The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทเจริญพระพุทธมนต์ เพื่อความสิริมงคล 2564 วิทยาลัยสงฆ์สุพรรณบุรีศรีสุวรรณภูมิ สุพรรณบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ddttgr1125, 2021-05-09 11:06:15

บทเจริญพระพุทธมนต์ เพื่อความสิริมงคล 2564 วิทยาลัยสงฆ์สุพรรณบุรีศรีสุวรรณภูมิ สุพรรณบุรี

บทเจริญพระพุทธมนต์ เพื่อความสิริมงคล 2564 วิทยาลัยสงฆ์สุพรรณบุรีศรีสุวรรณภูมิ สุพรรณบุรี

บทเจรญิ พระพุทธมนต์

เพอ่ื ความเป็นสริ มิ งคล

วนั อังคารที่ ๑๑ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๖๔

สานักเลขาธกิ ารมหาเถรสมาคม
สานักงานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ

จัดพมิ พ์

บทเจริญพระพทุ ธมนต์
เพื่อความเป็นสริ ิมงคล
สานักเลขาธกิ ารมหาเถรสมาคม
สานกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ
จดั พิมพ์

รวบรวม/เรยี บเรยี ง นายธณฏั ฐา ฐาปนะสตุ
นักวชิ าการศาสนาชานาญการ
สานกั เลขาธกิ ารมหาเถรสมาคม

พมิ พท์ ่ี โรงพิมพ์สานกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ
๓๑๔ - ๓๑๖ ถนนบารงุ เมือง เขตปอ้ มปราบศตั รูพา่ ย กรงุ เทพ ๑๐๑๐๐
โทร. ๐ ๒๒๒๓ ๓๓๕๑, ๐ ๒๒๒๓ ๕๕๔๘ โทรสาร ๐ ๒๖๒๑ ๒๙๑๐
นายสาโรจน์ กาลศริ ศิ ลิ ป์
ผ้จู ดั การโรงพิมพ์สานักงานพระพุทธศาสนแห่งชาติ
ผพู้ ิมพ/์ โฆษณา

สารบญั หนา้

มตมิ หาเถรสมาคม มตทิ ่ี พเิ ศษ ๔/๒๕๖๔ ๑
๑. บทชุมนุมเทวดา ๓
๒. บทนอบน้อมพระผมู้ พี ระภาคเจ้า ๓
๓. บทพระไตรสรณคมน์ ๔
๔. บทนมการสิทธคิ าถา (สมั พทุ เธฯ) ๖
๕. บทนมการสิทธคิ าถา (โย จักขมุ าฯ) ๙
๖. บทนโมการอฏั ฐกคาถา ๑๐
๗. บทมงคลสูตร ๑๔
๘. บทรตนสตู ร ๒๓
๙. บทกรณยี เมตตสตู ร ๒๖
๑๐. บทขนั ธปริตร ๒๘
๑๑. บทวัฏฏกปริตร ๓๐
๑๒. บทอนุสสรณปาฐะ ๓๒
๑๓. บทอาฏานาฏยิ ปรติ ร ๓๕
๑๔. บทโพชฌังคปริตร ๓๘
๑๕. บทสกั กตั ๎วา ๔๐
๑๖. บทนตั ถิ เม

๑๗. บทยังกิญจิ หน้า
๑๘. บทรตนัตตยัปปภาวาภิยาจนคาถา ๑๗
๑๙. บทสุขาภยิ าจนคาถา ๔๒
๒๐. บทเทวตาอยุ โยชนคาถา ๔๔
๒๑. บทคาถาไลโ่ ควิด ๔๗
๒๒. บทปัจฉิมคาถา ๔๙
๕๐
**********





บทชมุ นุมเทวดา

บทชุมนุมเทวดา คือ การเชิญเทวดามาประชุมฟัง
พระปริตรท่ีจะสวด และแสดงน้าใจไมตรีจิต หวังให้เทวดา
มีความสุขปราศจากทุกข์ และขอให้เทวดาคุ้มครองให้มนุษย์
พ้นภัย เหล่าเทวดาทังหลายชอบฟังธรรม ดังที่พระพุทธองค์
เสด็จไปโปรดพุทธมารดาที่เทวดาภูมิชันดาวดึงส์ มีเทวดา
ใน ห มื่ น จักรวาล ม าน่ั งฟั งธรรม ของพ ระพุ ท ธองค์แม้ ใน
วนั ธรรมสวนะ (วันพระก็มีการฟังธรรมอยู่ตลอด)

สะรัชชัง สะเสนงั สะพันธงุ นะรินทงั ,
ปะริตตานุภาโว สะทา รักขะตูติ,

ผะรติ ว๎ านะ เมตตงั สะเมตตา ภะทนั ตา,
อะวิกขิตตะจิตตา ปะรติ ตงั ภะณนั ตุ ฯ

สะมนั ตา จกั กะวาเฬสอุ ัต๎ราคัจฉจั ตุ เทวะตา,
สทั ธมั มัง มนุ ริ าชัสสะสุณันตุ สคั คะโมกขะทงั ,

สคั เค กาเม จะ รูเป คิริสิขะระตะเฏ จนั ตะลิกเข วมิ าเน,
ทเี ปรัฏเฐ จะ คาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวตั ถุมหิ เขตเต,
ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะละวิสะเม ยกั ขะคันธพั พะนาคา,
ตฏิ ฐนั ตา สนั ตเิ ก ยงั มุนวิ ะระวะจะนังสาธะโว เม สณุ นั ตุ ฯ

ธมั มัสสะวะนะกาโลอะยัมภะทันตา,
ธัมมสั สะวะนะกาโลอะยมั ภะทนั ตา,
ธมั มสั สะวะนะกาโลอะยัมภะทนั ตา ฯ



ค้าแปล

ท่านผู้เจริญทั้งหลาย ผู้มีเมตตาจงแผ่ไมตรีจิต ด้วยคิดว่า
ขออานุภาพพระปริตร จงรักษาพระราชาผู้ทรงเป็นเจ้าแห่งนรชน
พร้อมด้วยราชสมบัติ พร้อมด้วยพระราชวงศ์ พร้อมด้วยเสนามาตย์
แล้วอย่ามีจติ ฟุง้ ซ่าน ตั้งใจสวดพระปริตร

เทพยดาในรอบจักรวาลท้ังหลาย จงมาประชุมพร้อมกัน
ในที่นี้ จงฟังซ่ึงพระสัทธรรม อันให้สวรรค์และพระนิพพาน
ของพระสัมมาสมั พุทธเจ้าผทู้ รงเปน็ เจ้าแห่งมุนี

ขอเชิญเหล่าเทพเจ้าซึ่งสถิตอยู่ในสวรรค์ ช้ันกามภพก็ดี
รูปภพก็ดี และภุมมเทวดา ซึ่งสถิตอยู่ในวิมานหรือยอดภูเขา และ
หุบผาในอากาศ ในเกาะ ในแว่นแคว้น ในบ้าน ในต้นพฤกษา และ
ป่าชัฏ ในเรือนและในไร่นาก็ดี และยักษ์คนธรรพ์นาค ซึ่งสถิต
อยู่ในน้า บนบกและที่อันไม่เรียบราบก็ดี อันอยู่ในที่ใกล้เคียง
จงมาประชุมพร้อมกันในท่ีน้ี ค้าใดเป็นของพระมุนี ท่านสาธุชน
ทัง้ หลายจงสดบั ค้าขา้ พเจ้านั้น

ดูกอ่ นท่านผ้เู จริญทงั้ หลาย กาลนี้เป็นกาลฟังธรรม
ดูกอ่ นทา่ นผูเ้ จริญทัง้ หลาย กาลนี้เปน็ กาลฟังธรรม
ดูกอ่ นทา่ นผู้เจรญิ ทัง้ หลาย กาลน้เี ป็นกาลฟังธรรม ฯ



บทนอบน้อมพระผู้มีพระภาคเจ้า

นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธสั สะ ฯ
นะโมตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พทุ ธสั สะ ฯ
นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสมั พุทธัสสะ ฯ

คา้ แปล

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์น้ัน ซ่ึงทรงเป็น
ผู้ไกลจากกเิ ลส ตรัสรชู้ อบดว้ ยพระองค์เอง ฯ (วา่ ๓ จบ)

บทพระไตรสรณคมน์

บทพระไตรสรณคมน์นี้ เป็นบทเก่ียวกบั การถึงพระรตั นตรัย
คือ พระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ์ วา่ เปน็ ที่พึง่ ที่ระลึก

พทุ ธัง สะระณัง คจั ฉามิ
ธัมมงั สะระณงั คัจฉามิ
สงั ฆงั สะระณัง คจั ฉามิ ฯ
ทตุ ิยมั ปิ พทุ ธงั สะระณัง คจั ฉามิ
ทตุ ยิ ัมปิ ธมั มงั สะระณัง คจั ฉามิ
ทตุ ิยัมปิ สังฆงั สะระณงั คัจฉามิ ฯ
ตะติยัมปิ พทุ ธัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ ธมั มงั สะระณงั คัจฉามิ
ตะติยมั ปิ สังฆงั สะระณงั คัจฉามิ ฯ



ค้าแปล

ข้าพเจ้าขอถงึ พระพุทธเจ้า ว่าทรงเปน็ ทพี่ ง่ึ
ขา้ พเจา้ ขอถึงพระธรรม ว่าเป็นท่ีพ่ึง
ข้าพเจ้าขอถึงพระสงฆ์ วา่ เป็นทีพ่ งึ่
แมว้ าระท่ี ๒ ข้าพเจา้ ขอถึงพระพทุ ธเจา้ ว่าทรงเปน็ ทพี่ ่งึ
ขา้ พเจ้าขอถงึ พระธรรม ว่าเปน็ ทพี่ ่ึง
ขา้ พเจา้ ขอถงึ พระสงฆ์ วา่ เป็นทพ่ี ง่ึ
แม้วาระท่ี ๓ ขา้ พเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า วา่ ทรงเป็นทพ่ี ง่ึ
ขา้ พเจ้าขอถงึ พระธรรม ว่าเป็นทีพ่ ่ึง
ขา้ พเจ้าขอถึงพระสงฆ์ วา่ เป็นทพี่ งึ่

บทนมการสิทธคิ าถา (สมั พุทเธ)

บทนมสั การพระพทุ ธเจ้าทั้งหลายในอดีตเป็นบทนมสั การเก่า
ที่พระสงฆใ์ ช้เจรญิ มาตงั้ แต่สมยั กรุงศรีอยุธยา

สัมพทุ เธ อัฏฐะวีสญั จะ ทว๎ าทะสญั จะ สะหสั สะเก

ปัญจะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง

เตสังธมั มญั จะ สงั ฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง

นะมะการานภุ าเวนะ หนั ตว๎ า สพั เพ อุปทั ทะเว

อะเนกา อันตะรายาปิ วนิ สั สนั ตุ อะเสสะโต ฯ



สัมพทุ เธปัญจะปัญญาสญั จะ จะตวุ สี ะตสิ ะหสั สะเก

ทะสะสะตะสะหสั สานิ นะมามิ สริ ะสา อะหงั

เตสังธมั มญั จะ สงั ฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามหิ ัง

นะมะการานุภาเวนะ หนั ตว๎ า สัพเพ อปุ ัททะเว

อะเนกา อันตะรายาปิ วินสั สนั ตุ อะเสสะโต ฯ

สัมพทุ เธนะวุตตะระสะเต อัฏฐะจตั ตาฬสี ะสะหสั สะเก

วสี ะติสะตะสะหสั สานิ นะมามิ สิระสา อะหงั

เตสงั ธัมมัญจะ สงั ฆญั จะ อาทะเรนะ นะมามิหัง

นะมะการานุภาเวนะ หันตว๎ า สัพเพ อุปัททะเว

อะเนกา อันตะรายาปิ วนิ สั สันตุ อะเสสะโต ฯ

คา้ แปล

ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระพุทธเจ้า ๕๑๒,๐๒๘ พระองค์
ด้ วย เศี ยรเกล้ า ขอนอบน้ อมพ ระธรรมด้ วย พ ระสงฆ์ ด้ วย
ของพระพุทธเจ้าเหล่าน้ันด้วยความเคารพ ด้วยอานุภาพแห่ง
การกระท้าความนอบน้อมจงขจัดเสียซ่ึงสิ่งอันไม่เป็นมงคลทั้งปวง
และอนั ตรายทัง้ หลายเปน็ อเนก จงพินาศไปสน้ิ

ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระพุทธเจ้า ๑,๐๒๔,๐๕๕ พระองค์
ด้วยเศียรเกล้า ขอนอบน้อมพระธรรมด้วย พระสงฆ์ด้วย ของ
พระพุทธเจ้าเหล่านั้นด้วยความเคารพ ด้วยอานุภาพแห่งการกระท้า



ความนอบน้อมจงขจัดเสียซึ่งส่ิงอนั ไมเ่ ป็นมงคลทั้งปวง และอันตราย
ท้ังหลายเปน็ อเนก จงพนิ าศไปส้ิน

ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระพุทธเจ้า ๒,๐๔๘,๑๐๙ พระองค์
ด้วยเศียรเกล้า ขอนอบน้อมพระธรรมด้วย พระสงฆ์ด้วย ของ
พระพุทธเจ้าเหล่าน้ันด้วยความเคารพ ด้วยอานุภาพแห่งการกระท้า
ความนอบนอ้ มจงขจัดเสียซ่ึงส่ิงอันไมเ่ ป็นมงคลท้ังปวง และอันตราย
ท้งั หลายเปน็ อเนก จงพินาศไปสน้ิ เทอญ ฯ

บทนมการสิทธิคาถา (โย จักขมุ าฯ)

คาถานมัสการพระรัตนตรัย เพื่อให้ส้าเรจ็ ในสิง่ ปรารถนา

โย จักขุมา โมหะมะลาปะกฏั โฐ
สามัง วะ พทุ โธ สุคะโต วมิ ตุ โต
มารสั สะ ปาสา วนิ โิ มจะยนั โต
ปาเปสิ เขมงั ชะนะตัง วิเนยยงั ฯ
พทุ ธัง วะรันตัง สริ ะสา นะมามิ
โลกัสสะ นาถญั จะ วินายะกญั จะ
ตนั เตชะสา เต ชะยะสทิ ธิ โหตุ
สัพพันตะรายา จะ วนิ าสะเมนตุ ฯ

ธมั โม ธะโช โย วิยะ ตัสสะ สตั ถุ



ทัสเสสิ โลกัสสะ วิสุทธิมคั คงั
นยิ ยานโิ ก ธัมมะธะรสั สะ ธารี
สาตาวะโห สนั ตกิ ะโร สุจณิ โณ ฯ
ธมั มงั วะรนั ตัง สริ ะสา นะมามิ
โมหัปปะทาลัง อุปะสนั ตะทาหงั
ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ
สัพพนั ตะรายา จะ วินาสะเมนตุ ฯ

สัทธัมมะเสนา สคุ ะตานโุ ค โย
โลกสั สะ ปาปปู ะกเิ ลสะเชตา
สันโต สะยัง สันตินิโยชะโก จะ
ส๎วากขาตะธัมมงั วทิ ิตัง กะโรติ ฯ
สงั ฆัง วะรันตงั สริ ะสา นะมามิ
พุทธานพุ ทุ ธงั สะมะสลี ะทฏิ ฐงิ
ตนั เตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ
สพั พันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ ฯ



คา้ แปล

พระพุทธเจ้าพระองค์ใด มีพระปัญญาจักษุ ทรงขจัดมลทิน
คือ โมหะได้แล้ว ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าโดยพระองค์เอง เสด็จไปดี
หลุดพ้นอย่างประเสริฐแล้ว ทรงเคร่ืองหมู่ชนท่ีสามารถแนะน้าให้ได้
ให้พ้นจากบ่วงมาร น้ามาให้ซึ่งความเกษมด้วย ข้าพเจ้าขอน้อม
นมัสการพระพุทธเจ้าผู้ทรงเป็นผู้ประเสริฐพระองค์นั้น ผู้ทรงเป็นท่ีพ่ึง
และทรงเป็นผู้น้าชาวโลก ด้วยเดชพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ขอท่าน
จงประสบชัยชนะและขออนั ตรายทงั้ ปวงจงพินาศไป ฯ

พระธรรมใด เป็นประหนึ่งธงชัยของพระศาสดาพระองค์นั้น
ช้ีทางแห่งความบริสุทธ์ิแก่โลก น้าหมู่สัตว์ก้าวข้ามยุคเข็ญ คุ้มครอง
ชนผู้ประพฤติธรรม ผู้ประพฤติดีแล้ว ย่อมน้าความสงบสุขมาให้
ข้าพเจ้าขอน้อมนมัสการพระธรรมอันประเสริฐนั้น อันท้าลายเสีย
ซ่ึงโมหะ ระงับความเร่าร้อนลงเสียได้ ด้วยเดชพระธรรมน้ัน ขอท่าน
จงประสบชัยชนะและขออนั ตรายทง้ั ปวงจงพนิ าศไป ฯ

พระสงฆ์หมู่ใด เป็นก้าลังประกาศพระสัทธรรม ด้าเนินชีวิต
ตามแบบอย่างพระบรมศาสดาผู้เสด็จไปดีแล้ว ผจญเสียซึ่งอุปกิเลส
อันลามกของโลก เป็นผู้สงบเองด้วย ท้ังยังสามารถแนะน้าผู้อ่ืนให้
เข้าถึงความสงบได้ดว้ ย เผยแผ่พระธรรมที่พระบรมศาสดาประกาศดี
แล้วให้มีผู้รู้ตาม ข้าพเจ้าขอน้อมนมัสการพระสงฆ์ผู้ประเสริฐนั้น
ผูต้ รสั รู้ตามพระพุทธเจ้า มีศีลและทฏิ ฐเิ สมอกัน ด้วยเดชพระสงฆ์นั้น
ขอท่านจงประสบชัยชนะ และขออันตรายทัง้ ปวงจงพนิ าศไปเทอญ ฯ



บทนโมการอฏั ฐกคาถา

บทนอบน้อมพระรัตนตรัย เพ่ือเกิดเดชานุภาพ ในการ
เจรญิ พระพุทธมนต์

นะโม อะระหะโต สมั มา- สมั พุทธสั สะ มะเหสโิ น

นะโม อตุ ตะมะธัมมัสสะ สวา๎ กขาตัสเสวะ เตนิธะ

นะโม มะหาสังฆสั สาปิ วสิ ุทธะสลี ะทฏิ ฐโิ น

นะโม โอมาต๎ยารทั ธัสสะ ระตะนตั ตะยัสสะ สาธุกงั

นะโม โอมะกาตตี สั สะ ตัสสะ วัตถตุ ตะยสั สะปิ

นะโมการัปปะภาเวนะ วิคัจฉนั ตุ อปุ ัททะวา

นะโมการานุภาเวนะ สวุ ตั ถิ โหตุ สัพพะทา

นะโมการสั สะ เตเชนะ วธิ ิมหิ โหมิ เตชะวา ฯ

คา้ แปล

ขอนอบน้อม แด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
ผทู้ รงแสวงหาประโยชนอ์ ันยิ่งใหญ่

ขอนอบน้อม แด่พระธรรมอันสูงสุดในพระศาสนาน้ี ท่ีพระ
ผมู้ พี ระภาคเจ้าตรสั ไวด้ ีแลว้

ขอนอบน้อม แด่พระสงฆ์หมู่ใหญ่ ผู้มีศีลและทิฏฐิอันงดงาม
การนอบน้อม แด่พระรัตนตรัยที่ปรารภแล้วว่าโอม ขอจง
ส้าเร็จประโยชน์



ขอนอบน้อม แมว้ ัตถุท้งั สามอนั ลว่ งพน้ โทษต่า้ ชา้ นนั้
ด้วยการประกาศการกระท้าความนอบน้อม ขอส่ิงท่ีไม่เป็น
มงคลทง้ั หลายจงบ้าราศไป
ด้วยอานุภาพแห่งการกระท้าความนอบน้อม ขอความสุข
สวัสดีจงมที ุกเมือ่ ด้วยเดชแหง่ การกระท้าความนอบน้อม ขอข้าพเจ้า
จงเป็นผู้มีเดชในการประกอบมงคลพธิ ีเถดิ ฯ

บทมงคลสูตร

มงคลสูตร เป็นพระสตู รว่าด้วยมงคลแห่งชวี ิต การน้ามงคลสูตร
มาสวด ก็เพื่อจะท้าให้มงคลต่างๆ ตามที่ปรากฏในพระสูตร เกิดข้ึน
กับชีวิต ต้องจากนั้น มงคลสูตร ยังมีอานุภาพในการป้องกันภัย
อันตรายอันจะเกิดจากความไม่เที่ยงธรรม ของเหล่าคนพาลสันดาน
หยาบท้ังหลาย ในงานท้าบุญโดยท่ัวไป พระสงฆ์นิยมสวดมงคลสูตร
พร้อมกับเจ้าภาพจุดเทียนมงคล อันแสดงถึงความส่องสว่าง รุ่งเรือง
แห่งมงคลในชีวิต การสวดมงคลสูตรก่อนสูตรอื่นท้ังหมด เป็นการ
แนะน้าผู้ฟังว่า ผู้ท่ีจะด้าเนินชีวิตตามหลักมงคลทั้ง ๓๘ ประการ
ตามท่ีพระพุทธองค์ทรงสั่งสอนน้ันเป็นชีวิตที่มีมงคล ชีวิตเช่นนี้
ไม่จ้าเป็นต้องไปแสวงหามงคลภายนอกจากท่ีไหน เพราะเป็นชีวิต
ที่มีมงคลอยู่ในตัวแล้ว และหากท้าได้ก็จะปราศจากทุกข์โศกโรคภัย
ในการดา้ เนนิ ชีวิตและถงึ ความพ้นทุกข์ไดใ้ นท่ีสดุ

๑๐

พะหเู ทวา มะนุสสา จะ มังคะลานิ อะจนิ ตะยุง
อากงั ขะมานาโสตถานงั พร๎ ูหิ มังคะละมตุ ตะมงั ฯ

อะเสวะนา จะ พาลานงั ปณั ฑิตานัญจะ เสวะนา
ปชู า จะ ปชู ะนยี านัง เอตัมมงั คะละมตุ ตะมัง ฯ
ปะฏริ ปู ะเทสะวาโส จะ ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา
อัตตะสัมมาปะณธิ ิ จะ เอตัมมังคะละมตุ ตะมงั ฯ
พาหุสจั จัญจะ สปิ ปัญจะ วนิ ะโย จะ สสุ กิ ขโิ ต
สุภาสติ า จะ ยา วาจา เอตมั มังคะละมตุ ตะมงั ฯ
มาตาปิตอุ ปุ ัฏฐานัง ปุตตะทารสั สะ สงั คะโห
อะนากุลา จะ กัมมันตา เอตัมมงั คะละมตุ ตะมงั ฯ
ทานญั จะ ธัมมะจะริยา จะ ญาตะกานัญจะ สงั คะโห
อะนะวัชชานิ กัมมานิ เอตัมมงั คะละมตุ ตะมงั ฯ
อาระตี วิระตี ปาปา มัชชะปานา จะ สญั ญะโม
อปั ปะมาโท จะ ธมั เมสุ เอตมั มงั คะละมตุ ตะมงั ฯ
คาระโว จะ นวิ าโต จะ สนั ตฏุ ฐี จะ กะตัญญตุ า
กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง เอตัมมังคะละมตุ ตะมงั ฯ
ขนั ตี จะ โสวะจสั สะตา สะมะณานญั จะ ทสั สะนัง
กาเลนะ ธัมมะสากจั ฉา เอตมั มงั คะละมตุ ตะมัง ฯ
ตะโป จะ พ๎รหั ม๎ ะจะริยญั จะ อะริยะสัจจานะ ทสั สะนงั
นิพพานะสจั ฉกิ ิริยา จะ เอตัมมงั คะละมตุ ตะมัง ฯ

๑๑

ผุฏฐสั สะ โลกะธัมเมหิ จติ ตัง ยัสสะ นะ กมั ปะติ
อะโสกงั วิระชงั เขมัง เอตมั มังคะละมตุ ตะมงั ฯ
เอตาทสิ านิ กัต๎วานะ สัพพัตถะมะปะราชิตา
สัพพตั ถะ โสตถงิ คัจฉันติ ตนั เตสงั มงั คะละมตุ ตะมันติ ฯ

คา้ แปล

เทวดาไดก้ ราบทูลถามพระผมู้ ีพระภาคเจา้ ดว้ ยคาถาวา่

เทวดาและมนุษย์เป็นอันมาก ต่างก็หวังความสวัสดี จึงได้
พากันคิดเร่ืองมงคล เหตุให้ถึงความเจริญทั้งหลาย ขอพระองค์โปรด
ตรัสมงคลอนั สูงสุดเถิด ฯ

พระผ้มู ีพระภาคเจา้ ได้ตรสั สิ่งทีเ่ ป็นมงคลตอบว่า

การไม่คบคนพาลทั้งหลาย ๑ การคบบัณฑิตท้ังหลาย ๑
การบชู าผทู้ ีค่ วรบชู า ๑ ทัง้ ๓ ประการนี้ เป็นมงคลสงู สุด ฯ

การอยู่ถิ่นท่ีเหมาะสม ๑ ความมีบุญท่ีได้ท้าไว้ในกาลก่อน ๑
การวางตวั เหมาะสมชอบธรรม ๑ ท้งั ๓ ประการน้ี เปน็ มงคลสงู สุด ฯ

ความเป็นผู้มีการศึกษาเล่าเรียนมามาก ๑ ความเป็นผู้มี
ศิลปะวิทยา ๑ ความเป็นผู้มีระเบียบวินัยที่ได้รับการอบรมมาดี ๑
การพดู จาปราศรยั ดี ๑ ทงั้ ๔ ประการน้ี เป็นมงคลสูงสดุ ฯ

การเลี้ยงดูบิดามารดา ๑ การสงเคราะห์บุตร ๑ การสงเคราะห์
ภรรยา ๑ การท้างานไม่ค่งั คา้ ง ๑ ทงั้ ๔ ประการน้ี เปน็ มงคลสูงสดุ ฯ

๑๒

การให้ทาน ๑ การประพฤติตามหลักธรรม ๑ การสงเคราะห์
ญาติทั้งหลาย ๑ การท้างานท่ีปราศจากโทษ ๑ ท้ัง ๔ ประการนี้
เป็นมงคลสงู สดุ ฯ

การงดเวน้ จากความชั่ว ๑ การบงั คบั ตนจากการด่ืมน้าเมา ๑
ความไม่ประมาทในธรรมทั้งหลาย ๑ ท้ัง ๓ ประการนี้ เป็นมงคล
สูงสดุ

การมคี วามเคารพ ๑ การมีความออ่ นน้อมถอ่ มตน ๑ การมี
ความสันโดษ ๑ การมคี วามกตัญญู ๑ การฟงั ธรรมตามกาล ๑ ทั้ง ๕
ประการนี้ เป็นมงคลสูงสุด ฯ

ความอดทน ๑ ความเป็นผู้ว่านอนสอนง่าย ๑ การพบเห็น
สมณะ ๑ การสนทนาธรรมตามกาล ๑ ทั้ง ๔ ประการนี้เป็นมงคล
สูงสุด ฯ

การมีความเพียรเป็นเครื่องเผากิเลส ๑ การประพฤติ
พรหมจรรย์ ๑ การเห็นอริยสัจทั้งหลาย ๑ การท้าพระนิพพาน
ใหแ้ จง้ ๑ ทัง้ ๔ ประการนี้ เปน็ มงคลสงู สุด ฯ

ผู้ที่มีจิตถูกโลกธรรมกระทบแล้วไม่หว่ันไหว ๑ จิตไม่มี
ความโศกเศร้า ๑ ติดหมดธุลีคือกิเลส ๑ จิตถึงความปลอดโปร่ง
คือ ปลอดจากกิเลสท้งั ปวง ๑ ทงั้ ๔ ประการน้ี เป็นมงคลสงู สดุ ฯ

เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย พากันปฏิบัติตามมงคลอันเป็น
เหตุน้าไปสู่ความเจริญนี้แล้ว จะเป็นผู้ไม่แพ้ขา้ ศึกทุกหมูเ่ หล่ายอ่ มถึง
ความสุขสวัสดีในที่ทุกสถาน น้ีเป็นมงคลอันสูงสุดของเทวดาและ
มนษุ ย์ท้งั หลาย

๑๓

บทรตนสตู ร

รตนสูตร เป็นพระสูตรที่พระอานนท์เรียนจากพระพุทธองค์
โดยตรง เพ่ือใช้สวดขจัดปัดเป่าภัยพิบัติที่เกิดกับชาวกรุงเวสาลี
พระพุทธองค์ทรงแนะน้าให้พระเถระอ้างคุณของพระรัตนะ คือ
พุทธรัตนะ ธรรมรัตนะ สังฆรัตนะ ท้าสัจกิริยาให้เกิดเป็นอานุภาพ
ขจดั ปดั เป่าภยั พิบตั ิทง้ั หลาย เน้อื ความรตนสูตรท่อนแรก เร่มิ ต้นดว้ ย
การแนะน้าให้เหล่าภูตท้ังหลาย ได้อนุโมทนาบุญกุศลที่หมู่มนุษย์
อุทิศให้ และเมื่ออนุโมทนาแล้วขอให้เกิดความเมตตา ท้าการรักษา
มนุษย์ท้ังหลาย เน้ือความท่านต่อมา เป็นการอ้างคุณพระรัตนตรัย
เป็นสัจวาจา ให้เกิดความสวัสดี ส่วนท่อนสุดท้าย เป็นค้ากล่าวของ
ท้าวสักกะที่ผูกขึ้นเป็นคาถาพรรณนาคุณพระรัตนตรัยเป็นสัจวาจา
ให้เกิดความสวัสดี ภายหลังได้กลายเป็นแบบอย่างในการท้าน้า
พระพุทธมนต์ส้าหรับพระสงฆ์สาวก ต่อมาจนถึงปัจจุบัน ทุกคร้ัง
ท่มี ีการทา้ น้าพระพุทธมนตจ์ ะต้องสวดรตนสูตร

ด้วยอานุภาพแห่งรตนสูตรน้ี แม้กรุงเวสาลีจะเกิดภัยพิบัติ
อย่างร้ายแรง ผู้คนอดอยากล้มตายเป็นจ้านวนมาก ซากศพถูกท้ิง
เกลื่อนนคร ภูตผีปีศาจท้าอันตรายแก่หมู่มนุษย์ โรคระบาดเกิดขึ้น
แพร่กระจายไปท่ัว ผู้คนล้มตายเหลือท่ีจะนับได้ เมื่อพระพุทธองค์
ทรงรบั สั่งให้พระอานนทส์ วดรตนสูตร และประพรมนา้ พระพุทธมนต์
ภัยพิบัติร้ายแรงเช่นน้ีก็ยังระงับลงได้อย่างฉับพลัน จุดประสงค์ของ
การสวดรตนสูตรก็เพ่ือเป็นการขจัดภัยทั้ง ๓ ประการ ตามที่ปรากฏ

๑๔

อยู่ในพระสูตร คือ ข้าวยากหมากแพง (ทุพภิกขภัย) ๑ ภูตผีปีศาจท้า
อันตราย (อะมะนุสสะภั ย) ๑ โรคภั ยไข้เจ็บ (โรคะภั ย) ๑
ให้อนั ตรธานไป

ยานีธะ ภตู านิ สะมาคะตานิ
ภุมมานิ วา ยานิวะ อนั ตะลกิ เข
สัพเพ วะ ภตู า สมุ ะนา ภะวันตุ
อะโถปิ สักกัจจะ สณุ ันตุ ภาสติ ัง
ตสั ม๎ า หิ ภูตา นสิ าเมถะ สพั เพ
เมตตงั กะโรถะ มานสุ ิยา ปะชายะ
ทิวา จะ รตั โต จะ หะรนั ติ เย พะลงิ

ตัสมา หิเนรักขะถะ อปั ปะมตั ตาฯ
ยงั กิญจิ วิตตงั อิธะ วา หรุ งั วา

สัคเคสุ วา ยัง ระตะนงั ปะณตี งั
นะ โน สะมงั อตั ถิ ตะถาคะเตนะ
อทิ มั ปพิ ุทเธ ระตะนงั ปะณตี ัง
เอเตนะ สจั เจนะ สุวัตถิโหตุฯ

ขะยงั วิราคงั อะมะตงั ปะณีตงั
ยะทัชฌะคา สกั ยะมุนี สะมาหิโต
นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมตั ถกิ ญิ จิ
อิทัมปิธมั เม ระตะนังปะณีตัง
เอเตนะ สจั เจนะ สุวัตถโิ หตฯุ

๑๕

ยมั พทุ ธะเสฏโฐ ปะริวณั ณะยี สจุ งิ
สะมาธิมานันตะริกญั ญะมาหุ
สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ
อทิ มั ปิธมั เม ระตะนงั ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ัตถโิ หตุฯ

เย ปุคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสฏั ฐา
จตั ตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนติ
เต ทกั ขเิ ณยยา สคุ ะตัสสะ สาวะกา
เอเตสุ ทนิ นานิ มะหัปผะลานิ
อทิ มั ปสิ งั เฆ ระตะนงั ปะณีตัง
เอเตนะ สจั เจนะ สวุ ัตถิ โหนตุฯ

เย สปุ ปะยตุ ตา มะนะสา ทัฬเหนะ
นกิ กามโิ น โคตะมะสาสะนัมหิ
เต ปตั ตปิ ัตตาอะมะตงั วคิ ยั หะ
ลทั ธามุธานิพพุติง ภุญชะมานา
อิทมั ปิสังเฆ ระตะนงั ปะณีตงั
เอเตนะ สจั เจนะ สวุ ัตถโิ หตุ ฯ

ยะถนิ ทะขีโลปะฐะวงิ สิโต สยิ า
จะตพุ ภิ วาเตภอิ ะสัมปะกมั ปิโย
ตะถปู ะมงั สัปปุริสัง วะทามิ
โย อะรยิ ะสัจจานิ อะเวจจะ ปสั สะติ

๑๖

อทิ ัมปสิ งั เฆ ระตะนงั ปะณีตงั
เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ตั ถิโหตุฯ

เย อะริยะสัจจานิ วิภาวะยนั ติ
คัมภรี ะปัญเญนะ สเุ ทสติ านิ
กิญจาปิ เต โหนติ ภสุ ปั ปะมัตตา
นะ เต ภะวงั อัฏฐะมะมาทยิ ันติ
อทิ มั ปสิ งั เฆ ระตะนงั ปะณีตงั
เอเตนะ สจั เจนะ สวุ ตั ถิโหตุฯ

สะหาวสั สะ ทัสสะนะสมั ปะทายะ
ตยัสสุ ธมั มา ชะหิตาภะวนั ติ
สักกายะทิฏฐิ วิจิกิจฉิตัญจะ
สลี ัพพะตงั วาปิยะทัตถกิ ญิ จิ
จะตหู ะปาเยหิ จะ วิปปะมุตโต
ฉะ จาภฐิ านานิ อะภพั โพ กาตุง
อทิ มั ปิสังเฆ ระตะนงั ปะณีตัง
เอเตนะ สจั เจนะ สุวัตถิโหตุฯ

กญิ จาปโิ สกัมมัง กะโรติ ปาปะกงั
กาเยนะ วาจายุทะ เจตะสา วา
อะภพั โพ โสตัสสะ ปะฏิจฉะทายะ
อะภัพพะตา ทฏิ ฐะปะทสั สะ วุตตา
อทิ มั ปิสงั เฆ ระตะนงั ปะณตี งั
เอเตนะ สัจเจนะ สวุ ัตถิโหตุฯ

๑๗

วะนปั ปะคมุ เพ ยะถา ผสุ สติ คั เค
คิมหานะมาเส ปะฐะมัสมงิ คมิ เห
ตะถูปะมงั ธมั มะวะรัง อะเทสะยิ
นิพพานะคามงิ ปะระมงั หิตายะ
อิทัมปพิ ทุ เธ ระตะนังปะณีตงั
เอเตนะ สัจเจนะ สุวตั ถโิ หตุฯ

วะโร วะรญั ญู วะระโท วะราหะโร
อะนุตตะโร ธมั มะวะรงั อะเทสะยิ
อิทมั ปพิ ุทเธ ระตะนงั ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวตั ถิโหตุฯ

ขณี ัง ปรุ าณงั นะวัง นัตถิสัมภะวงั
วิรัตตะจติ ตายะตเิ ก ภะวสั มิง
เต ขีณะพีชา อะวิรุฬหิฉนั ทา
นิพพันติ ธีรา ยะถายัมปะทีโป
อทิ ัมปสิ ังเฆ ระตะนงั ปะณีตงั
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิโหตฯุ

ยานีธะ ภตู านิ สะมาคะตานิ
ภมุ มานิ วา ยานวิ ะ อันตะลกิ เข
ตะถาคะตัง เทวะมะนสุ สะปูชติ งั
พุทธงั นะมสั สามะ สวุ ัตถโิ หตุฯ

๑๘

ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ
ภมุ มานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข
ตะถาคะตงั เทวะมะนสุ สะปูชติ งั
ธัมมงั นะมสั สามะ สุวัตถโิ หตฯุ

ยานีธะ ภตู านิ สะมาคะตานิ
ภมุ มานิ วา ยานวิ ะ อันตะลิกเข
ตะถาคะตัง เทวะมะนสุ สะปชู ิตงั
สังฆงั นะมสั สามะ สวุ ัตถิโหตฯุ

คา้ แปล

หมู่ภูตผีปีศาจประจ้าถ่ินท้ังหลาย ท่ีประชุมกันอยู่ในเมืองนี้
ก็ดี ที่ประชุมกันอยู่ในอากาศก็ดี ขอหมู่ภูตผีปีศาจท้ังปวงนั้น
จงเป็นผู้มีใจดี และจงฟังธรรมของพระตถาคตเจ้าท่ีเรากล่าวแล้วนี้
โดยเคารพเถิด เพราะเหตุนี้ท่ีท่านท้ังหลาย เป็นผู้มีใจดีอย่างน้ีน้ัน
ท่านภตู ผีปศี าจทั้งหลาย จงตั้งใจฟัง แล้วกระทา้ ไมตรีจิตในชุมชนหมู่
มนุษย์ ขอท่านท้ังหลายจงเป็นผู้ไม่ประมาท รักษาหมู่มนุษย์ผู้ซ่ึง
สังเวยท่านด้วยพลีกรรมท้ังกลางวันและกลางคืน ตลอดกาล
ทุกเม่ือเถิด ฯ

ทรัพย์อันท้าให้ยินดีและปล้ืมใจ อย่างใดอย่างหน่ึง ในโลกนี้
หรือโลกอื่น หรือว่ารัตนะอันประณีตในสวรรค์ ทรพั ยห์ รอื รัตนะนั้นๆ
ที่จะวิเศษเสมอด้วยพระตถาคตเจ้าน้ันไม่มีเลย คุณวิเศษแม้อันนี้

๑๙

เป็นรัตนะอันประณีตในพระพุทธเจ้า ด้วยการกล่าวค้าสัตย์จริงนี้
ขอความสวัสดีจงมี ฯ

พระศรีศากยมุนีเจ้า ผู้มีพระทัยด้ารงตั้งม่ัน ได้บรรลุถึง
ความสิน้ ไปแห่งกิเลสและความสนิ้ ไปแหง่ ราคะ อันเป็นอมตธรรมอัน
ประณีตแล้ว สิ่งวิเศษใด ๆ จะเสมอด้วยพระธรรมน้ัน ย่อมไม่มี
คุณวิเศษแม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระธรรม ด้วยการกล่าว
คา้ สัตย์จริงน้ี ขอความสวสั ดจี งมี ฯ

พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสุด ทรงสรรเสริญสมาธิว่าเป็นธรรม
อันสะอาด และบัณฑิตท้ังหลายกล่าวว่า สมาธิเป็นครุธรรมอันให้ผล
โดยล้าดับสม่้าเสมอ คุณธรรมอ่ืน ๆ ท่ีจะเสมอด้วยสมาธิท่ีพระพุทธเจ้า
ทรงสรรเสริญแล้วน้ัน ย่อมไม่มี คณุ วิเศษแม้อันน้ี เป็นรัตนะอันประณีต
ในพระธรรม ดว้ ยการกล่าวคา้ สตั ยจ์ รงิ น้ี ขอความสวัสดีจงมี ฯ

พระอริยบุคคล ๘ จ้าพวก ๔ คู่ ท่ีสัตบุรุษสรรเสริญแล้วน้ัน
เป็นสาวกของพระสุคตเจ้า เป็นผู้ควรรับทานที่หมู่ชนน้ามาถวาย
ทานทงั้ หลายทถี่ วายในพระอรยิ บุคคล ๘ จา้ พวก ๔ คูเ่ หล่านั้นย่อมมี
ผลมาก คุณวิเศษแม้อย่างน้ี เป็นรัตนะอันประณีตในพระอริยสงฆ์
ด้วยการกล่าวค้าสัตย์จรงิ นี้ ขอความสวสั ดจี งมี ฯ

พระอริยบุคคลท้ังหลายในศาสนาของพระสมณโคดมเจ้า
เป็นผู้ประกอบด้วยความเพียรดีแล้ว มีใจม่ันคง มีความใคร่ออกไป
แล้ว พระอริยบุคคลท้ังหลายเหล่านั้น เป็นผู้ถึงอรหัตผลที่ควรถึง
ได้หย่ังจิตเข้าสู่นิพพาน แล้วได้ความดับกิเลสโดยง่ายแบบกินเปล่า
แล้วจึงเสวยผลที่ได้น้ันอยู่ตลอดกาล คุณวิเศษแม้อย่างนี้ เป็นรัตนะ

๒๐

อันประณีตในพระธรรม ด้วยการกล่าวค้าสัตย์จริงนี้ ขอความสวัสดี
จงมี ฯ

เสาเข่ือนท่ีฝังลงดินแล้วย่อมไม่หว่ันไหวสั่นสะเทือนด้วยลม
พายุจากส่ีทิศฉันใด เราตถาคต ย่อมเรียนบุคคลผู้มีปัญญาอันหย่ัง
ลงเห็นอริยสัจท้ังหลายว่าเป็นสัตบุรุษผู้ไม่หวั่นไหวด้วยโลกธรรม
มอี ุปมาแม้ฉันนั้น คุณวิเศษแม้อยา่ งนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์
ดว้ ยการกล่าวค้าสตั ยจ์ ริงนี้ ขอความสวสั ดีจงมี ฯ

พระโสดาบัน ผู้กระท้าให้แจ้งซึ่งอริยสัจท้ังหลายที่พระ
ตถาคตเจ้าผู้มีปัญญาอนั ลึกซึ้งทรงแสดงไว้ดีแล้ว แต่พระโสดาบันนั้น
ก็ยังเป็นผู้ประมาทอยู่ ถึงกระนั้น ท่านย่อมไม่ก่อกรรมเป็นเหตุให้
ถือเอาการเกิดในภพชาติท่ี ๘ อีกอย่างแน่นอน คุณวิเศษแม้อย่างน้ี
เป็นรัตนะอันประณีตในพระอริยสงฆ์ ด้วยการกล่าวค้าสัตย์จริงนี้
ขอความสวสั ดจี งมี ฯ

พระโสดาบันละสังโยชน์ ๓ คือ สักกายทิฐิ วิจิกิจฉา
สีลัพพตปรามาส ได้แล้ว พร้อมด้วยความถึงพร้อมแห่งการเห็นด้วย
ปัญญาน้ันเทียว อน่ึง พระโสดาบันเป็นผู้พ้นจากอบายภูมิท้ัง ๔ แล้ว
เป็นผู้ไม่อาจเพื่อจะกระท้าอภิฐานะ คือ เหตุแห่งความฉิบหายอัน
ย่งิ ใหญท่ ั้ง ๖ ได้แก่ อนนั ตริยกรรม ๕ และการไปเข้ารตี ศาสนาอื่นได้
อีกต่อไป คุณวิเศษแม้อย่างน้ี เป็นรัตนะอันประณีตในพระอริยสงฆ์
ดว้ ยการกลา่ วคา้ สัตย์จรงิ น้ี ขอความสวัสดจี งมี ฯ

พระโสดาบันน้ัน ยังกระท้าบาปกรรมเล็กน้อย ด้วยกายหรือ
วาจาใจบ้าง แม้เพราะเหตุคือ การท้าบาปกรรมแม้เล็กน้อยนี้ ก็ไม่
ควรเพ่ือจะปกปิดบาปกรรมอันน้ัน เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าทรง

๒๑

ตรัสไว้แล้วว่า พระโสดาบันเป็นผู้เห็นทางพระนิพพานแล้ว จึงไม่
ควรเพ่ือจะปิดบาปกรรมอันเล็กน้อยน้ัน คุณวิเศษแม้อย่างน้ี เป็น
รัตนะอันประณีตในพระอริยสงฆ์ ด้วยการกล่าวค้าสัตย์จริงนี้
ขอความสวัสดจี งมี ฯ

พุ่มไม้ในป่า ออกยอดมาในระยะต้นเดือนท่ีอากาศเร่ิมร้อน
แห่งฤดูร้อนฉันใด พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงแสดงพระธรรมอัน
ประเสริฐ เป็นทางให้ถึงพระนิพพาน เพื่อประโยชน์อย่างย่ิงแก่
หมู่สัตว์ท้ังหลาย มีอุปมาฉันนั้น คุณวิเศษแม้อย่างน้ี เป็นรัตนะอัน
ประณีตในพระพุทธเจ้า ด้วยการกล่าวค้าสัตย์จริงนี้ ขอความสวัสดี
จงมี ฯ

พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐ ทรงรู้ธรรมอนั ประเสริฐ ทรงให้ธรรม
อันประเสริฐ เป็นผู้น้ามาซึ่งธรรมอันประเสริฐ เป็นผู้ยอดเย่ียมหา
ผู้อื่นในโลกเทียบไม่ได้ ได้ทรงแสดงซ่ึงพระธรรมอันประเสริฐแล้ว
คุณวิเศษแม้อย่างน้ี เป็นรัตนะอันประณีตในพระพุทธเจ้า ด้วยการ
กล่าวค้าสัตย์จรงิ นี้ ขอความสวสั ดีจงมี ฯ

กรรมเก่าของพระอริยบุคคลท้ังหลายส้ินแล้ว กรรมอันแต่ง
ให้เกิดใหม่ย่อมไม่มี มีจิตอันหน่ายในภพต่อไปแล้ว พระอริยบุคคล
เหล่านั้น สิ้นพืชคือตัณหาคือเหตุให้เกิดแล้ว ไม่มีความพอใจในภพ
งอกขึ้นมาอีกแล้ว เป็นผู้มีปัญญา ย่อมดับกิเลสไม่มีเชื้อเหลือเหมือน
สว่างอันดับไปแล้วฉะนั้น คุณวิเศษแม้อย่างน้ี เป็นรัตนะอันประณีต
ในพระอริยสงฆ์ ด้วยการกล่าวคา้ สัตย์จรงิ น้ี ขอความสวสั ดจี งมี ฯ

๒๒

หมู่ภูตผีปีศาจประจ้าถ่ินทั้งหลาย ท่ีประชุมกันอยู่ในที่น้ีก็ดี
ที่ประชุมกันอยู่ในอากาศก็ดี เราท้ังหลายจงพากันนอบน้อม
พระพุทธเจ้า ผู้เสด็จมาแล้วอย่างนี้ ซ่ึงเป็นผู้ท่ีเทวดาและมนุษย์
บชู าแล้ว ขอความสวัสดจี งมี ฯ

หมู่ภูตผีปีศาจประจ้าถ่ินทั้งหลาย ท่ีประชุมกันอยู่ในท่ีนี้ก็ดี
ท่ีประชุมกันอยู่ในอากาศก็ดี เราทั้งหลายจงพากันนอบน้อม
พระธรรม ซึ่งเป็นธรรมท่ีเทวดาและมนุษย์บูชาแล้ว ขอความสวัสดี
จงมี ฯ

หมู่ภูตผีปีศาจประจ้าถิ่นทั้งหลาย ท่ีประชุมกันอยู่ในที่นี้ก็ดี
ที่ประชุมกันอยู่ในอากาศก็ดี เราท้ังหลาย จงพากันนอบน้อม
พระอริยสงฆ์ผู้มาแล้วอย่างน้ัน ซ่ึงเป็นผู้ท่ีเทวดาและมนุษย์บูชาแล้ว
ขอความสวัสดจี งมี ฯ

บทกรณียเมตตสูตร

กรณียเมตตสูตร เป็นพระสูตรท่ีพระพุทธองค์ทรงแนะน้า
พระภิกษุให้แผ่เมตตาจิตไปในมวลสรรพสัตว์ ตลอดจนเทพเทวดา
ภูตผีปีศาจท้ังหลายไม่มีประมาณ ไม่มีขอบเขต ไร้พรมแดนขีดคั่น
ไม่ว่าสัตว์นั้นหรือเขาผู้นั้นจะเป็นเชื้อชาติ ศาสนาอะไร จะเก่ียวข้อง
กับเรา โดยความเป็นญาติ เป็นประเทศ เป็นเช้ือชาติ ศาสนาหรือ
ไม่ก็ตาม ให้มีจิตกว้างขวางไร้ขอบเขตขีดค่ัน ขอให้เขาได้มีความสุข
หากท้าได้เช่นน้ี นอกจากเทวดาจะไมแ่ สดงส่ิงที่น่ากลวั หลอกหลอนแล้ว
ยังมีใจอนเุ คราะห์พระภิกษุ โดยไมตรจี ติ ดว้ ยความออ่ นโยนมีเมตตา

๒๓

เมื่อต้องเดินทางผ่านป่าเขาล้าเนาไพร หรือไปอยู่ในสถานท่ีท่ี
ไม่คุ้นเคย ท่านให้สวดกรณียเมตตสูตร เพื่อเป็นเคร่ืองคุ้มครองป้องกัน
ภยันตราย อันจะเกิดจากอมนุษย์ ภูตผีปีศาจทั้งหลาย ให้เกิดเป็น
ความออ่ นโยนมเี มตตา

กะระณยี ะมตั ถะกุสะเลนะ ยนั ตัง สันตัง ปะทงั อะภิสะเมจจะ
สักโก อุชู จะ สหุ ชุ ู จะ สุวะโจจัสสะ มุทุ อะนะติมานี
สนั ตุสสะโก จะ สุภะโร จะ อปั ปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ
สันตนิ ทรโิ ย จะ นิปะโก จะ อัปปะคัพโภกุเลสุ อะนะนคุ ิทโธ
นะ จะ ขุททัง สะมาจะเรกิญจิ เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยงุ
สขุ โิ น วา เขมิโน โหนตุ สพั เพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตตั ตา
เย เกจิ ปาณะภตู ตั ถิ ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา
ทฆี า วา เย มะหันตา วา มัชฌมิ า รสั สะกา อะนุกะถลู า
ทิฏฐา วา เย จะ อะทฏิ ฐา เย จะ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร
ภตู า วา สัมภะเวสี วา สพั เพ สตั ตา ภะวันตุ สขุ ิตตั ตา
นะ ปะโร ปะรงั นกิ พุ เพถะ นาตมิ ญั เญถะ กัตถะจิ นังกญิ จิ
พ๎ยาโรสะนา ปะฏฆี ะสญั ญา นาญญะมญั ญสั สะ ทกุ ขะมิจเฉยยะ

มาตา ยะถา นิยงั ปุตตัง อายสุ า เอกะปุตตะมะนรุ กั เข
เอวมั ปิสัพพะภเุ ตสุ มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง
เมตตัญจะ สพั พะโลกสั ๎มงิ มานะสมั ภาวะเย อะปะริมาณัง
อทุ ธงั อะโธ จะ ตริ ยิ ญั จะ อะสัมพาธงั อะเวรงั อะสะปัตตงั
ติฏฐญั จะรัง นิสินโน วา สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมทิ โธ
เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ พ๎รัหม๎ ะเมตัง วิหารงั อธิ ะมาหุ
ทฏิ ฐญิ จะ อะนุปะคัมมะ สลี ะวา ทัสสะเนนะ สัมปนั โน
กาเมสุ วิเนยยะ เคธงั นะ หิ ชาตุ คพั ภะเสยยัง ปนุ ะเรตตี ิ ฯ

๒๔

คา้ แปล

ภกิ ษุผู้ฉลาดในสิ่งท่ีเป็นประโยชน์ ประสงค์จะบรรลุแดนสงบ
(พระนิพพาน) พึงท้าตน (ตามหลักไตรสิกขา) ภิกษุน้ันพึงเป็น
ผ้อู าจหาญซ่ือตรง มีความมุง่ ม่ัน ว่าง่ายอ่อนโยน หมดความยดึ ถือตัว
(ไมม่ ีอคติมานะ)

อนง่ึ ภิกษุนั้นพงึ เป็นผู้สันโดษ เล้ียงง่าย มีกิจธรุ ะนอ้ ย ด้าเนิน
ชีวิตเป็นอยู่อย่างเรียบง่าย มีอินทรยี ์สงบ มีปัญญาพาตัวรอด ไม่คะนอง
กายวาจา ไม่พัวพันกับตระกูลทั้งหลาย (ไม่ประจบเอาใจพวกคฤหัสถ์)
ทรี่ า้่ รวยหรอื มอี ้านาจ

ไม่พึงประพฤติส่ิงเล็กน้อยอะไร ท่ีจะเป็นเหตุให้ผู้รู้ต้าหนิ
(พึงแผเ่ มตตาจติ ไปในสรรพสัตว์ว่า) ขอสัตวท์ ้ังปวงจงเปน็ ผู้มีความสุข
กายสขุ ใจ ปลอดพ้นจากภยั ทั้งปวง ทา้ ตนให้ถึงสุขเถดิ

สัตว์มีชีวิตทั้งหลาย ทั้งที่เป็นผู้หวาดสะดุ้ง (มีกิเลส) ท้ังที่
ม่ันคง (หมดกิเลส) บรรดามีทั้งหมด ทั้งท่ีมีกาย ยาวใหญ่ ปานกลาง
สน้ั ละเอียดหรอื หยาบ

ทั้งท่ีเคยเห็นหรือไม่เคยเห็น ทั้งท่ีอยู่ไกลหรือใกล้ ท้ังที่เกิด
แล้วหรือที่ก้าลังแสวงหาที่เกิด ขอสัตว์ท้ังปวงเหล่าน้ันจงมีความสุข
กายสุขใจเถดิ

เกิดเป็นคนไม่พึงหลอกลวงกัน ไม่พึงดูหมิ่นกันในที่ไหน ๆ
ไมเ่ บยี ดเบยี นทา้ รา้ ยกัน หรอื มใี จมงุ่ ร้ายปรารถนาทุกข์แก่กนั และกัน

มารดาถนอมบุตรคนเดียวของตนด้วยชีวิตฉันใด บุคคลพึง
เจรญิ เมตตาจิตไม่มีประมาณในสัตวท์ ง้ั ปวงฉนั น้ัน

๒๕

บุคคลพึงเจริญเมตตาจิตอันไม่มีประมาณ ไม่มีขอบเขต ไม่มี
เวรไม่มีศัตรู ในสัตว์โลกท้ังหมด ในอรูปภูมิเบื้องต้น (อรูปพรหม ๔)
ในรูปภูมิเบ้ืองกลาง (รูปพรหม ๑๖) และกามาวจรภูมิเบื้องต้่า
(เทวโลก มนษุ ยโลก อบายภูม)ิ

ผู้เจริญเมตตาจิตเช่นน้ีนั้น ไม่ว่าจะอยู่ในอิริยาบถใด จะยืน
เดินนั่งหรือนอนอยู่ก็ตาม จะเป็นผู้ปราศจากความท้อแท้เหน่ือย
หน่าย จะต้ังสติไว้ได้นานตราบเท่าท่ีต้องการ พระพุทธเจ้าท้ังหลาย
ตรัสการอยู่ด้วยเมตตาเช่นนี้ว่า เป็นความประพฤติที่ประเสริฐใน
พระศาสนานี้

บุคคลผู้แผ่เมตตาจิตน้ัน จะไม่ถล้าเข้าสู่ความเห็นผิด เป็นผู้
บริบูรณ์ด้วยศีล ถึงพร้อมด้วยความเห็นชอบ เม่ือขจัดความยินดีใน
กามทั้งหลายได้แล้ว ย่อมไม่กลบั มาสู่การเกิดในครรภอ์ ีกครง้ั แน่นอน
(สา้ เรจ็ เปน็ พระอรหันตแ์ ละปรนิ พิ พานไปในทส่ี ุด)

บทขนั ธปรติ ร

ขนั ธปรติ ร พระพุทธองค์ทรงสอนให้พระภิกษุแผ่เมตตาไปใน
บรรดาตระกูลงูที่มีพิษร้ายท้ังหลาย โดยเช่ือว่าเพ่ือเป็นการคุ้มครอง
ป้องกันตนเองจากสัตว์ร้าย และยังมีความเชื่อว่าสามารถป้องกัน
อนั ตรายจากยาพษิ ทง้ั หลายได้ดว้ ย

๒๖

วิรปู กั เขหิ เม เมตตงั เมตตงั เอราปะเถหิ เม
ฉัพ๎ยาปตุ เตหิ เม เมตตงั เมตตัง กัณหาโคตะมะเกหิ จะ
อะปาทะเกหิ เม เมตตงั เมตตงั ทปิ าทะเกหิ เม
จะตปุ ปะเทหิ เม เมตตัง เมตตัง พะหุปปะเทหิ เม
มา มังอะปาทะโก หงิ สิ มา มงั หงิ สิ ทิปาทะโก
มา มัง จะตปุ ปะโท หงิ สิ มา มงั หิงสิ พะหุปปะโท
สพั เพ สัตตา สัพเพ ปาณา สัพเพ ภตู า จะ เกวะลา
สพั เพ ภัทร๎ านิ ปสั สนั ตุ มา กญิ จิ ปาปะมาคะมา

อัปปะมาโณ พุทโธ, อปั ปะมาโณธัมโม, อปั ปะมาโณสังโฆ,
ปะมาณะวันตานิ สริ ิงสะปาน,ิ อะหิ วิจฉกิ า สะตะปะที อุณณานาภี
สะระพู มูสิกา, กะตา เม รักขา กะตา เม ปะรติ ตา, ปะฏิกกะมันตุ
ภตู านิ, โสหัง นะโม ภะคะวะโต,นะโม สัตตนั นงั สมั มาสมั พุทธานัง ฯ

ค้าแปล

ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับพญานาคท้ังหลาย สกุล
วิรปู ักข์, ความเป็นมิตรของเรา มกี ับพญานาคท้ังหลาย สกุลเอราบถ,
ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับพญานาคท้ังหลาย สกุลฉัพยาบุตร,
ความเปน็ มิตรของเรา จงมกี ับพญานาคทั้งหลาย ตระกูลกณั หาโคตมกะ,
ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับสัตว์ไม่มีเท้า, ความเป็นมิตรของเรา
มีกับสัตว์ ๒ เท้า, ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับสัตว์ทั้งหลาย

๒๗

ท่ีมี ๔ เท้า, ความเป็นมิตรของเรา จงมีกบั สัตว์ท่ีมเี ท้ามาก, สัตว์ไม่มีเท้า
อย่าเบียดเบียนเรา สัตว์ ๒ เท้าอย่าเบียดเบียนเรา สัตว์ ๔ เท้า
อย่าเบียดเบียนเรา สัตว์มากเท้าอย่าเบียดเบียนเรา ขอสรรพสัตว์
มีชีวิตท้ังหลายท่ีเกิดมาท้ังหมดจนสิ้นเชิง จงเห็นซึ่งความเจริญ
ทัง้ หลายทง้ั ปวงเถดิ โทษลามกจะไดม้ าถงึ แล้วแก่สัตว์เหลา่ นนั้

พระพุทธเจ้าทรงพระคุณสุดที่จะประมาณได้ พระธรรมมี
พระคุณสดุ ที่จะประมาณได้ พระสงฆก์ ็มีพระคณุ สุดทจ่ี ะประมาณได้

แต่สัตว์เลอ้ื ยคลานทัง้ หลาย เช่น งู แมงป่อง ตะขาบ แมงมุม
ต๊กุ แก หนู ยงั มปี ระมาณก้าหนดได้

ข้าพเจ้าได้ท้าการรักษาแล้ว ได้ท้าการป้องกันแล้ว ขอสัตว์
ท้ังหลายจงหลีกไปเสียเถิด ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า
ขอความนอบน้อมแด่พระสัมมาสมั พุทธเจ้า ๗ พระองค์ ฯ

บทวฏั ฏกปริตร

วัฏฏกปริตร เป็นเรื่องราวในอดีตชาติของพระพุทธองค์
เมื่อครั้งถือก้าเนิดเป็นลูกนกคุ่ม แล้วท้าปริตรป้องกันตนเองจาก
ไฟป่า ปรากฏอยู่ในพระสุตตันตปิฎก จริยาปิฎก และวัฏฏกชาดก
อรรถกถาชาดก

วัฏฏกปริตร เป็นพระปริตรที่กล่าวอ้างคุณ คือ ศีล สมาธิ
ปัญญา วิมุตติ วิมุตติญาณทัสสนะ และสัจจะ ของพระพุทธเจ้า
ในอดีตท้ังหลาย แล้วน้อมเอาพระพุทธคุณดังกล่าว มาบังเกิดเป็น

๒๘

อานุภาพ ปกป้องคุ้มครองอันตรายอันจะเกิดจากไฟท้ังหลาย ให้เกิด
ความสุขสวัสดีแก่ชีวิต การสวดพระปริตรนี้ ก็เพ่ือเป็นการป้องกัน
อันตรายอันเกิดจากไฟ (ป้องกันอัคคีภัย) และเหตุเดือดร้อนวุ่นวาย
นานาประการ ใหเ้ กดิ ความร่มเยน็ เป็นสุข

อตั ถิโลเก สีละคโุ ณ สัจจงั โสเจยยะนุททะยา
เตนะ สจั เจนะ กาหามิ สจั จะกริ ิยะมะนุตตะรงั
อาวชั ชิตว๎ า ธัมมะพะลงั สะรติ ว๎ า ปพุ พะเก ชเิ น
สจั จะพะละมะวัสสายะ สัจจะกิรยิ ะมะกาสะหงั
สันติ ปกั ขา อะปตั ตะนา สนั ติ ปาทา อะวญั จะนา
มาตา ปติ า จะ นกิ ขนั ตา ชาตะเวทะ ปะฏกิ กะมะ
สะหะ สจั เจ กะเต มยั หัง มะหาปัชชะลโิ ต สิขี
วัชเชสิ โสฬะสะกะรีสานิ อุทะกัง ปตั ๎วา ยะถา สขิ ี
สจั เจนะ เม สะโม นตั ถิ เอสา เม สัจจะปาระมีตฯิ

คา้ แปล

คุณ คือ ศีล สัจจะ ชีวิตท่ีสะอาด และความเอ้ืออาทร มีอยู่
ในโลก ด้วยความสัตย์นั้น ข้าพเจ้าจักกระท้าสัจกิริยาอย่างยอดเยี่ยม
ข้าพเจ้าขอน้อมร้าลึกถึงพลานุภาพแห่งพระสัทธรรม น้อมร้าลึกถึง
พระพุทธเจ้า ผู้ทรงพิชิตมารในอดีต ยึดม่ันในก้าลังแห่งสัจจะที่
ข้าพเจ้ามอี ยู่ จงึ ขอท้าสัจกิริยาวา่

๒๙

ปีกท้ังสองข้างของข้าพเจ้ามีอยู่ แต่ก็ยังไม่แข็งแรงพอท่ีจะ
บินได้ เท้าท้ังสองข้างของข้าพเจ้ามีอยู่ แต่ก็ยังไม่แข็งแรงพอท่ีจะ
เดินได้ พ่อแม่กพ็ ากนั บินหนไี ฟออกไปเสยี แล้ว พระเพลิงเอย๋ ขอท่าน
จงดับเสียเถิด

พร้อมกับเม่ือข้าพเจ้า ท้าสัจกิริยา เปลวเพลิงท่ีลุกโชน
รุ่งโรจน์ใหญ่หลวงนัก ก็กลับเว้นที่ไว้ ๑๖ กรีส (๑๒๕ ศอก) เหมือน
เปลวไฟตกถงึ นา้ แลว้ มอดดับฉะนั้น

ไม่มีผู้ใดเสมอด้วยสัจจะของข้าพเจ้า นี่คือสัจบารมีของ
ข้าพเจา้ ฯ

บทอนุสสรณปาฐะ

บทอิติปิโส เป็นเนื้อความส่วนหนึ่งในธชัคคสูตร ว่าด้วย
อานุภาพแห่งการน้อมระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย คือ พระพุทธคุณ
พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ ให้เกิดก้าลังใจในการเผชิญปัญหาและ
อุปสรรคนานาประการ พระพุทธองค์ทรงน้าเร่ืองการท้าสงคราม
ระหว่างเทพกับอสูรมาเป็นข้อเปรียบเทียบ เพื่อเตือนให้พระภิกษุ
ผู้กระท้าความเพียรอยู่ตามป่าเขาล้าเนาไพรอันเงียบสงัด ห่างไกล
จากผู้คนสัญจรไปมา การอยู่ท่ามกลางป่ากว้างดงลึก ของพระภิกษุ
ผู้เป็นปุถุชนเช่นน้ัน ย่อมจะก่อให้เกิดความหวาดกลัวขนพอง
สยองเกล้า เมื่อเกิดความรู้สึกหวาดกลัว พระพุทธองค์ทรงแนะน้า

๓๐

ให้พระภิกษุระลึกถึงธง คือ พระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสงั ฆคุณ
ก็จะสามารถข่มใจระงับความหวาดกลวั บ้าเพญ็ เพยี รต่อไปได้

อิติปิโสภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ,วิชชาจะระณะ-
สัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู,อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ, สัตถา
เทวะมะนุสสานงั ,พุทโธภะคะวาติ ฯ

ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,สันทิฏฐิโก อะกาลิโก,
เอหิปัสสิโก,โอปะนะยโิ ก,ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหตี ิ ฯ (อ่านว่า
วิญญูฮตี ิ)

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน
ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะ
กะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง
จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโตสาวะ
กะสงั โฆ, อาหเุ นยโย, ปาหเุ นยโย, ทกั ขิเณยโย, อญั ชะลกี ะระณโี ย
, อะนตุ ตะรงั ปญุ ญักเขตตงั โลกสั สาติ ฯ

คา้ แปล

เพราะเหตุอย่างน้ี ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้าน้ัน ทรงเป็นผู้ไกล
จากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง ทรงถึงพร้อมด้วยวิชชาและ
จรณะ เสด็จไปดีแล้ว ทรงรู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง ทรงสามารถฝึกบุรุษ
ท่ีสมควรฝึกได้อย่างไม่มีใครย่ิงกว่า ทรงเป็นครูของเหล่าเทวดาและ

๓๑

มนุษย์ท้ังหลาย ทรงเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้วยธรรม ทรงมี
ความสามารถในการจ้าแนกธรรมสงั่ สอนสตั ว์

พระธรรมเป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว
ผู้ศึกษาและปฏิบัติพ่ึงเห็นได้ด้วยตนเอง เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้ และให้
ผลได้ไม่จ้ากัดกาล สามารถแนะน้าผู้อ่ืนให้มาพิสูจน์ได้ว่า "ท่านจงมา
ดเู ถิด" ควรนอ้ มน้าเขา้ มาไวใ้ นตวั ผรู้ ู้ก็รู้ได้เฉพาะตน

พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าปฏิบัติดีแล้ว ปฏิบัติ
ตรงแล้ว ปฏิบัติเพ่ือรู้ธรรมเป็นเครื่องออกจากทุกข์ ปฏิบัติเหมาะสม
ได้แก่ บุคคลเหล่าน้ีคือ คู่แห่งบุรุษ ๔ คู่ นับเรียงล้าดับได้ ๘ ท่าน
นัน่ แหละพระสงฆ์สาวกของพระผู้มพี ระภาคเจ้า ซ่ึงเป็นผู้ควรแก่การ
สักการะที่เขาน้อมน้ามาบูชา ควรแก่สักการะที่เขาเตรียมไว้ต้อนรับ
ควรรับทักษิณาทาน เป็นผูท้ ่ีบุคคลทั่วไปควรให้ความเคารพ เป็นเน้ือ
นาบญุ ของโลก ไมม่ ีนาบญุ อ่ืนยง่ิ กวา่

บทอาฏานาฏยิ ปรติ ร

อาฏานาฏิยปริตร เป็นปริตรท่ีท้าวจาตุมหาราชผูกขึ้นท่ี
อาฏานาฏานคร อันเป็นหนึ่งในจ้านวนเทพนคร ๑๑ แห่ง ท่ีถูกนิรมิต
ข้ึนในอากาศ ของเหล่าเทวดาในสวรรค์ช้ันจาตุมหาราชิกา พระปริตรนี้
จึงถูกเรียกว่า อาฏานาฏยิ ปริตร ตามชอื่ เทพนครท่ีผูกขน้ึ น้นั

๓๒

อาฏานาฏิยปริตรนี้ ใช้เป็นเคร่ืองป้องกันอมนุษย์บางพวก
ทไ่ี มห่ วังดีต่อพระสงฆส์ าวกของพระพุทธองค์ ท่ีไปบ้าเพ็ญสมณธรรม
อยู่ตามป่าเขาล้าเนาไพร เม่ือไม่มีอะไรป้องกันเหล่าอมนุษย์ที่ไมเ่ ล่ือมใส
ก็จะรบกวน เบียดเบียน ท้าให้เกิดความล้าบาก ท้าวมหาราชจึงได้
แสดงเคร่ืองปอ้ งกันรักษา ชอ่ื อาฏานาฏิยรกั ษน์ ไี้ ว้

อาฏานาฏิยรักษ์น้ี มีอานุภาพ ๒ ประการ คือ ๑) มีอานุภาพ
ในการท้าให้อมนุษย์ท่ีไม่เล่ือมใส ให้เกิดความเล่ือมใสในพระพุทธ-
ศาสนา ๒) มีอานุภาพในการคุ้มครองป้องกันไม่ให้อมนุษย์ท่ีไม่
เลื่อมใส จับต้องสิงสู่ เบียดเบียน ประทุษร้าย ท้าให้ได้รับความ
ล้าบากเดอื ดร้อน

ส้ า ห รั บ อ า ฏ า น า ฏิ ย ป ริ ต ร ที่ พ ร ะ ส ง ฆ์ ใช้ ส ว ด ใน ปั จ จุ บั น
เป็นบทย่อที่บูรพาจารย์ได้น้าเอาคาถานมัสการพระพุทธเจ้าในอดีต
ที่ท้าวเวสสุวรรณแสดงไว้เฉพาะพระพักตร์พระพุทธองค์ มาอ้างเป็น
สัจกิริยา ให้เกิดเป็นอานุภาพในการคุ้มครอง ป้องกัน รักษา
ตามค้าของท้าวจตุโลกบาล ถ้าอมนุษย์ตนใดเบียดเบียนผู้ที่เจริญ
อาฏานาฏิยปริตร ให้ได้รับความล้าบาก อมนุษย์ตนน้ันก็จะได้รับ
การลงโทษจากเหล่าเทพทัง้ หลาย

วิปัสสิสสะ นะมตั ถุ จกั ขมุ ันตสั สะ สริ มี ะโต
สขิ ิสสะปินะมัตถุ สัพพะภูตานกุ มั ปิโน
เวสสะภุสสะ นะมตั ถุ นห๎ าตะกสั สะ ตะปสั สโิ น
นะมตั ถุ กะกุสันธสั สะ มาระเสนัปปะมทั ทโิ น

๓๓

โกนาคะมะนสั สะ นะมตั ถุ พร๎ าหม๎ ะณสั สะ วสุ ีมะโต
กสั สะปสั สะ นะมตั ถุ วปิ ปะมุตตสั สะ สัพพะธิ
องั คีระสสั สะ นะมัตถุ สกั ๎ยะปตุ ตสั สะ สิรมี ะโต
โย อิมัง ธมั มะมะเทเสสิ สัพพะทกุ ขาปะนทู ะนงั
เย จาปินิพพุตา โลเก ยะถาภตู ัง วปิ สั สสิ ุง
เต ชะนา อะปสิ ุณา มะหันตา วีตะสาระทา
หิตงั เทวะมะนสุ สานงั ยัง นะมัสสนั ติโคตะมงั
วิชชาจะระณะสัมปันนัง มะหันตังวตี ะสาระทัง
วิชชาจะระณะสมั ปันนัง พุทธัง วันทามะ โคตะมันติ ฯ

ค้าแปล

ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้าพระนามว่า วิปัสสี ผู้มีปัญญา
จักษุ ผู้ทรงพระสิริ

ขอนอบน้อม แด่พระพุทธเจ้าพระนามวา่ สิขี ผู้ทรงอนุเคราะห์
แก่สัตว์ทงั้ ปวง

ขอนอบนอ้ มแดพ่ ระพุทธเจ้าพระนามว่า เวสสภู ผู้ทรงช้าระล้าง
กเิ ลสแลว้ ทรงมคี วามพากเพยี รเปน็ เคร่อื งเผากิเลส

ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้าพระนามว่า กกุสันธะ ผู้ทรง
ยา้่ ยพี ญามารและเหล่าเสนามารไดแ้ ลว้

๓๔

ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้าพระนามว่า โกนาคมนะ ผู้ทรง
ละบาปได้แล้ว ทรงส้ินสุดการประพฤตพิ รหมจรรย์แลว้ ขอนอบน้อม
แด่พระพุทธเจา้ พระนามว่า กัสสปะ ผทู้ รงพ้นจากกเิ ลสทงั้ ปวง

ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้าพระนามว่า อังคีรส พระโอรส
แห่งศากยราช ผู้ทรงพระสิริ ทรงแสดงธรรม เพื่อบรรเทาทุกข์ทั้งปวงนี้

อน่ึง พระพุทธเจ้าท้งั หลายเหล่าใด ทที่ รงดับกิเลสแล้วในโลก
ทรงเห็นแจ้งธรรมตามความเป็นจริง พระพุทธเจ้าท้ังหลายเหล่าน้ัน
หาทรงมีวาจาส่อเสียดไม่ ทรงเป็นผู้มีคุณอันยิ่งใหญ่ ทรงปราศจาก
ความคร่ันคร้าม เทพยดาและมนุษย์ทั้งหลายน้อบน้อมอยู่ซึ่ ง
พระพุทธเจ้าพระองค์ใด ผู้ทรงเป็นโคตมโคตร ผู้ทรงเก้อื กูลแก่เทวดา
และมนุษย์ทั้งหลาย ทรงถึงพร้อมด้วยวิชาและจรณะ ผู้ทรงคุณอัน
ย่ิงใหญ่ ตรงปราศจากความครั่นคร้าม ข้าพเจ้าท้ังหลายขอนมัสการ
พระพุทธเจ้าพระองค์น้ัน ผู้ทรงเป็นโคตมโคตร ผู้ทรงถึงพร้อมแล้ว
ด้วยวิชชาและจรณะ

บทโพชฌังคปริตร

โพชฌังคปริตร เป็นปริตรท่ีน้าเอาโพชฌังคสูตรทั้ง ๓ สูตร
คือ ๑. มหากัสสปโพชฌงคสูตร ๒. มหาโมคคัลลานโพชฌังคสูตร
๓. มหาจุนทโพชฌงั คสตู ร มาประพันธ์เป็นคาถา เรียกวา่ โพชฌังคปริตร
โดยน้อมเป็นสัจกิริยา เพื่อให้ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ เกิดเป็น
ความสุขสวัสดี ฯ

๓๕

เน้ือหาโพชฌงคสูตรทั้ง ๓ นั้น กล่าวถึงหลักธรรมที่ท้าให้
พระพุทธองค์ตรัสรู้ ๗ ประการ คือ ๑. สติ ความระลึกได้ ๒. ธัมมวิจยะ
การเลือกเฟ้นธรรม ๓. วิริยะ ความเพียร ๔. ปีติ ความอิ่มใจ
๕. ปัสสัทธิ ความสงบ ๖. สมาธิ ความต้ังใจมั่น ๗. อุเบกขา
ความวางเฉย

โบราณาจารย์ได้น้าเอาโพชฌงคสูตรท้ัง ๓ นี้ มาประพันธ์
เป็นคาถาสา้ หรบั เจรญิ ภาวนา โดยอา้ งเปน็ สัจกริ ิยา เพ่อื ให้พระปริตร
เป็นธรรมโอสถ บังเกิดพุทธานุภาพ ขจัดโรคภัยไข้เจ็บไข้อันตรธาน
หายไป เกิดเป็นความสุขสวัสดี ภายหลังไดเ้ กิดความนิยมว่า เจ็บปว่ ย
ไม่สบาย ก็จะสวดโพชฌังคปริตร ซึ่งเป็นท้ังโอสถ เป็นท้ังมนต์ เมื่อมี
ผู้หลักผใู้ หญ่ในบ้านเจ็บป่วย เป็นไข้หนัก ก็จะนิมนต์พระสงฆ์มาสวด
โพชฌังคปริตรให้ฟัง หรือไม่ลูกหลานก็จะสวดโพชฌังคปริตรให้ฟัง
แม้ในงานท้าบุญอายุ พระสงฆ์ก็จะสวดปริตรบทน้ี เพ่ือเป็นการ
ค้มุ ครองป้องกัน ไม่ให้เกิดโรคภัยไขเ้ จบ็ และใหม้ ีอายุยืน ผู้ไม่ตอ้ งการ
เจ็บป่วยและปรารถนาความเป็นผู้มีอายุยืน โดยปราศจากโรคภัย
ไขเ้ จ็บ จงึ ควรเจรญิ โพชฌงั คปริตรแบบอย่างพุทธสาวก

โพชฌงั โคสะตสิ งั ขาโต ธัมมานัง วจิ ะโย ตะถา
วิริยมั ปีตปิ ัสสทั ธิ- โพชฌังคา จะตะถาปะเร

สะมาธุเปกขะโพชฌังคา สัตเตเต สัพพะทัสสนิ า
มนุ ินา สมั มะทกั ขาตา ภาวติ า พะหุลกี ะตา
สงั วัตตันติ อะภญิ ญายะ นพิ พานายะ จะ โพธิยา

เอเตนะ สจั จะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทาฯ

๓๖

เอกสั ม๎ ิง สะมะเย นาโถ โมคคลั ลานญั จะ กัสสะปงั
คิลาเน ทกุ ขิเต ทิส๎วา โพชฌงั เค สัตตะ เทสะยิ
เต จะ ตัง อะภินนั ทิตว๎ า โรคา มจุ จงิ สุ ตงั ขะเณ
เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ โสตถิ เต โหตุ สพั พะทาฯ
เคลญั เญนาภปิ ีฬโิ ต
เอกะทา ธัมมะราชาปิ ภะณาเปต๎วานะ สาทะรัง
จนุ ทตั เถเรนะ ตญั เญวะ ตมั หา วุฏฐาสิ ฐานะโส
สัมโมทิต๎วา จะ อาพาธา โสตถิ เต โหตุ สัพพะทาฯ
เอเตนะ สจั จะวัชเชนะ ตณิ ณันนมั ปิ มะเหสินงั
ปะหีนา เต จะ อาพาธา ปัตตานุปปัตตธิ มั มะตัง
มัคคาหะตะกเิ ลสาวะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทาฯ
เอเตนะ สจั จะวชั เชนะ

คา้ แปล

โพชฌงค์ ๗ ประการ คือ ๑. สติ ความระลึกได้ ๒. ธัมม-
วิจยะ การเลือกเฟ้นพิจารณาธรรม ๓. วิริยะ ความเพียร ๔. ปีติ
ความอิ่มใจ ๕. ปัสสัทธิ ความสงบ ๖. สมาธิ ความต้ังใจมาก
๗. อุเบกขา ความวางเฉยเหล่าน้ี เป็นธรรมที่พระมุนีเจ้า ผู้ทรงเห็น
ธรรมท้ังปวง ตรัสไว้ชอบแล้ว บุคคลอบรมฝึกฝนให้มากแล้ว
ย่อมเป็นไปเพ่ือความรู้ย่ิง เพ่ือตรัสรู้ เพื่อพระนิพพาน ด้วยการกล่าว
ค้าสตั ย์น้ี ขอความสวสั ดจี งมีแกท่ า่ นทุกเม่ือ

๓๗

สมัยหนึ่ง พระพุทธเจ้าทอดพระเนตรเห็นพระโมคคัลลานะ
และพระกัสสปะอาพาธ ได้ความล้าบาก จึงทรงแสดงโพชฌงค์
๗ ประการ ให้ท่านท้ังสองฟัง ท่านท้ังสองต่างช่ืนชมยินดีพระธรรม
เทศนานั้น แล้วกลับหายจากโรคทันที ด้วยการกล่าวค้าสัตย์น้ี
ขอความสวัสดีจงมแี กท่ า่ นทกุ เม่อื

ครั้งหน่ึง องค์พระธรรมราชาเองทรงพระประชวร รับสั่ง
ให้พระจุนทะเถระกล่าวโพชฌงค์ ๗ ประการ ถวายโดยเคารพ
ทรงบันเทิงพระทัยแล้วทรงหายจากพระประชวรนั้น ด้วยค้าสัตย์น้ี
ขอความสวสั ดีจงมีแกท่ า่ นทุกเม่อื

แท้จริงแล้ว อาพาธเหล่าน้ันของท่านผู้ทรงคุณอันยิ่งใหญ่
ทั้ง ๓ อันตรธานไป ไม่กลับเป็นอีก เหมือนอริยมรรคก้าจัดกิเลส
ลงราบแล้วไม่เกิดอีกเป็นธรรมดา ด้วยการกล่าวค้าสัตย์น้ี ขอความ
สวสั ดีจงมแี ก่ท่านทุกเมอื่ ฯ

บทสกั กัต๎วา

บทที่น้อมน้าคุณพระรัตนตรัยเพื่อให้เกิดเป็นธรรมโอสถ
ขจัดทกุ ข์โศกโรคภัย

สักกตั ว๎ า พุทธะระตะนัง โอสะถงั อตุ ตะมังวะรัง
หติ ัง เทวะมะนสุ สานงั พุทธะเตเชนะ โสตถินา
นัสสันตปุ ทั ทะวา สพั เพ ทุกขา วูปะสะเมนตุ เต

๓๘

สกั กตั ๎วา ธมั มะระตะนัง โอสะถงั อตุ ตะมังวะรงั
ปะริฬาหปู ะสะมะนัง ธมั มะเตเชนะ โสตถนิ า
นัสสนั ตปุ ัททะวา สัพเพ ภะยา วปู ะสะเมนตุ เต
โอสะถัง อุตตะมงั วะรัง
สักกัต๎วา สังฆระตะนงั สงั ฆะเตเชนะ โสตถินา
อาหุเนยยงั ปาหเุ นยยัง โรคา วปู ะสะเมนตุเต ฯ
นัสสันตุปัททะวา สพั เพ

ค้าแปล

เพราะท้าความเคารพพระพุทธรัตนะ ซึ่งเป็นประหน่ึงโอสถ
อนั ประเสรฐิ เย่ียมยอด เกอ้ื กลู แกเ่ ทวดาและมนุษย์ทง้ั หลาย ดว้ ยเดช
แห่งพระพุทธเจ้า ขอให้อันตรายทั้งหลายทั้งปวงจงพินาศไปสิ้น
ขอให้ทุกขท์ ง้ั หลายของท่านจงสงบไปโดยดี

เพราะท้าความเคารพพระธรรมรัตนะ ซ่ึงเป็นประหน่ึงโอสถ
อันประเสริฐเย่ียมยอด อันเป็นเครื่องระงับความเร่าร้อน ด้วยเดช
แห่งพระธรรม ขอให้อันตรายท้ังหลายท้ังปวงจงพินาศไปส้ิน ขอให้
ภยั ทัง้ หลายของท่านจงสงบไปโดยดี

เพราะท้าความเคารพพระสังฆรัตนะ ซึ่งเป็นประหน่ึงโอสถ
อันประเสริฐเย่ียมยอด ควรแก่สักการะท่ีเขาน้ามาบูชา ท่ีเขาเตรียม
ไว้ต้อนรับ ด้วยเดชแห่งพระสงฆ์ ขอให้อันตรายทั้งหลายท้ังปวงจง
พนิ าศไปส้ิน ขอให้โรคท้งั หลายของท่านจงสงบไปโดยดี ฯ

๓๙

บทนัตถิ เม

บทน้อมระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย อ้างเป็นสัจวาจา เพ่ือให้
เกดิ ชัยมงคล

นตั ถิ เม สะระณังอัญญงั พุทโธ เม สะระณัง วะรงั
เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ โหตุ เต ชะยะมงั คะลัง
ธมั โม เม สะระณัง วะรัง
นัตถิ เม สะระณงั อัญญงั โหตุ เต ชะยะมงั คะลัง
เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ สงั โฆ เม สะระณงั วะรัง
โหตุ เต ชะยะมงั คะลัง ฯ
นตั ถิ เม สะระณงั อญั ญงั
เอเตนะ สจั จะวัชเชนะ

คา้ แปล

ที่พ่ึงอื่นของข้าพเจ้าไม่มี พระพุทธเจ้าทรงเป็นท่ีพึ่งอัน
ประเสริฐของขา้ พเจ้า ด้วยค้าสัตย์น้ี ขอชยั มงคลจงมีแกท่ ่าน

ที่พึ่งอื่นของข้าพเจ้าไม่มี พระธรรมเป็นที่พึ่งอันประเสริฐของ
ขา้ พเจา้ ด้วยคา้ สตั ย์น้ี ขอชยั มงคลจงมีแกท่ ่าน

ที่พึ่งอื่นของข้าพเจ้าไม่มี พระสงฆ์เป็นที่พ่ึงอันประเสริฐของ
ขา้ พเจา้ ด้วยค้าสตั ย์นี้ ขอชยั มงคลจงมีแก่ท่าน ฯ

๔๐

บทยงั กญิ จิ

บทท่ีนอบน้อมระลึกถึงคุณพระรัตนตรัยซึ่งเป็นรัตนะท่ีมี
พลานุภาพสูงสุดกว่ารัตนะทั้งมวลในโลก เพ่ือให้เกิดความสวัสดี
มงคล

ยังกญิ จิ ระตะนงั โลเก วิชชะติ วิวธิ งั ปุถุ

ระตะนัง พทุ ธะสะมงั นัตถิ ตัส๎มา โสตถี ภะวนั ตุ เต

ยังกญิ จิ ระตะนังโลเก วิชชะติ วิวธิ งั ปถุ ุ

ระตะนัง ธมั มะสะมังนตั ถิ ตสั ๎มา โสตถี ภะวันตุ เต

ยงั กิญจิ ระตะนงั โลเก วิชชะติ ววิ ธิ งั ปถุ ุ

ระตะนงั สงั ฆะสะมงั นตั ถิ ตัส๎มา โสตถี ภะวันตุ เตฯ

คา้ แปล

รัตนะอย่างใดอย่างหน่ึงมากมาย บรรดามีในโลก รัตนะนั้น
เสมอด้วยพระพุทธเจ้าหามีไม่ เพราะเหตุน้ัน ขอท่านจงประสบแต่
ความสุขสวัสดี

รัตนะอย่างใดอย่างหน่ึงมากมาย บรรดามีในโลก รัตนะน้ัน
เสมอด้วยพระธรรมหามีไม่ เพราะเหตุนั้น ขอท่านจงประสบแต่
ความสุขสวสั ดี

๔๑

รัตนะอย่างใดอย่างหนึ่งมากมาย บรรดามีในโลก รัตนะนั้น
เสมอด้วยพระสงฆเจ้าหามีไม่ เพราะเหตุนัน้ ขอท่านจงมีแต่ความสุข
สวสั ดี

บทรตนตั ตยัปปภาวาภิยาจนคาถา

อะระหงั สมั มาสมั พทุ โธ อุตตะมงั ธมั มะมัชฌะคา
มะหาสังฆงั ปะโพเธสิ อจิ เจตัง ระตะนัตตะยงั
พทุ โธ ธมั โม สังโฆ จาติ นานา โหนตัมปิ วตั ถโุ ต
อัญญะมญั ญาวิโยคา วะ เอกภี ตู ัมปะนตั ถะโต
พุทโธ ธมั มสั สะ โพเธตา ธมั โม สงั เฆนะ ธารโิ ต
สงั โฆ จะ สาวะโก พุทธสั สะ อิจเจกาพทั ธะเมวทิ งั
วสิ ุทธงั อตุ ตะมัง เสฏฐงั โลกัสมงิ ระตะนัตตะยงั
สังวัตตะติ ปะสันนานงั อัตตะโน สุทธกิ ามนิ ัง
สมั มาปะฏปิ ชั ชันตานงั ปะระมายะ วสิ ุทธิยา ฯ
วสิ ทุ ธิ สพั พะเกลเสหิ โหติ ทกุ เขหิ นิพพุติ
นิพพานัง ปะระมัง สญุ ญงั นิพพานงั ปะระมัง สุขัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ สวุ ตั ถิ โหตุ สพั พะทา ฯ
ระตะนัตตะยานุภาเวนะ ระตะนตั ตะยะเตชะสา

๔๒


Click to View FlipBook Version