อปุ ัททะวนั ตะรายา จะ อุปะสคั คา จะ สัพพะโส
มา กะทาจิ สัมผสุ งิ สุ รัฏฐงั สยามานะเมวิทัง
อาโรคยิ ะสุขญั เจวะ ตะโต ทีฆายุตาปิ จะ
ตพั พัตถนู ญั จะ สัมปตั โย สขุ งั สัพพัตถะ โสตถิ จะ
ภะวนั ตุ สัมปะวตั ตันตุ สยามานงั รฏั ฐะปาลนิ งั
เต จะ รฏั ฐัญจะ รักขันตุ สยามะรัฏฐกิ ะเทวะตา
สยามานงั รัฏฐะปาลหี ิ ธัมมามเิ สหิ ปูชิตา
สิทธะมตั ถุ สทิ ธะมัตถุ สทิ ธะมัตถุ อิทัง ผะลัง
เอตสั มงิ ระตะนตั ตะยัสมิง สัมปะสาทะนะเจตะโส ฯ
คา้ แปล
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นพระอรหันต์ ได้บรรลุธรรมอัน
อุดม ยังสงฆ์หมู่ใหญ่ให้ตรัสรู้แล้ว หมวดสามแห่งรัตนะนี้อย่างน้ี
แม้เป็นต่างกันโดยวัตถุว่า พุทโธ ธัมโม สังโฆ ดังนี้ แต่เป็นอย่าง
เดียวกันโดยเนื้อความ เพราะไม่พรากจากกันและกันได้ พระพุทธเจ้า
เป็นผู้ตรัสรู้พระธรรม พระธรรมอันพระสงฆ์ทรงจ้าไว้ พระสงฆ์
ก็เป็นสาวกของพระพุทธเจ้า พระรัตนตรัยเนื่องเป็นอันเดียวกัน
อย่างน้นี นั่ เทยี ว
พระรัตนตรัยนี้ เป็นของหมดจดอุดมประเสริฐในโลก ย่อม
เป็นไปพร้อมเพ่ือความหมดจดอย่างย่ิง แก่สัตว์ทั้งหลายผู้เลื่อมใสแล้ว
ผู้ใคร่ซ่ึงความหมดจดแก่ตนผู้ปฏิบัติอยู่โดยชอบ ความหมดจดจาก
๔๓
สรรพกิเลสทั้งหลาย ย่อมเป็นความดับจากทุกข์ท้ังหลาย ความดับ
เป็นธรรมสูญอย่างย่ิง ความดับเป็นสุขอย่างยิ่ง ด้วยความกล่าวค้า
สัตย์น้ี ขอความสวัสดจี งมีในกาลทงั้ ปวง
ด้วยอานุภาพแห่งพระรัตนตรัย ด้วยเดชแห่งพระรัตนตรัย
อุปัทวะและอันตรายท้ังหลายด้วย ความขัดข้องทั้งหลายด้วย อย่าได้
พ้องพานสยามรฐั น้ี ในกาลไหน ๆ เลย สุขเกิดแต่ความเป็นคนไม่มี
โรคดว้ ยนั่นเทยี ว แต่น้นั แมค้ วามเปน็ ผูม้ ีอายยุ นื ด้วย ความสมบูรณ์
แห่งวัตถุท้ังหลายเหล่านั้นด้วย ความสุขสวัสดีในเหตุทั้งหลาย
ท้ังปวงด้วย จงมี จงเป็นไปพร้อม แก่พวกรัฐบาลสยามท้ังหลาย
ขอเหล่าเทพาผู้ด้ารงอยู่ในสยามรัฐ อันพวกรัฐบาลสยามบูชาแล้ว
ด้วยธรรมพลี และอามิสพลีท้ังหลาย จงรักษาซ่ึงพวกรัฐบาลสยาม
น้ันด้วย ซ่ึงแว่นแคว้นด้วย ขอผลแห่งจิต อันเล่ือมใสใน
พระรัตนตรัยน่ีนี้ จงเป็นผลส้าเร็จ จงเป็นผลส้าเร็จ จงเป็นผลส้าเร็จ
เทอญ
บทสุขาภิยาจนคาถา
สุขาภิยาจนคาถา เป็นคาถาที่สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์
(ฉิม) วัดโมลีโลกยาราม แต่งข้ึน โดยอ้างอานุภาพพระปริตรท่ีได้
สวดสาธยายแล้วนั้น เพ่ือให้เกิดความสุขสิริสวัสดิ์ในราชตระกูล
ขอให้เทพยดาทั้งมวลคุ้มครองรักษา ให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล
เกดิ ความผาสกุ ร่มเย็นแก่อาณาประชาราษฎร์ทัง้ มวล
๔๔
ยัง ยัง เทวะมะนุสสานงั มังคะลัตถายะ ภาสิตัง
ตสั สะ ตัสสานภุ าเวนะ โหตุ ราชะกเุ ล สุขงั
เย เย อารกั ขะกา เทวา ตัตถะ ตตั ถาธวิ าสโิ น
อิมินา ธมั มะทาเนนะ สัพเพ อัมเหหิ ปชู ติ า
สะทา ภัท๎รานิ ปัสสันตุ สขุ ิตา โหนตุ นิพภะยา
อัปปะมตั ตา จะ อัมเหสุ สพั เพ รกั ขนั ตุ โน สะทา
ยัญจะ โน ภาสะมาเนหิ กสุ ะลัง ปะสตุ งั พะหงุ
ตันโน เทวานุโมทนั ตุ จิรัง ตฏิ ฐนั ตุ สาตะตัง
เย วา ชะลาพชุ ัณฑะชา สังเสทะโชปะปาติกา
อะเวรา โหนตุ สพั เพ เต อะนฆี า นิรปุ ัททะวา
ปัสสนั ตุ อะนะวชั ชานิ มา จะ สาวชั ชะมาคะมา
จริ งั ติฏฐะตุ โลกัสม๎ งิ สมั มาสมั พุทธะสาสะนัง
ทัสเสนตงั โสตะวนั ตนู ัง มัคคงั สัตตะวสิ ุทธยิ า
ยาวะ พทุ โธติ นามัมปิ โลกะเชฏฐสั สะ สัตถุโน
สมั มาเทสติ ะธมั มัสสะ ปะวัตตะติ มะเหสโิ น
ปะสนั นา โหนตุ สัพเพปิ ปาณโิ น พุทธะสาสะเน
สัมมา ธารงั ปะเวจฉนั โต กาเล เทโว ปะวสั สะตุ
วุฑฒภิ าวายะ สัตตานัง สะมิทธงั เนตุ เมทะนงิ
มาตา ปิตา จะ อัตระชงั นิจจงั รักขนั ติ ปตุ ตะกัง
เอวัง ธมั เมนะ ราชาโน ปะชัง รักขันตุ สพั พะทาฯ
๔๕
ค้าแปล
พระปริตรใด ๆ อันเราสวดแล้ว เพื่อประโยชน์แก่มงคล
แห่งเทพยดาและมนุษย์ท้ังหลาย ด้วยอานุภาพแห่งพระปริตรน้ัน ๆ
ขอความสุขจงมีในราชสกุล เทพเจ้าท้ังหลายใด ๆ ผู้รักษาเอื้อเฟ้ือ
ผู้สิงสถิตอยู่ในสถานที่นัน้ ๆ ทั้งหมด อนั เราบูชาแลว้ ด้วยธรรมทานนี้
เทพเจ้าทัง้ หลายนั้น ๆ จงเห็นส่ิงอันเจรญิ ท้ังหลายทุกเม่ือ จงเป็นผู้ถึง
ซ่ึงความสุข ปราศจากภัยทุกเม่ือ อน่ึงเหล่าเทพเจ้าทั้งส้ิน จงอย่า
ประมาทแล้วในเรา รักษาเราทุกเมื่อ อนึ่ง กุศลอันใดมากอันเรา
ภาษิตอยู่ ขวนขวายแล้ว เทพเจ้าท้ังหลายจงอนุโมทนากุศลอันนั้น
ของเรา จงดา้ รงอยู่ติดต่อกนั สน้ิ กาลนาน
อน่ึง สัตว์ทั้งหลายใด ท่ีเป็นชลาพุชะ ก้าเนิดในครรภ์มารดา
และที่เป็นโอปปาติกะก้าเนิดลอยขึ้น ขอสรรพสัตว์ทั้งหลายน้ันจง
เป็นผู้ไม่มีเวร ไม่มีทุกข์ ไม่มีอุปัชฌาย์วะ เห็นกรรมทั้งหลาย อันหา
โทษมิได้ อน่ึงกรรมอันมีโทษ อย่ามาพ้องพานสัตว์เหล่านี้ ขอค้าสั่ง
สอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อันแสดงมรรคาแก่สัตว์ผู้มีโสต
วิญญาณธาตุ เพื่อความหมดจดแก่สัตว์ จงด้ารงอยู่ในโลกสิ้น
กาลนาน แม้พระนามว่าพุทโธ ดังน้ี ของพระศาสดาผู้ทรงเป็น
ผู้ประเสริฐในโลก ผู้ทรงมีธรรมอันแสดงแล้วโดยชอบ ผู้แสวงหาซึ่ง
คุณอันใหญ่ ยังเป็นไปอยู่เพียงใด และสรรพสัตว์ท้ังหลายจงเป็น
ผู้เล่อื มใสแลว้ ในพระพุทธศาสนา ฝนจงเพ่มิ ให้อุทกธารตกต้องในกาล
โดยชอบ จงน้าไปซ่ึงเมทนีดลให้ส้าเรจ็ ประโยชน์ เพื่ออันบังเกิดความ
เจริญแก่สัตว์ทั้งหลาย มารดาและบิดาย่อมถนอมบุตรน้อย
๔๖
อันบังเกิดในตนเป็นมิตรฉันใด พระราชาท้ังหลายจงทรงรักษา
ประชาราษฎรโ์ ดยชอบ ในกาลทัง้ ปวงฉนั นั้น ฯ
บทเทวตาอุยโยชนคาถา
เทวตาอุยโยชนคาถา เป็นคาถาส่งเทวดา ใช้อัญเชิญเทวดา
กลับวิมาน เม่ือใดที่จะเจริญพระปริตรได้มีการชุมนุมเทวดา หรือ
อัญเชิญเทวดามาเพ่ือฟังการเจริญพระปริตร ซึ่งถือว่าเป็นการแบ่ง
ส่วนบุญไปให้สรรพสัตว์ทุกจ้าพวก ทุกหมู่เหล่า แม้กระทั่งเทวดาซ่ึง
มองไม่เห็นตัวก็แผ่เมตตาจิตไปถึง เนื้อความในท่อนแรกของคาถานี้
เร่ิมต้นด้วยการแผ่เมตตาจิตไปในหมู่สัตว์ทั้งหลาย ให้พ้นจากทุกข์
โศกโรคภัย จากน้ันได้กลา่ วเชญิ เทวดาให้อนุโมทนาบญุ กศุ ลท่ีบา้ เพ็ญ
มา ซ่ึงก็รวมถึงบุญอันเกิดจากการเจริญพระปริตร เพื่อเทวดาจะได้
อานิสงส์แห่งบุญน้ันด้วย ต่อจากนั้นก็เป็นการแนะน้าเทวดาให้เกิด
ศรัทธาในการใหท้ าน รกั ษาศีลบ้าเพญ็ ภาวนา แล้วเชิญให้เทวดากลับ
ต่อจากน้ันก็ขออนุญาตแห่งพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และ
พระอรหนั ต์ทง้ั หลายใหค้ ุ้มครองรักษา
ทกุ ขปั ปตั ตาจะ นิททกุ ขา ภะยปั ปัตตา จะ นิพภะยา
โสกัปปตั ตาจะ นิสโสกา โหนตุ สพั เพปิ ปาณโิ น
เอตตาวะตา จะอัมเหหิ สัมภะตัง ปญุ ญะสมั ปะทงั
สพั เพ เทวานุโมทนั ตุ สัพพะสัมปัตติสทิ ธยิ า
๔๗
ทานัง ทะทนั ตุ สทั ธายะ สีลงั รกั ขันตุ สัพพะทา
ภาวะนาภริ ะตา โหนตุ คจั ฉนั ตุ เทวะตาคะตา ฯ
ปจั เจกานญั จะ ยัง พะลงั
สพั เพ พุทธาพะลัปปตั ตา รักขงั พนั ธามสิ พั พะโส ฯ
อะระหนั ตานัญจะ เตเชนะ
ค้าแปล
ขอสัตว์ท้ังหลายที่ประสบทุกข์ จงเป็นผู้ปราศจากทุกข์
ท่ปี ระสบภยั จงปราศจากภยั ที่ประสบความเศรา้ โศก จงสร่างโศก
ขอเหล่าเทวดาท้ังปวงจงอนุโมทนาบุญสมบัติ ท่ีข้าพเจ้า
ท้งั หลายสรา้ งสมมาแล้วน้ี ความส้าเร็จแหง่ สมบตั ิท้ังปวง
ขอเทวดาท้ังหลายจงให้ทาน รักษาศีล บ้าเพ็ญภาวนาด้วย
ศรัทธาทุกเม่ือ ขอเชิญเทวดาท่ีมาชุมนุมกลับไปเถิด พระพุทธเจ้าทั้ง
ปวงล้วนทรงมีพละก้าลัง ด้วยเดชแห่งก้าลังของพระปัจเจกพุทธเจ้า
ทั้งหลาย และดว้ ยเดชแหง่ ก้าลงั ของพระอรหันต์ทัง้ หลาย ข้าพเจา้ ขอ
น้อมน้าเดชทงั้ ปวงนัน้ มาเปน็ เครอื่ งคมุ้ ครองรักษา
๔๘
บทคาถาไล่โควดิ
ระตะนัตตะยานภุ าเวนะ สพั พะเทวานะ เตชะสา
อุปปนั โน โควิโต โรโค สยามะรฏั เฐ วินัสสะตุ
ราชะปุญญานภุ าเวนะ ทะสะปาระมติ าหิ จะ
อาโรคยิ ะสุขัญเจวะ สะทา โสตถี ภะวันตเุ ต
คา้ แปล
ดว้ ยอานภุ าพของพระรตั นตรยั
ด้วยเดชของทวยเทพท้ังหลาย
โรคโควิดทีเ่ กดิ ขึ้นจงวนิ าศไปจากสยามรัฐ
ดว้ ยบุญบารมีของพระราชาและอ้านาจทศบารมี
ขอให้ทุกทา่ นจงไมม่ โี รค
มีความสขุ ตลอดกาลนานเทอญ
๔๙
บทปัจฉิมคาถา
โหตุ สัพพงั สุมงั คะลงั รักขันตุ สพั พะเทวตา
สัพพะพทุ ธานภุ าเวนะ โสตถี โหนตุ นริ นั ตะรัง
รักขันตุ สพั พะเทวตา
โหตุ สัพพงั สมุ งั คะลงั โสตถี โหนตุ นริ นั ตะรงั
สพั พะธัมมานุภาเวนะ รักขันตุ สพั พะเทวตา
โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง
โหตุ สพั พัง สุมงั คะลงั
สัพพะสงั ฆานภุ าเวนะ
คา้ แปล
ขอศุภมงคลทั้งสนิ้ จงมี ขอเทวดาทงั้ ปวงจงรักษา
ด้วยอานุภาพแห่งพระพทุ ธเจา้ ทง้ั ปวง
ขอความสวัสดีทงั้ หลายจงมตี ลอดนิรนั ดร์ เทอญ
ขอศภุ มงคลทั้งสน้ิ จงมี ขอเทวดาทงั้ ปวงจงรกั ษา
ด้วยอานุภาพแหง่ พระธรรมทง้ั ปวง
ขอความสวัสดีทัง้ หลายจงมีตลอดนริ ันดร์ เทอญ
ขอศภุ มงคลท้ังสนิ้ จงมี ขอเทวดาทั้งปวงจงรักษา
ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ทัง้ ปวง
ขอความสวสั ดที ัง้ หลายจงมีตลอดนริ ันดร์ เทอญ
๕๐