The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

2. KM โรงเรียนผู้สูงอายุสู่การพัฒนาสังคม พร้อม QR Code

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kaweewong88, 2020-08-21 14:56:22

2. KM โรงเรียนผู้สูงอายุสู่การพัฒนาสังคม พร้อม QR Code

2. KM โรงเรียนผู้สูงอายุสู่การพัฒนาสังคม พร้อม QR Code

1

2

การจัดการความรู้ (KM : Knowledge Management)
โรงเรยี นผสู้ ูงอายุสกู่ ารพฒั นาสังคม
กรณศี กึ ษา : โรงเรยี นชราบาลวุฒิวทิ ยาลัย

เทศบาลเชิงตาบลดอย อาเภอดอยสะเก็ด จงั หวดั เชียงใหม่

ออกแบบโดย

ศนู ยบ์ ริการวชิ าการพฒั นาสงั คมและจัดสวัสดกิ ารสงั คม
สํานักงานส่งเสรมิ และสนบั สนุนวชิ าการ 9
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์

ท่อี ยู่ บริเวณศูนยร์ าชการจงั หวัดเชียงใหม่ ถนนโชตนา
ตาํ บลช้างเผอื ก อาํ เภอเมืองเชยี งใหม่ จงั หวดั เชียงใหม่ ๕๐๓๐๐
โทรศพั ท์ ๐๕๓-๑๑๒๔๘๕-๖ โทรสาร ๐๕๓-๑๑๒๔๙๑
Email: [email protected]
Website: tpso-9.m-society.go.th

พมิ พค์ ร้งั ที่ 1
เผยแพร่ กรกฎาคม 2563

คานา ก

การจัดการความรู้ (KM : Knowledge Management) เร่ือง โรงเรียน
ผู้สูงอายุสู่การพัฒนาสังคม มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการพัฒนาตนเอง การดูแล
สขุ ภาพท่ดี ีของผสู้ งู อายทุ ัง้ ดา้ นร่างกาย จติ ใจ และเพ่ิมคุณค่าภูมิปัญญาผู้สูงอายุให้เป็น
ท่ีประจักษ์และยอมรับ โดยได้ศึกษาการจัดการความรู้ด้านโรงเรียนชราบาล
วุฒิวิทยาลัย อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ซ่ึงโรงเรียนชราบาลวุฒิวิทยาลัย
จัดต้ังเพ่ือดูแล พัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมอาชีพและถ่ายทอดภูมิปัญญา วัฒนธรรม
และเป็นการสร้างขวัญกําลังใจให้กับผู้สูงอายุ ตามแนวคิด "ถ่ายทอดภูมิปัญญา ศึกษา
เทคโนโลยี แก่อย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ " โรงเรียนชราบาลวุฒิวิทยาลัย
เกิดข้ึนจากการริเริ่มของเทศบาลตําบลเชิงดอย เพื่อตอบโจทย์เกี่ยวกับสุขภาพ
ผู้สูงอายุ ในการเตรียมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ จนเป็นท่ีรู้จักและเป็นสถานศึกษาที่ดูแล
ส่งเสริมด้านคุณภาพชีวิตให้กับผู้สูงอายุทั้งในเขตเทศบาลและพ้ืนที่บริเวณโดยรอบ
และมีเครือข่ายอปท.ที่เข้าร่วมโครงการอีกหลายแห่งในพื้นท่ีอําเภอใกล้เคียง
จนโรงเรียนชราบาลวุฒิวิทยาลัย ประสบความสําเร็จและเป็นต้นแบบแห่งการเรียนรู้
ดแู ลผ้สู ูงอายไุ ดร้ ับรางวลั แห่งความสําเร็จยอดเยยี่ มมากมายจากหลายกระทรวง

สํานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 9 ได้จัดทําการจัดการความรู้ (KM :
Knowledge Management) เรอื่ ง โรงเรียนผูส้ ูงอายุส่กู ารพัฒนาสังคม สามารถนําไป
ประยกุ ต์ใชใ้ ห้เหมาะสมกบั บริบทของพืน้ ที่ได้

คณะทํางาน
สํานักงานส่งเสรมิ และสนับสนุนวิชาการ 9

2563



โรงเรียนผู้สูงอายุ เป็นรูปแบบหนึ่งในการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
การจัดการศึกษา การพัฒนาทักษะเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และกิจกรรมของ
โรงเรียนผู้สูงอายุมีความสําคัญต่อการดําเนินชีวิต ช่วยเพิ่มพูนความรู้ ทักษะชีวิตท่ี
จาํ เป็น โดยวิทยากรจิตอาสาหรือจากหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องขณะเดียวกันจึงเป็นพื้นที่ท่ี
ผู้สูงอายุได้แสดงศักยภาพ โดยการถ่ายทอดภูมิความรู้ประสบการณ์ ท่ีสั่งสมแก่บุคคล
อ่นื เพือ่ สบื สานภมู ิปัญญาใหค้ งคณุ คา่ คู่กบั ชุมชน

การดาเนินงานกิจกรรมการจัดการความรู้ (Knowledge Management:
KM) เรื่อง โรงเรียนผู้สูงอายุสู่การพัฒนาสังคม ดาเนินการโดยสานักงานส่งเสริม
และสนับสนุนวิชาการ ๙ ร่วมกับ เทศบาลตาบลเชิงดอย อาเภอดอยสะเก็ด จังหวัด
เชียงใหม่ ภายใต้การดาเนินการตามกระบวนการการจัดการความรู้โดยมีขั้นตอน
การบูรณาการการจัดการความรู้ การให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการความรู้
(Knowledge Management : KM) การจัดทาเค้าโครงการดาเนินการจัดการความรู้
ในประเด็นการบ่งชี้ความรู้ การสร้างและแสวงหาความรู้ เพื่อการจัดการความรู้
และการจัดการแผนปฏิบัติการและกิจกรรมการดาเนินการจัดการความรู้ด้านโรงเรียน
ผสู้ ูงอายุส่กู ารพฒั นาสังคม เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ดําเนินการภายใต้แนวคิด
การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สูงอายุที่มีศักยภาพ เพ่ือให้ผู้สูงอายุ
ไดเ้ รยี นรู้ พัฒนาทักษะในการดูแลตนเอง ซง่ึ จะนําไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
โดยอยบู่ นพืน้ ฐานแนวคิดทวี่ ่า “ผ้สู ูงอายมุ คี ณุ ค่าและมีศักยภาพ ควรได้รับการส่งเสริม
สนับสนุนให้มีส่วนร่วมทําประโยชน์ให้สังคม และส่งเสริมการเรียนรู้ให้ผู้สูงอายุ
โดยเชื่อมโยงกับประสบการณ์ของผู้สูงอายุ สาระการเรียนรู้จะต้องทําให้ผู้สูงอายุ
สามารถนําไปใช้ได้จริงในชีวิตปัจจุบัน เพ่ิมโอกาสในการรวมกลุ่มในลักษณะเครือข่าย
หรือชุมชน” การดาํ เนินงานโรงเรยี นผู้สงู อายุแบบมีส่วนร่วม โดยทุกภาคสว่ น “ร่วมคิด
ร่วมทําร่วมสร้าง” และมีส่วนร่วมในการดําเนินงาน การจัดการเรียนรู้ให้ผู้สูงอายุ
เพือ่ ใหผ้ สู้ ูงอายุมคี วามสุข เกดิ ทักษะในการดแู ลตนเอง มีคุณภาพชวี ิตที่ดี

สํานักงานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนวิชาการ 9 เล็งเห็นวา่ โรงเรียนผู้สูงอายุถือเป็น ค
กลไกที่สําคัญ จะต้องดําเนนิ การอย่างตอ่ เน่ืองควบคู่ไปกับการดําเนินกิจกรรมของกลุ่ม
อื่นๆ ในสังคม เช่น เด็ก เยาวชน และสตรีเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของทุกคนในสังคม ซึ่ง
เทศบาลตําบลเชิงดอยได้จัดทําโครงการระบบการดูแลและพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
ผู้สูงอายุในนาม“โรงเรียนชราบาลวุฒิวิทยาลัย” ข้ึนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ของผู้สูงอายุ
โดยเล็งเห็นว่าผู้สูงอายุเป็นบุคคลที่มีภูมิปัญญาในการทําคุณประโยชน์ต่อสังคมและ
เป็นแบบอย่างการใช้ชวี ติ ที่ดีใหแ้ ก่อนุชนรุ่นหลัง เพราะผู้สูงอายุถือว่าเป็นปูชนียบุคคล
ของสังคมทีม่ คี ุณคา่ อยา่ งยง่ิ ผา่ นประสบการณข์ องการดาํ เนนิ ชีวิตมามากมาย เคยเป็น
กําลังสําคัญของสังคมมาก่อน มีความรู้ มีทักษะ มีส่วนร่วม ได้อนุรักษ์ และสืบทอด
ประเพณีวฒั นธรรมทอ้ งถิ่น จึงจาํ เปน็ อย่างย่ิงท่ีคนรุ่นหลังจะต้องให้ความสําคัญในการ
ยกย่องให้การดูแลผู้สูงอายุเหล่าน้ีให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดีทั้งด้านสุขภาพกายและจิตใจ
อันเป็นการยกย่องและเชิดชูเกียรติให้ผู้สูงอายุ สามารถดํารงชีวิตอยู่ในสังคมอย่าง
มีความสุข

ง สารบญั

หนา้

คานา ก

บทสรปุ ผู้บริหาร ข

ความเปน็ มาของการจดั การความรู้ (KM : Knowledge Management) 1

สวนที่ 1 บทนา

โรงเรยี นผูสูงอายุคอื อะไร 5

วัตถุประสงคของโรงเรียนผูสงู อายุ 6

กรอบแนวคิดโรงเรยี นผสู้ งู อายุ 6

ประโยชนท่ีไดรับ 8

ขอ้ มูลทั่วไปของเทศบาลตาํ บลเชงิ ดอย 9

ประวัติโรงเรียนชราบาลวุฒวิ ทิ ยาลัย 17

สวนที่ 2 แนวทางการดาเนินงานโรงเรียนผูสงู อายุ

ขัน้ ตอนการดาํ เนินงาน 23

โครงสรางโรงเรียนผูสูงอายุ 24

การจดั ต้ังโรงเรียนผสู้ ูงอายุ 25

ขับเคลอื่ นการดําเนนิ งาน 27

การบริหารจดั การ ดวยหลัก 5 ก 28

ปจจัยแหงความสาํ เร็จของการดําเนนิ งานโรงเรียนผูสูงอายุ 29

สวนท่ี 3 โรงเรยี นผู้สูงอายุสู่การพฒั นาสังคม

กจิ กรรมผู้สูงอายุดา้ นการพัฒนาสงั คม 31

แหลง่ เรยี นรูผ้ ้สู งู อายุเทศบาลตาํ บลเชงิ ดอย 39

กจิ กรรมโรงเรยี นผ้สู ูงอายุในยุคโควิด-19 48

สวนที่ 4 สรปุ และขอ้ เสนอแนะ 50

บรรณานุกรม 52

ความเปน็ มาของการจัดการความรู้ 1
(KM : Knowledge Management)

เรือ่ ง โรงเรียนผสู้ งู อายุสู่การพฒั นาสังคม
กรณีศึกษา : โรงเรียนชราบาลวุฒิวิทยาลัย เทศบาลตาบลเชงิ ดอย

สํานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 9 (สสว.9) เป็นส่วนราชการ
ส่วนกลางที่ต้ังอยู่ในส่วนภูมิภาค สังกัดสํานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความม่ันคงของมนุษย์ ซ่งึ จดั ตงั้ ข้นึ ตามกฎกระทรวงแบ่งสว่ นราชการ ตาม พ.ร.บ.
ปรับปรุงกระทรวง ทบวงกรม (ฉบับท่ี 14) พ.ศ. 2548 โดยมีอํานาจหน้าท่ีตาม
กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสํานักงาน ปลัดกระทรวง กระทรวงการพัฒนาสังคม
และความม่ันคงของมนุษย์ พ.ศ. 2549 ดังน้ี 1) พัฒนางานด้านวิชาการเกี่ยวกับการ
พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ให้สอดคล้องกับ พื้นท่ีและกลุ่มเปูาหมาย
2) สง่ เสรมิ และสนับสนุนงานด้านวิชาการ องค์ความรู้ ข้อมูลสารสนเทศ ให้คําปรึกษา
แนะนําแก่หน่วยงานบริการทุกกลุ่มเปูาหมายในพื้นท่ีให้บริการในความรับผิดชอบ
ของกระทรวง รวมทั้ง องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หน่วยงานที่เก่ียวข้ององค์กร
ภาคเอกชน และประชาชน 3) ศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์และสภาพแวดล้อม
เพ่ือคาดการณ์แนวโน้ม ของสถานการณ์ทางสังคมและผลกระทบ รวมทั้งให้ข้อเสนอ
แนะการพฒั นาสงั คมและจดั ทํา ยุทธศาสตรใ์ นพ้นื ทกี่ ลุม่ จังหวดั 4) สนบั สนุนการนิเทศ
งาน ติดตามประเมินผลการดําเนินงาน เชิงวิชาการตามนโยบายและภารกิจของ
กระทรวงในพ้นื ที่กล่มุ จังหวัด ซ่งึ สํานักงานสง่ เสริม และสนับสนุนวิชาการ 9 ได้ดําเนิน
การขับเคลื่อนงานตามภารกิจดังกล่าวในพื้นท่ี 8 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน ได้แก่
เชยี งใหม่ ลําพนู ลําปาง แม่ฮ่องสอน เชยี งราย พะเยา แพร่ น่าน และเป็นกลไกในการ
ขับเคลื่อนภารกิจของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ เพื่อสร้าง
ภูมิคุ้มกันและส่งเสริมโอกาสทางสังคมบนพื้นฐานแห่งความพอเพียงและเสริมประสิทธิภาพ
ทางสังคม ในลักษณะการพัฒนาศักยภาพและสร้างเครือข่ายที่ตอบสนอง ยุทธศาสตร์
ชาติ ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติฉบับท่ี 12 รวมทงั้ เป็นหน่วยเคลื่อนท่ี

ทางวิชาการพัฒนาสังคมบริการแก่หน่วยงานในความรับผิดชอบของกระทรวงฯ
2 องคก์ ร ปกครองส่วนท้องถน่ิ ภาคเี ครือข่ายและประชาชน และพัฒนาแหล่งเรียนรู้เป็น

องค์กรต้นแบบ ด้านการพัฒนาสังคมและจัดสวัสดิการสังคม เพ่ือแลกเปล่ียนความรู้
ส่งผลให้เกิดการปรับเปลี่ยน วิธีการทํางาน ท้ังมิติเชิงพ้ืนท่ี เชิงประเด็น และเชิง
กลุ่มเปูาหมาย สํานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 9 ให้ความสําคัญกับการ
เตรยี มความพรอ้ ม ด้านระบบบรหิ ารจดั การข้อมูล ทรัพยากรและบุคลากร เพ่ือให้เป็น
ศูนย์บริการวิชาการ เสริมสร้างนวัตกรรมทางสังคมที่เหมาะสมกับพ้ืนที่ เป็นศูนย์รวม
การให้บริการคําปรึกษาทาง วิชาการท่ีครบวงจร และเป็นหน่วยเชิงรุกในการส่งเสริม
และสนับสนุนวิชาการให้การปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในความรับผิดชอบของ
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ท้องถิ่น ชุมชน และภาคี
เครือข่ายท่ีเก่ียวข้องให้เกิดการขับเคลื่อนงานท่ีได้มาตรฐาน มีประสิทธิภาพ
และเหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ี รวมท้ัง ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต และมีส่วน
ร่วมในการพัฒนาสังคม ในปี 2563 ได้ดําเนินการโครงการศูนย์บริการวิชาการพัฒนา
สังคมและจัดสวัสดิการสังคม ประจําปี 2563 โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อเป็นศูนย์บริการ
งานวชิ าการ ศูนยพ์ ัฒนาศักยภาพคน ด้านการพัฒนาสังคมและการจัดสวัสดิการสังคม
ท่ีเหมาะสมกับบริบทพื้นที่ รวมท้ังหน่วยเคล่ือนท่ีทางวิชาการเพ่ือให้บริการแก่
หน่วยงานบริการ ทุกกลุ่มเปูาหมายในความรับผิดชอบของกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความม่ันคงของมนุษย์ และภาคีเครือข่ายท่ีเก่ียวข้อง และกลุ่มเปูาหมาย คือ
หน่วยงานในสังกัดกระทรวงการพัฒนา สังคมและความม่ันคงของมนุษย์ และภาคี
เครือข่ายที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือ ตอนบน ประกอบด้วยวิธีการ
ดําเนินงานโดยการรวบรวม สร้าง จัดระเบียบ แลกเปล่ียนและ ประยุกต์ให้ความรู้ใน
องค์กร ภาคีเครือข่าย ร่วมกับการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ เพื่อให้ เกิดการ
ถ่ายทอดความรู้และปัญญา ในพ้ืนที่รับผิดชอบของ สสว. 9 โดยมีข้ันตอนการ
ดําเนินงานการจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) คือ การจัดทํา
แผนปฏิบัติการกิจกรรมการจัดการความรู้ เร่ิมจากการเตรียมคน เตรียม ภาคี โดย
การบูรณาการการจัดการความรู้ในการจัดทํา (Knowledge Management : KM)

การจัดทําเค้าโครงการดําเนินการจัดทําความรู้ ในประเด็นการบ่งชี้ความรู้ 3
การสร้างและ แสวงหาความรู้ เพ่ือการจัดทําความรู้ และการจัดทําแผนปฏิบัติการ
และกิจกรรมการดําเนินการ จัดทําความรู้และการดําเนินการและกิจกรรมในการ
รวบรวมองค์ความรู้ เกี่ยวกับงานพัฒนา สังคมที่ชัดแจ้งในพ้ืนท่ี พัฒนาให้เป็นระบบ
และนําความรู้นั้นขับเคลื่อนการปฏิบัติงาน การประมวลกลั่นกรองความรู้ การจัด
ความรู้ใหเ้ ป็นระบบ การเขา้ ถึงความรู้ การแลกเปล่ยี น แบง่ ปันความรู้ การส่งเสริมการ
เรียนรู้ การสรุปบทเรียนการดําเนินงานการบูรณาการ การจัดการความรู้
การขับเคลื่อนการดําเนินงานการนําการจัดการความรู้ไปใช้ประโยชน์ การจัดทํา
รายงานการจัดการความรู้ รูปเล่มองค์ความรู้ รวมถึงการรายงานความก้าวหน้า
การดําเนินงาน

4 การจดั การความรู้

(KM : Knowledge Management)

คอื การรวบรวม สรา้ ง จัดระเบียบ แลกเปล่ียน และประยุกตใ์ ช้
ความรู้ในองค์กร โดยพัฒนาระบบจากข้อมูล ไปสู่สารสนเทศ เพ่ือให้เกิดความรู้
และปัญญา รวมทง้ั เพื่อประโยชน์ ในการนําไปใช้และเกิดการเรียนรภู้ ายในองค์กร

การดาเนนิ การจดั การความรู้ (KM Process)
1. การบง่ ชีค้ วามรู้ (ความรู้หลกั คือ อะไร อยทู่ ไ่ี หน ยังขาดอะไร)
2. การสรา้ งและแสวงหาความรู้ (จะหามาไดอ้ ย่างไร สรา้ งไดอ้ ย่างไร)
3. การประมวลและกล่ันกรองความรู้ (ปรบั ปรุงเนอ้ื หา ภาษา และ
รปู แบบข้อมูล)
4. การจัดความรูใ้ ห้เปน็ ระบบ (จัดหมวดหมู่และเกบ็ เป็นระบบ)
5. การเขา้ ถึงความรู้ (กําหนดวธิ ีการเข้าถึงความรทู้ ีจ่ ดั เก็บไว้)
6. การแลกเปลีย่ นแบง่ ปันความรู้ (กําหนดวิธีการและชอ่ งทางการ
ถา่ ยทอดความร)ู้
7. การเรยี นรู้ (ส่งเสรมิ ใหม้ กี ารนาํ ความรูไ้ ปใช้เพอ่ื เกดิ การเรียนรู้ใน
องค์กร : เกิดองค์ความร้ใู หม่)
การดาํ เนินการจัดการความรู้ Change Management Process
ด้วยการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทําให้คนในองค์กรอยากเป็นทั้งผู้ให้และผู้รับความรู้
มีการสื่อสาร ให้ทุกคน เข้าใจ มีกระบวนการ เคร่ืองมือ การให้ความรู้เรื่องการจัดการ
ความรู้ การวัดผล การดําเนินการ ตามแผน ผลผลิตและผลลัพธ์ท่ีได้ รวมถึงการยกย่อง
ชมเชย ใหร้ างวัล เพ่ือเปน็ แรงจูงใจให้คน ในองคก์ รสนใจการจดั การความรู้ เพ่ือพัฒนา
คน พฒั นางาน และพัฒนาองค์กร ส่งผลให้ ผลสัมฤทธิ์ของงานดีข้ึน หรือได้นวัตกรรม
ใหม่ บุคลากรเกิดการพัฒนาการเรียนรู้ เกิดชุมชน การเรียนรู้ ความรู้ขององค์กร
มีการจัดระบบและสัง่ สมไว้พร้อมทีจ่ ะนาํ ไปใช้ประโยชน์ สูอ่ งคก์ รเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้

ส่วนที่ 1 5

บทนา

โรงเรยี นผสู้ ูงอายคุ ืออะไร

โรงเรียนผูส้ ูงอายุ เป็นรูปแบบหน่งึ ในการสง่ เสรมิ การเรียนรู้ตลอดชีวิต การจัดการ
ศึกษา การพัฒนาทักษะเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และกิจกรรมของโรงเรียน
ผสู้ ูงอายจุ ะเป็น เร่อื งทผ่ี ้สู งู อายุสนใจและมคี วามสาํ คญั ต่อ การดาํ เนนิ ชีวิต ช่วยเพ่ิมพูน
ความรู้ ทักษะชีวิตท่ีจําเป็น โดยวิทยากรจิตอาสาหรือจากหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
ขณะเดียวกันก็เป็นพ้ืนท่ีที่ผู้สูงอายุจะได้แสดงศักยภาพ โดยการถ่ายทอดภูมิความรู้
ประสบการณ ์ ท่ีสัง่ สมแก่บคุ คลอืน่ เพื่อสบื สานภมู ปิ ญั ญาใหค้ งคุณค่าคู่กับชมุ ชน

โรงเรียนผู้สูงอายุหลายแห่งตั้งข้ึนโดยใช้อาคารเรียนเก่าของโรงเรียนท่ีเลิก
กิจการหรือตั้งอยู่ในชุนชมรมผู้สูงอายุ ภายในวัด บางแห่งใช้บ้านของผู้ริเร่ิมก่อตั้งเป็น
สถานท่ีดําเนินการการจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุในระยะแรก อาจเป็นเพียงการรวมกลุ่ม
พบปะพดู คุยกัน แล้วจงึ ค่อย ๆ มีรูปแบบชัดเจนข้ึน มีกิจกรรมท่ีหลากหลายตามความ
ต้องการของผู้สงู อายหุ รืออาจเป็นการขยายกิจกรรมจากท่ีมกี ารดําเนินการอยู่แล้ว เช่น
ศูนย์บริการทางสังคมแบบมีส่วนร่วม (ศาลาสร้างสุข) ศูนย์สามวัย ธนาคารความดี
เป็นต้น โรงเรียนผู้สูงอายุสามารถมีรูปแบบและกิจกรรมท่ีหลากหลาย ท้ังน้ี ข้ึนอยู่กับ
บริบทของพ้ืนที่ ความต้องการของผู้สูงอายุ การจัดกิจกรรมของโรงเรียนผู้สูงอายุ
จะกําหนดตารางกิจกรรมในแตล่ ะสัปดาหไ์ ว้ชัดเจน ระยะเวลาเปิดเรียนอาจเป็นตลอด
ปี หรอื เปดิ เป็นช่วงเวลาตามหลักสูตรที่จัดอบรมสว่ นใหญ่จะจัดกิจกรรมสัปดาห์ละ 1 วัน

6 วตั ถปุ ระสงค์ของโรงเรยี น

1. เพือ่ สง่ เสริมการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ และการจัดการเรยี นรตู้ ลอดชีวิตของผสู้ งู อายุ
2. เพื่อส่งเสรมิ การพฒั นาตนเอง การดูแล คุ้มครอง และพิทักษ์สิทธผิ ู้สูงอายุ
3. เพอ่ื เสริมสรา้ งสขุ ภาพทีด่ ีของผสู้ ูงอายุทง้ั ด้านรา่ งกายและจติ ใจ
4. เพื่อสง่ เสริมใหผ้ ูส้ ูงอายสุ ร้างสรรค์ประโยชนแ์ กช่ มุ ชนและสงั คม
5. เพือ่ เสริมสรา้ งศกั ยภาพ คณุ ค่าภมู ิปัญญาผสู้ งู อายุใหเ้ ป็นที่ประจักษแ์ ละยอมรบั
6. เพ่อื ส่งเสรมิ ภมู ปิ ญั ญาและวฒั นธรรมทอ้ งถิ่นใหด้ าํ รงสืบทอดต่อไป

กรอบแนวคดิ โรงเรียนผูส้ งู อายุ

โรงเรียนผู้สูงอายุ ดําเนินการภายใต้แนวคิดการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้
ตลอดชีวิตของผ้สู งู อายุท่ีมีศักยภาพ เพ่ือให้ผู้สูงอายุได้เรียนรู้ พัฒนาทักษะในการดูแล
ตนเอง ซึ่งจะนําไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ โดยอยู่บนพื้นฐานแนวคิดท่ีว่า
“ผู้สูงอายุมีคุณค่าและมีศักยภาพ ควรได้รับการส่งเสริม สนับสนุนให้มีส่วนร่วมทํา
ประโยชน์ให้สังคม และส่งเสริมการเรียนรู้ให้ผู้สูงอายุ โดยเชื่อมโยงกับประสบการณ์
ของผ้สู ูงอายุ สาระการเรียนรู้จะต้องทําให้ผู้สูงอายุสามารถนําไปใช้ได้จริงในชีวิตปัจจุบัน
เพิ่มโอกาสในการรวมกลุ่มในลักษณะเครือข่ายหรือชุมชน” การดําเนินงานโรงเรียน
ผู้สูงอายุแบบมีส่วนร่วม โดยทุกภาคส่วน “ร่วมคิด ร่วมทําร่วมสร้าง” และมีส่วนร่วม
ในการดาํ เนินงาน การจัดการเรยี นร้ใู ห้ผูส้ งู อายุเพ่ือให้ผู้สูงอายุมีความสุข เกิดทักษะใน
การดูแลตนเอง มีคณุ ภาพชีวติ ทดี่ ี

7

เครือ ชมรม อปท.

- พมจ. ขา่ ย - รพ.สต. ผู้สูงอายุ - สนบั สนุนการ
- สนบั สนุนความคิด ดาเนินงาน
- กศน. - ผู้นาทางศาสนา - การทางาน - การประสาน
- ศคพ. - การขับเคลอ่ื น ความร่วมมือ
- อาเภอ กิจกรรม เครือขา่ ย
- อาสาสมคั ร

แผน/กจิ กรรม โรงเรียน คณะกรรมการ

กิจกรรมภายในโรงเรยี น ผสู้ งู อายุ ดาเนินงาน

- ให้ความรูด้ ้านต่างๆ * กาย 5ก
- นันทนาการ * จติ (กลมุ่ /กรรมการ/กติกา/กจิ กรรม/
- ฝกึ อาชพี * อารมณ์/สตปิ ัญญา
- ถ่ายทอดภูมปิ ญั ญา * สังคม กองทุน)
- ศิลปวัฒนธรรม
- สมนุ ไพร/ธรรมชาตบิ าบัด คุณภาพชีวติ ร่วมคดิ จะทาอะไรจึงจะเกดิ
ทีด่ ขี อง ประโยชน์กับผูส้ ูงอายุ
กิจกรรมภายนอกโรงเรียน ผู้สูงอายุ
ร่วมทา ทาเพอื่ ให้เกดิ การพัฒนา
- ศาสนา/ประเพณี ในชมุ ชน คณุ ภาพชวี ิตของคนทุกวัย
- ทศั นศกึ ษา
- อาสาสมคั ร/ รว่ มสรา้ ง สร้างชุมชนท่ีเปน็ สุข
บาเพญ็ ประโยชน์ ดว้ ยมือของทกุ คน
- เย่ียมเยยี นผูส้ งู อายุ ฯลฯ

8

ประโยชนท์ ีผ่ ู้สงู อายุไดร้ ับจากโรงเรยี นผสู้ ูงอายุ

1. ดา้ นสขุ ภาพรา่ งกาย ทาํ ให้มีสุขภาพแข็งแรง กระฉับกระเฉง ลดความเสี่ยง
จากการเจ็บปวุ ยลดระยะเวลาการพงึ่ พาผอู้ ่ืน อายยุ ืน

2. ด้านจิตใจ ช่วยให้คลายเหงา จิตใจกระชุ่มกระชวย สดชื่น รู้สึกภาคภูมิใจ
และตระหนกั ในคณุ คา่ ความสามารถของตนเอง มีมุมมองเชงิ บวกต่อตนเอง

3. ด้านสังคม มีความสัมพันธ์ที่ดีกับคนวัยเดียวกันและคนต่างวัย ได้รับการ
ยอมรับในฐานะสมาชิกของกลมุ่

4. ด้านจิตปัญญา รู้เท่าทันและเข้าใจส่ิงต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้น สามารถปรับตัว
และดาํ เนนิ ชีวติ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมตามวยั

5. ด้านเศรษฐกิจ เรียนรู้ทักษะทางด้านอาชีพ สามารถนําไปประกอบอาชีพ
สร้างงานสรา้ งรายได้ ชว่ ยเหลอื ตนเองต่อไป

ประโยชนต์ อ่ ชมุ ชนและสงั คม

1. โรงเรียนผู้สูงอายุเป็นพื้นที่เรียนรู้และถ่ายทอดประสบการณ์ ภูมิปัญญา
และวัฒนธรรมท้องถนิ่ ใหด้ าํ รงสบื ทอดเปน็ เอกลกั ษณข์ องชุมชน

2. โรงเรียนผู้สูงอายุเป็น “เวที” ที่เปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการทํา
ประโยชน์ตอ่ ชมุ ชนและสังคม รวมทั้งอาจเป็นแรงผลักดันให้เข้าร่วมเป็นอาสาสมัครใน
ชมุ ชน

ข้อมูลทั่วไปของเทศบาลตาบลเชงิ ดอย 9

ประวัติความเป็นมาของเทศบาลตําบลเชิงดอยเทศบาลตําบลเชิงดอย ตั้งอยู่
บริเวณหนองบัวพระเจ้าหลวง เป็นแหล่งน้ําธรรมชาติมีเนื้อที่ 102 ไร่ ต้ังอยู่หมู่ท่ี 12
ตําบลเชิงดอย อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ เป็นท่ีรองรับนํ้าฝนและน้ําจาก
แหล่งนํ้าแม่ดอกแดง ซ่ึงไหลผ่านลําเหมืองเข้าสู่หนองนํ้าแดง หนองบัวด้านเหนือ
และด้านใต้ แต่เดิมนั้นหนองบัวมีพื้นท่ีกว้างขวางกว่าปัจจุบันมากชาวบ้านสามารถใช้
นาํ้ ในหนองบัวไปทํานาและเป็นที่อยู่ของนกเป็ดน้ําจํานวนหลายพันตัว ตามตํานานวัด
ดอยสะเก็ดได้กล่าวถึงหนองบัวพระเจ้าหลวงแห่งนี้ว่า มีพญานาคสอง สามี-ภรรยา
อาศัยอยู่ในหนองบัวซึ่งในหนองบัวแห่งนี้ จะเต็มไปด้วยดอกบัวมากมาย สมเด็จ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้เสด็จประทับท่ีดอยพระบาทตีนนก ในเขตอําเภอสันทราย
ขณะน้ันทรงทอดพระเนตรไปทางทิศใต้ ได้พบหนองบัวอันกว้างใหญ่ สมเด็จพระ
สัมมาสัมพุทธเจ้าจึงได้เสด็จประทับอยู่บนภูเขาลูกนั้น และทรงเปล่งฉัพพรรณรังสีให้
พญานาคสองสามีภรรยา ซึ่งกําลังหากินอยู่บริเวณหนองนํ้าแห่งนี้ได้เห็น พญานาคท้ัง
สองเห็นเป็นอัศจรรย์ยิ่งนักก็เกิดความเลื่อมใส จึงได้จําแลงกายเป็นมนุษย์ แสร้งเก็บ
ดอกบัวในหนองน้ําไปถวายพระพุทธเจ้าเป็นพุทธบูชา พร้อมท้ังทูลขอเส้นพระเกศา
ของสมเด็จพระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ เพ่อื เกบ็ ไวบ้ ชู า โดยได้สรา้ งเจดียส์ วมทับเส้นพระเกศา
ของสมเดจ็ พระสมั มาสัมพุทธเจ้าไว้บนเขาลูกน้ี และได้เรียกเขาลูกนี้ว่า “ดอยเส้นเกศ”
ซ่งึ ดอยตามภาษาพนื้ เมืองหมายถงึ ภูเขา ต่อมาไดเ้ พ้ยี นเป็น “ดอยสะเก็ด”

สว่ นอีกตาํ นานหน่งึ เลา่ วา่ คําว่า “ดอยสะเก็ด” มาจากคําว่า สระ ซ่ึงหมายถึง
การไซ้ หรือทําความสะอาด เก็ด ก็คือเกล็ด ซ่ึงเป็นเกล็ดของพญานาคท่ีอาศัยอยู่ใน
หนองน้ําแห่งนี้ ซึ่งสมัยพุทธกาล พญานาคสองตัวที่อาศัยอยู่ในหนองบัวจะออกมา
ชําระร่างกาย พอเสร็จกิจแล้วก็จะพากันขึ้นไปตากเกล็ดบนภูเขาท่ีอยู่ใกล้ๆ หนองบัว
ภูเขาลูกน้ีจึงได้ช่ือว่า “ดอยสะเก็ด” และใช้เป็นช่ือของอําเภอจนกระท่ังถึงปัจจุบัน
เมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2505 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนาง
เจ้าพระราชินีนาถได้เสด็จพระราชดําเนินพร้อมด้วย พระเจ้ากรุงเดนมาร์กและพระราชินี

อินดริกเพื่อประทับสําราญพระราชฤทัยและอิริยาบท ถือว่าเป็นประวัติศาสตร์ ท่ีสําคัญ
10 ของเทศบาลตําบลเชิงดอย

1. สภาพทว่ั ไป

1.1 ท่ีต้ัง

ตําบลเชิงดอยเป็นพ้ืนที่ตั้งของที่ว่าการอําเภอดอยสะเก็ด เทศบาลตําบลเชิง

ดอยแบ่งเปน็ 2 ส่วนโดยมี เทศบาลตําบลดอยสะเก็ดก้ันกลาง พ้ืนที่ส่วนบน จํานวน 6

หมู่บา้ น ส่วนล่าง 5 หมบู่ ้าน

1.2 เน้ือที่
เทศบาลตําบลเชงิ ดอยมเี น้ือที่ประมาณ 63.00 ตารางกโิ ลเมตร หรือประมาณ

39,375 ไร่ โดยแยกเป็นรายหมู่บา้ นดงั น้ี

หมู่ท่ี 1 บ้านแม่ดอกแดง มเี นอ้ื ที่ 21.10 ตารางกิโลเมตร

หมู่ที่ 2 บา้ นโพธทิ์ องเจรญิ มเี นอ้ื ท่ี 6.42 ตารางกิโลเมตร

หมู่ที่ 4 บ้านปุาคา มเี นื้อที่ 1.00 ตารางกโิ ลเมตร

หมู่ที่ 5 บ้านเกาะ มเี นื้อที่ 3.18 ตารางกิโลเมตร

หมู่ท่ี 6 บา้ นสนั อุ้ม มเี นื้อท่ี 5.26 ตารางกิโลเมตร

หมู่ที่ 7 บ้านร้องขเ้ี หล็ก มีเนอ้ื ท่ี 6.46 ตารางกิโลเมตร

หมทู่ ี่ 9 บ้านปุาสกั น้อย มเี น้ือที่ 4.45 ตารางกโิ ลเมตร

หมู่ท่ี 10 บา้ นปาุ ไผศ่ รีโขง มีเนอื้ ที่ 2.46 ตารางกิโลเมตร

หมู่ท่ี 11 บา้ นกวิ่ แล มีเนอ้ื ที่ 4.77 ตารางกิโลเมตร

หม่ทู ี่ 12 บา้ นปทุมนเิ วศน์ มีเนอื้ ท่ี 6.35 ตารางกโิ ลเมตร

หมทู่ ี่ 13 บา้ นหนองบัวพัฒนา มเี นื้อท่ี 1.55 ตารางกิโลเมตร

1.3 อาณาเขตติดต่อ
ทศิ เหนอื ตดิ ตอ่ เทศบาลตําบลลวงเหนอื และเทศบาลตาํ บลปาุ เม่ยี ง
ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอ่ เทศบาลตําบลแมโ่ ปุงและเทศบาลตําบลปาุ เมยี่ ง

ทิศใต้ ตดิ ตอ่ เทศบาลตําบลปาุ ปูอง 11
ทศิ ตะวันตก ตดิ ตอ่ เทศบาลตาํ บลลวงเหนอื และเทศบาลตําบลหนองแหยง่

อําเภอสันทราย

1.4 ลกั ษณะภมู ิประเทศ
สภาพภูมิประเทศของตําบลเชิงดอย บางส่วนเป็นภูเขาท่ีมีปุาไม้สมบูรณ์

บางส่วนเป็นที่ราบเชิงเขา และบางส่วนเป็นที่ราบลุ่มมีคลองส่งน้ําชลประทานจาก
เขื่อนแม่กวงอุดมธาราไหลผ่าน และมีหนองนํ้าธรรมชาติท่ีสําคัญคือ หนองบัวพระเจ้า
หลวง ลํานาํ้ แมด่ อกแดง และหนองนํ้าแดง

1.5 ลักษณะภูมิอากาศ
12 เทศบาลตําบลเชิงดอยอยู่ภายใต้อิทธิพลลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และลม

มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมฤี ดกู าล 3 ฤดู ไดแ้ ก่ ฤดฝู น ฤดหู นาวและฤดรู อ้ น
ฤดฝู น เร่ิมประมาณกลางเดือนพฤษภาคม ถึงประมาณเดือน
ตุลาคมของทุกปี โดยรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียง
ใต้ที่พัดมาจากมหาสมุทรอินเดีย ทําให้เกิดฝนตกชุก
โดยท่วั ไป
ฤดหู นาว เริ่มประมาณกลางเดือนตุลาคมไปจนถึงประมาณเดือน
กุมภาพันธ์ของทุกปี โดยได้รับอิทธิผลจากลมมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือซ่ึงพัดมาจากประเทศจีน ซ่ึงนําความ
แหง้ แล้งและหนาวเยน็ มาส่พู นื้ ท่ี
ฤดรู ้อน เร่ิมประมาณเดือนกุมภาพันธ์ไปจนถึงกลางเดือนเมษายน
เป็นช่วงเปล่ียนผ่านของมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือไปเป็น
มรสมุ ตะวักตกเฉยี งใต้ อากาศชว่ งนีค้ ่อนขา้ งร้อน
นอกจากนี้บางคร้ังยังมีลมพายุจร พายุหมุนเขตร้อนและดีเปรสชั่นพัดมาจาก

ทะเลจีนใตท้ ําใหฝ้ นตกหนกั ในช่วงประมาณเดือนสงิ หาคมและกันยายนของทุกปี

1.6 หมบู่ ้านท่ีอยใู่ นเขตพ้ืนท่ีรบั ผดิ ชอบ จานวน 11 หมู่บา้ น ประกอบดว้ ย

1.6.1 จาํ นวนหมบู่ า้ นท่มี พี ื้นท่ีเตม็ ของหมู่บา้ น จาํ นวน 8 หมู่บา้ น คอื

หมทู่ ี่ 1 บ้านแมด่ อกแดง หม่ทู ี่ 5 บา้ นเกาะ

หมู่ที่ 6 บ้านสันอมุ้ หมู่ที่ 7 บา้ นร้องข้ีเหล็ก

หมทู่ ี่ 9 บ้านปุาสักน้อย หม่ทู ่ี 10 บา้ นปุาไผ่ศรีโขง

หมู่ท่ี 11 บา้ นกิว่ แล หมทู่ ่ี 13 บ้านหนองบัวพัฒนา

1.6.2 จาํ นวนหมบู่ า้ นทม่ี พี ้ืนทีบ่ างสว่ นอยูใ่ นเขตเทศบาล จาํ นวน 3 หมบู่ ้าน คือ 13

หมู่ท่ี 2 บา้ นโพธทิ์ องเจริญ

หมู่ท่ี 4 บา้ นปาุ คา

หมู่ท่ี 12 บา้ นปทุมนิเวศน์

1.7 ประชากร
ประชากร มีจํานวนประชากรทั้งส้ิน 7,399 คน แยกรายหมู่บา้ น มีรายละเอียดดังน้ี

หมู่ หมบู่ ้าน จานวนประชากร(คน) จานวน ผ้นู าชุมชน
ที่ ครวั เรอื น
ชาย หญิง รวม (หลังคา นายมงคล ชยั วุฒิ
1 บา้ นแม่ดอกแดง เรอื น) นายบญุ เลิศ คําคลอ่ ง
2 บา้ นโพธทิ์ อง 762 787 1,549
419 445 864 698
เจรญิ 406
4 บา้ นปุาคา 15 7 22
5 บ้านเกาะ 136 170 306 7 นายสุพจน์ คํามามูล
6 บา้ นสันอุ้ม 444 480 924 157 นายวฒั นา สารภี
7 บา้ นรอ้ งขเ้ี หล็ก 415 476 891 471 นายพรหมบาล ศรีคาํ มา
9 บ้านปุาสักนอ้ ย 264 307 571 388 นายลือชัย จอมธิ
10 บ้านปุาไผ่ศรโี ขง 148 184 332 238 นางสาวโสรัตยา บวั ชมุ
11 บ้านกิ่วแล 260 288 548 133 นายธวัช จิตตาทพิ ย์
12 บ้านปทมุ นิเวศน์ 533 559 1,092 231 นายอ่นิ คํา สิทธคิ ํา
13 บ้านหนองบวั 146 153 299 481 นางวรมล จติ จรูญพันธุ์
122 นายนคร สกจิ กัน
พัฒนา 3,538 3,856 7,394
รวม 3,332

เทศบาลตําบลเชิงดอยมจี าํ นวนประชากร 7,011 คน แยกเป็นชาย 3,441 คน คิดเป็น
14 ร้อยละ 49 เป็นหญิง 3,588 คน คิดเป็นร้อยละ 51 (ที่มา :สํานักทะเบียนราษฎร

อําเภอดอยสะเกด็ ข้อมูล ณ เดือนพฤษภาคม 2563)

2. สภาพทางเศรษฐกิจ 51 %
14 %
2.1 อาชพี ของประชากร 12 %
- อาชีพเกษตรกร 10 %
- อาชีพรบั จ้างท่ัวไป 13 %
- อาชีพรับราชการ
- อาชีพค้าขาย 1 แหง่
- อนื่ ๆ
19 แหง่
2.2 การท่องเที่ยว
- หนองบัวพระเจ้าหลวง 3 แหง่
33 แหง่
2.3 อตุ สาหกรรม 11 แหง่
- โรงงาน 5 แหง่
8 แหง่
2.4 การพาณชิ ย์และกลุ่มอาชีพ 2 แหง่
- โรงสีขา้ ว 8 แหง่
- รา้ นขายสนิ ค้าเบ็ดเตล็ด 3 แหง่
- ร้านขายอาหาร 2 แห่ง
- รา้ นซ่อมรถยนต/์ จักรยานยนต์ 3 แห่ง
- ปัม๊ น้ํามันหลอด 11 แห่ง
- ร้านรบั ซื้อของเก่า
- รา้ นอาหารและเครือ่ งด่ืม
- ฟารม์ หรือโรงเลี้ยงสัตว์
- บ้านจัดสรร
- อ่เู ชอื่ มหรอื อ๊อกเหล็ก
- กิจการประเภทอนื่

3. สภาพทางสังคม 15

3.1 การศึกษา 2 แหง่
- โรงเรียนประถมศึกษา 2 แหง่
- โรงเรียนประถมศึกษา-มธั ยมศึกษาตอนตน้ 4 แห่ง
- ศูนย์พฒั นาเดก็ เล็ก(พช. กรมศาสนา, โรงเรยี น)
11 แหง่
3.2 สถาบนั และองค์กรทางศาสนา
- วดั / สาํ นกั สงฆ์ 9 แหง่
3 แหง่
3.3 การสาธารณสขุ และองค์กร 143 คน
- ศนู ยส์ าธารณสุขมลู ฐานประจาํ หมู่บา้ น 100 %
- รา้ นขายยาปจั จบุ ัน
- สมาชิก อสม. 1 แหง่
- อตั ราการมสี ว้ มราดน้าํ 1 แหง่
1 แหง่
3.4 ความปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ย์สนิ
- สถานตี ํารวจภูธร
- ศูนยป์ อู งกันและบรรเทาสาธารภยั
- ศนู ย์ปูองกนั ภัยฝาุ ยพลเรือนภาคเหนือ

4. การบริการพน้ื ฐาน 11 สาย
90 %
4.1 การคมนาคม 10 %
- ถนนคอนกรีต-ลาดยางเชอ่ื มตอ่ ระหว่างหมู่บา้ น
- ถนนคอนกรีตและถนนลาดยาง
- ถนนหนิ คลกุ และถนนลกู รงั

4.2 การไฟฟา้
ทุกหลังคาเรือนภายในเขตเทศบาลตําบลเชิงดอย มีไฟฟูาใช้

ครอบคลุมทุกชุมชน และมีการดําเนินการขยายเขตไฟฟูาสารธารณะอย่างต่อเน่ือง

สําหรับไฟฟูาท่ีชํารุดเสียหาย มีงานซ่อมบํารุงของกองช่างดูแลครอบคลุมทั้งเขต
16 เทศบาล เพอ่ื ความสะดวกตอ่ ประชาชนทใ่ี ช้เส้นทางในการสัญจรไปมาในเวลากลางคืน

4.3 แหล่งนา้ ธรรมชาติ

- ลาํ นาํ้ ,ลาํ หว้ ย ,แมน่ า้ํ 5 สาย

- หนอง,บึง,อน่ื ๆ 6 แห่ง

4.4 แหล่งนา้ ที่สร้างขนึ้ 7 แหง่
- ประปาหมบู่ ้าน 8 แหง่
- บอ่ บาดาล (สาธารณะ) 7 แห่ง
- ฝายขนาดกลาง

5. ขอ้ มูลอ่นื ๆ 4 แห่ง
2 แห่ง
5.1 ทรัพยากรธรรมชาตใิ นพ้ืนที่
-หนองนา้ํ ธรรมชาติ 11 หม่บู า้ น
-สถานทท่ี ่องเท่ยี ว 11 หมบู่ ้าน
11 หมู่บา้ น
5.2 มวลชนจัดตง้ั
- ลกู เสอื ชาวบ้าน
- ไทยอาสาปูองกันชาติ
- กองหนนุ เพ่ือความมั่งคงด้านยาเสพตดิ

ประวัติของโรงเรียนชราบาลวฒุ ิวิทยาลัย 17

โรงเรียนชราบาลวุฒิวิทยาลัย เป็นโรงเรียนท่ีเกิดจากแนวคิดของผู้บริหาร
ของเทศบาลตําบลเชิงดอย ซง่ึ ได้จัดตง้ั ขึ้นด้วยวัตถุประสงค์ในการดูแลผู้สูงอายุในพื้นท่ี
ของตําบลเชิงดอย โดยได้ร่วมกับส่วนราชการ กลุ่มองค์กรภาคประชาชนในพ้ืนที่
และการสนับสนุนของพระเดชพระคุณเจ้าหลวงพ่อพระโพธิรังษี เจ้าคณะอําเภอดอย
สะเก็ด (เจ้าอาวาสวัดพระธาตุดอยสะเก็ด) เพ่ือดําเนินกิจกรรมในการดูแลพัฒนา
คุณภาพชีวิตของผ้สู งู อายุ เชน่ การตรวจสุขภาพผู้สูงอายุ ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ
กาย สุขภาพจิต การส่งเสริมการออกกําลังกาย การเรียนรู้วัฒนธรรมและภูมิปัญญา
สง่ เสริมการปฏบิ ตั ิธรรม และเรียนรู้ดา้ นเทคโนโลยีตา่ งๆ เป็นต้น

เทศบาลตําบลเชิงดอย ถือเป็นนโยบายท่ีสําคัญในการปฏิบัติต่อผู้สูงอายุ
อันเป็นภารกิจหลักท่จี ะต้องดาํ เนินการอย่างเตม็ ที่ และต่อเน่ืองควบคู่ไปกับการดําเนิน
กิจกรรมของกลุ่มอ่ืนๆ ในสังคม เช่น เด็ก เยาวชน และสตรี เพื่อคุณภาพชีวิตท่ีดีของ
ทุกคนในสังคม ซึ่งเทศบาลตําบลเชิงดอยได้จัดทําโครงการระบบการดูแลและพัฒนา
คณุ ภาพชีวติ ของผูส้ ูงอายุในนาม “โรงเรียนชราบาลวุฒิวทิ ยาลยั ”เพื่อให้เกิดการเรียนรู้
ของผสู้ งู อายุ โดยเล็งเห็นว่าผสู้ งู อายเุ ปน็ บุคคลท่มี ภี ูมิปัญญาในการทําคุณประโยชน์ต่อ
สงั คม และเป็นแบบอย่างการใช้ชีวติ ท่ดี ีให้แก่อนุชนรุ่นหลัง เพราะผู้สูงอายุถือว่าเป็นปู
ชนยี บคุ คลของสังคมที่มคี ุณคา่ ย่งิ สบื เนื่องจากผ่านประสบการณ์ของการดําเนินชีวิตมา
มากมาย เคยเป็นกาํ ลังสําคญั ของสังคมมาก่อน มคี วามรู้ มที ักษะ อนุรักษ์ และสืบทอด
ประเพณวี ัฒนธรรมท้องถนิ่ จงึ จาํ เป็นอย่างยิ่งท่ีคนรุ่นหลังจะต้องให้ความสําคัญในการ
ยกย่องให้การดูแลผู้สูงอายุเหล่านี้ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งด้านสุขภาพกายและจิตใจ
อันเป็นการยกย่องและเชิดชูเกียรติให้ผู้สูงอายุ สามารถดํารงชีวิตอยู่ในสังคมอย่าง
มีความสุข

โรงเรียนชราบาลวุฒิวทิ ยาลัย เกิดขึ้นจากการริเริ่มของเทศบาลตําบลเชิงดอย
เพอ่ื ตอบโจทยเ์ กย่ี วกับสขุ ภาพผสู้ ูงอายุ ในการเตรยี มเขา้ สู่สังคมผสู้ ูงอายุ ในช่วงเร่ิมต้น
ต้องการให้ผู้สูงอายุมีรายได้ แต่ปรากฏว่าผู้สูงอายุบอกว่ารายได้ไม่ใช่ส่ิงสําคัญ อาชีพ

ทําเป็นมาต้ังแต่เด็ก จึงเป็นท่ีมาแนวคิดให้เป็นโรงเรียนแห่งความสุข เน้นสันทนาการ
18 จนทําให้ผู้สูงอายุหายจากโรคซึมเศร้า โรคอัลไซเมอร์ ในช่วงเร่ิมต้นก่อต้ังโรงเรียน

มีผู้สูงอายุมาเรียน 100 คน ปัจจุบันมีถึง 400 คน มีผู้สูงอายุ ท่ีปุวยเป็นโรคซึมเศร้า
และโรคอัลไซเมอรห์ ายจากอาการของโรคประมาณ 4-5 คน

ปจั จุบนั โรงเรยี นชราบาลเปน็ ต้นแบบของการโรงเรียนผสู้ ูงอายุซึ่งก่อนหน้าน้ัน
ได้รับการสนับสนุนงบประมาณและยกย่องจาก สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง
เสริมสุขภาพ (สสส.) นอกจากนี้เทศบาลได้จัดสรรงบประมาณสมทบกับงบรายหัวใน
การปูองกนั สขุ ภาพของสาํ นกั งานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ปีละประมาณ
8 แสนบาท ในการจัดกิจกรรม ในทุกวันพุธจะเปิดโรงเรียน โดยเทศบาลจะจัดรถไป
รับส่งผู้สูงอายุจากบ้านให้มารวมตัวท่ีหอประชุมของเทศบาลพร้อมสนับสนุนอาหาร
กลางวนั

ระบบสังคมที่จะรองรับผู้สูงอายุจะต้องมีกลไกท่ีไม่ปล่อยให้ผู้สูงอายุอยู่บ้าน
คนเดยี ว สุ่มเสี่ยงทจี่ ะเกิดโรคซึมเศร้า เทศบาลตําบลเชิงดอยเป็นท้องถ่ินตัวอย่างของ
การพัฒนา รูปแบบท่ีเห็นคือการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุ คือการทํากิจกรรมร่วมกัน
อย่างน้อยทําให้สุขภาพจิตของผู้สูงอายุดีขึ้น ซึ่งการขับเคลื่อนโรงเรียนผู้สูงอายุต่อไป
จะเชญิ ชวนให้ชมุ ชน โดยเฉพาะวัด หรอื พระมาร่วมด้วย ให้เป็นสถานท่ีรวมตัว การจัด
กิจกรรมทางใจ ฟังเทศน์ฟังธรรม นอกจากน้ี วัดยังมีศักยภาพในการดูแลผู้ปุวยเร้ือรัง
มีตัวอย่างของวัดธรรมประมงใช้วัดเป็นสถานที่ฟ้ืนฟูดูแลสุขภาพ โดยเฉพาะผู้ปุวยโรค
เรื้อรัง เป็นลักษณะของสังคมบําบัด ซึ่งท้ายที่สุดชุมชนจะต้องมาร่วมกันในการพัฒนา
คุณภาพชวี ติ รว่ มกนั

ด้าน นายชุติพนธ์ สารแปง นายกเทศมนตรีตําบลเชิงดอย อ.ดอยสะเก็ด
เปิดเผยว่า พิธีมอบปริญญาครั้งนี้เป็นส่วนหน่ึงของโครงการมหกรรมรวมพลคนรัก
สุขภาพของ สปสช. เพอ่ื ใหผ้ ู้สงู อายุและประชาชนท่วั ไปเข้าถงึ สิทธิหลักประกันสุขภาพ
ตลอดจนเข้าถึงบริการสุขภาพอย่าเหมาะสมและทั่วถึง และเป็นการแลกเปล่ียน
นวัตกรรมสขุ ภาพจาก 7 กองทนุ เพ่อื ใหส้ ามารถนาํ ไปปรับใชแ้ ละตอ่ ยอดต่อไป

นอกจากน้ียังให้ให้ผู้สูงอายุรู้สึกภูมิใจและเห็นคุณค่าของตัวเอง และให้สังคมไทย
ตระหนกั ถงึ สงั คมผูส้ งู อายุมากข้ึน โดยเฉพาะปญั หาโรคซึมเศร้าที่หลังจากเปิดโรงเรียน 19
ชราบาลมาตง้ั แต่ปี 2556 ทําให้พบว่าผู้สงู อายุสว่ นใหญ่อยู่ในภาวะซึมเศร้า และการได้
เขา้ ร่วมกจิ กรรมในโรงเรยี นผ้สู ูงอายุทําสุขภาพจติ ของผู้สงู อายุดขี น้ึ

ผู้สูงอายุจํานวน 728 คน สวมชุดครุยเข้ารับประกาศนียบัตร ปริญญาชีวิต
บัณฑิตปัจฉิมวัย หลังจบหลักสูตรของโรงเรียนชราบาล โดยบรรยากาศในงานไม่ต่าง
จากการรับปริญญาของนักศึกษาท่ัวไป ท่ามกลางลูกหลานที่มาแสดงความยินดี
กันอย่างคึกคักบรรยากาศท่ี สวนพฤกษศาสตร์ทวีชล อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัด
เชียงใหม่ เช้าวันนี้เต็มไปด้วยความคึกคัก เต็มไปด้วย ผู้สูงอายุท่ีต่างสวมใส่ชุดครุยมา
ร่วมงานมอบประกาศนียบัตร ปริญญาชีวิต บัณฑิตปัจฉิมวัย ซึ่ง ไม่ต่างจากการรับ
ปริญญาของนกั ศกึ ษาท่ัวไป ทา่ มกลางลกู หลานนําช่อดอกไม้ ช่อเงินประดิษฐ์ มาแสดง
ความยินดีและร่วมถ่ายรูปกันเป็นจํานวนมาก ซึ่งงานดังกล่าว ทางเทศบาลตําบลเชิง
ดอย อําเภอดอยสะเก็ดจงั หวดั เชียงใหม่ ร่วมกบั สาํ นกั งานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ได้จัดโครงการมหกรรมรวมพลคนรักสุขภาพ”ปริญญาชีวิต บัณฑิตปัจฉิมวัย” ขึ้น
และได้มอบประกาศนียบัตรให้กับผู้สูงวัย จํานวน 728 คน จาก 7 สถานศึกษาที่จบ
หลักสูตรของโรงเรียนชราบาลและหลักสูตรที่เกี่ยวกับผู้สูงอายุ ในระยะเวลา 1
ปีที่ผ่านมาประกอบด้วยโรงเรียนชราบาลวุฒิวิทยาลัย เทศบาลตําบลเชิงดอย อําเภอ
ดอยสะเก็ด จํานวน 246 คน, สถาบันผู้สูงวัย เทศบาลตําบลดอยสะเก็ด 69 คน,
โรงเรียนผู้สูงอายุตําบลลวงเหนือ 67 คน, ศูนย์ภูมิปัญญาแม่โปุงสูงวัยใกล้บ้านพ่อ 63
คน, โรงเรียนสันปูเลยปัจฉิมวัย 71 คน, โรงเรียนนวัตกรมผู้สูงอายุตําบลแม่แฝก 44
คน และโรงเรียนปจั ฉมิ วยั สร้างสขุ ตาํ บลสันนาเม็ง 128 คน ทั้งน้ีเพ่ือสร้างการรับรู้และ
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการดําเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในระดับ
ท้องถิ่นหรือพ้ืนท่ี ให้กลุ่มผู้สูงอายุและประชาชนท่ัวไปสามารถเข้าถึงสิทธิหลักประกัน
สุขภาพตลอดจนเข้าถึงบรกิ ารทางสุขภาพอย่างเหมาะสมและท่วั ถึง

อกี ทง้ั ยังเปน็ การแลกเปล่ียนเรียนรู้นวัตกรรมสุภาพจากกองทุนสามารถนําไป
ปรับใช้ พัฒนาและต่อยอดการดําเนินงานต่อไป สําหรับโรงเรียนชราบาลวุฒิวิทยาลัย

เป็นโรงเรียนคนชราแห่งแรกของประเทศ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2556 เพ่ือเป็นเวที
20 แลกเปลี่ยนความรู้และทํากจิ กรรมรว่ มกันของผูส้ ูงอายุ ทําให้ผู้สูงวยั ไดค้ ลายความเหงา

แก้ปัญหาโรคอัลไซเมอร์ และโรคซึมเศร้า ได้รับคัดเลือกเป็นต้นแบบด้านการพัฒนา
ระบบการดแู ลผู้สงู อายุ โดยเปิดเรียนทกุ วันพุธ รบั ผู้ท่มี อี ายตุ ้ังแต่ 55 ปีข้นึ ไปเข้าเรยี น

ตราประจาโรงเรยี น

ตราประจาํ โรงเรียนล้อมรอบดว้ ยเสน้ สีเขียวและสีส้มอมแดง มีรปู ภาพ
ผสู้ ูงอายุ ภายใตช้ ่ือของเทศบาลตําบลเชิงดอย

สปี ระจาโรงเรียน
สีขาว หมายถงึ ความสะอาด ความบริสุทธ์ิ
สีเขยี ว หมายถึง ความอุดมสมบรู ณ์
สีส้มอมแดง หมายถงึ ความอบอ่นุ และหว่ งใย

วิสยั ทศั น์
“ถา่ ยทอดภมู ปิ ัญญา ศึกษาเทคโนโลยี แก่อยา่ งมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ”

แผนการดาเนนิ งานดา้ นผสู้ งู อายุ 21

กิจกรรม /โครงการโรงเรียนชราบาล (3 ปี ยอ้ นหลัง : ปี 2561 - 2563) ดงั น้ี

ปงี บประมาณ 2561 ปงี บประมาณ 2562 ปงี บประมาณ 2663

กจิ กรรมการสง่ เสรมิ สุขภาพ โครงการผูส้ งู วยั ใส่ใจสุขภาพจติ โครงการเสรมิ สรา้ งสุขภาพจิต
ผู้สงู อายุ
กิจกรรมดนตรบี ําบัดเพอ่ื พลงั โครงการเสรมิ สร้างสุขภาพ โครงการผสู้ งู วยั ใสใ่ จสุขภาพจติ
กาย - ใจ ผู้สงู อายุ โครงการป้องกันและควบคมุ
กจิ กรรมการดูแลสุขภาพผิว โรคตดิ ต่อ
สาํ หรับผู้สงู อายุ โครงการโภชนาการสมวยั ใส่ใจ กจิ กรรมสอนศลิ ปะการฟ้อนรา
กิจกรรมสมนุ ไพรเพ่ือสขุ ภาพ สุขภาพ
ในชีวติ ประจําวนั โครงการส่งเสริมอาชพี ผสู้ ูงอายุ
กิจกรรมการกําหนดสมาธิ โครงการปอ้ งกันและเสริมสรา้ ง
เพอ่ื การสง่ เสริมสุขภาพจติ ภมู ิคุ้มกนั โรค กิจกรรมสอนการทาแหนม
กจิ กรรมการดูแลสขุ ภาพฟนั กจิ กรรมสอนการทาไม้กวาด
ของผ้สู งู อายุ โครงการอบรมให้ความรูโ้ รคไม่ จากขวดพลาสติก
โครงการวฒั นธรรมภมู ิ ตดิ ตอ่
ปญั ญาผู้สูงอายุ
กิจกรรมสอนการสานปลา โครงการอบรมให้ความรู้
ตะเพยี น โรคตดิ ต่อ
โครงการแพทย์แผนไทยเพือ่
กจิ กรรมสอนตดั ตุงลา้ นนา สขุ ภาพดี

โครงการฟันดี สุขภาพดี

กิจกรรมสอนประดิษฐ์โคมไฟ
ล้านนา

กจิ กรรมสอนประดษิ ฐ์หมาก กจิ กรรมสอนประดษิ ฐ์ผาง
สมุ่ ประทีป

กจิ กรรมสอนประดษิ ฐห์ มาก กิจกรรมสอนประดษิ ฐ์ทาสะตวง
เบ็ง ,ต้นผึ้ง ตน้ เทยี น ข้ผี ึ้ง

ปีงบประมาณ 2561 ปงี บประมาณ 2562 ปีงบประมาณ 2663
22

กิจกรรมสอนตัดตุงไสห้ ม,ู กิจกรรมสอนเร่ืองสมนุ ไพร
12 นกั ษัตร ลา้ นนา

กจิ กรรมสอนดนตรีพืน้ บ้าน กจิ กรรมสอนประดษิ ฐ์ควกั
ล้านนา หมาก
โครงการสง่ เสรมิ อาชพี
ผู้สูงอายุ กิจกรรมสอนประดษิ ฐบ์ ายศรี
ปากชาม
กิจกรรมสอนจดั ดอกไม้
พลาสติก กจิ กรรมสอนการเพ้นท์ผ้า
กระเปา๋

กิจกรรมสอนการทาดอกไม้
กิจกรรมสอนจัดดอกไมส้ ด พลาสตกิ

กิจกรรมสอนทายาหม่องนา้ กิจกรรมสอนการทายาหมอ่ ง
สมุนไพร

กิจกรรมสอนการทายาดม
สมุนไพร

กิจกรรมสอนการทายาสมุนไพร
กันยุง
กิจกรรมสอนทาเขม็ กลดั ตดิ
หนา้ อก
โครงการเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรม

จรยิ ธรรม

นําเชงิ ดอยน่าอยู่ สู่สังคมสงบสขุ

โครงการอบรมให้ความรู้ดา้ น

กฎหมาย

เบอื้ งต้นที่จาํ เปน็ ใน

ชีวิตประจาํ วนั แกป่ ระชาชน

ส่วนที่ 2 23

แนวทางการดาเนินงานโรงเรียนผู้สูงอายุ

ขั้นตอนการดาเนินงาน

1. จัดประชุมแกนนาํ หลกั ในพ้นื ทไี่ ดแ้ ก่ กล่มุ ผสู้ ูงอายุ กํานัน/ผู้ใหญ่บ้าน อสม.
กลุ่มสตรี หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ในพื้นที่เพื่อเผยแพร่แนวคิดและรูปแบบการ
จัดต้ังโรงเรียนผู้สูงอายุพร้อมท้ังรวบรวมข้อเสนอแนะ ความคิดเห็นในการจัดกิจกรรม
ของโรงเรียนผู้สูงอายุ การบริหารจัดการ โดยให้เป็นไปตามความต้องการท่ีแท้จริง
ของผสู้ ูงอายุ

2. แต่งต้ังคณะกรรมการโรงเรียนผู้สูงอายุ เพื่อทําหน้าท่ีในการกําหนดแนว
ทางการดําเนินงาน การจัดทําแผนงาน โครงการ การแสวงหาความร่วมมือจากภาคี
เครือข่ายในชุมชน และการส่งเสริมสนับสนุนให้การดําเนินงานโรงเรียนผู้สูงอายุ
ต่อเนื่อง จัดการฝึกอบรมตามแผนงาน การจัดหาสมาชิกจากชมรมผู้สูงอายุในพ้ืนที่
การจัดหาสถานที่ต้ังโรงเรยี นผ้สู งู อายุ

3. จดั ตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ
4. จัดทําแผนขั้นตอนในการดําเนินกิจกรรม/โครงการโรงเรียนชราบาล (3 ปี
ย้อนหลัง : ปี 2561 - 2563)
5. ดาํ เนินกิจกรรมตามทกี่ าํ หนดไว้ในแผนงาน
6. การติดตาม ประเมินผลการดําเนินงาน และรายงานความก้าวหน้า
รายงานปัญหา อปุ สรรค อยา่ งต่อเนอ่ื ง

24 โครงสรา้ งโรงเรยี นผู้สูงอายุ

โครงสรา้ งการบริหารงานโรงเรยี นชราบาลวฒุ ิวทิ ยาลัย
เทศบาลตาบลเชิงดอย อาเภอดอยสะเกด็ จังหวัดเชยี งใหม่

นายชตุ ิพนธ์ สารแปง
นายกเทศมนตวริทีตยาาบลลยั เชงิ ดอยดอย

ผ้กู ่อต้งั โรงเรยี นชราบาลวฒุ ิ

นายประสาน ดวงอยู่สาร
ประธานชมรมผู้สูงอายเุ ทศบาลตาบลเชิงดอย
ประธานนักเรียนโรงเรียนชราบาลวฒุ ิวทิ ยาลัย

ประธาน ม. 1 ประธาน ม. 2 ประธาน ม. 5 ประธาน ม. 6 ประธาน ม. 7 ประธาน ม. 9

ประธาน ม.10 ประธาน ม.12 ประธาน ม.13

การจัดตง้ั โรงเรียนผู้สูงอายุ 25

โรงเรียนชราบาลวุฒิวิทยาลัย จัดต้ังโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อดูแล

พัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมอาชีพและถ่ายทอดภูมิปัญญา วัฒนธรรม และเป็นการ

สร้างขวัญกําลังใจให้กับผู้สูงอายุ ตามแนวคิด "ถ่ายทอดภูมิปัญญา ศึกษาเทคโนโลยี

แก่อย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีคุณภาพ " โรงเรียนชราบาลวุฒิวิทยาลัย เกิดขึ้นจากการ

รเิ ร่ิมของเทศบาลตําบลเชิงดอย เพื่อตอบโจทย์เก่ียวกับสุขภาพผู้สูงอายุในการเตรียม

เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ในช่วงเร่ิมต้นต้องการให้ผู้สูงอายุมีรายได้ แต่ปรากฏว่าผู้สูงอายุ

บอกว่ารายได้ไม่ใช่ส่ิงสําคัญ จึงเป็นท่ีมาแนวคิดให้เป็นโรงเรียนแห่งความสุข

เน้นสันทนาการ จนทาํ ให้ผู้สงู อายหุ ายจากโรคซึมเศร้า โรคอัลไซเมอร์ นอกจากน้ียังให้

ให้ผู้สูงอายุรู้สึกภูมิใจและเห็นคุณค่าของตัวเอง และให้สังคมไทยตระหนักถึงสังคม

ผู้สงู อายมุ ากข้นึ โดยเฉพาะปญั หาโรคซมึ เศรา้ ท่ีหลังจากเปดิ โรงเรียนชราบาลมาตั้งแต่

ปี 2556 ทําใหพ้ บวา่ ผู้สูงอายุส่วนใหญ่อยู่ในภาวะซึมเศร้า และการได้เข้าร่วมกิจกรรม

ในโรงเรียนผู้สูงอายุทําสุขภาพจิตของผู้สูงอายุดีข้ึน โรงเรียนชราบาลวุฒิวิทยาลัยซึ่ง

ได้มีการเปิดการเรียนการสอนและมีการซักซ้อมความเข้าใจในการเข้ารับปริญญาของ

ผู้สําเร็จการศึกษาปีนี้ตามหลักสูตรของโรงเรียนชราบาลฯ ที่เทศบาลตําบลเชิงดอย

โดยนายชตุ พิ นธ์ สารแปง นายกเทศมนตรีตาํ บลเชงิ ดอย ผรู้ ิเร่ิมโครงการจนเป็นที่รู้จัก

และเป็นสถานศึกษาสถานท่ีดูแลส่งเสริมด้านคุณภาพชีวิตให้กับผู้สูงอายุท้ังใ นเขต

เทศบาลฯและพื้นท่ีบริเวณโดยรอบ และมีเครือข่ายอปท.ท่ีเข้าร่วมโครงการอีกหลาย

แหง่ ในพ้ืนทอ่ี ําเภอใกลเ้ คยี ง จนโรงเรยี นชราบาลฯประสบความสําเร็จและเป็นต้นแบบ

แห่งการเรียนรู้ดูแลผู้สูงอายุได้รับรางวัลแห่งความสําเร็จยอดเย่ียมมากมายจากหลาย

กระทรวงทบวงกรม

โรงเรียนชราบาลวุฒวิ ิทยาลยั มกี ารบริหารจดั การตาํ บลของเทศบาล

ตาํ บลเชงิ ดอยใน 4 ประเด็น ไดแ้ ก่ 1.ร่วมคิด รว่ มทาํ สู่การมสี ่วนร่วม 2.สร้างสรรค์

ศาลาสร้างสุข 3.การพัฒนาคน 4.การสร้างเครือข่าย ซ่ึงในระยะท่ีผ่านมาได้ให้การ

สนับสนุนการขบั เคลือ่ นการรวมกลุ่มของผ้สู งู อายุ การพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ เพ่ือให้

ผู้สูงอายุได้มีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง สนับสนุนงบประมาณ ประสานความร่วมมือกับ

หน่วยงานภายนอก ได้แก่ สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
26 ศูนย์พัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูงจังหวัดเชียงใหม่ บูรณาการงานร่วมกันเพ่ือดูแลช่วยเหลือ

ผู้สงู อายุ การปรับปรุงสภาพที่อยู่อาศัย การประสานช่วยเหลือส่งต่อ การบริการรับส่ง
ผู้สงู อายกุ รณเี จบ็ ปวุ ยตอ้ งเขา้ รับการรักษา พยาบาลอยา่ งเร่งด่วน โดยมีเจ้าหน้าที่งาน
ปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั เป็นผู้ให้การช่วยเหลือ เป็นต้น อีกท้ังยังมีความชัดเจน
ในการบริหารจัดการด้านระบบสวัสดิการชุมชน โดยเทศบาลตําบลเชิงดอยให้
ความสําคัญต่อการจัดสวัสดิการให้แก่ประชาชนต้ังแต่เกิดจนตาย เช่น กองทุน
สวัสดกิ ารชุมชนตําบลเชงิ ดอยท่เี นน้ การมกี องทนุ ในการจัดการตนเองทุกช่วงวัย โดยใช้
ศนู ย์พัฒนาครอบครัว ศาลาสร้างสุข เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อน ตลอดจนค้นหา
อาสาสมคั รทมี่ จี ิตอาสาในการดําเนินกิจกรรม เพ่ือดูแลสุขภาพชุมชน เช่น อาสาสมัคร
ดูแลผู้สูงอายุ อาสาสมัครสาธารณสุข เทศบาลตําบลเชิงดอยมีนโยบาย ในการเพิ่ม
ศักยภาพอบรมให้ความรู้กับแกนนํา อสม. หมอน้อย เน้นเรื่องทักษะการดูแลตนเอง
ของผู้เตรียมเข้าสู่วัยสูงอายุ เช่น การฝึกใช้ชีวิตอย่างอิสระโดยลดการพึ่งพาผู้อ่ืนต้ังแต่
ระยะก่อนจะเข้าสู่วัยสูงอายุ การฝึกสมอง การออกกําลังกาย การนั่ง การเดิน
การรบั ประทานอาหาร การขับถา่ ย เป็นตน้ การพัฒนาศักยภาพด้านอาชีพ ท่ีสอดคล้อง
กับความต้องการของผู้เตรียมเข้าสู่วัยสูงอายุและเหมาะสมกับสภาพร่างกาย พัฒนา
ศักยภาพบุคลากรทางด้านสุขภาพเพ่ือดูแล กลุ่มเตรียมตัวเข้าสู่วัยสูงอายุ
เช่น การเขา้ ใจการเปลย่ี นแปลงทางด้านร่างกายของเตรียมเข้าสู่วัยสูงอายุ อาทิ ความ
เส่ือมของร่างกาย สายตา สุขภาพฟัน ระดับฮอร์โมนท่ีเปลี่ยนแปลงไปของร่างกายท่ี
อาจก่อให้เกิดอาการร้อนวูบวาบ อาการนอนไม่หลับ หงุดหงิด เป็นต้น อบรมเพ่ิม
ทักษะให้กับอาสาสมัครในการใช้เครื่องมือหรือวิธีการทํางานเพื่อประเมิน ตรวจคัด
กรองความเส่ียงกลุ่มเตรียมตัวเข้าสู่วัยสูงอายุ ส่งเสริมให้มีการรวมกลุ่มช่วยเหลือดูแล
กันเอง เช่น กลุ่มช่วยเหลือตนเอง กลุ่มเพ่ือนช่วยเพื่อน กลุ่มออกกําลังกาย เป็นต้น
การสร้างเครือข่ายการดูแลด้านจิตใจของผู้เตรียมเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ โดยเช่ือมประสาน
กบั แหลง่ ประโยชน์ในพ้นื ที่ เช่น วัด สถานฝกึ ปฏิบัติธรรม ฯลฯ

ขับเคล่อื นการดาเนินงาน 27

- อบรมให้ความรู้และเพ่ิมทักษะการดูแลตนเองของกลุ่มเตรียมตัว

เข้าสู่วยั ผู้สูงอายุ (อายุ 50-59 ปี) และอบรมใหค้ วามรู้และเพิ่มทักษะการดูแลผู้สูงอายุ

ใหแ้ ก่กลุม่ อาสาสมัคร สมาชกิ ในครอบครัวผสู้ ูงอายุ ท้ังทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์

สังคม

- สร้างผู้ช่วยเหลือบริบาลให้การดูแลผู้สูงอายุในทุกกลุ่มผู้สูงอายุ

โดยสนบั สนุนคนในพ้นื ทไ่ี ปเรียนหรือฝึกอบรม

- จดั ทมี ใหค้ วามรู้และสนับสนนุ การพัฒนาสภาพแวดล้อม การปรบั

พ้ืนท่ีของสถานบริการ การปรับสภาพบ้านพัก และพ้ืนท่ีให้เหมาะสมกับการดําเนิน

ชวี ติ ของผู้สงู อายุทกุ กลมุ่

- จัดลานกิจกรรมหรือลานออกกําลังกาย (ข่วงคนเฒ่า) สําหรับกลุ่ม

ผู้สงู อายุในทกุ กลุ่ม

- จัดตั้งศูนย์ให้คําปรึกษาและสายด่วนให้คําปรึกษาสําหรับผู้สูงอายุ

และจดั ให้มีคลินกิ พเิ ศษสาํ หรบั ดูแลผ้สู ูงอายุ โดยนําภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการดูแล

ผสู้ ูงอายุ

- ให้บริการชว่ ยเหลือและบริการรับ-ส่ง ไปยังโรงพยาบาลตลอด ๒๔

ชัว่ โมง สําหรับผู้สงู อายุทเ่ี จ็บปวุ ยฉกุ เฉินหรือขาดการดูแล

- การสนับสนุนและสง่ เสรมิ กิจกรรมของทนุ ทางสงั คม กลุ่มทางสังคม

แหล่งเรยี นรู้และเครอื ข่ายในการดแู ลผูส้ งู อายใุ นพนื้ ท่ี

- การเพมิ่ กลุ่มอาสาสมัครที่มีจิตอาสาในการดูแล ช่วยเหลือผู้สูงอายุ

ทกุ กลุ่มผสู้ ูงอายุ

- จัดบริการส่งเสริมสุขภาพจิต ร่วมกับภาคีเครือข่ายในชุมชน

และสนับสนนุ อุปกรณ์ชว่ ยเหลอื ในการดาํ เนินชวี ติ ประจาํ วนั

- ใหข้ อ้ มลู ขา่ วสารเก่ยี วกับผู้สูงอายุผ่านสอ่ื ต่าง ๆ

- จัดทาํ แผนทท่ี างเดนิ ยุทธศาสตร์ของผู้สูงอายุ

- จัดทาํ กฎหมายชุมชนสําหรับผสู้ ูงอายุทกุ กลุ่มของตาํ บลเชิงดอย

- จัดกระบวนเรียนรู้ข้อมูลจากการวิจัยชุมชน (RECAP)
28 และการพฒั นาและนําใชร้ ะบบฐานมูลตําบลดว้ ย TCNAP

การบรหิ ารจดั การ ด้วยหลกั 5 ก

1. กลุ่ม ต้องสร้างการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุให้เกิดขึ้น ท้ังท่ีเป็นกลุ่มแกนนํา
คณะทํางานและกลุ่มสมาชิก หรือกลุ่มนักเรียนผู้สูงอายุ ซ่ึงเป็นเปูาหมายของการ
ทํางาน ในข้ันนี้อาจมีกลยุทธ์ในการสร้างความเป็น กลุ่มก้อนได้หลายวิธี เช่น การ
เปดิ รบั สมคั รสมาชิกหรือนักเรียนผู้สูงอายุ การต่อยอดจากกลุ่มเดิมที่เคยมีอยู่ในชุมชน
เช่น ชมรมผู้สูงอายุการสร้างสัญลักษณ์ของความเป็นกลุ่มสมาชิก อาทิ มีสัญลักษณ์
โรงเรียนผูส้ งู อายุมเี สอื้ สญั ลักษณ์ของนกั เรียนผู้สูงอายุ เปน็ ต้น

2. กรรมการ ถือเป็นตัวแทนของสมาชิกกลุ่มที่จะทําหน้าท่ีในการบริหาร
จัดการกลุ่มให้การทํางานประสบความสําเร็จ ท้ังนี้ควรสร้างกระบวนการคัดเลือกผู้ที่
จะทําหน้าที่ดังกล่าว แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ ช่วยกันขับเคลื่อนการทํางานให้
ประสบความสําเร็จเป็นการสรา้ งกระบวนการมีสว่ นรว่ มให้ การบริหารจัดการโรงเรียน
ผสู้ ูงอายมุ ปี ระสิทธิภาพ

3. กติกาหรือข้อตกลงร่วมกัน ต้องเกิดจากความเห็นพ้องต้องกันของสมาชิก
ในโรงเรียนผ้สู งู อายุ เหมือนเป็นสัญญาใจที่มีต่อกัน ว่าจะร่วมกันยึดถือและปฏิบัติตาม
ซึ่งจะเป็นแนวทางท่ีทําให้การดําเนินงานของโรงเรียนผู้สูงอายุมีทิศทางการทํางาน
ท่ีชัดเจนแม้ว่าเปลี่ยนแปลงคณะกรรมการชุดใหม่จะยังคงมีแนวทางการทํางานเดิมให้
เห็นและพฒั นาต่อยอดได้

4. กิจกรรม ในระยะเร่ิมแรกอาจเน้นไปที่การสร้างกิจกรรมในการแก้ไขปัญหา
ง่ายๆไม่ซับซ้อน เช่น การจัดให้มาพบปะกันทุกเดือน มีกิจกรรมร้องเพลง กิจกรรม
นันทนาการรูปแบบอื่นๆ กิจกรรมถ่ายทอดภูมิปัญญาให้กับเด็กและเยาวชนหรือการ
รวมกลุ่มออกกําลังกาย เม่ือมีประสบการณ์มากขึ้น จึงเคล่ือนไปสู่การทํากิจกรรมที่
ตอบสนองปัญหาและความต้องการท่ีมีความซับซ้อนมากขึ้น เช่น การบูรณาการ
โรงเรียนผูส้ ูงอายุเขา้ กบั การทาํ งานของ “ธนาคารความดี”

5. กองทุน การขับเคล่ือนงานของโรงเรียนผู้สูงอายุให้เป็นไปอย่างม่ันคง
จําเป็นต้องเรียนรู้วิธีการหางบประมาณเพ่ือการดําเนินงานด้วยตนเอง วิธีการหา 29
งบประมาณเข้า กองทุนของกลุ่มอาจจําแนกได้ เป็น การสร้างกองทุนของตนเอง
การเก็บค่า สมาชิกการขอรับบริจาคจากผู้มีจิตศรัทธา การจําหน่ายผลิตภัณฑ์
ของกลุ่ม การเขียนโครงการเพื่อเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงาน
แหลง่ ทนุ ต่างๆ เช่น สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กองทุน
ผู้สูงอายุ กองทุนสุขภาพตําบล สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
จังหวัด เป็นต้น

ปจั จยั แหง่ ความสาเร็จของการดาเนนิ งานโรงเรยี นผู้สูงอายุ

1. การมีส่วนร่วม ให้แกนนําแหล่งเรียนรู้ ผู้แทนจากหน่วยงานองค์กรที่
เกี่ยวข้อง และประชาชนที่สนใจในการดูแลผู้สูงอายุ เข้าร่วมดําเนินการในการทํา
หน้าที่กลไกขับเคลื่อนการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุของตําบล ซ่ึงครอบคลุม
ปญั หาและความตอ้ งการของผ้สู ูงอายขุ องผู้สงู อายุในแต่ละกล่มุ เปาู หมาย

2.การแบ่งบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบในการจัดการระบบเรียนรู้ โดยอาจ
ดําเนินการแต่งตั้งในรูปแบบคณะทํางานที่มีความรับผิดชอบในแต่ละเรื่องท่ีชัดเจน
เชน่ ทีมบริหารกลาง ทีมจัดการ และทมี วิชาการ

3. มีการกําหนดการแนวทางในการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุของตําบล
ให้ครอบคลมุ ตามเปาู หมายท่ีกําหนด เพ่อื เป็นการสร้างความเข้าใจ และการมีส่วนร่วม
ในการพัฒนางานหรือกิจกรรม ตลอดจนการร่วมกําหนดแนวทางสําหรับการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพ่ือติดตามและประเมินผลการดําเนินงานที่จะนําไปสู้การปรับปรุง
การดําเนินงานในอนาคต

4. สรปุ และแลกเปลย่ี นเรยี นรู้หลังการดําเนินงาน และนําผลประเมินมาพัฒนา
ปรบั ปรงุ งาน

5. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนาระบบดูแลผู้สูงอายุสําหรับตําบลเครือข่าย
เพ่อื แลกเปลยี่ นเรยี นรู้กระบวนการพัฒนา สร้างการเรียนรู้ จุดเด่น ปัญหาและอุปสรรค

หรอื เงอ่ื นไขของการดาํ เนินงาน และนาํ องค์ความรู้ วิธีการ และกระบวนการไปปรับใช้
30 ในการพฒั นาระบบดูแลผู้สูงอายุในพ้ืนท่ีของตําบลเครือข่ายเองให้เหมาะสมและสอดคล้อง

กบั บรบิ ทของพืน้ ท่ี
6. มีการจัดกิจกรรมศึกษาดูงาน ณ ตําบลแม่ข่าย เพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้การ

จดั การของตาํ บลแมข่ ่ายและการพัฒนาระบบข้อมูลตําบลรวมท้ังการนําใช้ข้อมูลตําบล
รวมท้ังการนาํ ใช้ข้อมลู ในการพฒั นาระบบการดแู ลผสู้ ูงอายุของตําบล

7. มีการประสานความร่วมมือไปยังภาคีเครือข่ายต่าง ๆ ท่ีมีความเชี่ยวชาญ
หรือความชํานาญเฉพาะด้าน เพ่ือเติมเต็มศักยภาพในการดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุใน
พื้นที่ รวมถึงการจัดทําแผนและนโยบายสาธารณะเพ่ือกําหนดการปฏิบัติต่อผู้สูงอายุ
หรือการดแู ลผูส้ ูงอายุให้มมี าตรฐานเดยี วกันทัง้ ตาํ บล

สว่ นที่ 3 31

โรงเรียนผู้สงู อายสุ ู่การพัฒนาสังคม

3.1 กจิ กรรมผู้สงู อายุดา้ นการพฒั นาสังคม

3.1.1. กจิ กรรมภายในโรงเรยี นผ้สู ูงอายุ ประกอบดว้ ย

1. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและอนามัย โดยสามารถดําเนนิ งานรว่ มกับ
ศูนย์สุขภาพชุมชน สถานอนามัย โรงพยาบาล หรือหน่วยบริการทางการแพทย์ต่างๆ
เพื่อให้การดูแลสุขภาพทางด้านร่างกายท่ีเหมาะสมวัย ส่งผลให้สภาพจิตใจของ
ผู้สูงอายุดีขึ้น ได้แก่ การตรวจร่างกาย การให้ความรู้ในการปูองกันโรคและการให้
ความรู้เรื่องยาสมุนไพรพ้ืนบ้าน การออกกําลังกายในรูปแบบต่างๆตามความสนใจ
ความถนัด และความต้องการของผู้สูงอายุ เป็นต้น ภายในศูนย์ฯ อาจจัดให้มีมุมออก
กําลังกาย มุมเล่นกีฬา มุมให้ความรู้เร่ืองการดูแลรักษาสุขภาพ การส่งเสริมด้าน
โภชนาการ ตดิ ตงั้ อุปกรณก์ ายภาพบาํ บดั เป็นตน้

ตรวจสขุ ภาพผู้สงู อายุ การใหค้ วามร้เู รื่องยาสมนุ ไพรพนื้ บ้าน

32 2. กจิ กรรมด้านอาชีพ กจิ กรรมท่ีมวี ัตถุประสงค์เพ่ือใหผ้ ู้สูงอายุได้ใช้เวลา
ให้เกิดประโยชน์ โดยคํานึงถึงความถนัดและความสนใจ รวมทั้งศักยภาพของผู้สูงอายุ
แตล่ ะบุคคล มีวทิ ยากรซงึ่ เปน็ จิตอาสา ผู้สงู อายุทมี่ ีความรู้ หรือวิทยากรจากหน่วยงาน
ภายนอกเป็นผู้ฝึกอบรม กิจกรรมด้านอาชีพ ได้แก่ การจักสาน การทําลูกประคบ
สมุนไพร การทําบายศรี ประดิษฐ์ดอกไม้จันทน์ ทํากระเป๋าผ้า งานฝีมือต่างๆ เป็นต้น
ซ่ึงสามารถพัฒนาและต่อยอดไปสู่การประกอบอาชีพ การรับงานไปทําท่ีบ้านของ
ผู้สูงอายุการรวมกลุ่มเพ่ือสร้างงาน สร้างรายได้ท่ียั่งยืน ให้กับตัวเองและครอบครัว
จัดให้มีมุมแสดงผลงานหรือจัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์ของผู้สูงอายุ ทั้งภายในโรงเรียน
ผ้สู งู อายุและในชุมชน ประสานความร่วมมือไปยังหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือส่งเสริมให้
เกดิ การพัฒนาผลิตภณั ฑ์ รวมท้งั จดั หาช่องทางการจาํ หนา่ ยผลิตภัณฑข์ องผ้สู ูงอายุ

ฝกึ ทาเข็มกลดั ตดิ หนา้ อก ฝกึ ทากระเป๋าผ้า

ฝกึ ทายาหมอ่ ง ฝกึ ทาดอกไมป้ ระดษิ ฐ์

3. กจิ กรรมถ่ายทอดภมู ปิ ญั ญาและวฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน ก่อให้เกดิ การอนุรกั ษ์ 33
สืบสาน ถ่ายทอดศิลปะ วัฒนธรรม และประเพณีทีมีอยู่ในชุมชน ซ่ึงมีความแตกต่าง
กัน ในแต่ละท้องถิ่นให้ดํารงอยู่ได้หากชุมชนสามารถสร้างเอกลักษณ์ และความแตก
ต่างได้ จะเป็นการส่งเสริมให้โรงเรียนผู้สูงอายุมีจุดเด่น ผู้สูงอายุท่ีได้ถ่ายทอดภูมิ
ปัญญา จะเกิดความภูมิใจในผลงาน มองเห็นคุณค่าและความสําคัญของตนเอง
และชุมชนประจักษ์ในศกั ยภาพและพลังของผู้สูงอายุ ส่งผลให้ผู้สูงอายุใช้ชีวิตอยู่อย่าง
มคี ุณค่ามีศกั ดิ์ศรี และมคี วามสขุ

ถา่ ยทอดภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถนิ่ ของผู้สงู อายุ

4. กิจกรรมดา้ นสังคมและนันทนาการ เพ่ือสร้างสมั พนั ธ์ภาพท่ีดตี อ่ กัน
ของผู้สูงอายุให้มีความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับผู้อื่นและพัฒนาบุคลิกภาพ
ทักษะในการติดต่อสื่อสาร เสริมสร้างการปรับตัวทางสังคมทําให้จิตใจของผู้สูงอายุได้
คลายเหงา ลักษณะของกิจกรรม ได้แก่ การจัดงานรื่นเริง และฉลองในโอกาสสําคัญ
เช่น งานรับปริญญาของชีวิต วันเฉลิมพระชนมพรรษา วันสําคัญทางศาสนา ฯลฯ
นอกจากน้ันอาจมีการจัดกิจกรรมนันทนาการอื่นๆ เช่น การรําวง การร้องเพลง
การเล่นดนตรี การเล่นเกมส์ฝึกทักษะ เป็นตน้

34

งานรับปริญญาของผู้สูงอายุ โรงเรียนชราบาลวฒุ ิวทิ ยาลัย
5. กิจกรรมที่สง่ เสริมการพฒั นาศักยภาพการดาํ เนินงานอาสาสมัครดูแล
ผู้สูงอายุ (เป็นศูนย์ประสานงานอาสาสมัครและฝึกอบรม) เพ่ือสร้างฐานของชุมชนให้
เกดิ การดูแลชว่ ยเหลอื ค้มุ ครอง และพิทักษส์ ิทธแิ กผ่ สู้ งู อายใุ นระยะยาว ซ่ึงภารกิจของ
อาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ ครอบคลุมเรื่องการดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุ การเฝูาระวัง
การเตอื นภัยทางสงั คม การจดั การบริหารและสวสั ดิการทางสังคมสาํ หรบั ผู้สงู อายุ

อาสาสมัครดูแลผูส้ ูงอายุ
6. กิจกรรมการจัดทําระบบฐานข้อมูลของผสู้ งู อายใุ นพน้ื ท่ที ้งั รายบุคคล
และรายกล่มุ เพอื่ ให้ศูนย์ได้มีข้อมูลที่แสดงถึงระดับของคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ และนํา
ไปจัดการทําแผนงานโครงการหรือกิจกรรมรองรับในการส่งเสริมสวัสดิภาพและคุ้มครอง

พิทักษ์สิทธิผู้สูงอายุและการประสานขอรับความช่วยเหลือจากหน่วยงานที่เก่ียวข้อง 35

อยา่ งทนั ท่วงที และปรบั ปรุงขอ้ มูลให้เปน็ ปัจจบุ นั อยเู่ สมอ

7. กจิ กรรมการให้คาํ แนะนําและปรกึ ษา และการช่วยเหลอื เกอื้ กลู ใน
ลักษณะการให้บริการทางด้านสังคม การสงเคราะห์ การช่วยเหลือ และการให้
คําปรึกษาแก่ผู้สูงอายุที่ตกอยู่ในความทุกข์และประสบปัญหาในการดํารงชีวิต มีการ
ประเมนิ สภาพปญั ญา เพ่ือแสวงหาแนวทางใหก้ ารชว่ ยเหลอื ทีเ่ หมาะสม

บรกิ ารทางด้านสงั คมสงเคราะห์และใหก้ ารช่วยเหลือผู้สูงอายุ
8. กจิ กรรมส่งเสริมการเรยี นรู้ตลอดชวี ิตสาํ หรับผ้สู ูงอายุ เชน่ การ
เรยี นร้เู ทคโนโลยใี หม่ๆ เรยี นรู้การปูองกนั และการดูแลตนเองจากภัยทางสังคมรูปแบบ
ต่างๆ เปน็ ตน้

การเรียนร้ตู ลอดชวี ติ สาหรับผู้สูงอายุ

3.1.2 กจิ กรรมภายนอกศนู ยฯ์ ประกอบดว้ ย

36

1. กิจกรรมทางศาสนาและวนั สาํ คัญ เชน่ การไปวัดตักบาตร ทําบุญ
ฟงั เทศน์ ฟงั ธรรม ถอื ศีลปฏิบตั ิ รวมถงึ กจิ กรรมทส่ี ําคญั ตามประเพณี

2. กิจกรรมการเย่ียมบ้านผู้สูงอายุ ลงพ้ืนที่เย่ียมบ้านผู้สูงอายุ
ที่เจ็บปุวย ติดเตียง อยู่ตามลําพัง ขาดผู้ดูแลให้การช่วยเหลือ ผู้สูงอายุท่ีถูกทอดทิ้ง
ไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ น ตรวจสุขภาพเบ้อื งตน้ โดยทมี หมอน้อย ใหก้ าํ ลังใจแก่ผสู้ ูงอายุ

เยี่ยมบ้านผูส้ ูงอายุ

3. กิจกรรมอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ ให้คําแนะนําในการดูแล
สุขภาพให้ความรู้ท่ีจําเป็นสําหรับผู้สูงอายุ เป็นอาสาสมัครเคลื่อนท่ีเย่ียมบ้านผู้สูงอายุ 37
ที่อย่บู ้านตดิ เตยี ง รวมท้งั การให้บริการตามหมู่บ้านและชุมชน เพ่ือการดูแลช่วยเหลือ
คุ้มครองผู้สูงอายุในดา้ นตา่ งๆ

4. กิจกรรมการปรับสภาพแวดล้อมท่ีอยู่อาศัยสําหรับผู้สูงอายุให้มี
ความเหมาะสมในการดํารงชีวิตประจําวัน ไม่ว่าจะเป็นตัวบ้าน หลังคา ฝาบ้าน บันได
ทางลาด ราวจับ ปะตู หน้าต่าง ห้องนํ้า ห้องครัว ฯลฯ ให้ผู้สูงอายุสามารถใช้ชีวิตใน
บา้ นของตนเองอย่างมีความสุข มคี วามปลอดภัยทัง้ ตอ่ ชีวิตและทรัพย์สนิ

5. ศูนย์สายฟูาแลบหรือหน่วยบริการให้ความช่วยเหลือผู้สูงอายุ
38 รวมถึงผู้ดูแลและรับญาติ ในการรับ-ส่ง ผู้สูงอายุไปพบแพทย์ตามนัดหรือกรณีฉุกเฉิน

ศูนย์สายฟูาแลบ (บริการรับ-ส่ง 24 ช่ัวโมง) เพื่อบริการให้กับผู้สูงอายุและประชาชน
ท่ัวไปที่ประสบเหตุฉุกเฉินโดยเฉพาะผู้พิการ ผู้สูงอายุท่ีต้องรักษาตัวอย่างต่อเน่ือง
มีการจัดตารางเวรพาไปโรงพยาบาล (ตามท่ีญาติผู้สูงอายุขอรับบริการ) โดยเน้น
บรกิ ารอยา่ งรวดเร็วและปลอดภัยที่สดุ

6. จิตอาสา ผสู้ ูงอายรุ วมกลุ่มกันทํากิจกรรมด้านจิตสังคม เช่น การบําเพ็ญ
ประโยชน์ การกวาดวัด พัฒนาถนนท่ีสาธารณะที่ใช้ร่วมกัน ทําความสะอาดห้องนํ้า
สาธารณะ เปน็ ตน้

3.2 แหลง่ เรียนรู้ผู้สูงอายเุ ทศบาลตาบลเชิงดอย ดงั นี้ 39

1.มติ ิด้านสังคม

แหล่งเรียนรู้ธนาคารความดี

จากสถานการณ์ปัจจุบันสังคมชนบทท่ีคอยช่วยเหลือเก้ือกูลกันกลาย
เป็นสังคมเมืองที่ผู้คนต้องด้ินรนหาทรัพย์สมบัติ เพ่ือความเป็นอยู่และการยอมรับใน
สังคม ทําให้คนในปัจจุบันไม่ค่อยมีจิตสํานึกในการทําความดี และให้ความสําคัญกับ
ประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าส่วนรวม เทศบาลตําบลเชิงดอยจึงได้จัดกิจกรรมโครงการ
ธนาคารความดีข้ึน โดยใช้แนวคิดจากร้านสะดวกซ้ือท่ีมีการสะสมแต้มเพื่อแลกรางวัล
โดยให้ผู้นําชุมชนในหมู่บ้านเป็นผู้ออกในคะแนนให้ ได้แก่ ผู้ใหญ่บ้าน มัคทายก
ประธานกลุ่มแม่บ้าน ประธาน อสม. เป็นคนออกใบให้คะแนน เพื่อให้ผู้ที่ได้คะแนน
นําฝากกับเจ้าหน้าท่ีของเทศบาลตําบลเชิงดอย สมาชิกท่านใดท่ีประสงค์จะมาแลก
เคร่อื งบริโภคก็สามารถมาแลกได้ตามเวลาราชการ

แหลง่ เรยี นรกู้ องทุนสวัสดกิ ารชมุ ชน (เงินออมวนั ละบาท)
40 กองทุนสวัสดิการชุมชนเทศบาลตําบลเชิงดอยจัดต้ังข้ึนเพ่ือปลูกจิตสํานึกใน

การ ออมเงินแก่ประชาชนในพ้ืนท่ี และให้ผลตอบแทนจากการออมเงินเพื่อการสร้าง
ขวัญและกําลังใจ ประกอบการแก้ไขปัญหาในพ้ืนท่ีแก่ประชาชนในพ้ืนที่แก่ประชาชน
ประกอบกับการจัดต้ังเงินออม วันละ 1 บาท ซ่ึงประชาชนในพ้ืนท่ีสามารถร่วมเป็น
สมาชิกและได้รับสิทธิประโยชน์ต่างๆ เช่น การนอนโรงพยาบาล การคลอดบุตร
นอกจากนย้ี ังช่วยสนับสนนุ แกผ่ ดู้ อ้ ยโอกาสใหม้ ีชวี ิตความเปน็ อยู่ทีด่ ีข้นึ

แหลง่ เรียนรู้กองทุนฌาปนกจิ สงเคราะห์
ได้จัดต้ังข้ึนเพ่ือช่วยเหลือซ่ึงกันและกันโดยได้จดทะเบียนสมาคมฌาปนกิจ
สงเคราะห์ผู้สูงอายุตําบลเชิงดอย เน่ืองจากผู้สูงอายุได้ทํากิจกรรมร่วมกัน ก่อให้เกิด
ความรักและความผูกพันเสมือนญาติ ทางคณะกรรมการชมชมผู้สูงอายุตําบลเชิงดอย
จึงได้ปรึกษาหารือกัน หากวันหนึ่งเกิดมีสมาชิกชมรมได้เสียชีวิตไปแล้ว ทางผู้สูงอายุ
จะมีเงินช่วยเหลือครอบครัวผู้เสียชีวิตอย่างไร จึงได้มีการจัดประชุมในกลุ่มร่วมกับ
เทศบาลตําบลเชิงดอย ในการจัดตั้งสามาคมฌาปนกิจสงเคราะห์สําหรับผู้สูงอายุข้ึน
เพื่อเป็นสวัสดิการตอบแทนให้แก่ผู้สูงอายุเม่ือเสียชีวิต และเป็นการแบ่งเบาภาระ
ค่าใช้จา่ ยในการจัดงานศพ และมุง่ เน้นให้ดแู ลซ่ึงกันและกนั ในกลมุ่ ผู้สูงอายุ

แหลง่ เรยี นรู้สภาภูมิปัญญาเพื่อพัฒนาและแกไ้ ขปัญหาทอ้ งถนิ่ (สภากาแฟ)
ได้จัดต้ังสภาภูมิปัญญาเพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหาท้องถ่ิน (สภากาแฟ) 41
เมื่อเดือนกรกฎาคม 2556 โดยให้มีการประชุมทุกเช้าวันเสาร์สุดท้ายของเดือน มีการ
เชิญกํานัน-ผู้ใหญ่บ้าน ประธานกลุ่มแม่บ้าน และผู้ทรงคุณวุฒิในตําบลมาเสนอ
ความเห็นและปัญหาที่เกิดข้ึนในชุมชนต่อท่ีประชุมและแนวทางการพัฒนาตําบลเชิง
ดอยต่อไป สภาภูมิปัญญาเพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหาท้องถ่ิน (สภากาแฟ) มีการ
เลือกตั้งประธานสภาฯเพ่ือทําหน้าที่ประธานในการประชุมให้ผู้เข้าร่วมประชุมได้
สอบถามและเสนอปัญหาต่อนายกเทศมนตรี ซ่ึงเป็นการแก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็ว
และตรงจดุ อีกทงั้ นายกเทศมนตรีจะไดช้ ี้แจงงานที่ทําในรอบเดือนท่ีผ่านมา และงานท่ี
ทําในเดือนต่อไปให้ประชาชนได้รับทราบ สภากาแฟจึงเป็นแหล่งเรียนรู้ที่สามารถ
ตอบโจทย์การร้องเรียน การเข้าใจท่คี าดเคลื่อนทมี่ ีตอ่ เทศบาลไดเ้ ป็นอย่างดี

แหล่งเรยี นรอู้ ยุ้ สอนหลาน
42 การสร้างแหล่งเรียนรู้อุ้ยสอนหลาน โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือสืบทอดภูมิปัญญา

ท้องถิ่น ที่กําลังสูญหายไป ให้ยังคงอยู่และทําการสืบทอดต่อไปไม่ให้ศูนย์หายไปจาก
ท้องถ่ิน โดยมีกิจกรรมการสอนเขียนต๋ัวเมืองให้กับลูกหลาน ซึ่งมีกิจกรรมอย่าง
ตอ่ เนื่องจนเกดิ แหลง่ เรยี นรู้อุ้ยสอนหลานข้ึนมา กลายเป็นจุดรวมปราชญ์ชาวบ้านทีมี
ความสําคัญของชุมชน สามารถสร้างความสุขทางใจ ความภาคภูมิใจที่สามารถเป็น
ตัวเชื่อมความสัมพนั ธข์ องกลมุ่ วยั สามารถถ่ายทอดภูมิปัญญาศิลปะล้านนาให้ยังคงอยู่
กับชมุ ชนและลูกหลานตอ่ ไป

แหล่งเรียนรู้สถานที่ศึกษาดูงาน
โรงเรยี นชราบาลวุฒิวิทยาลัย เทศบาลเชิงดอย ดังไกลต่างชาติแห่ดูงานนําไป 43
เป็นต้นแบบไปพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุประเทศตัวเอง ที่เทศบาลตําบลเชิงดอย
อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ นายชุติพนธ์ สารแปง นายกเทศมนตรีตําบลเชิง
ดอย พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร หัวหน้าส่วนราชการและพนักงานเจ้าหน้าที่ ต้อนรับ
คณะศึกษาดูงาน โดยมี Mr.Mamoru Yasude นายกเทศมนตรีเมืองมูโด เกียวโต
ประเทศญ่ีปุน พร้อมคณะผู้บริหารได้เดินทางมาศึกษาดูงานท่ีเทศบาลตําบลเชิงดอย
ชมผลงานและกิจกรรมของโรงเรียนชราบาลวุฒิวิทยาลัย โรงเรียนผู้สูงอายุ ณ ห้อง
ประชุมเทศบาลตําบลเชิงดอย อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งท่ีผ่านมา
โรงเรียนชราบาล แห่งนี้ได้ต้อนรับองค์กรต่างชาติศึกษาดูงานต่างชาติมาอย่างต่อเนื่อง
อาทิ องค์กรยูเนสโก้ ประเทศ ออสเตรเลีย และอีกหลากหลายประเทศ รวมถึงสถานี
ทีวีช่ือดังของโลก บีบีซี สําหรับโรงเรียนชราบาลวุฒิวิทยาลัย เป็นโรงเรียนแห่งแรกนํา
ร่องท่ปี ระสบความสาํ เร็จในประเทศไทย ที่มีนักเรียนเข้ามาเรียนมากท่ีสุด ซึ่งเปิดสอน
เรยี นรภู้ มู ปิ ัญญาไทย สอนการเขียนและอ่านภาษาล้านนา ฝึกสอนการประกอบอาชีพ
และการเรียนรู้รูปแบบใหม่ๆ ให้เข้าถึงเทคโนโลยี ไอที มือถือ เล่นไลน์ โดยจะสอนให้
ผู้สูงวัยท่ีมีอายุตั้งแต่ 55 ปีขึ้นไป สถานศึกษาแห่งนี้ให้เรียนแบบมีความสุข และเรียน
ไปจนกว่าจะตายจากกันไปขา้ งหนึง่ ตามแนวนโยบายท่ีว่า “ถ่ายทอดภูมิปัญญา ศึกษา
เทคโนโลยี แกอ่ ยา่ งมคี ณุ คา่ ชราอย่างมีคณุ ภาพ”

2.มิติทางด้านเศรษฐกิจ

44

แหล่งเรยี นรู้กลมุ่ สมนุ ไพรแปรรูปเคร่อื งดื่มชนดิ ผง
จงึ จดั ตั้งกลุม่ แปรรูปสมนุ ไพรขึ้นมา เพ่ือหารายได้เสริมและช่วยยกระดับชีวิต
ใหอ้ ย่รู อดในภาวะเศรษฐกิจตกต่ํา ให้มีรายได้เสริมแก่ประชนในพ้ืนท่ี และได้ใช้เวลา
ว่างให้เกิดประโยชน์ โดยมีการจัดต้ังคณะกรรมการในการบริหารกลุ่มและรับสมาชิก
ซึ่งส่วนใหญ่สมาชิก คือ แม่บ้าน ผู้สูงอายุและนักเรียนโรงเรียนชราบาลวุฒิวิทยาลัย
มีการรวมหนุ้ ปนั ผลจดั สวัสดกิ ารใหแ้ ก่สมาชกิ กลุ่ม

แหลง่ เรียนรภู้ ูมิปญั ญาท้องถน่ิ
ส่งเสริมการให้คุณค่าทางวัฒนธรรมกับผู้สูงอายุ จากสถานการณ์ปัจจุบันที่มี
ผ้สู งู อายมุ ากข้นึ ประกอบกบั ในพนื้ ท่ีเทศบาลตําบลเชิงดอยมีกลุ่มผู้สูงอายุท่ีอยู่ในภาวะ
ว่างงาน และได้ปลูกสมุนไพรไว้ใช้ในครัวเรือน ได้เล็งเห็นความสําคัญของสมุนไพร
ประกอบกับในพ้ืนท่ีมีวัตถุดิบด้านสมุนไพรจํานวนมาก จึงได้รวมกลุ่มกันทําลูกประคบ
สมุนไพร และไดม้ กี ารถ่ายทอดภมู ปิ ัญญาหมอเมืองในการนวด ให้แก่เด็กและเยาวชน
ในพ้ืนที่เทศบาลตําบลเชิงดอยและผู้ท่ีต้องการมีความรู้ด้านการนวดเพ่ือไปประกอบ
อาชีพลดปัญหาการว่างงานของผู้สูงอายุ และทําให้ผู้สูงอายุได้ผ่อนคลายจากความเครียด


Click to View FlipBook Version