแบบของดินถล่ม
1.หินแตกไหล
2.ดินถล่มเนอื่ งจากการสรา้ งถนน
3.ดินถลม่ ใตน้ ้ำ
4.หนิ รว่ ง หรอื หนิ หล่น
5.เศษตะกอนไหลเลอื่ นตามทางน้ำ
6.หน้าผาผกุ รอ่ น
7.ตล่ิงพงั
8.ดนิ ถล่ม

เรยี นร้เู พอื่ ป้องกนั ภยั พบิ ตั ิใกลตั วั 30

การเตรยี มพรอ้ มกอ่ นเกิดดินถลม่
ชุมชนที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัยควรจัดเวรยามเฝ้าระวัง ติดตามพยากรณ์อากาศ
ประกาศแจ้งเตือนภัย สังเกตความผิดปกติของธรรมชาติที่เป็นสัญญาณเตือน ก่อนเกิดดินถล่ม
โดยเฉพาะในช่วงกลางคืน ซ่งึ มักเกิดน้ำหลากและดินถล่ม
การหนีภยั ดนิ ถล่ม
อย่ามัวแต่ห่วงทรัพย์สิน ให้หนีไปตามเส้นทางที่พ้นจากแนวการไหลของดินถล่ม
โดยขึ้นที่สูงหรือสถานที่ปลอดภัย หลีกเลี่ยงการใช้เส้นทางที่เป็นแนวการไหลของดิน หรือมี
กระแสน้ำไหลเช่ยี วกราก หากจำเปน็ ต้องใชเ้ ส้นทางดงั กล่าวให้ใช้เชือกผูกลำตวั แลว้ ยึดติดไว้กับ
ต้นไม้หรือสิ่งปลูกสร้างที่มั่นคง แข็งแรง เพื่อป้องกันกระแสน้ำที่ไหลเชี่ยวกรากพัดจมน้ำ
ท่ีสำคญั ห้ามว่ายน้ำหนีโดยเดด็ ขาด เพราะอาจกระแทกกบั ซากตน้ ไม้หรอื หนิ ที่ไหลมาตามน้ำ
หลังเกิดดินถล่ม ห้ามเข้าใกล้บริเวณที่เกิดดินถล่มหรือบ้านเรือนที่ได้รับความ
เสยี หาย เพอ่ื ป้องกนั อันตรายจากการพงั ทลายซ้ำ
การปอ้ งกนั แผ่นดนิ ถลม่
~ ตดิ ตามสภาวะอากาศ ฟังคำเตือนจากกรมอตุ ุนิยมวิทยา
~ สอบถาม โทร 0-2399-4012-3, 0-2398-9838 ตลอด 24 ชัว่ โมง
~ อนุรกั ษต์ ้นนำ้ ลำธาร ปลูกป่าเพมิ่ เตมิ
~ สร้างแนวป้องกันดนิ ถลม่ โดยเฉพาะบรเิ วณตดิ ทางคมนาคม
~ เตรยี มอุปกรณฉ์ ุกเฉิน
~ ซักซอ้ มและเตรียมพรอ้ มเสมอ หากต้องอพยพไปอยู่ที่สูงและปลอดภัย

เรยี นรู้เพ่ือปอ้ งกันภยั พิบตั ใิ กลตั วั 31

7. ไฟป่า : ภัยธรรมชาติซึ่งเกิดจากมนุษย์เป็นส่วนมาก ได้แก่การเผาหาของป่า เผาทำไร่เลื่อน
ลอย เผากำจัดวัชพืช ส่วนน้อยที่ เกิดจากการเสียดสีของต้นไม้แห้ง ปลายเดือนกุมภาพันธ์ -
ต้นพฤษภาคม ทำให้เกิดมลพิษในอากาศมากขึ้น ผงฝุ่น ควันไฟกระจายในอากาศทั่วไป
ไม่สามารถลอยขึ้นเบื้องบนได้ มองเห็นไม่จัดเจน สุขภาพเสื่อม พืชผลการเกษตร ด้อยคุณภาพ
แหล่งทรัพยากรลดลง อันตรายของไฟป่า ส่งผลกระทบอย่างไรต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบทเ่ี กดิ ข้นึ จากไฟป่า ไดแ้ ก่

- การดำรงชีวิตของมนุษย์ทำให้เกิดทัศนะวิสัยไม่ดี เป็นอุปสรรคต่อการคมนาคม
เกิดอุบตั เิ หตไุ ด้ง่าย ทำใหเ้ กดิ โรค ทางเดนิ หายใจ ส่งผลเสยี ตอ่ สขุ ภาพและจติ ใจ

- ต้นไม้ นอกจากได้รับอันตรายหรือถูกทำลายแล้วโดยตรง ยังมีผลกระทบ
ทางอ้อม เช่น ทำให้เกดิ โรค และแมลง บางชนดิ มีความรุนแรงยิง่ ขนึ้

- สังคมพชื เปล่ียนแปลง พชื บางชนิดจะหายไปมชี นิดอื่นมาทดแทน เชน่ บริเวณที่
เกิดไฟไหมซ้ ำ้ ๆ หลายครั้ง หญ้าคายง่ิ ขน้ึ หนาแนน่

- โครงสร้างของป่าเปลี่ยนแปลง เช่น ไฟป่าจะเป็นตัวจัดชั้นอายุของลูกไม้
ใหก้ ระจัดกระจายกนั อยา่ งมรี ะเบียบ

- สัตว์ป่าลดลงมีการอพยพของสัตว์ป่า รวมทั้งทำลายแหล่งอาหารที่อยู่อาศัย
ทหี่ ลบภัยและแหลง่ น้ำ

- มีคุณสมบัติของดินเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านฟิสิกส์ เคมีและชีววิทยา เช่น ดินมี
อุณหภูมิสูงขึ้น ความชื้นลดลง อินทรียวัตถุ และจุลินทรีย์ในดินเปลี่ยนแปลงความสามารถใน
การดูดซึมน้ำของดินลดลง

- แหล่งน้ำถกู ทำลาย คุณภาพของนำ้ เปลย่ี นแปลงเน่ืองจากเถา้ ถ่าน
- ภูมิอากาศท้องถิ่นเปลี่ยนแปลง เช่น อุณหภูมิสูงสุดต่ำสุด การหมุนเวียนของ
อากาศ ความชื้นในอากาศ เป็นต้น รวมทั้งองค์ประกอบของอากาศเปลี่ยนไป เช่น
คารบ์ อนมอนอกไซด์ ไฮโดรคารบ์ อน เขมา่ และควนั ไฟเพมิ่ ข้นึ สง่ ผลเสยี ต่อร่างกายมนุษย์
- สูญเสยี ทัศนีย์ภาพที่สวยงาม ซ่งึ สง่ ผลกระทบต่อการทอ่ งเท่ยี ว
การป้องกัน ไฟป่า
~ ตดิ ตามสภาวะอากาศ ฟงั คำเตือนจากกรมอตุ ุนิยมวิทยา
~ สอบถาม แจ้งสภาวะอากาศรา้ ย โทร 053-277919 ตลอด 24 ชั่วโมง
~ ดับไฟ บหุ ร่ี ธูป เทียน กองไฟใหค้ วามอบอนุ่ ทุกครง้ั ในบา้ นหรือกลางแจ้ง
~ ตดั แตง่ ก่งิ ไม้ ให้ห่างจากเสาไฟฟา้ หมน่ั ตรวจสอบคุณภาพอปุ กรณ์ไฟฟ้า

เรียนรูเ้ พอื่ ปอ้ งกันภยั พิบัติใกลตั ัว 32

~ ติดต้งั อปุ กรณ์ดับเพลิงฉุกเฉินประจำอาคาร
~ เกบ็ วัสดุ อปุ กรณ์ไวไฟ สารเคมี ใหอ้ ย่ใู นท่ปี ลอดภัย
~ ซกั ซ้อม วางแผนหนไี ฟ และเตรยี มพรอ้ มเสมอ
~ ขบั รถให้หยดุ รถ ควบคมุ สติ อยูภ่ ายในรถจนการส่ันสะเทอื นหยุดลง
~ อยู่นอกอาคาร ห่างจากอาคารสูง กำแพง เสาไฟฟ้า ไปอย่ทู ีโ่ ล่งแจง้
หลงั
~ ออกจากอาคารสูง รถยนต์ สำรวจผ้ปู ระสบภยั ตรวจสอบความเสยี หาย
~ ปฐมพยาบาลผไู้ ดร้ ับบาดเจบ็ ส่งแพทยห์ ากเจบ็ หนกั
~ ยกสะพานไฟ อยหู่ ่างจากสายไฟทไ่ี ม่อยู่กับที่ ซอ่ มแซมสิง่ ท่สี ึกหรอทันที

8. ภัยหนาว
ภัยหนาว หมายถึง อุณหภูมิในช่วงฤดูหนาวตั้งแต่ 15 องศาเซลเซียสลงไปจะเร่ิม

เปน็ ภยั หนาว คอื บริเวณทม่ี ีความกดอากาศสูงขึน้ จากรอบนอกเข้าสู่ศนู ย์กลาง โดย จะมีกระแส
ลมพัดออกจากศูนย์กลางในทิศทางตามเข็มนาฬิกาในซีกโลกเหนือและในทิศทางทวนเข็ม
นาฬิกาในซกี โลกใต้ (ตามขอ้ กำหนดของ World Meteorology Organization)

ความกดอากาศสงู H (High Pressure area) หมายถงึ บริเวณทมี่ คี วามกดอากาศ
สูงกว่า ความกดอากาศบริเวณข้างเคียงเป็นบริเวณที่อากาศจมตัวลง ท้องฟ้าแจ่มใส ถ้าเกิด
เหนือพื้นดินจะเป็น อากาศแห้งและเย็น แต่ถ้าเกิดในทะเลจะมีอากาศเย็นและชื้น จะพัดเวียน
ออกศูนย์กลางในทิศทางตาม เข็มนาฬิกาในซีกโลกเหนอื ดว้ ยอิทธพิ ลของโลกหมุน อิทธิพลของ
ความกดอากาศสูงจากประเทศจีน เมื่อ แผ่ลงมาจะทำให้บริเวณประเทศไทยและประเทศ
ใกล้เคียงมอี ากาศหนาวเยน็ ในชว่ งฤดหู นาว

เรยี นรเู้ พอื่ ป้องกันภยั พิบัตใิ กลัตัว 33

แนวปะทะอากาศ หมายถึง แนวหรือขอบเขตระหว่างมวลอากาศเย็นและมวล
อากาศร้อน เคลื่อนตัวมาพบกัน โดยอากาศเย็นซึ่งมีความหนาแน่นมากกว่า และหนักกว่ามวล
อากาศร้อนจะผลักดัน อากาศร้อนให้ลอยขึ้นตามลาดของมวลอากาศเย็น ทำให้เกิดเป็น
เมฆต่างๆ เกิดพายุฝนฟ้าคะนองและ ลมแรง ตามที่แนวหรือขอบเขตที่มวลอากาศทั้งสองมา
พบกัน ซ่ึงอาจมีความกวา้ ง 20 ถึง 40 กโิ ลเมตร

ภยั จากอากาศหนาว คือ ภยั ที่เกิดขนึ้ จากสภาพอากาศทหี่ นาวจัด อณุ หภูมติ ่ำกว่า
15 องศาเซลเซียส และลงอย่างต่อเนื่องจนประชาชนได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงและ
กว้างขวาง เกิดขึ้นระหว่างเดือนพฤศจกิ ายนถึงเดือนกมุ ภาพันธ์ ซึง่ เป็นช่วงที่ความกดอากาศสูง
จากประเทศจีนแผ่ลงมาปกคลุมประเทศไทย ส่งผลให้ประชาชนได้รับความเดือดร้อน
กรมอุตุนิยมวิทยาได้มีการคาดหมายลักษณะอากาศช่วงฤดูหนาวของประเทศไทยว่าฤดูหนาว
จะเร่ิมประมาณกลางเดือนตุลาคมโดยคาดว่าประเทศไทยตอนบนจะมอี ากาศหนาวเยน็ เพิ่มมาก
ขึ้นและช่วงที่มีอากาศหนาวเย็นที่สุดจะอยู่ในช่วงปลายเดือนธันวาคมถึงกลางเดือนมกราคม
ฤดูหนาวจะสิ้นสุดประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ์โดยเฉพาะทางตอนบนของภาคได้แก่
จังหวัดแม่ฮ่องสอนเชียงรายพะเยาน่านตากเดือนพฤศจิกายนจะเริ่มมีอากาศหนาวเย็น
โดยเฉพาะทางตอนบนของภาคเหนือและมีหมอกในตอนเชา้ กบั มฝี นเป็นแห่งๆ จากน้ันในเดือน
ธันวาคมถึงปลายเดือนมกราคมจะมีอากาศหนาวเกือบทั่วไปและมีอากาศหนาวจัดบางพื้นท่ี
บางวันจะมหี มอกหนาในบางพืน้ ท่ีส่วนบริเวณยอดดอยและยอดภูจะมีอากาศหนาวถึงหนาวจดั
แ ล ะ อ า จ เ ก ิ ด น้ ำ ค ้ า ง แ ข ็ ง ข ึ ้ น ไ ด ้ ใ น บ า ง ช ่ ว ง ส ำ ห ร ั บ ช ่ ว ง ป ล า ย เ ด ื อ น ม ก ร า ค ม ถ ึ ง ก ล า ง
เดือนกุมภาพันธ์ยังคงมีอากาศหนาวเย็นในตอนเช้าโดยเฉพาะตอนบนของภาคกับมหี มอกหนา
ในหลายพ้ืนที่และตง้ั แต่เดือนมนี าคมเป็นตน้ ไปจะเรม่ิ อนุ่ ข้ึน ทำใหม้ ีอากาศร้อนในตอนกลางวนั

มีข้อควรระวังในเดือนธันวาคมและมกราคมอาจเกิดน้ำค้างแข็งขึ้นได้ตามบริเวณ
ยอดดอยหรือยอดภูและมักมีหมอกหนาเกิดขึ้นในหลายพื้นที่โดยเฉพาะในภาคเหนือจึงควร
ระมดั ระวังการเกิดอบุ ตั ิเหตุจากการใชย้ วดยานพาหนะไวด้ ว้ ย

ลักษณะทั่วไปภัยจากอากาศหนาว คือ ภัยที่เกิดขึ้นจากสภาพอากาศท่ี
หนาวจัด อุณหภูมิต่ำกวา่ 15 องศาเซลเซียสและลงอยา่ งต่อเนื่องจนประชาชนได้รบั ผลกระทบ
อย่างรุนแรงและกว้างขวาง เกิดขึ้นระหว่างเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งเป็นช่วงที่
แผล่ งมาปกคลมุ ประเทศไทย ส่งผลใหป้ ระชาชนไดร้ ับความเดือดรอ้ น

เรยี นร้เู พ่ือป้องกนั ภยั พิบตั ใิ กลัตวั 34

ฤดูหนาวจะเริ่มประมาณกลางเดือนตุลาคม โดยประเทศไทยตอนบนจะมีอากาศ
หนาวเย็น และอุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ยส่วนใหญ่จะใกล้เคียงกับค่าปกติ ช่วงที่มีอากาศหนาวเย็น
ที่สุดจะอยู่ในช่วงปลายเดือนธันวาคมถึงกลางเดือนมกราคม ฤดูหนาวจะสิ้นสุดประมาณ
กลางเดือนกุมภาพันธ์ โดยเฉพาะทางตอนบนของภาค ได้แก่จังหวัดแม่ฮ่องสอน เชียงราย
พะเยา น่าน ตาก เดือนพฤศจิกายน จะเริ่มมีอากาศหนาวเย็นโดยเฉพาะทางตอนบนของ
ภาคเหนือและมีหมอกในตอนเช้า กับมีฝนเป็นแห่งๆ จากนั้นในเดือนธันวาคมถึงปลายเดือน
มกราคมจะมอี ากาศหนาวเกอื บท่วั ไป และมอี ากาศหนาวจดั บางพ้นื ท่ี บางวนั จะมีหมอกหนาใน
บางพื้นที่ ส่วนบริเวณยอดดอยและยอดภูจะมีอากาศหนาวถึงหนาวจัดและอาจเกิดน้ำค้างแข็ง
ขึ้นได้ในบางช่วง สำหรับช่วงปลายเดือนมกราคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ยังคงมีอากาศหนาว
เย็นในตอนเช้าโดยเฉพาะตอนบนของภาค กับมีหมอกหนาในหลายพื้นที่ และตั้งแต่เดือน
มีนาคมเปน็ ตน้ ไป จะเรม่ิ อนุ่ ข้ึนทำใหม้ ีอากาศรอ้ นในตอนกลางวนั

กล่าวโดยสรุป ภัยหนาวที่พี่น้องประชาชนไทยในที่สูงต้องประสบนั้น เป็นภัยท่ี
หลีกเลี่ยงไม่ได้ และไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างสมบูรณ์เพราะมันมีสาเหตุมาจากธรรมชาติ
ซ่งึ ส่ิงท่สี ามารถทำได้ ก็เปน็ เพียงการเตรยี มการให้พรอ้ ม ไม่วา่ จะเปน็ เร่ืองของการซ่อมแซมบ้าน
หรือจัดหาเครื่องนุ่งห่มเครื่องกันหนาวแต่กระนั้น ตัวผู้ประสบภัยเอง บางครั้งก็ไม่สามารถ
เตรียมการได้อย่างพอเพียง เนื่องมาจากฐานะทางเศรษฐกิจที่อ่อนแอเกินกว่าจะจัดซื้อ
ปัจจัยพื้นฐานได้อย่างพอเพียง ดังนั้น การออกมาแจกผ้าห่มของภาครัฐและเอกชน ก็คงยังจะ
เป็นวัฏจักรท่ีดำเนินต่อไปอย่างไม่สิ้นสุด จนกว่าจะมีการวางแผนรับมือโดยอาศัยความร่วมมือ
จากทกุ ภาคสว่ นการเตรยี มตวั รับสถานการณภ์ ยั หนาวเม่ือทราบแล้วว่าภยั หนาวกำลงั ใกล้เข้ามา
จึงควรเตรียมความพร้อมรับมือกับภัยจากอากาศหนาวเย็น แม้จะไม่ได้อยู่บนพื้นที่สูงซึ่งได้รับ
ผลกระทบอยา่ งรุนแรงกต็ าม ซึ่งผลทเ่ี กิดจากความหนาวเยน็ ประกอบด้วย

1. ผลกระทบต่อสุขภาพหากอุณหภูมิลดต่ำลงอย่างเฉียบพลันอาจทำให้เกิดโรค
เกย่ี วกับระบบทางเดนิ หายใจ

2. ผลกระทบต่อพืชผลทางการเกษตรหากมีหมอกลงจัดอาจทำให้ช่อดอกของไม้
ผลร่วงหล่นหรือไม่ออกดอกตามกำหนด อีกยังอาจเกิดเกิดเช้ือราได้ และหากเกิดปรากฏการณ์
น้ำค้างแขง็ จะทำให้พืชผกั เสยี หายชะงักการเจริญเติบโต ยกเวน้ ผลไม้เมอื งหนาว

3. ผลกระทบต่อปศุสัตว์ ประมง และสัตว์เลี้ยงของเกษตรอาจเกิดเจ็บป่วยและ
ล้มตายเมือ่ อุณหภูมลิ ดลงอยา่ งฉบั พลนั

เรียนร้เู พ่อื ปอ้ งกันภยั พิบัตใิ กลัตวั 35

4. ในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี มีสถิติการเกิดอัคคีภัย
เป็นจำนวนมาก เนื่องจากอากาศแห้ง ความชื้นต่ำ ลมแรง หากเกิดอัคคีภัยอาจลุกลาม
อย่างรวดเร็ว และสกัดกั้นยาก ทำให้บ้านเรือนและสิ่งของประชาชนได้รับความเสียหาย หรือ
อาจเสียชวี ติ ได้

สง่ิ ท่ีประชาชนควรปฏบิ ตั ิตนเมื่อเข้าสสู่ ภาวะอากาศหนาวเย็น
1. หมั่นดูแลรักษาสุขภาพร่างกาย ด้วยการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
พรอ้ มกับเตรียมเส้อื ผา้ เคร่ืองนุ่งห่ม รวมทง้ั อุปกรณ์ปอ้ งกันความหนาวเยน็
2. เกษตรควรเตรียมความพร้อมในการป้องกันพืชผลทางการเกษตรซึ่งหากเป็น
พืชผักควรจัดเตรียมโรงเรือนหรือกางมุ้งผัก หรืออาจมีวัสดุคลุมแปลงปลูก เพื่อลดผลกระทบ
จากอุณหภูมิที่ลดต่ำลง หากเป็นไม้ผลควรหมั่นรดน้ำให้ถี่ขึ้น การให้ปุ๋ยต้องทำด้วยความ
ระมดั ระวังหากใหป้ ุย๋ มากเกนิ ไปอาจทำใหเ้ กดิ ดนิ เคม็ ได้
3. เกษตรกรควรเตรียมอาหารและน้ำให้เพียงพอต่อสัตว์เลี้ยง รวมทั้งเตรียม
อุปกรณ์หรือเคร่อื งป้องกันความหนาวเพ่ือใหส้ ัตว์เล้ียงใหม้ ีสุขภาพแข็งแรง
4. หมั่นตรวจสอบอุปกรณ์ไฟฟ้า สายไฟภายในบ้าน หากชำรุดต้องซ่อมแซมให้มี
สภาพปลอดภัย เมื่อเลิกใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าต้องถอดปลั๊กทุกครั้ง ปิดแก๊สและวาล์วทุกครั้งหลังไม่
ใช้งาน อย่าจุดธูปเทียนบูชาพระทิ้งไว้ ควรอุปกรณ์ดับเพลิงไว้ประจำบ้าน จดบันทึกหมายเลข
โทรศัพท์เจ้าหน้าที่ตำรวจไว้เพื่อขอความช่วยเหลือหากเกิดเพลิงไหมร้ ุนแรง เมื่อทราบถึงเหตทุ ี่
อาจได้รับผลกระทบจากภัยหนาวและวิธีการป้องกันแล้ว ประชาชนต้องเตรียมพร้อมดูแล
ตนเองกอ่ นมสี ติและไมป่ ระมาท
5. ดื่มน้ำให้เพียงพอ ความเชื่อเรื่องการดื่มแอลกอฮอล์ทำให้ร่างกายอบอุ่นเป็น
ความเช่ือทผี่ ดิ
6. หากเป็นหวัด ถ้าออกนอกบ้านให้สวมผ้าปิดปากป้องกันการตดิ ตอ่ ไข้หวัดสู่คน
รอบข้าง
7. หากเปียกน้ำ รีบเช็ดตัวให้แห้งและเปลี่ยนเสื้อผ้าทันที เพื่อป้องกันโรคปอด
บวม
8. รีบโทรแจง้ 1669 หากพบผู้ปว่ ยฉกุ เฉิน และระวังโรคที่มากบั ภัยหนาว
9. ทำรา่ งกายให้อบอนุ่ แต่ ควรหลกี เล่ียง การผิงไฟเพราะควันไฟอาจอันตรายต่อ
สุขภาพ
10. เกบ็ กวาดเศษใบไม้ ขยะ รอบบริเวณบ้าน เพือ่ ปอ้ งกนั ไฟไหม้

เรยี นรเู้ พอื่ ปอ้ งกนั ภยั พิบัติใกลตั วั 36

วิธีปฏิบัติด้านสุขภาพในช่วงนี้สภาพอากาศเปลี่ยนแปลง และเป็นช่วงปลายฝน
ต้นหนาว หลายพื้นที่มีอุณหภูมิลดลงอากาศเร่ิมหนาวเย็น ทำให้ประชาชนเสี่ยงเจบ็ ป่วยได้งา่ ย
หากรา่ งกายปรับตวั ไม่ทนั กระทรวงสาธารณสขุ ในฐานะผู้ทม่ี หี นา้ ทดี่ ูแลสุขภาพของประชาชน
ได้มอบหมายให้สำนักงานสาธารณสุขทุกจังหวัด เร่งให้ความรู้ประชาชนทุกกลุ่มวัยในการดแู ล
สุขภาพ เพื่อป้องกันตั้งแต่เนิ่นๆ โดยได้ให้สำนักงานสาธารณสุขทุกจังหวัด เตรียมเฝ้าระวังโรค
ทม่ี กั พบบอ่ ยในชว่ งฤดูหนาว ได้แก่ โรคที่เกดิ จากระบบทางเดินหายใจโดยตรง เชน่ ไขห้ วดั ใหญ่
และโรคปอดบวม เป็นต้น โดยเฉพาะกลุ่มที่มีความเสี่ยงจะเจ็บป่วยได้ง่ายกว่าคนทั่วไป ได้แก่
เด็กเล็ก ผู้สูงอายุ และผู้ที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง กระทรวงสาธารณสุข จึงมอบหมายให้กรม
ควบคุมโรค ได้ดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อที่อาจจะเกิดขึ้น รวมถึงโรค
ทีเ่ กดิ จากสภาพอากาศทีแ่ หง้ เชน่ โรคผิวหนังแห้ง แตก คัน และอกั เสบ เปน็ ตน้

เรียนรเู้ พอ่ื ป้องกนั ภยั พบิ ัตใิ กลัตวั 37

การเตรยี มพรอ้ มรบั มือภยั พิบตั ิต่างๆ
~ จัดเตรยี มส่งิ ของทจ่ี ำเปน็ ไวใ้ ชง้ านยามฉุกเฉนิ เช่น
~ เคร่อื งอปุ โภคบริโภค อาหารแหง้ น้ำดืม่ ยารักษาโรค ไฟฉาย เป็นตน้
~ เรียนรู้หลักปฏิบัติในการรับมือภัยพิบัติ โดยศึกษาลักษณะข้อควรปฏิบัติ
ข้อควรหลีกเลี่ยงของภัยพิบัติแต่ละประเภท วิธีป้องกัน แก้ไข การปฏิบัติตนเมื่อเกิดภัยพิบัติ
การชว่ ยเหลือและการปฐมพยาบาลในเบ้ืองตน้ วธิ ใี ช้งานอปุ กรณ์ดบั เพลิง การเปดิ – ปิดระบบ
ไฟฟ้า ประปา และอุปกรณถ์ งั กา๊ ซ
~ จดจำหมายเลขโทรศัพท์ของหน่วยงานสำคัญ โดยเฉพาะหน่วยป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัย สถานีตำรวจ สถานีดับเพลิง โรงพยาบาล สำหรับติดต่อแจ้งเหตุและ
ประสานขอความชว่ ยเหลือ
~ หมั่นติดตามข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ต่อการป้องกันภัยทั้งสภาพอากาศ ปริมาณ
น้ำฝนสถานการณ์น้ำ ระดับการขึ้น– ลง ของน้ำในแม่น้ำ ระดับน้ำทะเลหนุน จะได้สามารถ
คาดการณ์แนวโน้มสถานการณภ์ ัยและเตรยี มพร้อมรับมือภัยพบิ ตั ิได้ทันท่วงที
~ ตรวจสอบบ้านเรือนให้อยู่ในสภาพปลอดภัยมีโครงสร้างมั่นคงแข็งแรง ไม่ต่อ
เติมอาคารจัดวางสิ่งของให้เป็นระเบียบ ไม่กีดขวางทางเดิน ไม่จัดเก็บสิ่งของในบริเวณที่เสี่ยง
ต่อการล้มทับหรือตกหล่น ตัดแต่งกิ่งไม้และโค่นต้นไม้ที่เสี่ยงต่อการล้มทับ รวมถึงติดตั้งถัง
ดบั เพลงิ เคมไี ว้ในจุดทห่ี ยิบใชง้ านสะดวก
~ วางแผนเส้นทางการอพยพไปยังพื้นที่ปลอดภัย โดยเรยี นรู้ จดจำเส้นทางหนีภยั
จุดนัดพบที่ปลอดภัยไว้หลายแห่งในทุกทิศทาง ทั้งระยะใกล้และระยะไกล รวมถึงวางแผนการ
อพยพหนภี ัยกรณีอาศัยอย่ใู นชุมชนเส่ียงภยั ควรเขา้ รว่ มการ
~ ฝกึ ซอ้ มอพยพหนีภัยอยู่เสมอ เมือ่ เกิดภัยพิบตั จิ ะได้ปฏบิ ัตติ นอยา่ งปลอดภัย
การปฏิบตั ิตนขณะเกิดภยั
ติดตามข้อมูลสถานการณภ์ ัย ตรวจสอบพยากรณ์อากาศเพ่ือประเมินสถานการณ์
ภัยและตัดสนิ ใจแก้ไขปญั หาได้อยา่ งถูกตอ้ ง พร้อมปฏิบัติตามประกาศเตือนภัย และคำแนะนำ
ของทางราชการอย่างเคร่งครัด กรณีสถานการณ์รุนแรงและมีประกาศเตือนภัยให้อพยพ ควร
รีบออกจากพ้นื ทไี่ ปตามเส้นทางที่ปลอดภยั ในทันทโี ดยให้ความช่วยเหลอื เดก็ และคนชราก่อน

เรยี นรูเ้ พื่อป้องกนั ภยั พบิ ัตใิ กลัตวั 38

ปลอดภยั ไวก้ อ่ น
การเรียนรู้สัญญาณความผิดปกติทางธรรมชาติก่อนเกิดภัยพิบัติ ทำให้สามารถ
เตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติได้ทันท่วงทีและปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องและปลอดภัยเมื่อเกิด
สถานการณ์ภัย
อทุ กภัย เกิดฝนตกหนักและระดับน้ำเพิม่ สูงขึน้ ต่อเน่ือง
ดินถลม่ น้ำเปน็ สขี ุ่นขน้ และเปลีย่ นเปน็ สเี ดยี วกบั สีดนิ ภเู ขา
แผน่ ดินไหวขนาดรุนแรงใต้มหาสมุทร
พายฤุ ดรู อ้ น อากาศร้อนอบอ้าวและเมฆกอ่ ตวั อยา่ งรวดเร็ว
ผู้ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัยควรจดชื่อ-นามสกุล หมายเลขโทรศัพท์สมาชิกใน
ครอบครัว สำหรับใช้ติดต่อในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินหากมีเด็กเล็กหรือผู้สูงอายุให้เขียนชื่อ-
นามสกุล ที่อยู่ของผู้ดูแล ญาติ และสมาชิกในครอบครัวไว้ในกระเป๋าเสื้อ เพื่อใช้ติดต่อกรณี
ได้รับบาดเจบ็ พลดั หลงขณะอพยพ หรืออาศัยในศนู ยพ์ ักพงิ ชวั่ คราว
ถงุ ยังชพี ฉุกเฉิน...พรอ้ มไวเ้ ม่อื ภยั มา
นับวันภัยพิบัติทางธรรมชาติเกิดบ่อยครั้งจนกลายเป็นเรื่องใกล้ตัวที่ทุกคนต้อง
เตรียมพร้อมรับมือ ถุงยังชีพ จึงเป็นสิ่งจำเป็นที่จะช่วยใหส้ ามารถดำเนินชีวิตได้อย่างปลอดภยั
จึงขอแนะประชาชนให้จดั เตรยี มอุปกรณ์และสงิ่ ของจำเปน็ ในถงุ ยงั ชีพ ประกอบด้วย
- เครื่องอุปโภคบริโภค เช่น ข้าวสาร อาหารแห้ง อาหาร กระป๋อง น้ำดื่มสะอาด
บรรจุขวด ยารักษาโรคท่สี ามารถใชไ้ ด้ อย่างน้อย 3 - 4 วัน
ของใช้ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต ในระยะแรก เช่น ไฟฉายพร้อมถ่านแบบกัน
น้ำวิทยุพร้อมถ่านสำรอง ชุดปฐมพยาบาลเบื้องต้นนกหวีด เทียนไข เชือก ถุงพลาสติกสีดำ
กระดาษชำระด่างทบั ทมิ สบู่ แปรงฟนั ยาสีฟนั เสื้อผ้าสำรองเปน็ ต้น
- เอกสารสำคัญต่างๆ ให้เก็บไว้ในถุงพลาสติกกันน้ำ ได้แก่บัตรประจำตัว
ประชาชน ทะเบียนบ้าน สูติบัตร สำเนาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ เช่น บัตรประกันสังคม
กรมธรรม์ประกันชีวิตภาพถ่ายของคนในครอบครัว เป็นต้น พร้อมถ่ายสำเนาไว้หลายๆ ชุดเพ่ือ

ป้องกันการสูญหาย ที่สำคัญ สิ่งของเหล่านี้ต้องบรรจุในกระเป๋าที่มีน้ำหนักเบาพกพา
สะดวก โดยจัดเก็บไว้ในทีท่ ี่สามารถหยิบใช้งานไดง้ ่ายหมั่นตรวจสอบและเปล่ยี นสิ่งของที่
บรรจุ เพื่อป้องกันการหมดอายุและเน่าเสียทำให้ไม่สามารถนำมาใช้งานได้เมื่อเกิดเหตุ
ฉกุ เฉิน

เรียนรูเ้ พอ่ื ปอ้ งกันภยั พบิ ัติใกลัตวั 39

เตรียมพร้อมขั้นพื้นฐาน ทุกบ้านควรจัดถุงยังชีพประจำบ้านให้เสมือนเป็นตู้ยา
สามัญประจำบา้ น เพ่ือให้ดำรงชีวิตของทุกคนในครอบครวั ได้สัก 3-7 วนั เพอื่ รอหน่วยงานกู้ภัย
เข้ามาให้ความช่วยเหลือและอพยพออกจากพื้นที่ภัยพิบัติ จะบรรจุสิ่งของอะไรลงในถุงยังชีพ
บ้าง ก็ขึ้นอยู่กบั ความจำเป็นของแต่ละครอบครัว แต่อย่าลืมว่าต้องคล่องตัวไมใ่ ช่ใสข่ องมากจน
แบกไม่ไหว

12 สง่ิ ของพนื้ ฐานน้ี คอื ส่ิงจำเปน็ เพ่อื เอาชีวิตรอด มีดงั นี้
1. อาหารกระป๋องทสี่ ามารถเปดิ ฝารับประทานได้เลย กรณีที่ไมม่ ีไฟและแก๊ส
2. ยารกั ษาโรค อุปกรณท์ ำแผล เพื่อใชป้ ฐมพยาบาลเบอื้ งตน้ หากบาดเจบ็
3. น้ำสะอาดสำหรับดื่มท่ีเพียงพอสำหรับสมาชกิ ในครอบครวั
4. ไฟเช็คสำหรับจดุ ไฟ
5. นกหวีด ใช้เปา่ ขอความช่วยเหลอื หากเราเจ็บและติดอยใู่ นพ้นื ที่อนั ตราย
6. เส้อื ชูชีพ เผอ่ื ไว้กรณีต้องอพยพในสภาพนำ้ ท่วมสงู บางพ้ืนที่อาจต้องใช้เรือยาง
ในการอพยพดว้ ยคงต้องดูตามความเหมาะสม
7. เชอื กสำหรับผกู มัดสิ่งตา่ งๆ หรือใช้สำหรบั คลอ้ งตวั ปอ้ งกันนำพดั พา
8. ไฟฉายพร้อมถา่ ยไฟฉาย เพอื่ ให้แสงสว่างในเวลากลางคนื และแบตเตอรอี่ น่ื ๆ
9. มีดพับเอนกประสงค์ สำหรับตัวเชือกหรือกิง่ ไมเ้ ล็กๆ
10. วทิ ยุ เพอ่ื ใช้ฟงั การรายงาน เหตกุ ารณภ์ ัยพิบัตติ า่ งๆ
11. กระจก 1 บาน สำหรบั ใช้สะทอ้ นแสงแดด เพือ่ สง่ สญั ญาณขอความชว่ ยเหลือ
ในระยะไกล
12. เข็มทิศ เพื่อดูทิศทางระหว่างการอพยพหากกรณีน้ำท่วม น้ำป่าไหลหลาก
เส้นทางสญั จรเดิมถกู ทำลายทำให้สับสนเร่ืองทิศทางได้
เราควรศึกษาจุดสังเกตสำคัญๆ ไว้ด้วย ทางที่ดีองค์การปกครองส่วนท้องถ่ิน
อาสาสมัครบรรเทาสาธารณภัยต่างๆ ควรให้ความรู้และกำหนดเส้นทางอพยพในชุมชน พร้อม
ฝึกซ้อมอพยพอยู่เป็นประจำให้ประชาชนได้ตระหนักและมีสำนึกความปลอดภัยในชีวิตมากๆ
อยา่ ละเลยการฝกึ ซ้อมและระแวดระวงั สญั ญาณเตือนภัย
เมื่อเตรียมครบแล้วต้องแจ้งให้ทุกคนในบ้านรู้จุดที่วางถุงยังชีพไว้ด้วย และควร
ตรวจสอบ อาหาร ยา และอปุ กรณต์ ่างๆ สม่ำเสมอเพ่อื จะได้มีของท่ีมีคุณภาพยามใช้จริงๆ

เรยี นรูเ้ พ่ือปอ้ งกันภยั พบิ ตั ิใกลตั ัว 40

การช่วยเหลือผู้พิการหรอื ทุพพลภาพ
ในขณะเกิดภัยพิบัติบุคคลทุพพลภาพ เป็นบุคคลซึ่งมีความต้องการจำเป็นพิเศษ
ดา้ นต่างๆ เพื่อให้สามารถดำเนนิ ชวี ิตและมสี ว่ นร่วมในสังคมได้อยา่ งบุคคลทัว่ ไปขอแนะวิธีดูแล
และชว่ ยเหลอื ผู้พกิ ารหรือทพุ พลภาพ ดังน้ี
อปุ กรณ์ฉุกเฉินสำหรับผู้พิการ
- ไม้เทา้ หรอื เคร่ืองชว่ ยฟงั สำรอง
- แบตเตอรี่สำรองสำหรบั เคร่อื งชว่ ยฟงั
- กระดาษและปากกา สำหรับผพู้ ิการทางการได้ยนิ ใช้ในการส่ือสาร
- สุขภัณฑ์สำรอง เชน่ คอมฟอร์ตร้อย
- ถุงมอื หนงั เพอ่ื ใช้หมุนล้อรถเขน็
- แบตเตอรสี่ ำรองสำหรับรถเข็นแบบมอเตอร์
- รถเข็นน้ำหนักเบาแบบมอื เข็น
ผู้พิการดา้ นการเคลอื่ นไหว
การช่วยเหลอื ผ้ทู นี่ ั่งรถเขน็
- จัดท่าให้คนพิการน่ังหลงั ตรงชดิ พนักพิง โดยเท้าวางบนทีว่ างเทา้ ทั้งสองขา้ ง
- การขึน้ ทางลาดหรอื ทางต่างระดับให้เข็นรถโดยเข็นไปทางด้านหนา้ หรือใช้วิธียก
ลอ้ หนา้ ขึ้น แลว้ ใชเ้ ทา้ เหยียบแทง่ เหล็กใต้เกา้ อี้ดา้ นหลังแลว้ จึงยกลอ้ หลงั ตามขนึ้ ไป
- เทคนิคการลงทางลาด ให้เข็นรถโดยเอาด้านหลังลง

เรยี นรู้เพอ่ื ปอ้ งกันภยั พบิ ตั ิใกลัตัว 41

ผูพ้ กิ ารทางสายตา
วิธกี ารนำทางผู้พิการทางสายตา
- ผู้นำทางใช้หลังมือแตะหลังมือหรือแขนของคนตาบอดเพื่อเป็นสัญญาณบอกให้
เตรยี มตัวและทราบตำแหน่งของผ้นู ำทาง
- การเดินตอ้ งเดินไมช่ า้ หรือเรว็ จนเกินไป และต้องรกั ษาตำแหนง่ ของมือและแขน
ทีจ่ ับใหอ้ ยู่ในสภาพเดมิ
- การขึ้นบันไดหรือลงบันได ผู้นำทางจะบอกว่า “ขึ้น” หรือ “ลง” และก้าวขึ้น
หรอื ลงนำหนา้ ผูพ้ ิการทางสายตา 1 ขัน้ เมอ่ื พ้นบนั ได ข้นั สุดทา้ ยแลว้ ผูน้ ำทางจะหยดุ ยนื ครหู่ น่ึง
ซึ่งเปน็ การบอกสญั ญาณว่าพ้นบนั ไดแล้ว
- การเปิดและปิดประตู ผู้นำทางจะใช้มือข้างที่คนตาบอดจับอยู่จับลูกบิด โดย
ผ้นู ำทางจะเดนิ หน้าไปก่อน คนตาบอดเดนิ ตามแล้วปิดประตู
ผู้พิการทางการได้ยิน
สง่ิ ท่ผี ูพ้ ิการทางการไดย้ นิ ควรทราบ
o มปี ้ายแขวนคอท่ีมีรายละเอียดว่าเป็นผพู้ ิการทางการได้ยิน
o ศึกษาสัญญาณเตอื นภยั ต่างๆ
o เก็บเครอ่ื งช่วยฟังในท่ปี ลอดภยั ท่สี ามารถหยบิ ได้งา่ ย
o เตรียมแผ่นกระดาษที่เป็นข้อความสำคัญเก่ยี วกับตวั ท่าน

เรยี นรเู้ พอ่ื ป้องกนั ภยั พิบตั ใิ กลัตวั 42

การบรหิ ารจัดการภยั พิบตั ทิ างธรรมชาติของประเทศไทย
ในปัจจุบันการปฏิบัติในการแจ้งเตือนภัยปัจจุบันมีหน่วยงานที่ประสานการ
แจ้งเตือนภัยกับกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอยู่หลายหน่วยงาน หน่วยงานหลักมี
5 หน่วยงาน ได้แก่ กรมอุตุนิยมวิทยา ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติกรมชลประทาน
กรมทรัพยากรธรณี และกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย มีการแบ่งขั้นตอนการเตรียม
ความพร้อม (Preparedness) เป็น 4 ขั้นตอน คือ (แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แห่งชาติ พ.ศ.2553 –2557, 2556:10)
1. การเฝา้ ระวังและติดตามสถานการณ์ (Monitoring)
2. การแจ้งเตอื นล่วงหนา้ (Early Warning)
3. การแจง้ เตอื น (Warning)
4. การอพยพประชาชน (Evacuation) กรมอุตุนิยมวิทยา รับผิดชอบติดตาม
สภาพภูมิอากาศ และการพยากรณ์อากาศเมื่อมีการคาดหมายลักษณะอากาศที่จะมีผลกระทบ
ต่อพื้นที่ต่างๆ ในประเทศไทย จะจัดท าการประกาศแจ้งเตือนภัยล่วงหน้าผ่านทาง
สื่อสารมวลชนแขนงตา่ งๆ ทางระบบสารสนเทศ ระบบขอ้ ความสนั้ (SMS) และแจ้งกรมป้องกัน
และบรรเทาสาธารณภัยทราบเพือ่ แจ้งเตอื นไปยังจังหวัด อำเภอ ในพื้นที่เสี่ยงภัยศนู ย์เตือนภัย
พิบัติแห่งชาติ รับผิดชอบการเฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์ด้านการเกิดแผ่นดินไหว (ทั้งบน
บกและในทะเล) ที่อาจส่งผลกระทบทำให้เกิดความเสียหายต่อพื้นที่ต่างๆ ในประเทศไทย
โดยจะทำการกระจายขา่ วแจ้งเตอื นภยั ผ่านทางส่ือสารมวลชนแขนงต่างๆ ทางระบบสารสนเทศ
หอเตือนภยั ระบบข้อความส้ัน (SMS) ไปยงั หน่วยงานที่เก่ียวข้องในพ้ืนท่ีจังหวัด อำเภอ ตำบล
หมู่บ้านในพื้นที่เสี่ยงภัย โดยจัดทำเป็นมาตรฐานขั้นตอนการปฏิบัติ (Standard Operating
Procedure : Sop) และแจ้งกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยทราบโดยตรงทางระบบสาย
ตรง (Hot Line) เพือ่ แจง้ เตือนไปยังจงั หวดั อำเภอ ในพื้นที่เสี่ยงภยั กรมชลประทาน รบั ผิดชอบ
การเฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์สภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ ขนาดกลางทั่วประเทศ
การติดตามสภาพน้ำท่าในแม่นำ้ สายหลักทั่วประเทศ รวมทัง้ การบรหิ ารจดั การน้ำในล่มุ น้ำต่างๆ
การควบคุมจัดสรรน้ำการแจ้งเตือนภัยเพื่อการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และภัยแล้งที่
อาจจะเกิดขึ้นในพื้นที่ต่าง ๆ กรมทรัพยากรธรณี รับผิดชอบเฝ้าระวังติดตามสถานการณ์
การเกิดธรณีพิบัติภัย เช่น การเกิดดินโคลนถล่ม ดินไหล หินถล่ม รอยแยก หลุมยุบ ที่อาจเกิด
ผลกระทบต่อพื้นที่ต่างๆ ในประเทศไทย โดยจะจัดทำประกาศกรมทรัพยากรธรณี เพื่อให้มี
การเฝ้าระวัง แจ้งเตือนภยั ในพื้นที่เสี่ยงภัย และแจ้งกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยทราบ
เพื่อแจ้งเตือนไปยังจังหวัด อำเภอ ในพื้นที่เสี่ยงภัย ดำเนินการตามแผนเผชิญเหตุของแต่ละ

เรียนรเู้ พอ่ื ป้องกนั ภยั พิบตั ใิ กลตั ัว 43

พื้นที่ต่อไปกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รับผิดชอบจัดชุดระวังและติดตามสถานการณ์
และประสานงานแลกเปลีย่ นข้อมูลด้านการพยากรณ์อากาศ และการแจ้งเตอื นลว่ งหน้าโดยตรง
กับกรมอุตุนิยมวิทยา (บันทึกข้อตกลงว่าดว้ ยความร่วมมือดา้ นการป้องกนั และบรรเทาภัยพบิ ัติ
ธรรมชาติลงวันท่ี 26 กันยายน พ.ศ.2549) และศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ หากมีสถานการณ์
ที่จะส่งผลกระทบต่อประชาชนในพื้นที่ จะทำการแจ้งเตือนให้ศูนย์ป้องกันและบรรเทาภัยเขต
และสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด จัดตั้งศูนย์อำนวยการเฉพาะกิจข้ึน
เพื่อแจ้งเตือนไปยังพื้นที่ อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เสียง
ภัย เตรียมการตามแผนป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน จังหวัด อำเภอ ท้องถิ่น และแจ้งอาสาสมัคร
มิสเตอร์เตือนภัยหมู่บ้านทำการเฝา้ ระวงั ติดตามสถานการณ์จริงในพืน้ ที่ เพื่อเตรียมการปฏิบัติ
ตามแผนอพยพประชาชนเมื่อมีคำสั่งอพยพจากผู้มีอำนาจตามกฎหมายต่อไปขนั้ ตอนการปฏิบัติ
ในการแจ้งเตือนภัยของชุดเฝ้าระวัง และติดตามสถานการณ์กรมป้องกันและบรรเทา
สาธารณภยั

ขัน้ ตอนท่ี 1 ติดตามเฝ้าระวังปัจจัยท่กี อ่ ใหเ้ กิดสาธารณภยั รุนแรง จากแหลง่ ขอ้ มูล
ของหน่วยงานภาครัฐอาทิ ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ กรมอุตุนิยมวิทยา กรมทรัพยากรธรณี
กรมชลประทาน ภาคเอกชน/มูลนิธิ สื่อมวลชนทุกแขนง อาสาสมัคร อปพร. และจาก
แหล่งข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศรวมทั้งเครือข่าย
ศนู ยว์ ิทยุสอ่ื สาร “นิรภัย”

ขั้นตอนท่ี 2 วิเคราะห์ ตรวจสอบ ประเมินและสรุปสถานการณ์สาธารณภัย
กรณีสาธารณภัยที่คาดว่าจะมีระดับรุนแรงให้รายงานผู้บังคับบัญชาทราบตามล ำดับช้ัน
ผ่านทางระบบการส่งข้อความสั้น (SMS) โทรศัพท์/โทรสาร ระบบวิทยุสื่อสาร และการแจ้ง
เตือนภัยผ่านสื่อมวลชนต่างๆ เพื่ออำนวยการสั่งการรวมทั้งประกาศแจ้งเตือนไปยังพื้นที่เสี่ยง
ภัยโดยตรงในระดบั จงั หวัดอำเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเพ่ือประชาสัมพนั ธ์ ให้ประชาชน
ทราบ และใหอ้ าสาสมคั ร “มสิ เตอร์เตือนภัย” รวมทัง้ อปพร. และเครอื ข่ายทเ่ี กย่ี วข้องเฝา้ ระวัง
ติดตามสถานการณ์ในพนื้ ทเ่ี สี่ยงภัยอย่างใกล้ชดิ

ขั้นตอนท่ี 3 หากจังหวัด อำเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เกิดสาธารณภัยขน้ึ
ในพื้นที่ ให้ประสานงานกับสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ศูนย์ป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัยเขต เพื่อให้รายงานสถานการณ์มายังกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอย่าง
ต่อเนื่อง โดยผ่านระบบสายด่วน “ศูนย์นิรภัย 1784” ระบบวิทยุสื่อสาร ระบบโทรศัพท์ หรือ
ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และดำเนินการตามแผน
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ.2553 –2557 เพอื่ ให้ความชว่ ยเหลือผู้ประสบภัย

เรียนรูเ้ พ่อื ป้องกันภยั พบิ ัติใกลตั ัว 44

นับแต่เกิดสาธารณภัยขึ้น จนกว่าสถานการณ์จะยุติพร้อมทั้งให้ประสานงานกับหน่วยงาน
ทเ่ี ก่ียวข้อง เพื่อใหส้ นบั สนนุ การให้ความช่วยเหลอื อย่างรวดเร็ว ทนั ท่วงที

ขั้นตอนท่ี 4 รวบรวมข้อมูลความเสียหายและการให้ความช่วยเหลือในเบื้องต้น
เพื่อจัดทำรายงานเหตุด่วนสาธารณภัย พร้อมทั้งจัดทำรายงานสรุปสถานการณ์สาธารณภัย
ประจำวัน เพื่อเสนอรายงานให้ผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่าน
ส ื ่ อ ม ว ล ช น เ ผ ย แ พ ร ่ ท า ง Website ข อ ง ก ร ม ป ้ อ ง ก ั น แ ล ะ บ ร ร เ ท า ส า ธ า ร ณ ภั ย
(www.disaster.go.th และ www.nirapai.com) รวมทั้งการจัดท ำสรุปสถาน กา รณ์
สาธารณภัยรนุ แรงเพือ่ เสนอตอ่ ทป่ี ระชุมคณะรัฐมนตรี เพ่อื ทราบและสง่ั การ

ขั้นตอนท่ี 5 เมื่อสถานการณ์ยุติให้รวบรวมข้อมูลความเสียหายและการให้
ความช่วยเหลือของส่วนราชการมูลนิธิ ภาคเอกชน แล้วสรุปรายงานเสนอต่อผู้บังคับบัญชา
ตามลำดับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสื่อมวลช นรวมทั้งเผยแพร่ทาง Website
(www.disaster.go.th และ www.nirapai.com) ตลอดจนทำสรุปสถานการณ์สาธารณภัย
รุนแรง เพื่อนำเข้าที่ประชุมคณะรัฐมนตรีการปฏิบัติของศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
เขต เมื่อได้รับข้อมูลการแจ้งเตือนจากกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ให้ศูนย์ป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภยั เขตพจิ ารณาดำเนนิ การดังนี้

1. จัดเจ้าหน้าที่ติดตามข้อมูลสถานการณ์และการแจ้งเตือนจากหน่วยงานที่
รับผิดชอบ เช่น กรมอุตุนิยมวิทยา กรมชลประทาน กรมทรัพยากรธรณี ศูนย์เตือนภัยพิบัติ
แห่งชาติ กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย ฯลฯ ตลอด 24 ช่วั โมง

2. จัดเตรียมความพร้อมของทรัพยากร (กำลังเจ้าหน้าที่และวัสดุอุปกรณ์)
โดยเฉพาะชุดเผชิญสถานการณ์วิกฤติ ให้สามารถออกปฏิบัตหิ นา้ ท่ีสนับสนนุ การปฏิบัติภารกจิ
ของจังหวัดในพ้ืนที่รับผดิ ชอบได้ภายใน 2 ชั่วโมง นบั แต่เกดิ เหตุ

3. จัดเตรียมและซักซ้อมการปฏิบัติตามแผนเผชิญเหตุของศูนย์ป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภยั เขต

4. รายงานผลการเตรยี มความพร้อมใหก้ รมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยทราบ
ภายใน 24 ช่วั โมง นับแต่ไดร้ บั การแจง้ เตือน

5. กรณีเกิดสถานการณ์สาธารณภัยในพื้นที่รับผิดชอบ ให้รายงานผลการปฏิบัติ
ให้กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยทราบทุกระยะการปฏิบัติของสำนักงานป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัยจังหวัด เมื่อได้รับข้อมูลการแจ้งเตือนจากกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณ
ภยั ใหส้ ำนกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดพจิ ารณาดำเนนิ การดังนี้


Click to View FlipBook Version