The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

103หน้าแผนพัฒนา.indd_compressed

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by gipghe, 2021-09-10 06:48:05

103หน้าแผนพัฒนา.indd_compressed

103หน้าแผนพัฒนา.indd_compressed

คาํ นํา

การจัดทําแผนพัฒนาเกษตรกรรมจังหวัดกําแพงเพชร พุทธศักราช 2565 – 2569 ของสภา
เกษตรกรจงั หวัดกําแพงเพชร เปนการดําเนินการตามแผนแมบทเพ่ือพัฒนาเกษตรกรรม ตามมาตรา 41 แหง
พระราชบญั ญัติสภาเกษตรกรแหงชาติ พุทธศักราช 2553 โดยผานกระบวนการมีสวนรวมของผูมีสวนไดเสีย
รวมท้ังเช่ือมโยงกับแผนแมบทระดับจังหวัด ประกอบกับมาตรา 33 (4) แหงพระราชบัญญัติสภาเกษตรกร
แหงชาติ พุทธศักราช 2553 กําหนดใหสภาเกษตรกรจังหวัด เสนอแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับจังหวัด ตอ
สภาเกษตรแหงชาตเิ พอื่ บูรณาการเปน แผนแมบท เสนอคณะรัฐมนตรี ตอ ไป

สภาเกษตรกรจังหวดั กําแพงเพชร ไดจัดทําแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดบั จงั หวัด โดยผานกระบวนการ
มีสวนรวมของผูมีสวนไดเสียโดยการจัดประชุมระดมความคิดเห็นเกษตร ผูแทนเกษตรกร สมาชิกสภา
เกษตรกร และการขอความอนุเคราะหขอมูลพ้ืนฐาน จากหนวยงานราชการตางๆ เพ่ือไดขอมูลปญหาความ
ตองการ หรือจุดเดนของภาคเกษตรกรในพื้นท่ี และขอเสนอแนวทางการพัฒนาแกไขปญหาดานการเกษตร
จากระดบั ลา งเช่อื มโยง เพือ่ จดั ทําเปนแผนแมบทเพือ่ พัฒนาเกษตรกรรมระดับชาติ ตอ ไป

[ก]

บทสรุปผบู ริหาร

สรุปสาระสาํ คญั ของแผนพฒั นาเกษตรกรรมจังหวัดกําแพงเพชร
(พ.ศ. 2565 - 2569)

ตามพระราชบัญญัติสภาเกษตรกรแหงชาติ พ.ศ. 2553 มาตรา 11 (4) กําหนดใหสภาเกษตรกร
แหงชาติมีหนาที่สําคัญประการหนึ่ง ไดแก เสนอแผนแมบทตอคณะรัฐมนตรี นอกจากน้ัน มาตรา 41
ยังกําหนดใหสภาเกษตรกรแหงชาติ จัดทําแผนแมบทโดยผานกระบวนการ มีสวนรวมของผูมีสวนไดเสีย
รวมท้ัง เชื่อมโยงกับแผนแมบทระดับจังหวัด และตองมีสาระสําคัญ อยางนอย 11 เรื่อง เชน การพัฒนา
ศักยภาพ การสง เสริมและสนบั สนนุ การรวมกลุมของเกษตรกร องคกรเกษตรกร กลุมเกษตรกร และยุวเกษตร
ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การสรางความเปนธรรมดานราคา ผลผลิตทางเกษตรกรรม โดยคํานึงถึง
การสงเสริมใหสินคาเกษตร ไดรับผลตอบแทนสูงสุด การพัฒนาแหลงน้ํา และจัดระบบชลประทาน เพื่อ
เกษตรกรรม การเสนอแนวทางการเขาถึงแหลงทุน และการแกไขปญหาหน้ีสินของเกษตรกร และสราง
เครอื ขายองคก รเกษตรกร เชื่อมโยงและพฒั นาความรว มมอื ในการผลติ ทางเกษตรกรรม การแปรรูป การตลาด
และการบริโภค เพื่อการยังชีพระหวางเครือขายองคกรเกษตรกร กับภาครัฐและภาคเอกชน เปนตน ประกอบ
กับมาตรา 33(4) กําหนดใหสภาเกษตรกรจังหวัด เสนอแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับจังหวัด ตอ สภา
เกษตรกรแหง ชาตเิ พอ่ื บูรณาการเปนแผนแมบท เสนอคณะรัฐมนตรี ตอไป

ในการน้ี สภาเกษตรกรจังหวดั กาํ แพงเพชรไดจ ดั ทําแผนพัฒนาเกษตรกรรมจงั หวัดโดยผากระบวนการ
มสี ว นรวมของผูมีสว นไดเ สียโดยการจัดประชมุ ระดมความคดิ เห็นเกษตรกรผแู ทนเกษตรกรสมาชิกสภเกษตรกร
และการขอความอนุเคราะหข อมลู พืน้ ฐาน จากหนว ยงานราชการตา งๆ เพ่ือไดข อมูลปญหาความตองการ หรือ
จุดเดน ของภาคเกษตรในพืน้ ท่ีและขอเสนอแนวทางพฒั นาแกไขปญหาดา นการเกษตรจากระดับลา งเชอ่ื มโยง
เพอ่ื จัดทําเปนแผนแมบทเพอ่ื พฒั นาเกษตรกรรมระดับชาติ ตอไป

วิสยั ทศั น (Vision)
สินคาเกษตรปลอดภยั ใชเ ทคโนโลยีเพิม่ ประสิทธิภาพการผลติ องคกรเกษตรกรเครือขา ย

เขม แข็ง
พันธกจิ (Misson)

1. สงเสริมการเพิ่มผลผลติ ทางการเกษตรทีม่ ีคุณภาพและปลอดภัย ตลอดจนเพ่ิมมลู คา ของ
ผลผลิตทางการเกษตรแบบครบวงจร

2. สง เสริมการคมุ ครองพ้นื ทเ่ี กษตรกรรม สทิ ธิเกษตรกร ตลอดจนการแกป ญ หาดนิ น้าํ และ
ทดี่ ินเพื่อการเกษตรกรรม

3 สง เสริมการพฒั นาศักยภาพ และการรวมกลมุ เกษตรกร องคก รเกษตรกร ตามแนวปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพยี ง เพื่อใหเกษตรกรมีความมนั่ คงในอาชีพ และสรางความเปนธรรมดานราคา

4 พฒั นาและเชอ่ื มโยงเครือขายเพอื่ เพ่มิ ขดี ความสามารถในการบริหารจดั การ การแปรรูป
การตลาดผลผลติ ทางการเกษตรอยา งมีประสทิ ธภิ าพ

[ข]

5 สนับสนนุ สงเสริมภูมปิ ญญาทองถนิ่ การศึกษา วจิ ัยและพฒั นา การถายทอดเทคโนโลยี
ดานการเกษตร ตลอดจนการนาํ ไปใชป ระโยชนอยา งเปนรูปธรรม

6 บํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ มใหมีความอุดมสมบูรณ และรักษาสมดลุ
ของระบบนเิ วศนอยางยั่งยนื

เปาประสงคห ลัก
1. ผลผลิตทางการเกษตรของจังหวัดกําแพงเพชรมีคุณภาพ ปลอดภยั มปี ริมาณและราคาท่ี

เหมาะสม เปน ธรรม
2. เกษตรกรไดรับการคุมครองพนื้ ทเ่ี กษตรกรรม สทิ ธิเกษตรกร ตลอดจนปญหาดิน นํา้ และ

ทีด่ ินเพ่ือการเกษตรไดร ับการแกไ ขอยางเปนรปู ธรรมและตอเนื่อง
3. การรวมกลุม ของเกษตรกรมีความเขมแข็ง เกษตรกรนอมนําแนวทางปรชั ญาเศรษฐกิจ

พอเพยี งเพ่อื สรา งความม่ันคงในอาชีพและความสุขอยางยง่ั ยืน
4. เกษตรกรและเครือขายที่เกย่ี วขอ งกบั การเกษตรมขี ดี ความสามารถในการบรหิ ารจดั การ

การแปรรปู การตลาดผลผลติ ทางการเกษตรอยา งมีประสิทธิภาพ
5. ภูมิปญ ญาทองถน่ิ การศึกษา การวจิ ัยและพัฒนา การถายทอดเทคโนโลยีดานการเกษตร

มีความเหมาะสม และนําไปใชป ระโยชนอ ยา งเปนรูปธรรม
6. ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมของจังหวัดกําแพงเพชรมีความอุดมสมบูรณ เกดิ

ความสมดลุ ของระบบนิเวศอยา งยงั่ ยนื

ยุทธศาสตรการพฒั นาเกษตรกรรม
การพัฒนาเกษตรกรรมของจงั หวัดกําแพงเพชร มุงเนนใหความสําคัญกับความม่ันคงในอาชีพและการ
มีรายไดเพิ่มมากขึ้น การเพิ่มผลผลิต การฟนฟูทรัพยากรการเกษตร ดิน น้ํา การสรางความสมดุลของระบบ
นิเวศน และการวิจัยและพัฒนาเพ่ือการเกษตร พรอมท้ังการแกไขปญหาดานหน้ีสิน และการเขาถึงแหลงทุน
ซึ่งจากแบบสํารวจปญหาความตองการ และขอเสนอแนวทางพัฒนาของเกษตรกรตามสาระสําคัญ ของแผน
แมบทเพื่อพฒั นาเกษตรกรรมในพระราชบัญญัติสภาเกษตรกรแหงชาติ พ.ศ. 2553 มาตรา 41 จึงไดกําหนด
ยุทธศาสตรก ารพัฒนาเกษตรกรรมจังหวัดกาํ แพงเพชร ในชวงระยะเวลา ป 2556 - 2559 ดังน้ี

1) ยทุ ธศาสตร การสง เสริมและคุมครองสิทธใิ นทีด่ ินเพ่ือประกอบอาชีพเกษตรกรรมของเกษตรกร
ประเด็นการพัฒนา
1 ลดความซ้ําซอ นประเภทของสารสิทธทิ์ ี่ดนิ ของรฐั โดยควบรวมทด่ี นิ ของรัฐใหเหลอื ประเภท

เดยี ว
2 การกาํ หนดขอบเขตพนื้ ท่ีดินของรัฐใหชดั เจน (One map)
3 กาํ หนดแปลงผอ นปรนของเกษตรในที่ดินของรัฐทีห่ มดสภาพปา
4 เรงรดั โดยการจดั สรรทด่ี ินทาํ กนิ (คทช.) ใหแลว เสร็จโดยเร็วและทั่วถึง
5 สง เสริมและฟน ฟูทดี่ นิ ใหมีความอดุ มสมบรู ณ ยิง่ ขน้ึ
6 ประชาสัมพันธ และชีแ้ จงกฎหมายเกีย่ วกับทด่ี ินใหประชาชนรบั ทราบอยางทว่ั ถงึ

[ค]

2) ยุทธศาสตร การเพิ่มรายไดภ าคการเกษตร
ประเดน็ การพัฒนา
1. การสง เสรมิ การใชนวตั กรรม และเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพ่ือเพิ่มผลผลิต
2. สงเสรมิ การผลติ และใชสารอนิ ทรยี ช ีวภาพ เพอื่ ทดแทนสารเคมเี พื่อลดตน ทนุ การผลติ
3. กําหนดใหราคาปจจยั การผลติ การเกษตร เปนสินคาควบคุมราคาโดยรัฐบาลเปนผูกําหนด

ราคาชี้นาํ ตลาด
4. สง เสรมิ การใชพ นั ธุพืช ปศุสตั ว ประมง ทีใ่ หผ ลผลติ สูง
5. สงเสริมการนําผลงานวิจัย และคนควาจากสถาบันการศึกษาและหนวยงานของรัฐท่ี

เกีย่ วขอ งสูแปลงนาของเกษตรกร
6. สงเสรมิ ใหส หกรณ สถาบนั เกษตรกร องคกรเกษตรกร เปนผูจําหนายปจจัยการผลิตราคา

ถกู
7. ปรบั โครงสรางการประกอบอาชีพการเกษตรทห่ี ลากหลาย ตลาดมีความตองการ
8. สง เสริมและเพิ่มชองทางการจําหนายสินคา เกษตรดว ยระบบออนไลน
9. สง เสรมิ การทําการเกษตรที่ปลอดภัย เพื่อมุงสูเกษตรอินทรีย ดวยระบบเกษตรมีสวนรวม

(PGS)

3) ยทุ ธศาสตร การแกไ ขปญหาหนส้ี นิ และการบรหิ ารจัดการกองทนุ ดานการเกษตร
ประเดน็ การพัฒนา
1. การสงเสริมใหเกษตรกร ดํารงชีวิตโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยการสราง

ชุมชนเขมแข็งสามารถแกไขปญหาของตนเองได เสรมิ สรางวินยั ความซอื่ สตั ว ความมีคณุ ธรรม
2. การเพ่ิมชองทาง และปญหาเกษตรเขาถึงแหลงเงินทุนดอกเบ้ียตํ่า ตางๆ ไดแก กองทุน

ปรับโครงสรางการผลิต (FTA) กองทนุ ฟนฟูและพฒั นาเกษตรกรรม และกองทนุ ชว ยเหลอื เกษตรกร
3. เพมิ่ ประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการกองทุนเพ่ือการเกษตรในพ้ืนที่ ใหเกิดความเปนธรรม

โปรงใส และมปี ระสิทธภิ าพมากทสี่ ุด

4) ยทุ ธศาสตร การอนรุ ักษ การฟน ฟู และการใชประโยชนจากทรพั ยากรธรรมชาติ สิง่ แวดลอม
และความหลากหลายทางชีวภาพเพือ่ การเกษตร

ประเดน็ การพัฒนา
1. เพ่ิมประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาติส่งิ แวดลอมและความหลากหลาย
ทางชีวภาพ ไมใหเ กดิ ความเสยี หายเพม่ิ มากข้นึ
2.ฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอมท่ีเสียหายใหฟนคืนสภาพ เพ่ือรักษาสมดุลของ
ระบบนเิ วศ
3.การสงเสริมและคุมครองสิทธิเกษตรกร และการเพิ่มสิทธิ และบทบาทของเกษตรกรที่
เกย่ี วของกบั การทาํ กิน และการเขาถงึ แหลงทรพั ยากรทจี่ าํ เปน ตอ การประกอบการเกษตร

[ง]

5) ยุทธศาสตร การพฒั นาแหลง น้ําและจัดระบบชลประทานเพ่อื เกษตรกรรม
ประเด็นการพฒั นา
1.การพัฒนาแหลงนํ้าเพื่อเพิ่มพ้ืนที่ชลประทาน โดยการพิจารณาสรางโครงการชลประทาน

ขนาดกลาง อางเก็บนํา้ และโครงการชลประทานขนาดเล็ก โดยเฉพาะในพ้นื ทฝ่ี ง ตะวันตกของจังหวัด
2.สนบั สนนุ การบริหารจัดการน้ําแบบมีสวนรวม มีการวางแผนการบริหารจัดการแบบมีสวน

รวม จดั ต้ังกลุมผใู ชนา้ํ วางแผนและจดั ระบบเพาะปลูกพชื ใหส มั พนั ธก บั การจัดสรรน้ํา
3.ปรับปรุงระบบสงน้ําเดิม และแหลงนํ้าตามธรรมชาติ โดยการขุดลอกปรับปรุงซอมแซมเท

คอนกรีตคลองสงนาํ้ เพือ่ ใหการสงน้ํามีประสิทธิภาพ
4.พัฒนาแหลงนํ้าในไรนา เพ่ือเปนการเตรียมนํ้าใหเพียงพอ ในการทําการเกษตรตาม

ศักยภาพของพ้นื ท่ี

[จ]

สารบญั หนา
[ก]
คาํ นํา [ข]
บทสรปุ ผูบริหาร
สารบัญ [ฉ]
[ซ]
สารบญั เนือ้ เร่อื ง [ฌ]
สารบญั ตาราง
สารบญั รปู ภาพ 1
สว นที่ 1 บทนาํ 9
1.1 โครงการจัดทาํ แผนพัฒนาเกษตรกรรมจังหวดั กําแพงเพชร 29
1.2 การเชื่อมโยงยุทธศาสตรดานการเกษตร
1.3 สถานการณดานการเกษตรของจงั หวดั 46
สวนท่ี 2 การวิเคราะหศกั ยภาพและสภาพแวดลอ มดานการเกษตร 53
2.1 การวเิ คราะหป ญ หาและความตอ งการ 54
2.2 วิเคราะหสภาพแวดลอมภายในดานการเกษตร(จดุ ออน - จดุ แข็ง)
2.3 วิเคราะหส ภาพแวดลอมภายในนอกดานการเกษตร(โอกาส -อุปสรรค) 56
สว นที่ 3 ทิศทางการพฒั นาดา นการเกษตรของจังหวดั 57
3.1 วสิ ัยทศั น พนั ธกิจ เปา ประสงคหลกั
3.2 ประเด็นยุทธศาสตร ตัวชว้ี ดั /คาเปาหมาย 65
สว นท่ี 4 ขอเสนอเชิงนโยบายเพ่อื พัฒนาแกไ ขปญหาดา นการเกษตรท่ไี ดจ ากการจดั ทาํ แผนพัฒนา
เกษตรกรรมจังหวัดกาํ แพงเพชร 66
ภาคผนวก 67
เขตความเหมาะสมสาํ หรับพชื เศรษฐกิจ 69
ตาราง ๑ เขตความเหมาะสมของดินสําหรบั ปลูกขาว 72
ตาราง 2 เขตความเหมาะสมของดินสําหรับปลูกมนั สาํ ปะหลงั 77
ตาราง 3 เขตความเหมาะสมของดินสาํ หรบั ปลูกออย 80
ตาราง 4 เขตความเหมาะสมของดินสาํ หรับปลูกขา วโพดเล้ียงสตั ว
ตาราง 5 เขตความเหมาะสมของดนิ สาํ หรบั ปลูกยางพารา 84
ตาราง 6 เนือ้ ทปี่ ลูกขาวนาป เนอื้ ท่ีเกบ็ เก่ียว ผลผลติ และผลผลิตเฉลีย่ ตอไร
85
ปเ พาะปลกู 2561/62
ตาราง 7 เนื้อที่ปลูกขา วนาปรัง เนอ้ื ทเี่ กบ็ เกย่ี ว ผลผลิตและผลผลิตเฉล่ียตอ ไร 86

ปเพาะปลกู 2561/62 87
ตาราง 8 เน้ือทเี่ พาะปลกู พชื ไร เนอ้ื ทเ่ี กบ็ เก่ียว ผลผลิตและผลผลติ เฉลี่ยตอ ไร

ปเพาะปลกู 2561/62
ตาราง 9 เนอ้ื ที่เพาะปลกู พืชผัก เนอ้ื ที่เก็บเกี่ยว ผลผลติ และผลผลติ เฉลยี่ ตอ ไร

ปเ พาะปลกู 2561

[ฉ]

สารบญั (ตอ)

ตาราง 10 เนอื้ ทเ่ี พาะปลูกไมผลและไมยนื ตน เน้ือทเี่ ก็บเกี่ยว ผลผลติ และผลผลิตเฉลย่ี ตอไร หนา
ปเพาะปลกู 2561
88
ตาราง ๑1 ปรมิ าณสตั วน า้ํ จืดที่จบั ไดจ ากการทําประมงน้ําจืด ป พ.ศ. 2558 (กิโลกรัม) 89
ตาราง 12 สหกรณ จาํ แนกตามประเภทสหกรณ ป พ.ศ.2563 90
ตาราง ๑3 ปรมิ าณน้าํ ที่เกบ็ เฉลย่ี ท้ังป จําแนกตามประเภทแหลงนาํ้
91
เปน รายอําเภอ พ.ศ. 2561

[ช]

สารบัญตาราง หนา

ตาราง ๑ สถติ ิปริมาณฝน ณ สถานอี ุตุนยิ มวทิ ยากําแพงเพชร 33
ตาราง ๒ เขตการปกครองของจังหวดั กําแพงเพชร 33
ตาราง ๓ จาํ นวนประชากรของจังหวัดกาํ แพงเพชร 34
ตาราง 4 พชื เศรษฐกิจที่สาํ คัญของจังหวัดกําแพงเพชร 35
ตาราง 5 การใชป ระโยชนท ีด่ ินจังหวัดกาํ แพงเพชร 36
ตาราง 6 ลกั ษณะการถือครองทด่ี นิ ทางการเกษตร 36
ตาราง 7 ปศุสตั ว ป พ.ศ. 2562 37
ตาราง 8 ครวั เรือนทเ่ี พาะเลย้ี งสตั วน้ําในพน้ื ที่นา้ํ จืด บอ กระชัง เน้อื ท่ี และปรมิ าณสตั วนาํ้ จืด
38
ท่ีจับไดจ ากการทําประมงนาํ้ จืด ป พ.ศ. 2562 39
ตาราง 9 จํานวนโรงงานอุตสาหกรรมในจังหวัดกําแพงเพชร 39
ตาราง ๑0 ขา ว : โรงสขี า วในจงั หวดั กาํ แพงเพชร 40
ตาราง ๑1 มันสําปะหลัง : จาํ นวนลานมัน/โรงงานแปรรปู มันสําปะหลงั ในจงั หวดั กําแพงเพชร 40
ตาราง 12 ออ ย : จํานวนโรงงานนํ้าตาล/โรงงานไฟฟา
ตาราง ๑3 ตารางแสดงจาํ นวนโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปขาว ออย และมันสาํ ปะหลงั 41
42
ในจงั หวัดกําแพงเพชร 44
ตาราง 14 จาํ นวนแหลง น้ํา จําแนกตามประเภทแหลง น้ํา เปนรายอาํ เภอ พ.ศ. ๒๕61
ตาราง 15 เปรียบเทยี บเน้อื ท่ีปาไมในจงั หวดั กําแพงเพชร ระหวางป พ.ศ.2538-2561

[ซ]

สารบญั รูปภาพ หนา

รูปภาพท่ี 1 แผนผังการนําขอมลู จากแผนพัฒนาเกษตรกรรมจังหวดั 6
ไปเชือ่ มโยงจดั ทําแผนแมบ ทฯ (ม.41) 8
21
รปู ภาพท่ี 2 แผนภมู ิแนวทางการจัดทําขอเสนอเชงิ นโยบาย 31
รปู ภาพที่ 3 แผนทย่ี ุทธศาสตรกลมุ จังหวัดภาคเหนือตอนลาง
รปู ภาพท่ี 4 แผนที่อําเภอตางๆของจังหวัดกําแพงเพชร

[ฌ]



สว นท่ี 1 บทนาํ

1.1 โครงการจดั ทําแผนพัฒนาเกษตรกรรมจงั หวดั กาํ แพงเพชร

1.1.1 หลกั การและเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติสภาเกษตรกรแหงชาติ พ.ศ. 2553 มาตรา 11 (4) กําหนดใหสภา
เกษตรกรแหงชาติ มีหนาที่สําคัญประการหน่ึง ไดแก เสนอแผนแมบทตอคณะรัฐมนตรี นอกจากนั้น มาตรา
41 ยังกําหนดใหสภาเกษตรกรแหงชาติ จัดทําแผนแมบทโดยผานกระบวนการ มีสวนรวมของผูมีสวนไดเสีย
รวมทั้ง เช่ือมโยงกับแผนแมบทระดับจังหวัด และตองมีสาระสําคัญ อยางนอย 11 เร่ือง เชน การพัฒนา
ศกั ยภาพ การสง เสริมและสนบั สนนุ การรวมกลุมของเกษตรกร องคกรเกษตรกร กลุมเกษตรกร และยุวเกษตร
ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การสรางความเปนธรรมดานราคา ผลผลิตทางเกษตรกรรม โดยคํานึงถึง
การสงเสริมใหสินคาเกษตร ไดรับผลตอบแทนสูงสุด การพัฒนาแหลงนํ้า และจัดระบบชลประทาน เพ่ือ
เกษตรกรรม การเสนอแนวทางการเขาถึงแหลงทุน และการแกไขปญหาหน้ีสินของเกษตรกร และสราง
เครอื ขายองคก รเกษตรกร เชือ่ มโยงและพฒั นาความรวมมอื ในการผลติ ทางเกษตรกรรม การแปรรูป การตลาด
และการบรโิ ภค เพ่ือการยังชีพระหวางเครือขายองคกรเกษตรกร กับภาครัฐและภาคเอกชน เปนตน ประกอบ
กับมาตรา 33(4) กําหนดใหสภาเกษตรกรจังหวัด เสนอแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับจังหวัด ตอ สภา
เกษตรกรแหง ชาติ เพื่อบูรณาการเปนแผนแมบ ท เสนอคณะรัฐมนตรี ตอไป

ในการนี้ สภาเกษตรกรจังหวัดกําแพงเพชร ได จัดทําแผนพัฒนาเกษตรกรรมจังหวัดโดยผาน
กระบวนการมีสวนรวมของผูมีสวนไดเสีย โดยการจัดประชุมระดมความคิดเห็นเกษตรกร ผูแทนเกษตรกร
สมาชิกสภาเกษตรกร และการขอความอนุเคราะหขอมูลพื้นฐาน จากหนวยงานราชการตางๆ เพื่อไดขอมู
ปญหาความตองการ หรือจุดเดนของภาคเกษตรในพ้ืนท่ี และขอเสนอแนวทางพัฒนาแกไขปญหาดาน
การเกษตร จากระดับลา งเช่อื มโยง เพ่ือจดั ทําเปน แผนแมบ ทเพือ่ พฒั นาเกษตรกรรมระดับชาติ ตอ ไป

1.1.2 วัตถุประสงคข องการจัดทาํ แผนพัฒนาเกษตรกรรมจงั หวัด

1.1.2.1) เพือ่ ไดทศิ ทางการพัฒนาดา นการเกษตรของจังหวดั กาํ แพงเพชร
1.1.2.2) เพอื่ ทบทวนแผนพัฒนาเกษตรกรรมจงั หวดั กําแพงเพชร
1.1.2.3) เพ่อื จดั ทาํ ขอ เสนอเชงิ นโยบายเพื่อพัฒนาแกไขปญหาดา นการเกษตร
1.1.3 เปา หมาย

1.1.3.1) จัดประชมุ คณะทํางานทบทวนแผนพฒั นาเกษตรกรรมจงั หวดั และจดั ทําขอเสนอ
เชิงนโยบายจํานวน 2 คร้งั

1.1.3.2) จดั ทาํ แผนพัฒนาเกษตรกรรมจังหวดั กําแพงเพชร พ.ศ.2565 – 2569 จํานวน
1 แผน

1.1.3.3) จัดทาํ สาระสาํ คัญที่ไดจ ากการจดั ทาํ แผนพฒั นาเกษตรกรรมจังหวดั อยา งนอย 5
เรือ่ ง



1.1.3.4) จัดทําขอเสนอเชงิ นโยบายเพื่อพัฒนาแกไ ขปญหาดานการเกษตรอยางนอย 1
เร่อื ง

1.1.4 ระยะเวลาดําเนนิ การ

ตุลาคม 2563 – กันยายน 2564

1.1.5 วธิ ีการดาํ เนนิ การ

ในขั้นตอนและวิธกี ารจดั ทาแผนพัฒนาเกษตรกรรมจงั หวัดนี้ ไดกําหนดวตั ถุประสงคสดุ ทายที่
มุงไดรบั จากการจดั ทาํ แผนพัฒนาเกษตรกรรมจงั หวัดไว จากนั้นไดอธิบายข้นั ตอนและวิธีดาํ เนินงานท่ีสาํ คญั 7
ขนั้ ตอน ดงั นั้นวธิ ี

ดาํ เนินงานจงึ เปน เพยี งกรอบแนวทางดาเนินงานใหบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคส ดุ ทา ย ซึ่ง สานักงาน
สภาเกษตรกรจังหวัด สามารถปรับเปล่ียนขั้นตอน วิธีดาเนินงาน ไดตามที่เห็นสมควร ขั้นเตรียมความพรอม
กลไกดาเนินโครงการ สานักงานสภาเกษตรกรจังหวัดเสนอสภาเกษตรกรจังหวัด พิจารณาแตงต้ัง
คณะกรรมการดาเนินการจัดทาแผนพัฒนาเกษตรกรรมจังหวัด ซ่ึงมีองคประกอบของกรรมการจาก หนวยงาน
ภาคราชการ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา และผูนาเกษตรกรเพื่อมีสวนรวมจัดทาแผนฯ ตั้งแตสนับสนุน
ขอมูล รว มระดมความคดิ เหน็ และรว มนาโครงการ/กิจกรรมท่ีไดจากการจัดทาแผนพัฒนาเกษตรกรรมจังหวัด
ไป ขับเคล่อื นใหเ กดิ ผลในทางปฏบิ ัติ

1.1.5.1) จัดประชมุ ชแี้ จงแนวทางดาเนนิ การจัดทาํ แผนพฒั นาเกษตรกรรมจงั หวดั
วัตถปุ ระสงค

เพอ่ื สรา งความรูค วามเขาใจข้ันตอนและวิธีการจัดทาแผนพัฒนาเกษตรกรรมจงั หวดั ใหแกเ จาหนาที่
และผูแทนเกษตรกรทีร่ บั ผดิ ชอบและรว มดาเนินการจดั ทาแผนฯ
เปาหมาย

เจาหนาท่ีสานกั งานสภาเกษตรกรจงั หวัด/ผูแทนสมาชิกสภาเกษตรกรจังหวัด/ผูนาเกษตรกร จํานวน
80 ราย
วิธดี าํ เนินการ

1) กําหนดบคุ ลากรเปา หมายท่จี ะเขารับการอบรม
2) กําหนดเนือ้ หาวชิ าที่จะช้แี จง และหรือฝกปฏิบัติเก่ียวกับการจัดเก็บขอมูล การวิเคราะหขอมูลการ
ประมวลผลขอมูล การวเิ คราะหศ ักยภาพภาคการเกษตรของจังหวัด การจัดเวทีระดมความคิดเห็นการกําหนด
ทิศทางการพัฒนาภาคเกษตรของจังหวัด และการจําแนกขอมูลสาระสําคัญของแผนแมบทเพ่ือพัฒนา
เกษตรกรรม (มาตรา 41) รวมท้งั การจดั ทาขอเสนอเชงิ นโยบาย
3) ประสานเชิญวิทยากรบรรยายช้แี จง และกําหนดวนั เวลา สถานทจ่ี ดั ประชุมชแ้ี จง
4) จัดประชมุ ช้แี จง
หนว ยงานรับผดิ ชอบ สาํ นักงานสภาเกษตรกรจังหวัดกําแพงเพชร

1.1.5.2) ขนั้ จดั เก็บ รวบรวม ประมวลผล และวิเคราะหข อมลู ดา นการเกษตรในจังหวดั
วตั ถปุ ระสงค

1.)เพือ่ จัดเก็บขอมลู ดานการเกษตรทส่ี ําคัญ นาํ ไปประมวลผลและวเิ คราะหใ หเ ขาใจอยา งงาย



2.)เพื่อจะนาํ ไปใชใ นการประชมุ ระดมความคิดเห็นกาํ หนดทศิ ทางการพฒั นาดานการเกษตรในจังหวัด
ขั้นตอ ไป

เปา หมาย

1) จัดเก็บขอมูลดานการเกษตร ไดแก ขอมูลพ้ืนฐานดานการเกษตรที่สําคัญ และขอมูลสาระสําคัญ
ตามแผนแมบ ทเพื่อพัฒนาเกษตรกรรม (มาตรา 41)

2) สํารวจขอมูลจากเกษตรกรดานสภาพเศรษฐกิจของครัวเรือน และปญหาความตองการของ
เกษตรกร

3) ประมวลผลและวิเคราะหขอมูลดานการเกษตรใหเ ขา ใจอยางงาย
วิธีดาํ เนนิ งาน

1) รวบรวมขอมูลสาระสําคัญตามแผนแมบทเพ่ือพัฒนาเกษตรกรรม และขอมูลพ้ืนฐานดาน
การเกษตรท่ีสําคัญของจังหวัดจากหนวยงานที่เก่ียวของ เพ่ือนาไปใชประกอบการวิเคราะหศักยภาพดาน
การเกษตรไดแก ขอมูลสาระสําคัญตามแผนแมบทเพื่อพัฒนาเกษตรกรรม ขอมูลจานวนเกษตรกร จานวน
ครัวเรือนเกษตรกร และการใชประโยชนท่ีดินทางการเกษตร เปนตน พรอมทาการประมวลผลและวิเคราะห
ขอมลู เพอื่ ประเมนิ เร่ืองท่ี เปนจดุ ออน และจุดแขง็ ดานการเกษตรเบื้องตน (เอกสารแนบ 1)

2) สํารวจขอมูลจากเกษตรกรและกลุมผมู สี ว นไดสว นเสีย โดยสํารวจขอมูลตามแบบจัดเก็บขอมูลเพ่ือ
ประกอบการบูรณาการแผนพัฒนาเกษตรกรรมชุมชน เพื่อสรางความเขมแข็งเกษตรกรเศรษฐกิจฐานรากแบบ
มีสวนรวม (แผนพัฒนาเกษตรกรรมตําบล) ซ่ึงประกอบดวยขอมูลสภาพเศรษฐกิจของครัวเรือนและปญหา
ความตองการ ของเกษตรกร รวมท้ังขอมูลสาระสําคัญตามแผนแมบทเพ่ือพัฒนาเกษตรกรรมอยางนอย 11
เร่ืองแลวทําการประมวลผล วิเคราะหขอมูล พรอมจัดลาดับความสําคัญของปญหาและแนวทางแกไขปญหา
ตามความ ตองการและขอเสนอแนวทางแกไขปญหาดานการเกษตรในจังหวัด เรื่องใดเปนความเดือดรอน
เรงดว น ทตี่ องการ ใหแกไขและเรอ่ื งเรง ดว นลาดบั รองลงไป จะทําใหท ราบลาดับความสาํ คัญของ 5 เรอ่ื ง
หนวยงานรับผดิ ชอบ -สานักงานสภาเกษตรกรจังหวัดกาํ แพงเพชร
-หนว ยงานราชการในพืน้ ท่ี ไดแ ก สานักงานเกษตรจงั หวัด/สํานกั งานจังหวัด
ปศุสตั วจ ังหวัด/สานักงานประมงจงั หวัด/สถานีพัฒนาทด่ี นิ จงั หวัด/โครงการชลประทานจังหวัด ฯลฯ

1.1.5.3) ขน้ั ตอนการวเิ คราะหศกั ยภาพดา นการเกษตรในจงั หวดั
วัตถปุ ระสงค

เพอ่ื วเิ คราะหศักยภาพดานการเกษตรในจงั หวัด ซงึ่ สามารถดาเนนิ การไดหลายวิธี แตเ ทคนคิ ท่นี ยิ มใช
ไดแ ก เทคนคิ SWOT Analysis โดยวิเคราะหส ภาพแวดลอมภายในและภายนอกภาคเกษตร
เปา หมาย

ไดผลการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายในของภาคเกษตรเพื่อทราบจุดออน – จุดแข็ง และ
สภาพแวดลอมภายนอกของภาคเกษตร เพื่อทราบโอกาส - ขอจากัด โดยยึดสาระสําคัญตามแผนแมบทเพ่ือ
พัฒนาเกษตรกรรม (มาตรา 41) เปน หลกั
วิธดี ําเนินการ

1) นําขอมูลสาระสําคัญของเร่ืองตามแผนแมบทเพ่ือพัฒนาเกษตรกรรม (มาตรา 41) มาวิเคราะห
ปจจัยภายในวา แตละเรื่องเปนจุดแข็งหรือจุดออน จากนั้นวิเคราะหปจจัยภายนอกวา แตละเรื่องเปนโอกาส



หรือ อุปสรรค ทัง้ นี้การวิเคราะหส ภาพแวดลอมภายนอกท่วั ไปที่มีผลกระทบตอภาคการเกษตรระยะยาว ไดแก
สภาพ เศรษฐกจิ สงั คม นโยบาย กฎหมาย เทคโนโลยี และอนื่ ๆ

2) จําแนกสาระสําคัญของเร่ืองตามแผนแมบทฯ (มาตรา 41) ที่เปนปญหาความตองการใหแกไขใน
จังหวัดอยางนอย 5 เร่ือง วาเรื่องใดเปนจุดแข็ง เร่ืองใดเปนจุดออน เร่ืองใดเปนโอกาส และเร่ืองใดเปน
อปุ สรรค
หนว ยงานที่รบั ผิดชอบ -สาํ นกั งานสภาเกษตรกรจังหวัดกําแพงเพชร
-หนวยงานราชการที่เกย่ี วของ/สถาบันการศึกษา และ ผแู ทนสมาชกิ สภาเกษตรกรจงั หวัด

1.1.5.4) การจัดเวทีประชาคมระดมความคิดเหน็
วตั ถปุ ระสงค

1) สรางการมีสวนรว มของเกษตรกรและผมู ีสว นไดสวนเสีย ในการรับรขู อมูลปญหาความตองการของ
เกษตรกร สภาพแวดลอมภายใน (จุดออน-จุดแข็ง) สภาพแวดลอมภายนอก (โอกาส-ขอจากัด) ของภาค
การเกษตรของจังหวดั

2) รวมกันกําหนดทิศทางการพฒั นาภาคการเกษตรของจงั หวดั
เปา หมาย

จัดเวทีระดมความคิดเห็น โดยเชิญเกษตรกรและผูมีสวนไดสวนเสียเขารวมประชุม ไดแก เกษตรกร
หนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ผูแทนคณะผปู ฏบิ ัตงิ านสภาเกษตรกรระดับตําบล/อําเภอ สมาชิกสภาเกษตรกร
จังหวดั สถาบันการศกึ ษา ผนู าทองถนิ่ /ทอ งที่ เปนตน
วธิ ดี ําเนินการ

1) จดั เตรยี มเอกสารผลการวเิ คราะหขอมูลดา นการเกษตร เพ่อื ชแ้ี จงใหเ กษตรกรเขาใจอยางงาย
2) กําหนดประชุมระดมความคิดเห็น โดยกรณีจังหวัดใหญ สามารถกําหนดจัดประชุมแบงเปนโซน
อําเภอ เชน โซนพื้นท่ีราบลุม โซนพื้นทีด่ อน โซนพืน้ ทสี่ งู เปนตน
3) จัดเวทีประชุมระดมความคิดเห็น โดยชี้แจงขอมูลผลการวิเคราะหสถานการณเกษตรของจังหวัด
เพ่ือใหท่ีประชุมเพ่ิมเติมแกไข จากนั้นเสนอใหที่ประชุมพิจารณากําหนดทิศทางการพัฒนาภาคการเกษตรของ
จงั หวดั
4) ทศิ ทางการพฒั นาภาคการเกษตรของจังหวดั ควรมอี งคป ระกอบ ไดแ ก วิสยั ทัศน พันธกิจ ประเด็น
การพัฒนา (ยุทธศาสตร) เปาประสงค ตัวช้ีวัด และคาเปาหมาย ประเด็นการพัฒนายอย (กลยุทธ) และ
โครงการท่ี สาํ คญั (ถามี) ทั้งนี้ไดจัดทาแบบสรุปองคประกอบของแผนพัฒนาเกษตรกรรมจังหวัด พ.ศ. 2565
- พ.ศ. 2569
หนวยงานรบั ผิดชอบ -สานักงานสภาเกษตรกรจังหวัด/สภาเกษตรกรจังหวัด
-คณะผูปฏิบัติงานสภาเกษตรกรตําบล/อําเภอ

1.1.5.5) การจําแนกขอมูลทไี่ ดจากการจดั ทาแผนพฒั นาเกษตรกรรมจังหวัด
วตั ถปุ ระสงค

เพ่ือจําแนกขอมูลที่ไดจากการจัดทาแผนพัฒนาเกษตรกรรมจังหวัด ไดแก ขอมูลประเด็นการพัฒนา
(ยุทธศาสตร) และขอมูลสาระสําคัญตามแผนแมบทเพ่ือพัฒนาเกษตรกรรม (มาตรา 41) เพ่ือเตรียมนาไป
ประกอบการจัดทาแผนแมบทเพื่อพัฒนาเกษตรกรรมระดับชาติ รายละเอียดปรากฏตามแผนผังการนาขอมูล
จากแผนพฒั นาเกษตรกรรมจังหวดั ไปเช่ือมโยงจัดทาแผนแมบทฯ



เปา หมาย
1) จาํ แนกขอมลู ประเด็นการพฒั นา (ยุทธศาสตร) ที่ไดจากการจดั ทาแผนพัฒนาเกษตรกรรมจงั หวัดๆ

ละอยางนอย 3 ประเดน็ การพัฒนา
2) จําแนกขอ มูลสาระสําคญั ตามแผนแมบ ทเพื่อพฒั นาเกษตรกรรม (มาตรา 41) พรอมจัดเรียงลําดับ

ความสําคญั อยางนอย 5 เรอื่ งทั้งนี้ สาระสําคัญตามแผนแมบทเพือ่ พฒั นาเกษตรกรรมอยางนอ ย 5 เรื่องนี้ บาง
กรณีอาจเปนประเด็นการพัฒนา (ยุทธศาสตร) แตบางกรณีอาจปรากฏในประเด็นการพัฒนายอย (กลยุทธ)
ของแผนพัฒนาเกษตรกรรมจังหวัดท่ีจดั ทาํ ข้นึ หรอื บางกรณีอาจปรากฏในแนวทางการพฒั นา
วิธีดาํ เนินงาน

1) จําแนกประเด็นการพัฒนา (ยุทธศาสตร) ท่ีแสดงความสัมพันธกับการนาเรื่องสาระสําคัญตามแผน
แมบทฯเรอ่ื งใดมากาํ หนดไวใ นประเด็นการพัฒนา

2) จาํ แนกประเด็นการพัฒนายอ ย (กลยทุ ธ) ทแี่ สดงความสัมพันธกับการนาเรื่องสาระสําคัญตามแผน
แมบทฯเรื่องใดมากําหนดไวในประเด็นการพัฒนายอย หรือในแนวทางการพัฒนา รายละเอียดปรากฏตาม
เอกสารแนบ 7

3) จําแนกขอมูลสาระสําคัญตามแผนแมบทเพ่ือพัฒนาเกษตรกรรมจังหวัดอยางนอย 5 เร่ืองที่นามา
ประกอบการจัดทาแผนพัฒนาเกษตรกรรมจังหวัด โดยนาผลการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามปญหา
ความตอ งการของเกษตรกรและขอ มูลสาระสําคัญตามแผนแมบทเพ่ือพัฒนาเกษตรกรรม และจากแหลงขอมูล
อื่นๆ นาํ มาสรุปเพ่ือจําแนกขอ มูลสาระสําคัญตามแผนแมบ ทฯ แลวจัดเรียงลาดับความสําคัญของเรื่องจากมาก
ไป หานอย พรอมรายละเอยี ดสาระสําคัญของแตละเร่ือง ซ่ึงประกอบดว ย 3 ประเด็นหลกั ไดแก

(1) สภาพปญหา หรือจุดเดน ดานการเกษตรท่ีประสบความสาํ เร็จ สามารถนาไปขยายผลได
(2) แนวทางการพฒั นาแกไ ขปญหา
(3) เปา หมายการแกไ ขปญ หา (พื้นท่ี/จํานวนเกษตรกร/กลุมองคกร ) รายละเอยี ดปรากฏตามเอกสาร
หนว ยงานรับผิดชอบ -สานกั งานสภาเกษตรกรจังหวัดกาํ แพงเพชร
หนวยงานราชการ/สถาบนั การศกึ ษาและหนวยงานท่เี กย่ี วขอ ง



ของพระราชบัญญัติสภาเกษตรกรแหง ชาติ พ.ศ. 2553

รูปภาพที่ 1 แผนผงั การนําขอมลู จากแผนพัฒนาเกษตรกรรมจังหวดั ไปเชือ่ มโยงจัดทาํ แผนแมบ ทฯ (ม.41)



1.1.5.6) การจดั ทาํ ขอเสนอเชงิ นโยบาย
วัตถุประสงค

นําขอมูลปญหาดานการเกษตร ความตองการของเกษตรกร หรือจุดเดนดานการเกษตรท่ีสามารถ
ขยายผลการพฒั นาไปจัดทาเปนขอ เสนอเชิงนโยบายใหห นวยงานรบั ผดิ ชอบดาเนนิ การ
เปา หมาย

จัดทําขอเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาแกไขปญหาเร่ืองท่ีเปนประเด็นสําคัญอยางนอยจังหวัดละ 1
เรอื่ ง
วธิ ดี าํ เนนิ งาน

1) สานักงานสภาเกษตรกรจงั หวัดรวบรวมขอ มลู ปญหาความเดอื ดรอ นดานการเกษตรจากเกษตรกร
หนวยงานในพืน้ ที่ จากคณะผูปฏบิ ัติงานสภาเกษตรกรตําบล/อําเภอ และจากการประชมุ ระดมความเห็นจัดทา
แผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับจังหวัดและระดับตําบล แลววิเคราะหขอมูลปญหาและแนวทางแกไขปญหา
เบอ้ื งตน
เสนอสภาเกษตรกรจังหวัดพิจารณา

1) สภาเกษตรกรจังหวัดพิจารณาขอมูลปญหาและแนวทางแกไขปญหาเบ้ืองตน หากยังไมชัดเจน
พอท่ีจะจัดทาขอเสนอเชิงนโยบายสงใหหนวยงานรับผิดชอบดาเนินการแกไข สามารถมอบหมายให
คณะทํางานท่ี รับผิดชอบ และ/หรอื สานักงานสภาเกษตรกรจงั หวดั ดาเนนิ การจัดหาขอมลู เพ่ิมเติม

2) คณะทํางานประจาสภาเกษตรกรจังหวัดท่ีไดรับมอบหมายรวมกับสานักงานสภาเกษตรกรจังหวัด
จัดประชุมเกษตรกรท่ีเดือดรอนในพ้ืนท่ีเปาหมาย (Focus Group) รวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ เพื่อระดม
ความเห็น ปญหา สาเหตปุ ญ หา ความรุนแรงของปญหา และแนวโนมผลกระทบ พรอมขอเสนอแนวทางแกไข
ปญหาจากเกษตรกรรวมกับหนวยงานท่ีเกี่ยวของ จากนั้นสานักงานสภาเกษตรกรจังหวัดจัดทาขอเสนอเชิง
นโยบายในรูปแบบ แนวทาง/มาตรการ/ยุทธศาสตร/โครงการ หรือระเบียบ/กฎหมายเพื่อแกไขปญหาตาม
ความเหมาะสม ซ่ึงองคประกอบของขอ เสนอเชงิ นโยบายควรประกอบดว ย

(1) เรอื่ ง.......................................................(2) สถานการณ ปญหา สาเหตุปญหา ความรุนแรงของ
ปญหา และแนวโนมผลกระทบ (3) จากน้ันเสนอแนวทางแกไขปญหาในรูปแบบแนวทาง/มาตรการ/
ยุทธศาสตร/โครงการ หรอื ระเบียบ/กฎหมายเพ่ือแกไขปญหาตามความเหมาะสม

(4) พรอมระบุผลที่คาดวาจะไดรับหากแกไขตามแนวทางมาตรการ/ยุทธศาสตร/โครงการหรือ
ระเบยี บ/กฎหมายตามทเี่ สนอ (ถามี)

5) สภาเกษตรกรจังหวัดพิจารณาขอเสนอเชิงนโยบายเพ่ือพัฒนาแกไขปญหา ซึ่งคณะทางานหรือ
สานักงานสภาเกษตรกรจังหวัดเสนอ

6) จัดสงขอเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาแกไขปญหาใหหนวยงานรับผิดชอบในพื้นที่ชวยดาเนินการ
แกไข

7) กรณีขอเสนอปญ หาเกินขดี ความสามารถแกไขไดของหนว ยงานในพืน้ ท่ี สานกั งานสภาเกษตรกร
จังหวัด ใหสงขอเสนอเชิงนโยบายใหสานักงานสภาเกษตรกรแหงชาติ/ประธานสภาเกษตรกรแหงชาติดาเนิน
การท้ังนี้ ประธานสภาเกษตรกรแหง ชาติอาจพจิ ารณามอบหมายใหสมาชกิ สภาเกษตรกรแหงชาติท่ี รับผิดชอบ
หรือคณะทางานดาเนินการจดั ทาขอเสนอเชิงนโยบาย



8) สมาชกิ สภาเกษตรกรแหง ชาต/ิ คณะทางานที่ไดรบั มอบหมายจัดทาขอเสนอเชงิ นโยบายแลว เสรจ็
นําเสนอสภาเกษตรกรแหงชาติ หรือประธานสภาเกษตรกรแหงชาติ แลวแตกรณี เพื่อสงใหหนวยงานระดับ
กรม/กระทรวงท่ีรับผิดชอบ หรือนายกรัฐมนตรีพิจารณาตอไป (แผนภูมิแนวทางการจัดทาขอเ สนอเชิง
นโยบาย) หนว ยงานรบั ผดิ ชอบ สาํ นักงานสภาเกษตรกรจังหวดั กําแพงเพชร

รูปภาพท่ี 2 แผนภูมิแนวทางการจัดทาํ ขอเสนอเชิงนโยบาย



1.2 การเช่ือมโยงยทุ ธศาสตรด า นการเกษตร

การเช่ือมโยงนโยบายและยุทธศาสตรของภาครัฐทีเ่ กยี่ วของกับภาคการเกษตร
กรอบยุทธศาสตรช าติ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 – พ.ศ. 2579)

1) การสรา งขดี ความสามารถในการแขงขนั
2) การพฒั นาและเสรมิ สรางศักยภาพคน
3) การสรา งโอกาส ความเสมอภาค และเทา เทยี มกนั ทางสังคม
4) การสรา งการเติบโตบนคณุ ภาพชีวติ ทเ่ี ปนมติ รกับสิง่ แวดลอ ม

แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – พ.ศ. 2564)
1) การสรางความเปนธรรมลดความเลื่อมล้ําในสงั คม
2) การสรา งความเขมแขง็ ทางเศรษฐกจิ และแขง ขันไดอ ยางยงั่ ยืน
3) การเตบิ โตทเี่ ปน มิตรกบั ส่ิงแวดลอมเพื่อการพฒั นาอยา งย่ังยืน
4) การพฒั นาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วจิ ยั และนวัตกรรม
5) การพัฒนาภาค เมือง และพน้ื ท่ีเศรษฐกิจ

นโยบายของคณะรัฐมนตรี พลเอกประยทุ ธ จันทรโอชา
1. นโยบายรฐั บาลขอ 3 การลดความเลอ่ื มล้าํ ของสงั คมและการสรา งโอกาสเขาถึงบริการของรฐั
2. นโยบายรฐั บาลขอ 6 การเพม่ิ ศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ

ขอเสนอประเด็นการปฏริ ูปภาคเกษตรของสภาปฏริ ปู แหง ชาติ
1. การปฏริ ปู ดา นเกษตรกร
2. การปฏริ ูปดานระบบ
3. การปฏิรปู ดานกลไกและการบริหารจดั การ
4. การปฏริ ูปดา นการบริหารความเสี่ยงของเกษตรกร

แผนพฒั นาการเกษตร ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.
2560 -พ.ศ. 2564)
1) สรางความเขมแขง็ ใหกับเกษตรกรและสถาบนั เกษตรกร
2) เพ่มิ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการสินคาเกษตรตลอดโซอุปทาน
3) เพม่ิ ความสามารถในการแขง ขันภาคการเกษตรดวยเทคโนโลยีและนวตั กรรม
4) การบรหิ ารจดั การทรัพยากรการเกษตรและสิง่ แวดลอมอยา งสมดุลและยง่ั ยนื

แผนแมบทเพอ่ื พัฒนาเกษตรกรรม สภาเกษตรกรแหงชาติ (พ.ศ. 2560- 2564)
1) การพัฒนาทรัพยากรบุคคล และความเขมแข็งขององคกรเกษตรกร
2) การพัฒนาและคุมครองทรัพยากรการผลติ ทางการเกษตร
3) การพฒั นาประสิทธิภาพการผลติ และการรักษาเสถยี รภาพดา นราคาสนิ คา เกษตร
4) การแกไขปญ หาหนี้สนิ ภาคการเกษตร และการสรางความเขม แขง็ การบรหิ ารจดั การดาน
กองทนุ การเกษตร

ยุทธศาสตรก ารพฒั นากลุม จังหวัดภาคเหนอื ตอนลาง 2
1) ขยายฐานเศรษฐกจิ ของกลุมใหห ลากหลาย สรางมูลคาเพ่มิ ผลติ ผลเกษตร พฒั นาเทคโนโลยี เพื่อ
พัฒนาเศรษฐกิจเดมิ สภู าคอตุ สาหกรรมที่มีมลู คา สงู และการพัฒนาระบบ Logistic โดยใชจ งั หวดั นครสวรรค
เปนศูนยก ลาง



2) เพม่ิ รายไดจากการพัฒนาและสรา งสนิ คาการทองเที่ยว
3) แกไ ขปญ หานา ทัง้ ระบบ ใหส อดคลอ งกับกรอบการพฒั นาลมุ นาหลกั ของประเทศ
4) พฒั นาทรัพยากรมนุษยแ ละคุณภาพชีวิตเพื่อเพ่ิมขดี ความสามารถในการแขงขัน

แผนพัฒนาจงั หวัดกาํ แพงเพชร พ.ศ. 2561 -2565
(1) แหลง ผลติ และแปรรูปสนิ คา เกษตรปลอดภยั
(2) แหลง ผลติ พืชพลังงานทดแทน และ
(3) การทองเท่ียวมรดกโลกและวิถชี ุมชน

1.2.1 กรอบยทุ ธศาสตรชาตริ ะยะ 20 ป (พ.ศ.250 - พ.ศ.2579)

ยทุ ธศาสตรชาตกิ ําหนดวิสยั ทัศนวา “ประเทศมีความม่ันคง ม่ังค่ัง ยั่งยืนเปนประเทศพัฒนา
แลว ดวยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ประกอบดวยยุทธศาสตรท่ีเกี่ยวของกับภาค
การเกษตร ดงั นี้

ยทุ ธศาสตรท ่ี 1 ดว ยการสรางขดี ความสามารถในการแขง ขนั
เพ่ือใหประเทศไทยสามารถยกระดับเปนประเทศ ยุทธศาสตรชาติ 20 ป(พ.ศ.2560 - พ.ศ
2579) วางเปาหมายใหไทยเปนประเทศท่ีมีรายไดสูงระดับ 12,735 เหรียญสหรัฐฯ ตอคนตอป จึงตอง
มุงเนนยกระดับผลิตภาพและการใชนวัตกรรม ในการเพ่ิมความสามารถในการแขงขันและการพัฒนาอยาง
ยั่งยืน ท้ังในสาขาอุตสาหกรรมเกษตร และบริการ การสรางความม่ันคงปลอดภัยดานอาหาร ซึ่งมีแนวทางที่
เกย่ี วกับภาคการเกษตร ดังนี้
1.1) พัฒนาภาคการผลิตและบริการ ดวยการเสริมสรางฐานการผลิตภาคเกษตรใหเขมแข็ง
และย่ังยืน เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของภาคเกษตร พัฒนาสินคาเกษตรและอาหารท่ีมีศักยภาพใน
การแขงขันของภาคเกษตร พัฒนาสินคาเกษตรและอาหารท่ีมีศักยภาพในการแขงขันเพื่อสรางรายได และ
ความมั่นคงดานอาหารของประเทศ และสงเสริมเกษตรกรรายยอยใหปรับไปสูการทําการเกษตรท่ียังย่ืน และ
เปน มิตรกบั สิ่งแวดลอ ม และรวมกลมุ เกษตรกรในการพฒั นาอาชพี ทีเ่ ขมแข็ง
1.2) พัฒนาผูประกอบการและเศรษฐกิจชุมชน ดานการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางสูขนาด
ยอมสูสากล พัฒนาวิสาหกิจชุมชนและสถาบันเกษตรกรเพื่อสรางความเขมแข็งของชุมชนและกลุมประชาชน
เกษตรกรในชมุ ชนใหเ ปน ฐานรากสาํ คญั ในการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คม รวมทั้งใหส ามารถพง่ึ พาตนเอง
1.3) การลงทุนพฒั นาโครงสรางพ้ืนฐาน ดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีวิจัยและนวัตกรรม มุง
ใชองคความรู เทคโนโลยีและนวตั กรรม เพอ่ื เพมิ่ มลู คา ใหส ินคา และบริการ และการพัฒนาประเทศ
ยทุ ธศาสตรท ่ี 2 การพฒั นาและเสริมสรา งศกั ยภาพคน
พัฒนาศักยภาพคนตลอดชวงชีวิต ใหสนับสนุนการเจริญเติบโต ของประเทศ โดยเร่ิมพัฒนา
ตง้ั แตใ นครรภ และตอเน่อื งไปตลอดชวงชีวิต วัยเรียนมีทักษะและความสามารถการเรียนรูที่สอดรับ กับทักษะ
ในศตวรรษท่ี 21 วัยรุน/นักศึกษาใหมีทักษะการเรียนรู ทักษะอาชีพท่ีสอดคลองตามความตองการ ของ
ประเทศ มีทักษะชีวิต สามารถอยู และรวมทํางานกับผูอ่ืนไดภายใตสังคมที่เปนพหุวัฒนธรรมและวัยแรงงาน
ใหม ีการพัฒนายกระดับสมรรถนะฝมือแรงงาน อยางตอเนื่อง มีการทํางานตามหลักการทํางานท่ีมีคุณคา เพ่ือ
สรางผลิตภาพใหกับประเทศ มีความรูความเขาใจทางการเงิน เพ่ือใหสามารถจัดการการเงินของตนเอง และ

๑๐

ครอบครวั วัยผูสงู อายุใหอ ยอู ยา งมศี ักด์ิศรี มีความสุข มีรายไดพอเพียง ในการดํารงชีวิต มีงานท่ีเหมาะสมตาม
ศักยภาพของประสบการณ มีหลกั ประกันทางสขุ ภาพ

ยทุ ธศาสตรท ี่ 3 ดา นการสรางโอกาสความเสมอภาค และเทียมกนั ทางสงั คม
ประเทศไทยจําเปนตองเรงกระจายโอกาสการพัฒนา และสรางความมั่นคงใหท่ัวถึง
ปรับเปลี่ยนจากสังคม ที่มีความเหลื่อมลํ้าไปสูสังคมเสนอภาคและเปนธรรม เปนสังคมท่ีคนอยูกันไดอยางมี
ความสุขอันเปนพื้นฐานสําคัญท่ีจะนําไปสูการพัฒนาท่ีม่ันคงและยั่งยืน โดยมีแนวทางการสรางความมั่นคง
ปลอดภยั และการลดความเหล่ือมล่ําไปสสู ังคมเสมอภาค และเปน ธรรม เปน สงั คมท่ีคนอยกู ันไดอยางมีความสุข
อันเปนพื้นฐานสําคัญท่ีจะนําไปสูการพัฒนาท่ีม่ันคง และยั่งยืน โดยมีแนวทางการสรางความมั่นคงปลอดภัย
และลดความเหล่ือมลํ่าทางเศรษฐกิจและสังคม โดยการกระจายทรัพยากรใหทั่วถึงเปนธรรม ท้ังในดานการ
บริการสาธารณะขั้นพ้ืนฐานทรัพยากรตางๆ โดยเฉพาะกลุมผูมีรายไดนอย และกลุมผูดอยโอกาส อาทิ การ
เขา ถงึ ปจจัยการผลิต การปฎริ ปู ที่ดิน การถือครองท่ีดิน และการไดรับบริการดานการศึกษาและสาธารณสุข ที่
มีคุณภาพอยางทั่วถึง การสรางหลักประกันทางรายไดใหกับแรงงานนอกระบบท่ีมีรายไดนอย การจัดรูปแบบ
สวสั ดกิ ารพ้นื ฐานทจี่ าํ เปนและเหมาะสมตามกลุมเปาหมาย ที่คํานึงถึงฐานะทางเศรษฐกิจ และสังคมที่แตกตาง
กัน โดยมีแนวทางรวมรับภาระ คาใชจ ายอยา งเหมาะสม
ยทุ ธศาสตรท่ี 4 ดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวติ ท่ีเปน มติ รตอสงิ่ แวดลอ ม
4.1) จัดระบบอนุรักษ ฟนฟูและปองกันการทําลายทรัพยากรธรรมชาติ ดําเนินการปกปอง
รักษา และฟนฟูทรัพยากรปาไม ปองกันการบุกรุกทําลายปาอยางเขมงวด เรงรัดการปลูกไมโดยเลียนแบบ
ระบบธรรมชาติ สงเสริมการปลูกปาเศรษฐกิจ มีระบบการจัดการปาไมอยางยั่งยืนบริหารจัดการ การใช
ประโยชนท่ีดินในพื้นท่ีปาไม บนพ้ืนฐานใหคน และชุมชนสามารถอยูกับปาได นําระบบสารสนเทศมาใชเพ่ือ
บริหารจัดการ
4.2) วางระบบการบรหิ ารจดั การนํ้าใหมีประสิทธิภาพท้ัง 25 ลุมนํ้า เนนการปรับระบบการ
บริหารจัดการอุทกภัยอยางบูรณาการ ใหมีแหลงเก็บกักนํ้าตนทุน และแหลงชะลอน้ําที่เพียงพอ เพ่ือขีด
ความสามารถในการเก็บกักน้ํา และเพ่ิมประสิทธิภาพการระบายน้ํา และการผันนํ้าโดยขุดลอกรองนํ้า และ
แหลงนํ้า เพ่ือแกไขปญหาอุทกภัย ภัยแลง ควบคูกับการกําหนดพ้ืนท่ีรับนํ้า การพัฒนาคลังขอมูลระบบ
พยากรณ การปรบั ปรงุ องคกรและกฎหมาย รวมทั้งสรา งการมสี วนรว ม ในการบรหิ ารจัดการนาํ้

1.2.2 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ.2560 - พ.ศ.
2564)

สาํ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดยึดวิสัยทัศนภายใตกรอบ
ยทุ ธศาสตรชาติ 20 ป มาเปน กรอบวิสยั นข องประเทศไทย ในแผนพฒั นาฯ )ฉบบั ท่ี 12 ดังน้ี
“ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน เปนประเทศที่พัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง”

ทั้งน้ี ไดกําหนดยุทธศาสตรไว 10 ยุทธศาสตร โดยมียุทธศาสตรท่ีเกี่ยวของกับภาค
การเกษตร ดงั นี้

๑๑

ยทุ ธศาสตรท ่ี 1 ดา นการสรางความเปน ธรรมลดความเหล่ือมล้ําในสงั คมแนวทางการพัฒนา
1.1) เพิ่มโอกาสใหกับกลุมเปา หมายประชากรรอยละ 40 ท่ีมีรายไดตํ่าสุดไดสามารถ เขาถึง
บรกิ ารท่ีมีคุณภาพของรัฐ และมีอาชีพ ไดแก สรางโอกาสการมีท่ีดินทํากินของตนเองและยกระดับรายได โดย
รฐั เขา ไปสนบั สนนุ การมที ีด่ นิ ทํากนิ อยา งยง่ั ยืนในรูปแบบที่ครบวงจร ตั้งแตการจัดสรรที่ดินอยางมีเง่ือนไข เพื่อ
ปองกันการเปล่ียนมือ ใหแกกลุมคนจนในภาคเกษตรท่ีไรที่ดินทํากิน การพัฒนาทักษะความชํานาญ การ
จัดสรรเงินทุนเพ่ือประกอบอาชีพอยางท่ัวถึง การขยายโอกาสในการเขาถึง สารสนเทศและองคความรูในการ
ประกอบอาชีพ และการสนับสนุนดานการตลาด ตลอดจนสงเสริมทักษะการบริหารเงิน เพื่อใหสามารถ
จัดการรายได เงนิ ทุน และหนสี้ ินอยางมีประสิทธภิ าพ
1.2) เสริมสรางศักยภาพชุมชน การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน และการสรางความเข็มแข็ง
การเงินฐานรากตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือใหชุมชนสามารถพึ่งตนเองไดมีสิทธิในการจัดการทุน
ทดี่ ิน และทรพั ยากรภายในชุมชน โดยสงเสริมการประกอบอาชีพของผปู ระกอบการระดบั ชุมชน
ยุทธศาสตรท่ี 2 ดานการสรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจและแขงขันไดอยางย่ังยืนแนว
ทางการพัฒนา
2.1 การบรหิ ารจัดการเศรษฐกจิ สว นรวม ดานการพฒั นาภาคการเกษตร ไดแก

2.1.1) เสริมสรางฐานการผลิตภาคเกษตรใหเข็มแข็งอยางย่ังยืน โดยพัฒนาและ
บํารุงรักษาแหลงน้ําเพ่ือการเกษตร จัดระบบการปลูกพืชใหสอดคลองปริมาณน้ําท่ีหาได คุมครองพ้ืนท่ี
เกษตรกรรมท่มี ีศักยภาพ และขยายโอกาสเขา ถึงพน้ื ท่ที าํ กินของเกษตรกรใหม ากขึน้

2.1.2) สรางและถายทอดความรูทางวิชาการ วิทยาศาสตร เทคโนโลยีนวัตกรรม
และภูมิปญญาทองถ่ิน ดานการเกษตรแบบมีสวนรวม โดยสงเสริมการวิจัยพัฒนาปจจัยการผลิตพันธุพืช พันธุ
สัตว วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต และผลิตภัณฑเกษตรรูปแบบใหมๆเพ่ือสรางมูลคาเพ่ิม และความ
หลากหลายของสินคา รวมทั้งพัฒนารูปแบบและกระบวนการถายทอดความรูเพ่ือปรับระบบการผลิตท่ี
เหมาะสมกับสภาพพื้นทแี่ ละการเปลี่ยนแปลงของสภาพภมู อิ ากาศ

2.1.3) ยกระดับการผลิตสินคาเกษตรและอาหารเขาสูระบบมาตรฐานและ
สอดคลองกับความตองการของตลาดและการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาวะ โดยสงเสริมการผลิตสินคาเกษตร
และอาหารใหไดคุณภาพมาตรฐาน และความปลอดภัย และขับเคลื่อนการผลิตสินคาเกษตรอินทรียอยาง
จริงจงั

2.1.4 ) เสริมสรางขีดความสามารถการผลิตในหวงโซอาหารอุตสาหกรรมเกษตร
โดยเสริมสรางศักยภาพของสถาบันเกษตรกร และการรวมกลุมใหเปนกลไกหลักในการบริหาร จัดการตลอด
หว งโซมูลคาของอุตสาหกรรมเกษตร สงเสริมใหเกษตรกรผลิตพืช ปศุสัตว และทําการประมงใหสอดคลองกับ
ศักยภาพพ้ืนท่ี และความตองการของตลาด (Zoning) สนับสนุนการสรางมูลคาเพิ่มสินคาเกษตร และใช
ประโยชนจ ากฐานทรพั ยากรชีวภาพ เพ่ือตอ ยอดองคค วามรูและพัฒนาผลิตภัณฑม ูลคาสูง

2.1.5) สงเสริมและเรงขยายผลแนวคิดทําการเกษตรตามหลักปรัชญา ของ
เศรษฐกิจพอเพียง โดยสงเสริมใหเกษตรกรมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายการเกษตร สงเสริมขยายผลและ
พัฒนาการผลิตในระบบเกษตรกรรมยั่งยืน ควบคุมการใชสารเคมีการเกษตรที่เปนอันตรายตอสุขภาพ และ
สง่ิ แวดลอ ม

๑๒

2.1.6) พัฒนาปจจัยสนับสนุนในการบริหารจัดการภาคเกษตร และสนับสนุน
เกษตรกรรุนใหม โดยพัฒนาฐานขอมูลดานอุปสงค และอุปทานดานการเกษตรใหมีความแมนยํา สามารถ
นํามาใชวางแผนดานการเกษตรใหมีความแมนยํา สามารถนํามาใชวางแผนดานการเกษตร ผลิตเกษตรกรรุน
ใหม หรอื ดาํ เนินนโยบายบัณฑิตคืนถ่นิ การจัดทําหลักสูตรการศึกษาท่ีเนนการเรียนรูจากภาคปฏิบัติ เพื่อสราง
เกษตรกรท่ีมีความรูความสามารถ ในการยกระดับการผลิต การแปรรูป การตลาด และการบริหารจัดการ
ตลอดจนปรบั ปรงุ กฎหมาย ทีเ่ กย่ี วขอ งกบั การเกษตรใหทันสมัย

ยุทธศาสตรท่ี 3 การเติบโตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมเพ่ือการพัฒนาอยางยั่งยืนแนวทางการ
พัฒนา

3.1) การรักษา ฟน ฟูทรพั ยากรธรรมชาติ สรางความสมดุลการอนุรักษ และการใชประโยชน
อยางยัง่ ยนื และเปน ธรรม โดยอนุรักษและใชประโยชนความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืนและเปนธรรม
โดยอนรุ กั ษแ ละใชป ระโยชนความหลากหลายทางชีวภาพอยางยืน พัฒนาระบบบริหารจัดการท่ีดิน และแกไข
การบุกรุกที่ดนิ ของรฐั ปกปอ งทรพั ยากรทางทะเลและปองกนั การกดั เซาะชายฝง

3.2) เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อใหเกิดความมั่นคง สมดุลและ
ยั่งยืน โดยเพ่ิมประสิทธิภาพการเก็บกักนํ้าของแหลงน้ําตนทุน และระบบการกระจายน้ําใหดีข้ึน ดวยการ
พัฒนาแหลงน้ําขนาดกลาง และขนาดเล็ก ใชทั้งน้ําผิวดินและนํ้าใตดิน และน้ําใตดิน และการจัดการฝายโดย
ชุมชน เพ่ิมประสิทธิภาพการใชน้ําและการจัดสรรน้ําตอหนวยในภาคการผลิตใหสามารถสรางมูลคาเพ่ิมได
สูงข้ึน โดยปรับเปลี่ยนชนิด วิธีการ หรือรูปแบบการปลูกพืชใหเหมาะสมกับปริมาณนํ้าที่เก็บกักและศักยภาพ
ของพน้ื ที่ รวมทั้งความตองการของตลาด

3.3) เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการคุณภาพน้ําในพื้นที่กลุมน้ําวิกฤต และลุมน้ําสําคัญอยาง
ครบวงจร โดยลดการเกดิ นํา้ เสยี จากแหลง กาํ เนดิ

3.4) สงเสริมการผลิตและการบริโภคที่เปนมิตรกับส่ิงแวดลอม โดยสนับสนุนการผลิตภาค
การเกษตรไปสูเกษตรกรรมที่ยง่ั ยนื

3.5) พฒั นาระบบบริหารจัดการและกลไกแกไขปญหาความขัดแยงดานทรัพยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดลอม โดยทบทวนแกไขกฎหมาย โดยเฉพาะรางพระราชบัญญัติปาชุมชน เพื่อคุมครองสิทธิชุมชน
วิถีชวี ิตของกลมุ ชาติพนั ธทุ ่อี าศัย บนพ้ืนทีต่ นน้าํ หรือพนื้ ทอ่ี นุรกั ษเพ่ือใหคนอยูรวมปาไดอยา งยง่ั ยืน

ยุทธศาสตรท ่ี 4 ดา นการพัฒนาวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี วจิ ัย และนวัตกรรม
4.1) เรงสงเสริมการลงทุน วิจัยและพัฒนาและผลักดันสูการใชประโยชนในเชิงพาณิชยและ
เชิงสังคม โดยเรงรัดการถายทอดผลงานวิจัยและพัฒนา และเทคโนโลยีสูเกษตรกรรายยอย วิสาหกิจชุมชน
และวสิ าหกิจขนาดกลาง และขนาดยอ ม
4.2) ดานการบริหาร สนับสนุนใหมีการทําวิจัยท่ีสอดคลองกับศักยภาพและความตองการ
ของพ้ืนที่เพ่อื สนบั สนุนการจัดแผนพัฒนาจังหวัดและกลุมจงั หวัด
ยทุ ธศาสตรที่ 5 ดานการพฒั นาภาค เมือง และพื้นทเ่ี ศรษฐกิจ
5.1) ภาคเหนือ พัฒนาใหเปนฐานเศรษฐกจิ ใหกระจายตัวอยางทั่วถึง

5.1.1) ภาคเหนือ พัฒนาใหเปนฐานเศรษฐกิจสรางสรรคมูลคาสูง โดยพัฒนา
ประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตร และสรางมูลคาเพ่ิมภายใตแนวคิดเกษตรปลอดภัย และเกษตรอินทรีย

๑๓

ควบคูกับการพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปใหมี ความหลากหลายสอดคลองกับความตองการของตลาด
รวมทัง้ ฟนฟูทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมใหมีความอุดมสมบูรณ สรางความสมดุลแกระบบนิเวศน เพ่ือ
รองรับการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ

5.1.2) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พัฒนาใหหลุดพนจากความยากจน สูเปาหมาย
การพึ่งตนเอง โดยเพิม่ ศักยภาพการผลิตสนิ คาเกษตรไปสูมาตรฐานเกษตรอินทรียและอาหารปลอดภัย พัฒนา
อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปไปสูผลิตภัณฑที่มีมูลคาเพ่ิมสูงขึ้น เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการนํ้าเพื่อการ
พฒั นาทยี่ ่งั ยืน

5.1.3) ภาคกลาง พฒั นาเปน ฐานเศรษฐกิจชนั้ นํา้ โดยพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การผลิตอาหาร และสินคาเกษตรใหมีความทันสมัย เปนสากล เพ่ือเสริมสรางความเขมแข็ง ใหภาคกลางเปน
ฐานการผลิตอาหาร และสินคาเกษตรท่ีมีคุณภาพปลอดภัย และไดมาตรฐานโลก สนับสนุนการเปนศูนยกลาง
การผลติ อาหารของประเทศ

5.1.4 ) ภาคใต พัฒนาเปนฐานการสรางรายไดที่หลากหลาย โดยเสริมสรางความ
เขมแขง็ ภาคการเกษตร ใหเติบโตเต็มศักยภาพ ของหว งโซคุณคา เพ่ือสรางรายไดใ หก บั พื้นท่ีอยางตอเน่ือง และ
ยัง่ ยืน รวมทั้งวางระบบปองกันและแกไขปญหาความเสื่อมโทรม ของทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมเพ่ือ
รักษาสมดุลของระบบนิเวศในพ้นื ที่ ทเ่ี ปนแหลง ตนน้ําของภาค

1.2.3 นโยบายของคณะรฐั มนตรี พลเอกประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรีแถลงตอ
สภานิติบัญญัติแหงชาติ เม่ือวันท่ี 12 กันยายน 2557 มีนโยบายที่เก่ียวของกับดาน
การเกษตร ดังนี้

นโยบายรัฐบาลขอ 3 การลดความเหลือ่ มลา้ํ ของสังคม และการสรางโอกาสการเขาถึงบริการ
ของรัฐ โดยมุงแกไขปญหาการไรที่ดินทํากินของเกษตรกรและการรุกลํ้าเขตปาสงวนโดยการกระจายสิทธิการ
ถือครองใหแกผูที่อยูในพ้ืนท่ีที่ไมไดรุกลํ้า และออกมาตรการปองกันการเปล่ียนมือไปอยูในครอบครองของผูที่
มิใชเกษตรกร

นโยบายรัฐบาลขอ 6 การเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยมุงดูแลเกษตรกรใหมี
รายไดเหมาะสมดวยวิธีตางๆ เชน การลดตนทุนการผลิต การชวยเหลือเร่ืองปจจัยการผลิตอยางทั่วถึง การ
ชวยเหลือเกษตรกรายยอย ตลอดจนใชกลไกตลาดดูแลราคาสินคาเกษตรประเภทที่ราคาต่ําผิดปกติใหสูงข้ึน
ตามสมควร แกปญหานํ้าทวมในฤดูฝนใหลดลงโดยเร็วไมกระทบตอพืชผล สวนภาวะภัยแลงรัฐบาลจะเรง
ดําเนินการจัดสรางแหลงน้ําขนาดเล็กใหกระจายครอบคลุมทั่วพ้ืนท่ีเพาะปลูกใหมากที่สุด นอกจากนั้น
ดําเนินการปรับโครงสรางการผลิตสินคาเกษตรใหสอดคลองกับความตองการ เชน แบงเขตปลูกพืชผลแตละ
ชนดิ สง เสรมิ การพฒั นาอุตสาหกรรมเกษตรแปรรปู สงเสรมิ การวจิ ัย แปรรูป เพือ่ เพ่ิมมูลคา สนิ คาเกษตร

๑๔

1.2.4 ขอ เสนอประเดน็ การปฏิรปู ภาคเกษตรของสภาปฏริ ูปแหง ชาติ

ประเด็นการปฏิรปู ภาคเกษตรของคณะกรรมาธิการปฏริ ปู การเกษตร อุตสาหกรรมพาณิชย
การทองเทย่ี วและบริการ ซึง่ มีประเด็นหลักในการปฏริ ปู ภาคเกษตร ดังน้ี

1. การปฏิรปู ดา นเกษตรกร
จุดมุงเนนที่สําคัญของการปฏิรูปดานเกษตรกรมี 2 ประการ ไดแก ประการแรก คือ
การพัฒนาและมุงสรางสมรรถนะที่ดี และความสามารถทางการแขงขันแกเกษตรกรที่สมัครใจในการประกอบ
อาชีพเกษตรกรรมตอ ไป เพ่ือลดความเหล่ือมล้าํ และเปลี่ยนสภาพการรบั รทู ม่ี ีตออาชีพเกษตรกร ประการที่สอง
คือ มีระบบรองรับสําหรับเกษตรกรที่ตองการอกจากอาชีพเกษตรกร ไดแกการชวยเหลือดานรายไดและ
สวัสดิการแกเกษตรกร การพัฒนาเกษตรกรใหมีทักษะ ความรูและทักษะการใชเทคโนโลยี การบริหารจัดการ
การประกอบการและการเงนิ การสง เสรมิ ใหเกษตรกรเขา ถึงและสามารถวิเคราะหข อมูลเกย่ี วกับตลาดสินคา
2. การปฏิรปู ดา นระบบ
ภาครัฐควรสนับสนุนการปฏิรูปดานระบบในมิติตางๆ เพื่อลดความเหลื่อมล้ําทาง สังคมอยาง
ยั่งยืน เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของภาคการเกษตร และชวยใหสามารถปรับตัว ตอส่ิงที่จะมีผลตอ
เกษตรกรรมในอนาคต ไดแก ระบบโครงสรางพื้นฐาน ปจจัยอํานวยความสะดวก ระบบความปลอดภัย/
มาตรฐานสนิ คา การวิจัยพฒั นาและนวัตกรรมทางดานเกษตรกรรม ระบบเครือขาย หวงโซมูลคาและเครือขาย
วิสาหกิจระดับกลุมสนิ คาเกษตร และระดบั ชุมชน
3. การปฏิรูปดานกลไกและการบริหารจดั การ
การมีกลไกของภาครัฐในการผลักดันการปฏิรูปดานการบริหารจัดการ/กลไกและเพิ่มความ
เขมแข็งของสถาบันเกษตรกร เพื่อใหบรรลุเปาหมายการยกระดับรายไดและเสริมสราง เสถียรภาพทาง
เศรษฐกิจของเกษตรกร ซึ่งจะเปนการแกปญหาความเหล่ือมลํ้าทางสังคมไดอยางยั่งยืนไดแก กลไกทาง
กฎหมาย กฎ ระเบียบ กําหนดแผนยุทธศาสตร เปาหมายระยะยาวสําหรับสินคา เกษตรรายสาขา
ยทุ ธศาสตร/ นโยบายพลงั งานทางเลือกทีช่ ัดเจนและตอเนอ่ื ง การเพ่มิ ประสิทธภิ าพ
การผลิต ผลิตภาพและโซนน่ิงพืน้ ที่ การสงเสรมิ และพฒั นาการบริหารจัดการของกลมุ และเครือขา ย เกษตรกร
การสง เสริมและพัฒนาสหกรณ การสง เสริมและพฒั นาวิสาหกิจชุมชนและกลมุ เกษตรกร ตางๆ ในระดับชมุ ชน
4. การปฏิรูปดา นการบรหิ ารความเสยี่ งของเกษตรกร
การบรหิ ารจดั การความเสย่ี งจากภยั ธรรมชาติในการผลติ ของเกษตรกร ซึ่งเปน ส่งิ จําเปนท่ตี องหาวิธกี ารทม่ี ี
ประสทิ ธภิ าพ เพ่ือบรรเทาความเสียหายใหแกเ กษตรกร ไดแก การประกันภัยพืชผล
ขอ เสนอปฏริ ปู และแนวทางดาํ เนินงาน มีดงั นี้
1) การสนบั สนุนรางพระราชบญั ญตั ริ ายไดและสวสั ดกิ ารเกษตรกร พ.ศ.... โดย
กระทรวงเกษตรและสหกรณจ ัดทําข้ึน
2) การปฏริ ูปโครงสรางภาคเกษตรท้งั ระบบ โดยเฉพาะปรบั โครงสรางพน้ื ฐานและ ปจ จัยอํานวยความ
สะดวกทางดานเกษตรกรรม ไดแก ระบบชลประทาน การจัดรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม การจัดหาปจจัยการ
ผลิต การสงเสริมการใชเครื่องจักรกลการเกษตรเพ่ือทดแทน แรงงานเกษตร การสงเสริมระบบโลจิสติกส
ทางดานสนิ คา เกษตร จัดต้งั บรรษทั เงนิ ทุนเพื่อการเกษตร ปา ไมและประมง
3) การปฏิรูประบบขอมูล Digital Agriculture Economy เปนการผสมผสาน ระหวางระบบ
ฐานขอมูล ระบบการสื่อสาร และระบบโทรคมนาคม เพื่อยกระดับความสามารถในการ คาดการณผลผลิต
ทางการเกษตรไดอยา งแมน ยาํ มากขน้ึ

๑๕

4) การปฏิรูประบบความปลอดภัย/มาตรฐานสนิ คา โดยกาํ หนดมาตรฐาน การปฏิบตั ิทางการเกษตรท่ี
ดี (GAP) ตลอดหว งโซของการผลิตอาหาร โดยใหภ าคเอกชนมีสวนรวม ในการสรางระบบการตรวจรับรองและ
การตรวจสอบมาตรฐาน รฐั บาลควรมงี บประมาณสนับสนุน คาธรรมเนยี มใบรับรองมาตรฐานสําหรับเกษตรกร
ท่เี ขา รว มโครงการ สงเสรมิ การบรู ณาการระหวาง หนว ยงานทม่ี ภี ารกิจเกี่ยวกับการดูแลมาตรฐานสินคาเกษตร
ดานตางๆ กําหนดมาตรฐานในดานความ ยั่งยืนของสภาพแวดลอม กําหนดมาตรฐานในดานความม่ันคงทาง
อาหาร โดยเนนหลักการลงทุน ภาคเกษตรอยางรับผิดชอบ และประชาสัมพันธสรางความตระหนักถึง
ความสาํ คญั ของประเดน็ เร่อื ง ความปลอดภยั และมาตรฐาน

5) การกําหนดแผนยุทธศาสตร เปาหมายระยะยาวสําหรับสินคาเกษตรรายสาขา โดยกําหนดเปน
วาระแหงชาติ และมีการประยุกตใชแนวทางการพัฒนาในมิติตางๆ อาทิ การตลาด เทคโนโลยีการผลิตและ
การเงิน เพื่อวตั ถปุ ระสงคการแปรรปู สินคา เกษตรไปสูอุตสาหกรรม จัดระบบ ขอมูลสารสนเทศเพื่อใหสามารถ
บริหารจัดการสินคาดวยขอมูลตลอดหวงโซคุณคา การกําหนดโซนน่ิง พ้ืนที่ โดยพิจารณาอุปสงคเทียบกับ
อปุ ทาน จดั ต้ังกองทนุ พฒั นาสนิ คาเกษตรและเกษตรกรรายสาขา เช่ือมโยงกับยุทธศาสตร/นโยบายการพัฒนา
พลงั งานทางเลอื กทชี่ ัดเจนและตอเนอ่ื ง

6) เสนอรางพระราชบญั ญัติปาลม และปาลมน้ํามนั พ.ศ....
7) เสนอรางพระราชบญั ญัติมันสาํ ปะหลงั และผลติ ภัณฑมันสําปะหลัง พ.ศ....
8) เสนอรา งพระราชบัญญตั ิการพฒั นาอุตสาหกรรมการผลิตเนื้อโค กระบอื
พ.ศ... เพื่อการจดั ต้งั องคกรกลางรับผิดชอบดแู ลการบริหารจัดการเกีย่ วกับอสุ าหกรรมการผลติ เนือ้ โค
กระบือ ของประเทศ
9) การรางพระราชบัญญัติสมาพันธสหกรณ เพ่ือการเกษตรและวิสาหกิจชุมชน พ.ศ.... จะทําใหมี
กฎหมายใหมท่ีเนนเร่ืองการรวมกลุมของเกษตรกรโดยเฉพาะ รวมท้ังใหความสําคัญ เร่ืองการสงเสริมและ
พฒั นาการบริหารจดั การรวมกลุมของเกษตรกร ซงึ่ เปนแหลง ทม่ี าและพลัง ตอรองการสนับสนุนดานตางๆ ของ
หนว ยงานราชการและสถาบันการศึกษา โดยเปนศูนยรวมของ การชวยเหลือ การถายทอดความรู ทักษะและ
กระบวนการผลิตใหมๆ รวมท้ังนวัตกรรมดานสินคาและการบริการของเกษตรกร โดยใหการรวมกลุมของ
เกษตรกรสามารถทําไดหลายรูปแบบตาม ความตองการและความยืดหยุนในการปรับตัวของเกษตรกร
นอกจากนนั้ ควรมีการพจิ ารณาจดั ต้งั สถาบนั การเงนิ เพอ่ื ใหบริการดานแหลงเงินทุนโดยเฉพาะแกสหกรณเพ่ือ
การเกษตรและวสิ าหกจิ ชมุ ชน

1.2.5 แผนพัฒนาการเกษตรในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่
12 (พ.ศ. 2560 - พ.ศ. 2564)

สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรไดดําเนินการจัดทําแผนพัฒนาการเกษตรในชวงแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - พ.ศ. 2564) โดยไดกําหนดวิสัยทัศนวา “ภาคเกษตร
กา วไกลดวยเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม ตลาดนําการผลิต ชีวิตเกษตรกรมีคุณภาพ ทรัพยากรการเกษตรมีความ
สมดุลและยัง่ ยืน” ซ่งึ ประกอบดว ย 4 ยทุ ธศาสตร ดังนี้

ยุทธศาสตรท่ี 1 สรางความเขมแขง็ ใหกับเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร
แนวทางการพฒั นา

1.1) ขยายผลการทําการเกษตรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดวยการสราง
จิตสํานึกใหเกษตรกรนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการทําการเกษตรใหครอบคลุมทุก
ครัวเรือน กลุมเกษตรกร องคกร เครอื ขา ยเกษตรกร และสถาบนั เกษตรกร

๑๖

1.2) เสริมสรางความภาคภูมิใจและความม่ันคงในการประกอบอาชีพเกษตรกรรมดวยการ
สรางและพัฒนาเกษตรกรรุนใหมเขาสูภาคการเกษตร โดยสรางตนแบบเกษตรกรรุนใหมท่ีประสบผลสําเร็จ
และประชาสัมพันธใหคนรุนใหมรับรู ปลูกฝงคานิยมทําการเกษตร บรรจุในหลักสูตรการเรียนการสอนเปน
ทางเลือกใหแกเยาวชนตั้งแตระดับอนุบาลข้ึนไป สรางระบบสวัสดิการใหแก เกษตรกร ปรับโครงสรางหนี้สิน
เกษตรกรอยางตอเนื่อง และเปนแผนระยะยาว

1.3) สงเสริมการทําเกษตรกรรมยั่งยืนใหเห็นผลในทางปฏิบัติ เชน เกษตรผสมผสานเกษตร
ธรรมชาติ เกษตรทฤษฎีใหม ดว ยการเรงขับเคล่ือนการดําเนินงานตามยุทธศาสตรเกษตรอินทรีย พ.ศ. 2559
- 2564 ใหบรรลุเปาหมายเพ่ิมพื้นท่ีการผลิตเกษตรอินทรียไมนอยกวารอยละ20 ตอป และพัฒนาตลาด
สนิ คา เกษตรปลอดภยั เพ่อื เปนทางเลอื กใหแ กผบู รโิ ภค

1.4) พัฒนาองคความรูของเกษตรกรสูเกษตรกรมืออาชีพ (Smart Farmer) ดวยการ
เสรมิ สรางองคความรูเก่ียวกับการผลิตสินคาเกษตรปลอดภัย การทําเกษตรอินทรีย การปรับปรุงดิน การผลิต
พันธดุ ี การใชปุยอินทรีย เคมีอยางถูกตองตามคาวิเคราะหดิน การปองกันกําจัดศัตรูพืชตามหลักวิชาการ การ
วางแผนการผลิต การบริหารจัดการสินคาเกษตร การบริหารจัดการตนทุนรวมถึงการใหความรูเนนความรู
เกี่ยวกับการบรหิ ารจดั การดา นการตลาด

1.5) สรางและเช่ือมโยงเครือขายของเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร โดยสรางตนแบบการ
ผลิตสินคาเกษตรมาตรฐานตลอดหวงโซอุปทานที่ประสบผลสําเร็จในแตละชนิดสินคาสนับสนุนความรวมมือ
ระหวางเกษตรกรรายใหญกับเกษตรกรรายยอยใหเกิดการพัฒนากลุมการผลิตและเช่ือมโยงสูอุตสาหกรรม
การเกษตรผานการสงเสริมในรูปแบบเครือขาย วิสาหกิจ และถายทอดเทคโนโลยีระหวางกัน รวมถึงอํานวย
ความสะดวกดานการเกษตรเชิงพาณชิ ย การพัฒนาเครอื ขายสงั คมออนไลนเพื่อเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนขอมูล
ขาวสารของกลมุ เกษตรกรและเครอื ขา ยเกษตรกรสงเสรมิ การรวมกลุมเกษตรกรเพื่อสรางความเขมแข็ง พัฒนา
สถาบนั เกษตรกรใหเ ขมแข็งสามารถตอยอดเปน ผปู ระกอบการธุรกิจเกษตร รวมท้ังเชื่อมโยงและบูรณาการจาก
ทุกภาคสวนเพอ่ื แกไขปญ หาของเกษตรกรอยา งเปน ระบบ

ยทุ ธศาสตรท ่ี 2 เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การสนิ คาเกษตรตลอดโซอ ุปทาน
แนวทางการพัฒนา

2.1) สงเสริมการผลิตสินคาเกษตรใหไดมาตรฐานรองรับความตองการของตลาดโดยพัฒนา
กระบวนการกอนเก็บเกี่ยว เพ่ือลดตนทุนการผลิตและพัฒนาการผลิตสินคาเกษตรใหมีคุณภาพตาม
มาตรฐานสากล พัฒนากระบวนการหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อรักษาคุณภาพสินคาเกษตร ลดการสูญเสียระหวาง
เก็บเก่ยี ว พัฒนาองคความรแู ละสรา งความเขา ใจเกยี่ วกบั มาตรฐานสนิ คาเกษตร

2.2) สงเสริมการบริหารจัดการโซอุปทานสินคาเกษตร โดยถายทอดความรูเก่ียวกับการ
บริหารจัดการโลจิสติกสและโซอุปทานการเกษตร สงเสริมเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรทําการเกษตรแบบ
กลุมการผลิต (Cluster) เครือขายวิสาหกิจ และเกษตรพันธสัญญากับผูประกอบการธุรกิจเกษตร เพ่ือเขาสู
อตุ สาหกรรมเกษตรแปรรปู ทงั้ ในและตา งประเทศ รวมทั้งสนับสนุนและพัฒนาสถานท่ี พ้ืนท่ี หรือศูนยกระจาย
สินคาของสหกรณใหเปนแหลงรวบรวม คัดแยกคุณภาพ และกระจายผลผลิตหรือผลิตภัณฑไปยังตลาด
ผูบรโิ ภคระดบั ตา งๆ ตั้งแตร ะดบั พืน้ ท่ี ชมุ ชน จังหวดั /ขามจงั หวัดและประเทศ

2.3) เพิ่มมูลคาสินคาเกษตร ดวยการสงเสริมการผลิตสินคาท่ีมีคุณภาพ เอกลักษณและ
มลู คาสูงตามความตองการของตลาดเฉพาะกลุม (Niche Market) สงเสริมการนาํ ภมู ิปญญาทองถ่ินไปใชในการ
แปรรูปเพื่อเพม่ิ มูลคาสินคา เกษตร สรางมูลคาสนิ คาเกษตรดว ยแนวคิดสรางสรรคหรือเกษตรประณีต ตลอดโซ
อปุ ทาน โดยใชเ ทคโนโลยีสนับสนุนการผลิต

๑๗

2.4) จัดต้งั ศนู ยก ลางและพฒั นาระบบตลาดสนิ คา โดยสนับสนุนการจัดต้ังศูนยเมล็ดพันธุ
พืช และพันธุสัตวท่ีมีคุณภาพในอาเซียน สงเสริมการเปนศูนยกลางการผลิตอาหารและสงออกสินคาเกษตร
อาหารและผลิตภัณฑท่ีดีตอสุขภาพ สนับสนุนการจัดตั้งศูนยบริหารจัดการสินคาเกษตร หรือตลาดสินคา
เกษตร เพ่ือเปนศูนยกลางซ้ือขายแลกเปล่ียนสินคาเกษตรต้ังแตระดับพื้นท่ีเช่ือมโยงกับระบบตลาดในระดับ
ตางๆ รวมทั้งสราง ปรับปรุง และพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและสิ่งอํานวยความสะดวกดานการตลาดของ
สถาบันการเกษตร

2.5) สนับสนุนความรวมมือระหวางภาครัฐและภาคเอกชน ดวยการสนับสนุนให
ผูประกอบการธุรกิจเกษตรหรือภาคเอกชนเขามามีสวนรวมในการลงทุน หรือดําเนินการในรูปแบบ PPP
(Public Private Partnership) โดยการจดั หาโครงสรา งพน้ื ฐานหรือสงิ่ อาํ นวยความสะดวก

2.6) สนบั สนุนการจดั การความเสยี่ งทจี่ ะกระทบตอ พืชผลทางการเกษตรดวยการสรางระบบ
ประกันภยั พืชผลทางการเกษตร

ยุทธศาสตรที่ 3 เพิ่มความสามารถในการแขงขันภาคการเกษตรดวยเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมแนวทางการพัฒนา

3.1) สงเสริมและสนับสนุนการวิจัย เทคโนโลยีและนวัตกรรมดานการเกษตร ดวยการ
สงเสริมและสนบั สนนุ การวิจยั เทคโนโลยี และนวัตกรรม ตั้งแตระดบั การผลติ การแปรรูป และการตลาดในเชิง
บูรณาการความรวมมือระหวางหนวยงานท่ีเกี่ยวของ โดยใชศาสตรดานตางๆ มาสนับสนุน เชน กระบวนการ
เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต การเพิ่มมูลคา และการสรางคุณคาสินคา รวมท้ังใหความสําคัญกับการศึกษาวิจัย
ดานเศรษฐกิจการเกษตร เพื่อนําผลวิจัยมาแกปญหาความยากจนและความเหล่ือมล้ํา สรางนวัตกรรมให
สอดคลองกับความตองการระดับทองถิ่น และสนับสนุนการตอยอดภูมิปญญาทองถิ่น ตลอดจนสนับสนุน
งานวิจยั เชิงปฏิบตั ิการรว มกบั เอกชน เกษตรกรรุน ใหม และสถาบนั การศกึ ษาในพน้ื ท่ี

3.2) พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศการเกษตร และเชื่อมโยงขอมูลอยางเปนระบบ ดวยการ
สนับสนุนและการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศการเกษตร เพื่อใหขอมูลขาวสารดานการตลาด และความ
ตองการผลผลิตทางการเกษตรกระจายไปสูเกษตรกรผูผลิตอยางท่ัวถึงและทันเหตุการณ บริหารชองทางการ
สื่อสารเพื่อใหเกษตรกรและผูใชบริการสามารถเขาถึงแหลงขอมูลที่ถูกตองเปนปจจุบันไดงาย และสะดวก
รวดเร็ว อาทิ การจัดทาํ เปน Application เครือขายสังคมออนไลน (Social Network) สนับสนุนการถายทอด
ความรู การขายสนิ คาเกษตรและผลติ ภณั ฑผานระบบอคี อมเมิอรส

3.3) สงเสริมการนํางานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรมไปใชประโยชนดวยการสรางความ
รวมมือกับหนวยงานระดับจังหวัด ภูมิภาค และสถาบันการศึกษาตางๆ เพื่อรวบรวมผลงานวิจัย เทคโนโลยี
และนวตั กรรมดานการเกษตร โดยจัดหาสถานทเ่ี หมาะสมเพอ่ื เผยแพรและเปนแหลง เรียนรใู หกับเกษตรกรและ
ผูที่สนใจ นอกจากน้ันสนับสนุนการพัฒนาเกษตรกรปราชญชาวบาน หรือชุมชนตนแบบในการนําเทคโนโลยี
และนวัตกรรมดา นการเกษตรท่ปี ระดษิ ฐคิดคนข้ึนมาเองมาใชป ระโยชน เพอ่ื เปน แหลง ศึกษาเรยี นรู

ยทุ ธศาสตรท ี่ 4 บรหิ ารจดั การทรัพยากรการเกษตรและส่ิงแวดลอ มอยางสมดลุ และย่ังยืน
แนวทางการพฒั นา

4.1) ฟนฟูและอนุรักษทรัพยากรการเกษตร ดวยการปรับปรุง ฟนฟูและอนุรักษทรัพยากร
การเกษตรกร อาทิ ดนิ นา้ํ ทรพั ยากรทางทะเล สงเสริมการอนุรักษ พันธุกรรมพืชและสัตวทั้งในแหลงอนุรักษ
และแหลงท่ีอยตู ามธรรมชาตใิ หค งอยูอ ยา งยง่ั ยืน ตลอดจนสนบั สนุนการทาํ ประมงอยางยัง่ ยืน

4.2) สงเสริมการเกษตรท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม โดยมุงสูการผลิตสินคาเกษตรอินทรีย
จัดระบบการจัดการของเสียจากฟารมเกษตร สนับสนุนการผลิตและการใชปุยอินทรียสงเสริมการถายทอด

๑๘

เทคโนโลยีการทําเกษตรแบบยั่งยืนท่ีเปนมิตรตอส่ิงแวดลอม สรางความเขาใจเก่ียวกับการลดปริมาณการใช
สารเคมีการเกษตรและสงเสรมิ การเกษตรปลอดสารพษิ

4.3) บรหิ ารจดั การทรัพยากรนาํ้ ดวยการเพิ่มปริมาณน้ํา แหลงนํ้าเพ่ือการเกษตรโดยพัฒนา
ระบบการจัดการนํ้าตามสภาพของพ้ืนท่ีอยางทั่วถึง และครอบคลุมพ้ืนท่ีการเกษตรเพ่ิมประสิทธิภาพการ
บริหารจัดการนํ้าตลอดลุมนํ้า ท้ังแหลงน้ําตนทุน สรางแกมลิง ระบบสงน้ําแบบทอ การใชนํ้าชลประทาน ลด
อัตราสญู เสียการใชน้ําโดยการมีสวนรวมของชุมชน เพ่ิมและปรับปรุงแหลงน้ําขนาดเล็กในไรนา และแหลงนํ้า
ชมุ ชน

4.4) บริหารจัดการพ้ืนที่ทํากินทางการเกษตร ดวยการจัดการพื้นที่เกษตรกรรมตามความ
เหมาะสมของชนดิ พืช ปศสุ ัตว ประมงใหส อดคลอ งกับลักษณะดิน น้ํา อากาศ อุณหภูมิ สงเสริมการจัดรูปที่ดิน
เพอื่ เกษตรกรรม สนบั สนนุ ท่ีดนิ เพื่อทําการเกษตรแกเกษตรกรที่ขาดแคลนท่ดี ินทํากิน
กระจายการถือครองท่ีดินอยา งเปนธรรม และดําเนนิ การใหเกษตรกรมีกรรมสิทธห์ิ รอื สิทธใิ นทด่ี นิ เพื่อประกอบ
อาชพี เกษตรกรรมอยา งทัว่ ถึง รวมท้งั สนบั สนนุ การออกกฎหมายคมุ ครองพ้นื ทีเ่ กษตรกรรม เพ่อื แกป ญหาและ
ลดความสูญเสียกรรมสิทธท์ิ ด่ี ินของเกษตรกร

1.2.6 ยุทธศาสตรก ารพัฒนากลุมจงั หวัดภาคเหนอื ตอนลาง 2

ทศิ ทางการพฒั นาของกลุมจังหวัดภาคเหนือตอนลา ง 2
1) ขยายฐานเศรษฐกิจของกลุมใหหลากหลาย สรางมูลคาเพ่ิมผลิตผลเกษตร พัฒนา

เทคโนโลยี เพ่ือพัฒนาเศรษฐกิจเดิมสูภาคอุตสาหกรรมท่ีมีมูลคาสูง และการพัฒนาระบบ Logistic โดยใช
จังหวดั นครสวรรคเปนศูนยก ลาง

มุงเนนการเปนศูนยผลิตและคาขาว รวมถึงใหภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเปนฐาน
สรางรายได โดยการเพิ่มผลิตภาพการผลิตและธุรกรรมการคาขาว สงเสริมการวิจัยและพัฒนาพันธุขาว
คุณภาพสูง สนับสนุนการปลุกขาวดวยระบบการผลิตเกษตรท่ีดี (GAP) พัฒนาผลิตภัณฑขาวแปรรูปเพื่อ
ตอบสนองตลาดเฉพาะ สงเสริมการลงทุนอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตการเกษตรท่ีมีศักยภาพใหมีความ
สมบรู ณตง้ั แตตนนา ถึงปลายนา พัฒนาระบบ Logistic โดยนครสวรรคเปนศูนยกลางขนสงสินคาพืชผลเกษตร
และการสง ออกแบบเบ็ดเสรจ็ จัดทาการศกึ ษา เพ่ือกาํ หนดรูปแบบระบบ Logistic
ท่เี หมาะสมของกลุม ทงั้ ระบบราง ถนน และการขนสงทางนา

2) เพมิ่ รายไดจ ากการพัฒนาและสรางสนิ คาการทองเท่ยี ว
มุงเนนการเพิ่มโอกาสการขยายตัวทางการคาการลงทุนและยกระดับการทองเที่ยวใหเปน
แหลงสรางรายไดของกลุมจังหวัดอยางม่ันคง โดย สงเสริมพัฒนาดานการบริหารจัดการทองเท่ียว เช่ือมโยง
การทอ งเทย่ี วภายในกลมุ จงั หวดั และระหวา งกลมุ จังหวัด จัดทา แผนการพัฒนาและใชประโยชนทรัพยากรการ
ทองเที่ยวที่เปนมรดกโลกของพ้ืนท่ี ทั้งอุทยานประวัติศาสตรกําแพงเพชรและเขตอนุรักษสัตวปาหวยขาแขง
สนบั สนุนชุมชนทอี่ ยใู กลแหลงมรดกโลกมสี วนรว มในการพัฒนา ตลอดจนพัฒนาแหลงทองเท่ียวใหมและส่ิงอา
นวยความสะดวกสําหรับการทองเที่ยว ฟนฟูบึงบอระเพ็ดใหเปนแหลงเรียนรู อนุรักษพันธุปลาท่ีหายากของ
ทอ งถ่นิ และแหลงเรียนรวู ถิ ีชีวติ ชาวแพริมแมน า
3) แกไขปญ หานาทงั้ ระบบ ใหส อดคลอ งกับกรอบการพฒั นาลุมนา หลกั ของประเทศ
เพ่ือปองกันและแกปญหาภัยธรรมชาติ สนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ลดความ
เสี่ยงจากอุทกภัยและภัยแลง และการใชประโยชนสูงสุดโดยการพัฒนาแหลงนาและการบริหารจัดการนาให
ทว่ั ถึงเปนระบบเชื่อมตอกับการจัดการลุมนาหลักของภาคท่ีอยูในพื้นท่ีกลุม ใหมีนาเพียงพอสําหรับการเกษตร

๑๙

อุตสาหกรรม และการอุปโภคบริโภค ปองกันหรือบรรเทาปญหานาทวมหรือภัยแลง เพ่ิมสมรรถนะแหลงกัก
เก็บนาและเพิ่มแหลง กกั เกบ็ นาใหมโ ดยสรางแกมลิงในพื้นที่เหมาะสม สรางฝายระบายนาและพนังก้ันนาในลา
นาสายหลกั และเพิ่มสถานีสบู นา ดว ยไฟฟา พรอมพัฒนาขดุ ลอกแหลงกกั เกบ็ นาเดิมทต่ี น้ื เขิน

4) พฒั นาทรัพยากรมนุษยและคณุ ภาพชีวติ เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการแขง ขนั
โดยใหความสําคัญกับการพัฒนาระดับความรูความสามารถของประชาชนและกําลังแรงงานในกลุม
จังหวัดใหสูงขึ้น โดยการยกระดับการศึกษาและพัฒนากําลังแรงงานใหพรอมรับการเปล่ียนแปลง ยกระดับ
คุณภาพมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน สนับสนุนใหมีการเขาศึกษาตอในระดับมัธยมและอุดมศึกษามากขึ้น
สนับสนุนการเพ่ิมประสิทธิภาพกําลังแรงงานใหสูงข้ึน โดยเรงพัฒนาทักษะฝมือของบุคลากรใหตรงกับความ
ตอ งการของตลาด รวมถงึ การสง เสริมใหประชาชนดูแลรกั ษาสขุ ภาพของตนเอง

๒๐

รปู ภาพที่ 3 แผนทย่ี ทุ ธศาสตรกลมุ จังหวดั ภาคเหนอื ตอนลา ง

๒๑

1.2.7 แผนพัฒนาจงั หวดั กาํ แพงเพชร

ในการจัดทาแผนพัฒนาจงั หวดั กาแพงเพชร ปงบประมาณ พ.ศ. 2561-2565 จังหวัดไดดาเนินการตาม
นโยบาย หลักเกณฑ และวิธีการจัดทาแผนพฒั นาจงั หวัดและกลมุ จังหวดั ตามมติท่ปี ระชมุ ก.บ.ภ. ครั้งท่ี 2/2561
เม่ือวันที่ 5 กันยายน 2561 โดยเช่ือมโยงยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดกับแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐตาม
รัฐธรรมนูญ นโยบายรัฐบาลและแผนบริหารราชการแผนดิน ยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป พ.ศ. 2560-2579
และประเทศไทย 4.0 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564) แผนยุทธศาสตร
รายสาขาเฉพาะดาน ทิศทางการพัฒนาภาคเหนือ ประเด็นการพัฒนากลุมจังหวัดภาคเหนือตอนลาง 2 โดย
จงั หวัดใหความสําคัญกับการเชอ่ื มโยงนโยบายระดบั ชาตแิ ละทศิ ทางการพฒั นาประเทศสูการจดั ทายุทธศาสตรการ
พัฒนาจังหวัดเพ่ือตอบสนองศักยภาพและความตองการของประชาชน ในพ้ืนที่ และเปาหมายในระดับชาติ ดัง
แผนภมู ิ ตอ ไปนี้

แผนภูมิกรอบแนวคดิ ในการจัดทาํ แผนพัฒนาจังหวัด

๒๒

ท้ังน้ี การจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดกาแพงเพชรไดคํานึงถึงการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน และ
ยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดไดสะทอนถึงปญหาความตองการที่แทจริงของประชาชน ซึ่งนาไปสูการบูรณา
การในเชิงพ้ืนท่ี (Area-Based) เชิงภารกิจ (Function-Based) และการมีสวนรวม (Participation) โดยได
กาํ หนดเปาหมายหรือผลลัพธสุดทา ยท่จี งั หวดั ตองการบรรลุและวิธีการที่จะนาไปสูการบรรลุเปาหมายดังกลาว
ซง่ึ ตง้ั อยบู นพน้ื ฐานของการรวบรวมและวิเคราะหขอมูลจากภาคสวนตาง ๆ อยางเปนระบบและสอดคลองกับ
ศกั ยภาพของพืน้ ทแ่ี ละทอ งถ่ิน ตลอดจนสภาพปญหาและความตองการของประชาชนในทองถ่ิน โดยมีข้ันตอน
การดาเนนิ งาน ดงั นี้

ขั้นตอนท่ี 1 ประชมุ ช้แี จง สรางความเขา ใจกับผูที่เกี่ยวของใหทราบวัตถุประสงค เปาหมาย แนวทาง
และข้นั ตอนการจดั ทาแผนพัฒนาจงั หวัด

ข้ันตอนท่ี 2 รวบรวมและวิเคราะหขอมูลใหครบถวน ไดแก ขอมูลสภาพท่ัวไปของจังหวัด ขอมูล เชิง
เศรษฐกจิ สังคม ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ ม

ขั้นตอนที่ 3 ประชุมรับฟงความคิดเห็นของประชาชนในพ้ืนที่เพ่ือสรุปประเด็นปญหาและความ
ตองการ และนาเสนอผลที่ไดจากกระบวนการมีสวนรวมของภาคีการพัฒนา และประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อ
วิเคราะหสภาพแวดลอมและศักยภาพของจังหวัดเพ่ือรับทราบความคิดเห็นจากผูเข ารวมประชุมท้ังในระดับ
จังหวัด อําเภอ ทอ งถนิ่ ภาคเอกชนและภาคประชาสังคมทเ่ี ก่ียวของ

ขั้นตอนที่ 4 ประชุมเชงิ ปฏิบัตกิ ารโดยบรู ณาการการมีสวนรวมจากทุกภาคสวนเพ่ือกําหนดเปาหมาย
การพัฒนา พันธกิจ และประเด็นการพัฒนา โดยคํานึงถึงความสอดคลองกับนโยบายรัฐบาลและ แผนบริหาร
ราชการแผน ดนิ ยุทธศาสตรช าติระยะ 20 ป พ.ศ. 2560-2579 และประเทศไทย 4.0 แผนพฒั นาเศรษฐกิจ
และสงั คมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) แผนยุทธศาสตรรายสาขาเฉพาะดาน ทิศทางการพัฒนา
ภาคเหนอื และประเด็นการพัฒนากลุมจังหวัดภาคเหนือตอนลาง 2 ท่ีใหความสําคัญกับการผลิตสินคาเกษตร
ปลอดภยั การยกระดับอุตสาหกรรมแปรรูปขาว พืชไร และพืชพลังงาน การพัฒนาแหลงผลิตพลังงานทดแทน
การพัฒนากลุมทองเที่ยวมรดกโลก และการบริหารจัดการนาอยางเปนระบบ ผนวกกับการอนุรักษ
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม นอกจากนี้ ยังพิจารณาความสอดคลองกับแผนพัฒนากลุมจังหวัด
ภาคเหนือตอนลาง 2 (จ.กาแพงเพชร จ.นครสวรรค จ.อุทัยธานี จ.พิจิตร) ซ่ึงกําหนดประเด็นการพัฒนา
“ศูนยกลางสินคาเกษตรปลอดภัยท่ีมีนวัตกรรม การทองเที่ยวธรรมชาติ ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม ลาคา
ยกระดับคุณภาพชีวิตอยางยั่งยืน” และประเด็นการพัฒนาที่เนนการผลิตขาวและสินคาเกษตร ปลอดภัยท่ีได
มาตรฐาน การแปรรูป การตลาด และการกระจายสินคาเกษตรเพื่อสรางมูลคาเพ่ิมและสราง ขีดความสามารถ
ในการแขง ขัน และการพฒั นาศกั ยภาพการทอ งเท่ียวตามมาตรฐานเพื่อดึงดูดนักทองเที่ยว ทั้งชาวไทยและชาว
ตางประเทศ

ข้นั ตอนท่ี 5 ประชมุ เชิงปฏิบตั ิการเพอ่ื กาํ หนดแผนงาน ตัวช้ีวัด คาเปาหมาย โครงการ และ กิจกรรม
หลกั โดยระดมความคิดเห็นจากผูท่ีเก่ียวของในการกําหนดตัวชี้วัดและคาเปาหมาย รวมทั้ง การวิเคราะหเพื่อ
กําหนดโครงการขับเคล่ือนกลยุทธตามหลักหวงโซคุณคา (Value Chain) เพื่อสรางมูลคาเพ่ิมในแตละหวงโซ
ตั้งแตตนทาง กลางทาง และปลายทาง เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันและตอบสนอง ความตองการของ
ประชาชนผูร บั บรกิ าร (กรุณาดูแผนภมู ิ Value Chain ประกอบ)

ข้ันตอนท่ี 6 ประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือกําหนดแผนปฏิบัติราชการสาหรับใชเปนแนวทางขับเคล่ือน
โครงการใหบ รรลผุ ลสําเรจ็ ตามเปา หมายท่ีกาํ หนด

๒๓

แผนพัฒนาจังหวัดกาแพงเพชร พ.ศ. 2561 -2565
1 เปาหมายการพัฒนา (Development Goals)
เปา หมายการพัฒนา หมายถงึ เปา หมายในเชิงผลลัพธท่ีจังหวัดตองการใหเกิดข้ึน โดยแสดงถึงจุดเนน
หรือสิ่งท่ีจังหวัดตองการจะเปนในอนาคตอยางชัดเจน รวมท้ังมีความเปนไปได สอดคลองกับการวิเคราะห
สภาวการณและโอกาสของพ้ืนที่ และมกี ารระบตุ ําแหนงการพัฒนาของจังหวัดอยางชัดเจน โดยผลการสัมมนา
เชิงปฏิบัติการจากทุกภาคสวนของจังหวัดไดกําหนด ตําแหนงการพัฒนาจังหวัด (Positioning) ท่ีให
ความสาํ คัญกบั ประเด็นดงั ตอ ไปน้ี
(1) แหลงผลติ และแปรรูปสินคาเกษตรปลอดภยั
(2) แหลง ผลติ พชื พลงั งานทดแทน และ
(3) การทองเทย่ี วมรดกโลกและวิถีชุมชน โดยไดก ําหนดเปาหมายการพัฒนาไวดงั นี้
“แหลงผลติ แปรรปู สินคาเกษตรปลอดภัย ฐานผลิตพชื พลังงานทดแทน เมืองทองเทย่ี ว มรดกโลก ธรรมชาติ
และวถิ ชี มุ ชน สสู งั คมท่ีเขมแข็ง”
การพัฒนาไปสู “แหลง ผลิต แปรรูปสนิ คาเกษตรปลอดภัย” มเี หตุผลประกอบ ดงั นี้
จังหวัดมีทรัพยากรดินและนาอุดมสมบูรณเหมาะสาหรับการเกษตร โดยมีแมนาตนทุนสายหลักคือ มี
แมน้ําปงไหลผานเปนระยะทางยาวประมาณ ๑๐๔ กิโลเมตร และมีพื้นที่ชลประทานมากเปนลาดับ 1 ของ
ประเทศ โดยมีพน้ื ทที่ ง้ั หมด 1,755,688 ไร รวมทัง้ มพี ชื เศรษฐกจิ ทีส่ ําคัญของจังหวดั ไดแก ขาว ออยโรงงาน
มันสาปะหลัง ขาวโพดเลี้ยงสัตว ยางพารา โดยมีพ้ืนท่ีปลูกพืชเศรษฐกิจท่ีสําคัญในฤดูกาล ป 2558/2559
ดงั นี้ ขา วนาปมีพื้นที่ท่ีเก็บเก่ียวผลผลิตได 1.21 ลานไร ผลผลิตเฉลี่ย (ตอพ้ืนท่ีเก็บเกี่ยว) ตอไร เทากับ 721
กก./ไร มันสาปะหลงั มีพื้นท่ีปลกู จานวน 566,477 ไร โดยมีผลผลิตเฉลี่ย (ตอพ้ืนท่ี เก็บเกี่ยว) ตอไร เทากับ
3,667 กก./ไร และสามารถผลิตไดถึง 2.5 ลานตัน/ป มากเปนอันดับ 2 ของประเทศ ออยมีพื้นที่ปลูก
714,740 ไร มีผลผลิตเฉลี่ยพื้นที่เก็บเก่ียว 10,998 กก./ไร ขาวโพดเล้ียงสัตว มีพ้ืนท่ีปลูก 28,888 ไร
ผลผลิตเฉล่ียตอไร 873.89 กก./ไร พ้ืนท่ีเพาะปลูกขาวโพดเล้ียงสัตวมีแนวโนมสูงข้ึน และยางพารา มีพ้ืนท่ี
ปลกู จานวน 40,847 ไร พนื้ ท่ีปลูกยางพารามใี นทกุ อําเภอ ซึ่งในปจจุบันสามารถเปดกรีดยางไดแลว จานวน
11,714 ไรผลผลิตเฉล่ยี 188 กก./ไร
นอกจากพ้ืนที่จังหวัดจะมีความเหมาะสมในการทาเกษตรกรรมแลว โครงสรางการผลิต
ภาคอุตสาหกรรมเทากับ 20.78 ของผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด มีมูลคา ณ ราคาประจาป ๒๕๕7 เทากับ
23,477 ลานบาท สาหรับจานวนสถานประกอบการอุตสาหกรรม พบวาในป ๒๕๕8 มีโรงงานประเภทตางๆ
698 แหง ป ๒๕๕7 มีโรงงาน 654 แหง มีการเปลี่ยนแปลงเพ่ิมขึ้นรอยละ 6.73 นอกจากนี้ จังหวัดยังมี
โรงงานแปรรูปมันสาปะหลัง หรือโรงงานผลิตแปงมันท้ังหมด 9 แหง โรงงานนาตาล 3 แหง และโรงสีขาว ที่
ประกอบกจิ การ 23 แหง
จากขอมูลดังกลา วขา งตน ผนวกกบั สานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติได
กําหนดทิศทางยุทธศาสตรการพัฒนาภาคเหนือและการพัฒนากลุมจังหวัดภาคเหนือตอนลาง 2 (จ.กาแพง
เพชร จ.นครสวรรค จ.อุทัยธานี จ.พิจิตร) โดยใหความสําคัญกับการพัฒนาฐานการผลิตสินคาเกษตรปลอดภัย
ในรูปแบบฟารมเกษตรอัจฉริยะ และยกระดับอุตสาหกรรมแปรรูปขาว พืชไร และพืชพลังงาน ประกอบกับ
นโยบายของรัฐที่ใหความสําคัญกับการขับเคลื่อนประเทศไทย 4.0 ท่ีเนนโครงสรางเศรษฐกิจแบบ Value-
Based Economy หรือเศรษฐกิจท่ีขับเคล่ือนดวยการใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพ่ือเพ่ิมศักยภาพ ดาน
การเกษตร มีการบริหารจัดการพ้ืนที่เกษตรกรรมใหเหมาะสมกับประเภทของพืชท่ีปลูก (Zoning) การพัฒนา

๒๔

เกษตรกรสูการเปน Smart Farmer การใชน วัตกรรมและเทคโนโลยีการเกษตรทดแทนแรงงานเกษตร รวมท้ัง
การใหความสําคัญกับอุตสาหกรรมแปรรูปวัตถุดิบทางการเกษตรเปนอาหารที่มีมูลคาสูงและสรางชองทาง
การตลาดและการกระจายสินคาใหมใหกับผูผลิตตลอดหวงโซมูลคาของอุตสาหกรรมตั้งแตเกษตรกรจนถึงผู
จําหนายอาหาร ผนวกกับนโยบายครัวไทยสูครัวโลก และกระแสความตองการบริโภคสินคาเกษตรปลอดภัย
และเกษตรอินทรียในระดับโลกเพ่ิมสูงขึ้น จังหวัดจึงจาเปนตองใหความสําคัญกับการพัฒนาคุณภาพสินคา
ความปลอดภยั และพัฒนาระบบการผลิต การแปรรูป และการตลาด สินคาเกษตรปลอดภัย เพื่อใหไดผลผลิต
ที่มีคุณภาพดี มีกระบวนการผลิตท่ีปลอดภัยตอผูผลิตและผูบริโภค ใชทรัพยากรอยางประหยัดและเกิด
ประโยชนส ูงสดุ สรา งความตระหนกั รบั ผิดชอบของผูผลิต และเปนมติ รตอ ส่ิงแวดลอม

การใหความสาํ คญั กบั “ฐานผลิตพชื พลังงานทดแทน” มีเหตุผลประกอบ ดังน้ี
จังหวัดมีศักยภาพในการผลิตพลังงานทดแทนในรูปของชีวมวลแข็งท่ีไดจากผลผลิตทางการเกษตร
และเศษวัสดุเหลือใชจากการเกษตร อาทิ ใบออย ชานออย ขาว ขาวโพด ปาลมนามัน ถ่ัว ท่ีสามารถนาไปใช
เปนพลังงานทดแทนพลังงานเช้ือเพลิงฟอสซิลเปนจานวนมาก สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสังคมแหงชาติไดกําหนดแนวทางการพัฒนาภาคเหนือ โดยมุงเนนใหจังหวัดกาแพงเพชรเปนแหลงผลิต
พลังงานทดแทนเนื่องจากมีศักยภาพดานน้ีสูง โดยเฉพาะอยางย่ิง ออยและมันสาปะหลัง โดยกรมพัฒนาที่ดิน
ไดระบกุ ารใชประโยชนท ่ดี ินตามหลักการ Zoning วามพี ื้นท่ปี ระมาณ 283,719 ไร ที่เกษตรกรใชทานา และ
ไดผ ลตอบแทนตาํ่ และพนื้ ท่ดี งั กลาวมีศกั ยภาพเหมาะสมตอการปลกู ออย จึงนับวาเปนโอกาสดีท่ีจะปรับเปล่ียน
จากพ้ืนท่ีนาไมเหมาะสมมาปลูกออยโรงงานทดแทน นอกจากนี้ จังหวัดยังมีผลผลิตมันสาปะหลังถึง 2.5 ลาน
ตัน/ป มากเปน อันดับสองของประเทศ จากขอมูลขา งตน จงั หวัดจึงควรใหค วามสําคัญกบั การเปนแหลงผลิตพืช
พลังงานทดแทน เพื่อสรางโอกาส สรางรายไดใหเกษตรกรและตอบสนองนโยบายรัฐบาลและทิศทางการ
พฒั นาประเทศไดอ ยา งเปน รูปธรรม
ขอมูลจากรายงานผลภาพรวมระดับการพัฒนาของทุกจังหวัดและกลุมจังหวัด (Comparative
Benchmark) ระบุวาจังหวัดกาแพงเพชรมีสัดสวนปริมาณพืชพลังงานตอสินคาเกษตรทั้งหมดคิดเปนรอยละ
87.06 สูงเปนอันดับท่ี 18 ของประเทศ จังหวัดสามารถนาโอกาสจากการท่ีรัฐบาลมีนโยบายขับเคล่ือน
ประเทศไทย 4.0 ท่ีเนน เศรษฐกจิ ทีข่ บั เคล่ือนดวยนวัตกรรมมาชวยแกไขปญหา รวมท้ังสามารถแปลงจากขยะ
เปนพลังงานเชอ้ื เพลิง และแปลงเศษวสั ดเุ หลือใชทางการเกษตรเปนชีวมวลแข็งท่ีสามารถนาไปใชเปนพลังงาน
ทดแทนพลังงานเชื้อเพลิงฟอสซิล และสามารถพัฒนาไปสูโรงไฟฟาพลังงานทดแทน จังหวัดยังมีโรงไฟฟาจาน
วนทั้งสิ้น 15 แหง โดยมีโรงไฟฟาท่ีผลิตจากกาซธรรมชาติ จานวน 1 แหง โรงไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย
4 แหง โรงไฟฟาจากชีวมวล 8 แหง โรงไฟฟาจากกาซชีวภาพ 2 แหง และยังมีโรงงานผลิตเอทานอลที่ใชมัน
สาปะหลังเปนวัตถุดิบหลักเพ่ือผลิตเปนเชื้อเพลิงอีก 1 แหง ในป พ.ศ. 2556 จังหวัดกาแพงเพชรมีสัดสวน
ปริมาณการใชพ ลังงานทดแทนตอปรมิ าณการใชพลังงานทัง้ หมดคดิ เปนรอ ยละ 38.95 และมีการคาดคะเนวา
ในป พ.ศ. 2560 จังหวัดกาแพงเพชรจะมีสัดสวนปริมาณการใชพลังงานทดแทนตอปริมาณการใชพลังงาน
ทง้ั หมดคิดเปนรอยละถงึ 59.43

การใหค วามสําคญั กับ “เมืองทอ งเท่ยี วมรดกโลกและวถิ ีชมุ ชน” มเี หตุผลประกอบ ดังนี้
จงั หวดั กาแพงเพชรเปนเมืองศนู ยกลางการทอ งเที่ยวทางประวัติศาสตรแหง หน่ึง เพราะมีโบราณสถาน
เกา แกซ่ึงกอสรา งดวยศิลาแลงหลายแหงรวมอยูใน “อุทยานประวัติศาสตรกาแพงเพชร” ที่ไดรับการพิจารณา

๒๕

คัดเลือกจากองคการศึกษาวิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (UNESCO) ใหขึ้นทะเบียนเปน
มรดกโลก เมื่อวันท่ี 12 ธันวาคม 2534 นอกจากน้ี ยังมีแหลงทองเที่ยวเชิงธรรมชาติและวัฒนธรรมที่สําคัญ
อาทิ อุทยานแหงชาติในจังหวัดมีจานวน ๓ แหง และเขตรักษาพันธุสัตวปา จานวน ๑ แหง ไดแก อุทยาน
แหงชาติคลองลาน เนื้อท่ี ๑๘๗,๕๐๐ ไร ครอบคลุมพื้นที่ปาคลองลานอันสมบูรณแหลงสุดทายของจังหวัดกา
แพงเพชร อุทยานแหงชาติคลองวังเจา เนื้อที่ ๔๖๖,๘๗๕ ไร อุทยานแหงชาติแมวงก เน้ือที่ ๕๕๘.๗๕ ไร เขต
รกั ษาพันธุสัตวปาเขาสนามเพรียง เน้ือที่ ๖๓,๑๒๕ ไร พื้นที่อุทยานแหงชาติในปจจุบันเปนท่ีอยูอาศัยของชาว
ไทยภูเขา ๖ เผา ไดแก มง เยา ลซี อ มูเซอ กระเหร่ียง และอกี อ เปนตน

จากสถานการณการทองเท่ียวโดยรวมของจังหวัดกาแพงเพชร พบวานักทองเท่ียวในป พ.ศ.2556 มี
การขยายตัวเพิม่ ขนึ้ จากปกอ นรอยละ 9.34 แตนักทองเที่ยวบางสวนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมมาเปน นัก
ทัศนาจรมากกวานักทองเท่ียวพักคาง เน่ืองจากเสนทางการคมนาคมมีความสะดวกสบายมากขึ้น รวมท้ัง
จังหวัดกาแพงเพชรมีพื้นที่ติดตอกับจังหวัดหลัก เชน พิษณุโลก และสุโขทัย จึงทาใหนักทองเที่ยวแวะมา
ทอ งเทยี่ วแลว เดินทางกลับไปพักคา งทีจ่ ังหวัดหลกั แทน นอกจากนี้ จากการท่ีไมมีกิจกรรมยามคาคืนที่นาสนใจ
ทาใหไ มสามารถดงึ ดูดความสนใจนักทองเที่ยวคนไทยใหมีการพักคาง สาหรับผูเย่ียมเยือนชาวตางชาติมีปจจัย
ท่ีสนับสนุนใหชาวตางชาติเดินทางมาทองเที่ยว อาทิ อุทยานประวัติศาสตรกาแพงเพชรท่ีไดรับการยกยองให
เปนมรดกโลก อยางไรก็ตาม จังหวัดยังประสบปญหาดานการขาดระบบขนสงสาธารณะที่มีคุณภาพ ขาดการ
พัฒนาแหลงทองเท่ียวใหมีคุณภาพตามเกณฑมาตรฐานการทองเที่ยวอยางตอเนื่อง ขาดการประชาสัมพันธ
เพื่อสรางการรับรูแกนักทองเที่ยวอยางทั่วถึง และขาดการเช่ือมโยงแหลงทองเท่ียวในแตละแหง รวมท้ังขาด
การพัฒนาสินคาและบริการใหมเพ่ือดึงดูดนักทองเที่ยวกลุมใหม จังหวัดจึงจาเปนตองจัดการทองเที่ยวขอ ง
จงั หวัด ใหส อดคลอ งกับศกั ยภาพของพ้ืนที่และพัฒนาแหลงทองเที่ยวตามเกณฑมาตรฐานคุณภาพอยางจริงจัง
จงั หวัด จึงจาเปน ตอ งสรา งมูลคา เพิ่มแกการทองเที่ยวดวยการใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมาะสม เพื่อการ
พัฒนาโครงสรางพื้นฐานและส่ิงอานวยความสะดวกเพื่อการทองเท่ียว รวมท้ังประชาสัมพันธการตลาด โดย
สงเสริม การใชระบบ e-Commerce ในอุตสาหกรรมการทองเท่ียว การจัดทาและเช่ือมโยงระบบขอมูลและ
การใหบริการดานการทองเที่ยวที่มีคุณภาพผานเว็บไซต การปรับปรุงชองทางการจัดจาหนายและการ
ประชาสัมพันธผ า นเครือขา ยออนไลนทัง้ ในและตางประเทศ

2.พนั ธกจิ (Mission)
เพือ่ ใหก ารพฒั นาจงั หวัดกาแพงเพชรมุงสูการเปน “แหลงผลติ แปรรปู สินคาเกษตรปลอดภยั ฐาน
ผลิตพืชพลังงานทดแทน เมืองทองเท่ียวมรดกโลกและวิถีชุมชน สูสังคมที่เขมแขง็ ” ภารกิจหลกั และการมี
สวนรว มของทกุ ภาคสว น ซ่ึงจะนาไปสูการพัฒนาเพื่อประโยชนส ุขของประชาชนและการพฒั นา อยางย่ังยืน มี
ดงั น้ี
1. ยกระดบั การผลติ การแปรรปู การตลาดสนิ คาเกษตรปลอดภัย และสงเสริมการผลติ พืชพลังงาน
ทดแทนอยางมีประสิทธภิ าพ
2. สงเสริมและบริหารจดั การการทองเที่ยวใหม ีคณุ ภาพตามเกณฑม าตรฐานการทองเทย่ี ว
3. พฒั นาคุณภาพชีวิตประชาชน สรา งสังคมท่เี ขม แข็ง และบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ อยาง
ยง่ั ยนื
3.วัตถุประสงค (Objective)
เพอ่ื ใหสอดคลองกบั ศักยภาพและโอกาสในการพัฒนาจังหวัดและสามารถปรบั ตวั ใหเ ขา กับ การ
เปลยี่ นแปลงในดา นตา ง ๆ ทั้งภายในและภายนอก ตลอดจนการบรรลตุ ามประเดน็ การพัฒนาจังหวัด ที่พงึ

๒๖

ปรารถนาตามแผนพัฒนาจงั หวดั 5 ป (พ.ศ.๒๕61 – ๒๕๖5) จังหวัดจงึ กาํ หนดวัตถุประสงค ของการพัฒนา
ไว ดงั นี้

1. เพ่อื เพ่ิมปรมิ าณสินคา เกษตรที่ผานการรับรองสนิ คา เกษตรปลอดภัย
2. เพื่อเพ่ิมรายไดจ ากการจาหนายสนิ คาเกษตรแปรรูป
3. เพื่อเพ่ิมสัดสวนปรมิ าณพชื พลังงานตอสินคา เกษตรทั้งหมด
4. เพือ่ เพ่ิมรายไดจากการทองเทยี่ ว และแหลงทองเท่ียวไดรบั การพฒั นาตามเกณฑมาตรฐานการ
ทอ งเท่ียว
5. เพอื่ ใหป ระชาชนมรี ะดับคุณภาพชวี ิตสูงข้ึน มคี วามปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ยสิน และมีการ
บรหิ ารจัดการสิ่งแวดลอ มอยางยั่งยืน
4. ประเด็นการพัฒนา
1. พฒั นากระบวนการผลิตสินคา เกษตรปลอดภยั และสง เสรมิ การผลติ พืชพลังงานทดแทนอยา งมี
ประสทิ ธิภาพ
2. พฒั นาและสงเสรมิ แหลง ทองเทีย่ วมรดกโลก ธรรมชาติและวถิ ีชุมชนใหม ศี ักยภาพ อยางยง่ั ยืน
3. พัฒนาคุณภาพชีวติ ความมน่ั คงทางสังคม ความปลอดภยั ในชีวิตและทรพั ยส นิ และส่งิ แวดลอม
อยา งยง่ั ยนื
5 วตั ถุประสงคเ ชิงยุทธศาสตร แนวทางการพฒั นา แผนงาน ตัวช้วี ัด และคาเปา หมาย

5.1 ประเดน็ การพฒั นาท่ี 1 พัฒนากระบวนการผลิตสนิ คา เกษตรปลอดภยั และสง เสรมิ
การผลติ พชื พลงั งานทดแทนอยา งมปี ระสิทธภิ าพ

5.1.1 วตั ถุประสงคเชิงยุทธศาสตร 1 การพฒั นาประสทิ ธิภาพการผลิต การแปรรูป
และการตลาดสนิ คา เกษตรปลอดภยั ไดร ับการสงเสรมิ พัฒนาอยา งตอเนือ่ ง

5.1.2วตั ถปุ ระสงคเ ชิงยุทธศาสตร 2 การสงเสรมิ ประสิทธิภาพการผลติ พืชพลังงาน
ไดร ับการพัฒนาอยา งตอเนอ่ื ง

5.1.3 แนวทางการพฒั นา
(1) พฒั นาศักยภาพและปจ จัยพืน้ ฐานการผลิตสินคาเกษตรปลอดภัย โดยสนบั สนุนการทาเกษตร
อยา งยง่ั ยนื ครบวงจร เกษตรปลอดภยั สนบั สนุนการรวมกลุมและสรางเครือขา ยเกษตรกร เพ่ือพัฒนาทั้ง
ทางดา นการผลิตและการตลาดอยางมีประสิทธิภาพ การใหความรูกับเกษตรกรในการใชเทคโนโลยีในการเพิ่ม
ผลผลิต การใชสารชีวภัณฑกาจดั ศตั รูพืช และสง เสริมชองทางการตลาดและการกระจายผลผลิต
(2) สนับสนนุ การเชือ่ มโยงผลผลติ เกษตรสูอุตสาหกรรมเกษตรแปรรปู ไดแก ขาว พืช-ไร และพืช
พลังงาน
(3) สนบั สนนุ การผลิตพลงั งานทดแทน โดยสนับสนนุ การนาผลผลติ และวัสดุเหลือใชทางการเกษตร
จากพืชและสตั วพัฒนาเปนพลงั งานทดแทน และผลติ เปน พลังงานชีวมวล
(4) สนับสนุนการนานวัตกรรมและเทคโนโลยมี าใชในการเพม่ิ ประสิทธิภาพ และแปร-รูปผลผลิต
(5) พฒั นาแหลง นา เพ่ือการเกษตรอยางเปน ระบบ รวมทั้งการพฒั นาแหลง กักเก็บนานอกเขตพน้ื ท่ี
ชลประทาน

5.1.4 แผนงาน
แผนงานที่ 1 การพฒั นาศกั ยภาพการผลติ และปจจยั พนื้ ฐานรองรับการผลิต
แผนงานท่ี 2 การเพิ่มผลผลติ แปรรูป และใชน วัตกรรมพัฒนาคุณภาพการผลติ
แผนงานท่ี 3 การสง เสริมและพฒั นาการคา การตลาด และระบบสหกรณ

๒๗

5.2 ประเด็นการพฒั นาที่ 2 พฒั นาและสงเสริมแหลงทองเทย่ี วมรดกโลก ธรรมชาติและวิถี
ชุมชนใหมศี ักยภาพอยา งย่ังยืน

5.2.1 วตั ถุประสงคเชงิ ยทุ ธศาสตร 3 แหลง ทอ งเทยี่ วมรดกโลกและแหลงทอ งเท่ยี ว
ที่มีศักยภาพ ไดร บั การพฒั นาและสงเสริมอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ

5.2.2 แนวทางการพฒั นา
(1) พฒั นาคุณภาพแหลง ทอ งเทย่ี วมรดกโลก และแหลงทอ งเทย่ี วทีม่ ศี ักยภาพ โดยการปรับปรุง
โครงสรา งพื้นฐาน และส่ิงอานวยความสะดวกที่มีมาตรฐาน
(2) สนับสนนุ การทองเทยี่ ววิถีชุมชน เพ่อื ฟนฟสู บื สานวฒั นธรรมและภมู ปิ ญญาทองถิ่น และนามา
ประยกุ ตสรางสรรคสินคา และบริการทองเทยี่ วท่มี ีอตั ลักษณเ พ่ือสรางมูลคา เพิ่ม
(3) สนบั สนุนการเชื่อมโยงเสนทางทองเท่ียวมรดกโลกและแหลงทอ งเทยี่ วอืน่ ที่มศี ักยภาพ และ
สง เสรมิ กจิ กรรมทอ งเทีย่ วแนวใหมเพ่อื สรางรายไดตลอดป
(4) เสรมิ สรา งความเขมแข็งของบุคลากรทางการทองเทีย่ วและพัฒนาขีดความสามารถของ
ผูประกอบการในการบรกิ ารแกน ักทองเทีย่ ว
(๕) พฒั นาการตลาด การประชาสัมพันธ และนวตั กรรมการทองเท่ยี ว
(๖) พัฒนาผลิตภณั ฑและกจิ กรรมทางการทอ งเทยี่ วใหมของจงั หวัด

5.2.3 แผนงาน
แผนงานที่ 4 การปรับปรงุ พัฒนาแหลงทอ งเทยี่ วมรดกโลก แหลงทอ งเท่ยี วทมี่ ีศักยภาพ และ
ผลติ ภณั ฑก ารทองเท่ยี วใหมีเอกลักษณทโ่ี ดดเดน อยางยง่ั ยืน
แผนงานท่ี 5 การพัฒนาสภาพแวดลอ มและส่ิงอานวยความสะดวกรองรบั การทอ งเท่ียว
แผนงานที่ 6 การบรหิ ารจัดการการทองเที่ยวอยางมปี ระสิทธภิ าพ
แผนงานท่ี 7 การพัฒนาการตลาด และการประชาสมั พนั ธการทอ งเที่ยว

5.3 ประเด็นการพฒั นาท่ี 3 พัฒนาคณุ ภาพชีวิต ความม่ันคงทางสงั คม ความปลอดภัย ใน
ชวี ติ และทรพั ยสนิ และส่งิ แวดลอมอยางยง่ั ยืน

5.3.1 วตั ถปุ ระสงคเชิงยทุ ธศาสตร 4 ประชาชนมีคณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ี สังคมมีความม่นั คง และ
สิง่ แวดลอ มไดรับการจดั การอยางยัง่ ยนื

5.3.2 แนวทางการพฒั นา
(1) พัฒนาโครงสรางพน้ื ฐาน นวัตกรรมดิจติ อล และเสนทางคมนาคมเพื่อรองรบั การขยายตัวของ
ชมุ ชนและเศรษฐกจิ
(2) พฒั นาศักยภาพและเสรมิ สรา งความเขม แข็งของคน ชมุ ชนและสถาบนั ครอบครวั เพื่อลดความ
เหล่ือมลา และสรางโอกาสทางเศรษฐกจิ และสังคม ภายใตหลักศาสนา วฒั นธรรม และปรชั ญา ของเศรษฐกจิ
พอเพียง
(3) เสริมสรางใหป ระชาชนมีสขุ ภาพดี โดยเนน การปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรมทางสุขภาพ และลดปจจยั
เสยี่ งดา นสุขภาพ
(4) สงเสริมใหประชาชนมีกิจกรรมทางสุขภาพท่ีเหมาะสมกับวยั และสนบั สนุนใหม ีการบริหารจดั การ
พน้ื ท่สี าธารณะ สิ่งอานวยความสะดวกเพื่อการออกกาลังกาย และการเลน กีฬา
(5) ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาและการเรยี นรู โดยเนน การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ข้ันพนื้ ฐาน

๒๘

(6) รักษาและฟนฟูฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยการฟนฟูปาตนนาท่ีเสื่อมโทรม ควบคู
ไปกับการปองกันแกไขปญหาการบุกรุกทาลายพ้ืนที่ปา การบริหารจัดการสิ่งแวดลอมและ ลดมลพิษใหมี
คณุ ภาพดขี ึ้น ตลอดจนการบรหิ ารจดั การเพ่ือลดความเสีย่ งดานภยั พบิ ัติทางธรรมชาติ

5.3.3 แผนงาน
แผนงานท่ี 8 การพฒั นาศกั ยภาพโครงสรางและปจ จยั พน้ื ฐานรองรับเศรษฐกจิ และ คุณภาพชวี ติ ที่ดี
แผนงานท่ี 9 การเสรมิ สรา งความเขมแข็งทางสังคมตามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และความ
ม่ันคงปลอดภยั ในชวี ิตและทรัพยสนิ
แผนงานที่ 10 การพัฒนาการใหบริการทางการศึกษา และสาธารณสขุ อยางมีประสทิ ธิภาพ
แผนงานท่ี 11 การบริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ มอยางยัง่ ยืน

1.3 สถานการณด านการเกษตรของจงั หวดั กาํ แพงเพชร

สภาพท่วั ไปของจังหวัด

1.3.๑ ความเปน มา

จังหวัดกําแพงเพชร เปนเมืองเกาท่ีนับวามีความสําคัญทางประวัติศาสตรและเจริญรุงเรืองมาต้ังแต
สมัยทวารวดี เปนที่ต้ังของเมืองโบราณหลายเมือง เชน เมืองชากังราว นครชุม ไตรตรึงษ เทพนคร และคณฑี
นอกจากน้เี มืองกําแพงเพชรยังเปนเมืองท่ีสองท่ีสมเด็จพระเจาตากสินมหาราชไดครองเมือง มีบรรดาศักดิ์เปน
“พระยาวชริ ปราการ” ตอมาในป พ.ศ. 2459 ไดเปลยี่ นเมอื งกําแพงเพชรเปนจงั หวดั กาํ แพงเพชร

ตามประวัติศาสตรกลาววากําแพงเพชรเปนเมืองหนาดานของสุโขทัยมีฐานะเปนเมืองลูกหลวง
เดิมเรียกช่ือวา “เมืองชากังราว” และมีเมืองบริวารรายลอมอยูเปนจํานวนมาก เชน เมืองไตรตรึงษ เมืองเทพ
นคร ฯลฯ การที่กําแพงเพชรเปนเมืองหนาดาน รับศึกสงครามในอดีตอยูเสมอ จึงเปนเมืองยุทธศาสตรมี
หลักฐานที่แสดงใหเห็นวาเปนเมืองที่มีความสําคัญทางประวัติศาสตรมากมาย เชน กําแพงเมือง คูเมือง
ปอ มปราการ วัดโบราณ มหี ลกั ฐานใหสันนิษฐานวาเดิมเคยเปนที่ต้ังของเมือง 2 เมือง คือ เมืองชากังราว และ
เมอื งนครชมุ โดยเมอื งชากังราวสรางข้ึนกอน ต้ังอยูฝงตะวันออกของแมน้ําปง พระเจาเลอไท กษัตริยองคที่ 2
แหงราชวงศสุโขทัยเปนผูสรางข้ึนเมื่อประมาณ พ.ศ. 1890 ตอมาสมัยพระเจาลิไทกษัตริยองคที่ 5
แหงราชวงศส โุ ขทยั ไดส รา งเมืองใหมข ้ึนทางฝงตะวันตกของลํานาํ้ ปง คอื “เมอื งนครชุม”

สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพไดทรงบันทึกเร่ืองกําแพงเมืองไววา “เปนกําแพงเมืองท่ีเกาแก
มัน่ คง ยงั มคี วามสมบรู ณมาก และเชือ่ วา สวยงามท่ีสุดในประเทศไทย”

ปจจบุ นั จังหวัดกําแพงเพชรเปนเมืองศนู ยกลางการทองเทีย่ วทางประวัติศาสตรแ หงหนง่ึ เพราะมี
โบราณสถานเกาแกซ ึง่ กอสรา งดว ยศิลาแลงหลายแหงรวมอยใู น “อทุ ยานประวตั ิศาสตรกําแพงเพชร” ท่ีไดรบั
การพจิ ารณาคดั เลือกจากองคการศึกษาวิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหง สหประชาชาติ (UNESCO) ใหข ้ึน
ทะเบียนเปน มรดกโลก เม่ือวันท่ี 12 ธนั วาคม 2534 รวมท้งั ยงั มแี หลง ทองเที่ยวทางธรรมชาตทิ ีส่ วยงาม
และนาสนใจอีกดว ย เพราะพนื้ ทด่ี า นตะวันตกของจังหวดั อุดมไปดว ยเทอื กเขาสลับซับซอน อันเปนตน

๒๙

กําเนดิ ของสายธาร นํา้ ตก ถ้ํา เกาะแกง และแหลง ทองเที่ยวทางธรรมชาตทิ ี่สวยงามมากมาย มีอุทยาน
แหงชาติท่สี วยงามเลอ่ื งช่อื ถึง 3 แหง ไดแ ก อทุ ยานแหงชาตคิ ลองลาน อุทยานแหงชาตแิ มวงก อทุ ยาน
แหง ชาติคลองวงั เจา มแี หลงทองเที่ยวท่ีข้นึ ชอ่ื และเปน ทีร่ ูจกั เชน นํา้ ตกคลองลาน นาํ้ ตกคลองน้าํ ไหล
แกง เกาะรอย ในเขตอุทยานแหง ชาติคลองลาน ชองเยน็ ยอดเขาโมโกจู นาํ้ ตกคลองขลงุ แกง ผาคอยนาง
นํา้ ตกแมกระสา น้าํ ตกแมกี น้ําตกแมเ รวา นา้ํ ตกแมว งก ในเขตอุทยานแหง ชาติแมวงก นํา้ ตกคลองวังเจา
นาํ้ ตกคลองสมอกลวย นํ้าตกเตา ดาํ น้าํ ตกคลองนาํ้ แดง ถ้าํ เทพพนม ถาํ้ ประกายเพชร และสถานีพฒั นาการ
เกษตรท่ีสูงในสมเดจ็ พระนางเจาสริ ิกิติ์ พระบรมราชินีนาถ บา นปา คา ในเขตอุทยานแหงชาตคิ ลองวงั เจา
และยังมีเขตรักษาพันธุสตั วปาอีก 1 แหง คือ เขตรกั ษาพันธุสตั วป าเขาสนามเพรียง มีแหลงทอ งเที่ยวที่ขนึ้ ชื่อ
เชน นา้ํ ตกวงั ชมภู ยอดเขาสน เปนตน นอกจากนัน้ ยังมีแหลงทองเทย่ี วเชงิ สุขภาพ ไดแก บอนํ้าพุรอนพระรว ง
1.3.2 ลักษณะทางกายภาพ

๑.3.๒.๑ ดา นภูมศิ าสตร
ท่ีตั้งและอาณาเขต จังหวัดกําแพงเพชรตั้งอยูในเขตภาคเหนือตอนลาง อยูท่ีละติจูด 15 องศา 51
ลิปดาเหนือ ถึงลองจิจุดท่ี 16 องศา 54 ลิปดาเหนือ และเสนแวงที่ 90 องศาตะวันออก ถึงเสนแวง 100
องศา 3 ลิปดาตะวันออก (สูงกวาระดับน้ําทะเล 116.2 เมตร : ที่ตั้งศาลากลางจังหวัดกําแพงเพชร) อยูหาง
จากกรุงเทพมหานครตามระยะทางทางหลวงหมายเลข 1 ถนนพหลโยธิน ๓๕๘ กิโลเมตร มีอาณาเขตติดตอ
กับจงั หวดั ใกลเ คยี ง ดังนี้
- ทิศเหนือ ติดตอ กับอาํ เภอวังเจา จงั หวัดตาก และอําเภอครี มี าศ จงั หวัดสโุ ขทยั
- ทศิ ใต ติดตอ กบั อําเภอบรรพตพสิ ยั จงั หวัดนครสวรรค
- ทิศตะวันออก ติดตอกับอําเภอบางระกํา จังหวัดพิษณุโลก และอําเภอโพธิ์ทะเล อําเภอวชิรบารมี
จังหวดั พิจติ ร
- ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ กับอําเภออุมผาง จังหวัดตาก
ขนาดพื้นที่ จังหวัดกําแพงเพชรมีพื้นที่ 8,607.5 ตารางกิโลเมตร (5,379,681 ไร) เปนพื้นท่ี
การเกษตร ประมาณ 4,913.7 ตารางกิโลเมตร (3,071,075 ไร) ปาไม 1,990.5 ตารางกิโลเมตร
(1,244,060 ไร) พ้นื ทน่ี อกการเกษตรอีกประมาณ 1,703.3 ตารางกิโลเมตร (1,064,546 ไร)

๓๐

รปู ภาพที่ 4 แผนที่อาํ เภอตา งๆของจงั หวดั กาํ แพงเพชร

ลักษณะภูมิประเทศ จังหวัดกําแพงเพชรมีแมนํ้าปงไหลผาน ตอนกลางของจังหวัดจาก
เหนือจรดใต เปนระยะทางยาวประมาณ ๑๐๔ กิโลเมตร ซ่ึงเหมาะสําหรับการทําการเกษตร โดยมีพ้ืนที่ทํา
นา
ประมาณรอยละ 31.43 ของพื้นท่ีท้ังหมด กระจายอยูในพื้นที่ราบดานตะวันออกของจังหวัด ไดแก อําเภอ
เมืองกําแพงเพชร ลานกระบือ ไทรงาม ทรายทองวัฒนา คลองขลุง บึงสามัคคี พรานกระตาย และขาณุวรลักษบุรี
พื้นท่ีทําไรประมาณรอยละ 28.01 กระจายอยูในพื้นที่ดานตะวันตกของแมนํ้าปง ไดแก อําเภอคลองลาน
ปางศิลาทอง โกสัมพีนคร พรานกระตาย เมืองกําแพงเพชร และขาณุวรลักษบุรี มีลักษณะภูมิประเทศ
แบงเปน ๓ ลกั ษณะ ดังน้ี

- ลักษณะที่ 1 เปนท่ีราบลุมแมน้ําปงตอนลางแบบตะพักลุมน้ํา (Alluvial Terrace) มีระดับความสูง
ประมาณ 43-107 เมตร จากระดับนาํ้ ทะเลปานกลาง อยูบ รเิ วณทางดานทิศตะวันออกและใตของจังหวดั

- ลกั ษณะที่ 2 เปน เนินเขาเต้ยี ๆ สลับท่ีราบ พบเห็นบริเวณดา นเหนอื และตอนกลางของจังหวดั
- ลักษณะที่ 3 เปนภูเขาสลับซับซอน เปนแหลงแรธาตุ และตนน้ําลําธารตางๆ ท่ีสําคัญ เชน
คลองวงั เจา คลองสวนหมาก คลองขลงุ และคลองวงั ไทร ไหลลงสแู มน ้ําปง
โดยสรปุ ลักษณะพ้ืนทีข่ องจงั หวัดกําแพงเพชร ดานตะวันตกเปนภเู ขาสูงลาดลงมาทางดานตะวันออก
ลกั ษณะดินเปนดนิ ปนทรายเหมาะแกการทาํ นาและปลูกพืชไร

๓๑

ลักษณะภูมิอากาศ ของจังหวัดกําแพงเพชรตามระบบการจําแนกภูมิอากาศของ Koppen เปนแบบ
ฝนเมืองรอนเฉพาะฤดู (Tropical Savana Climate : Aw) มี 3 ฤดูกาล ไดแก ฤดูฝน ตั้งแตเดือนพฤษภาคม
ถึงเดือนตุลาคม ในชวงน้ีทางภาคเหนือของประเทศไทยไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ฤดูหนาว
เริ่มจากเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ เปนชวงของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือซ่ึงพัดพาเอาความ
หนาวเย็นและแหงแลงมาจากประเทศจีน สําหรับฤดูรอนเร่ิมตั้งแตปลายเดือนกุมภาพันธถึงเดือนเมษายน
ไดรับอิทธิพลจากลมสรสุมตะวันออกเฉียงใต ซ่ึงพัดมาจากทะเลจีนใตและอาวไทย ประกอบกับเปนชวง
ท่ีไดรับแสงแดดเต็มท่ี จึงมีอากาศรอนและแหงแลงมาก จากขอมูลสถิติภูมิอากาศของสถานีตรวจอากาศ
จังหวัดกําแพงเพชร ไดน ํามาใชเปนตวั แทนลกั ษณะภูมิอากาศของพนื้ ท่ตี ําบล สรุปไดด ังน้ี

1) ปริมาณนํ้าฝน ปริมาณนาํ้ ฝนรวมตลอดป 1,354.6 มิลลิเมตร โดยเดือนกันยายนมีฝนตกมากท่ีสุด
ในรอบป ปริมาณเฉล่ีย 293.7 มิลลิเมตร และฝนตกนอยท่ีสุดในเดือนมกราคม ปริมาณเฉลี่ย 3.5 มิลลิเมตร
รวมจาํ นวนวันที่มฝี นตกตลอดทง้ั ป 124 วนั

2) อุณหภูมิ อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยรายปเทากับ 36.0 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิตํ่าสุดเฉล่ียรายป
เทากับ 20.8 องศาเซลเซียส โดยเดือนเมษายนมีคาอุณหภูมิสูงสุด เฉลี่ย 30.4 องศาเซลเซียส และต่ําสุดใน
เดอื นธนั วาคม และมกราคม เฉลย่ี 24.9 องศาเซลเซยี ส

3) ความช้ืนสัมพัทธ ความช้ืนสัมพัทธเฉล่ียรายปเทากับ 77 เปอรเซ็นต โดยเดือนตุลาคมมีคา
ความชน้ื สัมพัทธสูงสุด เฉล่ยี 80 เปอรเ ซน็ ต และต่ําสดุ ในเดอื นมนี าคม เฉลย่ี 52 เปอรเซน็ ต

4) ชวงฤดูเพาะปลูกพืช ในการวิเคราะหขอมูลเพ่ือกําหนดชวงเวลาท่ีเหมาะสมในการปลูกพืช โดยใช
ขอมูลเก่ียวกับปริมาณนํ้าฝนรายเดือนเฉล่ีย และคาศักยภาพการคายระเหยนํ้าของพืชรายเดือนเฉลี่ย
(Evapotranspiration: ETo) ซึง่ คํานวณคา โดยใชโปรแกรม Cropwat มากําหนดจุดกราฟลงบนกระดาษ โดย
พิจารณาจากระยะเวลาชวงที่เสนน้ําฝนอยูเหนือเสน 0.5 ETo เปนหลัก เพ่ือหาชวงระยะเวลาที่เหมาะสม
ในการเพาะปลูกพชื สามารถสรปุ ได ดงั น้ี

(1) ชว งระยะเวลาทเี่ หมาะสมในการเพาะปลูก อยใู นชวงต้งั แตก ลางเดือนเมษายน ถึงตนเดือน
พฤศจิกายน โดยในชวงเดือนตุลาคมหลังจากหมดฝนแลว ประมาณ 10-15 วัน จะยังคงมีความชื้นอยูในดิน
เพยี งพอสาํ หรับปลูกพืชไร หรอื พืชผักอายสุ น้ั แตควรมแี หลงน้ําในไรนาชวยเสริมการเพาะปลูกไวบาง ท้ังนี้ควร
วางแผนจัดระบบการปลูกพชื ใหเ หมาะสมในแตล ะพ้ืนที่

(2) ชวงเวลาที่มีน้ํามากเกินพอ ซึ่งอาจสงผลกระทบตอพืชท่ีปลูกใหไดรับความเสียหายจาก
ปญหานา้ํ ทวมได โดยเฉพาะพ้ืนท่ีที่อยูใกลทางนํ้าหรือพ้ืนท่ีลุมต่ําน้ําทวมถึง ไดแก ปลายเดือนสิงหาคมและตน
เดือนตุลาคม ดงั นน้ั เกษตรกรจึงควรหาแนวทางปองกนั พืชผลจากปญ หาอุทกภยั ดวย

(3) ชว งเวลาที่ไมเหมาะสมตอ การเพาะปลูก คือ ชวงเวลาที่มีปริมาณน้ําฝนและการกระจายของ
ฝนนอย สงผลใหดินมีความชื้นไมเพียงพอตอการเจริญเติบโตของพืช จะอยูในชวงเดือนพฤศจิกายนถึง
กลางเดอื นเมษายนของทกุ ป แตสําหรับพ้ืนที่ทไี่ ดรับนา้ํ ชลประทานสามารถปลูกพืชฤดแู ลงได

๓๒

ตาราง ๑ สถิติปริมาณฝน ณ สถานีอตุ ุนยิ มวิทยากําแพงเพชร

ท่ี รายการ ป พ.ศ.
2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562

1 ฝนรวม (มิลลเิ มตร) 1,526.9 1,281.1 967.0 1,168.9 1,863.8 1,129.6 1,041.7

2 จาํ นวนวันฝนตก (วัน) 125 117 112 125 145 136 100

3 ฝนสูงสุด (มลิ ลเิ มตร) 90.7 117.5 67.4 49.2 248.9 85.3 80.1

ทม่ี า : กรมอุตนุ ิยมวทิ ยา กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร

1.3.3 ขอมลู การปกครอง/ประชากร
๑.3.๓.๑ ดานการปกครอง

- อาํ เภอมี ๑๑ อาํ เภอ 78 ตําบล (รวมตําบลในเมือง) 963 หมูบาน
- องคก ารบริหารสว นจงั หวดั ๑ แหง
- เทศบาลเมอื ง ๓ แหง
- เทศบาลตําบล ๒2 แหง
- องคการบริหารสวนตาํ บล ๖4 แหง
ตาราง ๒ เขตการปกครองของจังหวดั กาํ แพงเพชร

เขตการปกครอง

ท่ี อาํ เภอ เทศบาล เทศบาล เทศบาล อบต. ตําบล หมูบ าน
นคร เมอื ง ตําบล
16 223
1 เมืองกําแพงเพชร - 2 5 12 11 143
10 103
2 ขาณุวรลกั ษบรุ ี - 1 2 10 10 116
7 71
3 คลองขลุง - - 49 7 69
4 69
4 พรานกระตาย - - 47 3 38
4 45
5 ไทรงาม - - 17

6 ลานกระบือ - - 35

7 คลองลาน - - 13

8 ทรายทองวัฒนา - - 22

9 บึงสามัคคี - - -3

๓๓

10 ปางศิลาทอง - - -3 3 42
3 44
11 โกสมั พนี คร - - -3 78 963
รวม - 3 22 64

ทีม่ า: ทท่ี ําการปกครองจงั หวดั กาํ แพงเพชร/สาํ นักงานทองถิ่นจงั หวดั กําแพงเพชร

๑.3.๓.๒ ประชากร

มปี ระชากรท้ังส้นิ 725,867 คน แยกเปน ชาย ๓59,205 คน และหญิง 366,662 คน จํานวน
ครวั เรอื น 274,543 ครวั เรอื น ความหนาแนนของประชากร 89.33 คน ตอ ตารางกโิ ลเมต

ตาราง ๓ จาํ นวนประชากรของจังหวดั กาํ แพงเพชร

ท่ี อาํ เภอ ประชากร รวม ครวั เรอื น ความหนาแนน ของ
ชาย หญงิ 212,811 ประชากร (ตอ ตร.กม.)
105,065 86,668
1 เมอื งกาํ แพงเพชร 103,993 108,818 70,895 39,838 157.81
70,913 28,872 90.67
2 ขาณุวรลกั ษบุรี 52,078 52,987 50,650 24,599 90.50
42,925 17,057 65.55
3 คลองขลุง 34,760 36,135 63,856 15,152 112.83
23,409 23,087 100.03
4 พรานกระตา ย 35,270 35,643 25,959 7,336 56.00
30,600 10,617 115.76
5 ไทรงาม 25,178 25,472 28,784 10,858 90.19
725,867 10,459 40.48
6 ลานกระบอื 21,437 21,488 274,543 58.81
89.33
7 คลองลาน 32,181 31,675

8 ทรายทองวัฒนา 11,666 11,743

9 บึงสามัคคี 12,904 13,055

10 ปางศลิ าทอง 15,320 15,280

11 โกสมั พนี คร 14,418 14,366

รวม 359,205 366,662

ทีม่ า : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย (ขอ มูล ณ ธันวาคม 2562

นอกจากน้ัน จังหวัดกาํ แพงเพชรยงั มีราษฎรชาวไทยภูเขา (ซึง่ ปจ จบุ ันกองพฒั นาสงั คมกลุมเปาหมายพิเศษ
กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย ไดใหใชคํานิยามวา
“ราษฎรบนพ้ืนที่สูง”) ท่ีอาศัยกระจายอยูในพื้นท่ีราบและอุทยานแหงชาติ โดยสวนใหญอาศัยอยูในพื้นท่ี

๓๔

๖ อําเภอ ๖ ตําบล ๒๙ หมูบาน ไดแก อําเภอคลองลาน อําเภอปางศิลาทอง อําเภอโกสัมพีนคร อําเภอ
คลองขลุง อําเภอเมืองกําแพงเพชร และอําเภอขาณุวรลักษบุรี จํานวน ๖ เผา ไดแก เผามง (แมว) เผาเม่ียน
(เยา ) เผา ลซี ู (เผา ลซี อ) เผาลาหู (มเู ซอ) เผาปกาเกอะญอ (กะเหร่ยี ง) และเผา ละวะ จํานวนประชากร ๒,๒๓๓
ครัวเรือน ๓,๑๓๙ ครอบครัว ๑๑,๕๘๔ คน ไดรับสัญชาติไทยแลว จํานวน ๑๑,๕๒๒ คน (รอยละ ๙๙.๕)
และยังไมไ ดร บั สัญชาตไิ ทยอีกจาํ นวน ๖๒ คน (รอ ยละ ๐.๕๓)

๑.๓.3.๓ การนบั ถอื ศาสนา

ศาสนกิ ชนทงั้ หมดมีจํานวน 728,658 คน เปนพุทธศาสนิกชนจํานวน 725,074 คน คิดเปนรอย
ละ ๙๙.5 เปนศาสนาอื่นๆ เชน คริสตศาสนิกชน ศาสนิกชนมุสลิม ฯลฯ จํานวน 3,715 คน คิดเปนรอยละ
๐.๕ รายละเอียดจาํ นวนศาสนสถานของแตล ะนกิ าย มรี ายละเอียดปรากฏในตาราง ๑.5 และ ตาราง ๑.6

1.3.4 ขอมูลดานเศรษฐกจิ

ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด (GPP) ณ ราคาประจําป : ป 2561 เทากับ 117,705 ลานบาท
(ลาํ ดับที่ 2 ของภาคเหนือ ลาํ ดับที่ 23 ของประเทศ) มีผลิตภัณฑมวลรวมตอประชากร (รายไดตอประชากร)
เทา กบั 150,783 บาท/คน/ป (ลาํ ดับท่ี 2 ของภาคเหนอื ลาํ ดับที่ 24 ของประเทศ) โครงสรางการผลิตหลัก
ของจังหวัดมาจากภาคอุตสาหกรรม (สาขาการทําเหมืองแรและเหมืองหิน และสาขาการผลิตอุตสาหกรรม)
รอยละ 45.16 มีมูลคา 53,160 ลานบาท และภาคเกษตรกรรม รอยละ 22.42 มีมูลคา 26,391 ลาน
บาท

๑.3.๔.๑ ดา นเกษตรกรรม

พื้นที่การเกษตรกรรรม มปี ระมาณ ๓.30ลานไร คิดเปนรอยละ 61.34 ของพ้ืนท่ีจังหวัดกําแพงเพชร
พืชเศรษฐกิจท่ีสําคัญของจังหวัด ไดแก ขาว ออยโรงงาน มันสําปะหลัง ขาวโพดเลี้ยงสัตว ยางพารา ปาลม-
น้ํามัน พื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจท่ีสําคัญ ไดแก ขาวนาปมีพื้นที่ปลูก ๑.๑6 ลานไร ผลผลิตประมาณ ๖.89
แสนตัน มันสําปะหลังมีพื้นท่ีปลูก 6.84 แสนไร ผลผลิตประมาณ ๒.48 ลานตัน ออยมีพื้นท่ีปลูก ๗.13
แสนไร ผลผลิตประมาณ ๙.18 ลานตัน ขาวโพดเลี้ยงสัตวมีพ้ืนท่ีปลูก ๙.82 หม่ืนไร ผลผลิตรวมประมาณ
๗.60 หมื่นตัน ยางพารามีพ้ืนที่ปลูก ๓.78 หมื่นไร ผลผลิตประมาณ 4.04 พันตัน และปาลมนํ้ามันมีพื้นท่ี
ปลูก ๗.50 พนั ไร ผลผลิตประมาณ 9.16 พนั ตนั

ตาราง 4 พืชเศรษฐกจิ ทีส่ าํ คญั ของจังหวดั กําแพงเพชร

พชื พ้ืนทป่ี ลูก(ไร) ปรมิ าณผลผลติ (ตนั )
๑,๑66,918 ๖89,886
๑. ขา วนาป 684,681 ๒,487,594
๒. มนั สาํ ปะหลัง ๗13,189 ๙,183,793
๓. ออยโรงงาน

๓๕

๔. ขา วโพดเลย้ี งสตั ว ๙8,294 ๗6,038
5. ยางพารา ๓7,899 4,040
6. ปาลมนา้ํ มนั ๗,507 9,157

ที่มา : สาํ นกั งานเกษตรจังหวดั กาํ แพงเพชร (พ.ศ.2561) รอ ยละ
23.0
ตาราง 5 การใชประโยชนท ่ีดนิ จงั หวัดกาํ แพงเพชร เนื้อท่ี (ไร) 57.1
1,238,074
ประเภททีด่ ิน 3,072,336 19.9
1. เนื้อทป่ี า ไม 1,448,868
2. เน้อื ท่ีถอื ครองทางการเกษตร 1,320,200 รอ ยละ
159,689 21.9
2.1 ทน่ี า
2.2 ทพ่ี ืชไร 4,008 78.1
2.3 ที่ไมผ ลและไมยืนตน 139,571
2.4 ท่ีสวนผักและไมผ ล 1,069,271
2.5 เนื้อทใี่ ชป ระโยชนทางการเกษตรอ่นื ๆ 5,379,681
3. เนื้อทีน่ อกการเกษตร

รวม

ทมี่ า : สาํ นักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ

ตาราง 6 ลักษณะการถอื ครองท่ดี ินทางการเกษตร เนื้อท่ี (ไร)
3,072,336
ลักษณะการถือครองทด่ี นิ ทางการเกษตร 672,169
1. เนอื้ ท่ใี ชป ระโยชนทางการเกษตร 153,637
2. เนื้อท่ีของตนเอง 518,524

2.1 ของตนเอง 8
2.2 จํานองผูอ น่ื 2,400,167
2.3 ขายฝาก
3. เนอ้ื ทข่ี องผูอืน่

๓๖

3.1 เชาผูอ่ืน 1,380,057
3.2 รบั จาํ นอง 10,676
3.3 รับขายฝาก 11
3.4 ไดทําฟรี
1,009,424

ทม่ี า : สาํ นักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ

ตาราง 7 ปศสุ ตั ว ป พ.ศ. 2562

ขอมูลการเล้ียงสัตวของจังหวัดกําแพงเพชร ป พ.ศ. 2562 มีเกษตรกรผูเล้ียงสัตว ทั้งหมดจํานวน
40,776 ราย เกษตรกรผูเล้ียงสัตวสูงสุดอยูในพื้นที่ อําเภอเมืองกําแพงเพชร จํานวน 8,015 ราย และนอย
สุดอยูท่ี อําเภอโกสัมพีนคร และอําเภอบึงสามัคคี จํานวน 1,291 ราย โดยมีการเลี้ยงโคเน้ือ จํานวน
21,946 ตัว โคนม จํานวน 85 ตัว กระบือ จํานวน 7,539 ตัว สุกร จํานวน 244,441 ตัว ไก จํานวน
3,232,206 ตัว เปด จํานวน 313,704 ตัว แพะ จํานวน 5,633 ตัว และแกะจาํ นวน 637 ตัว

เกษตรกร โคเนอื้ สุกร ไก เปด แพะ แกะ
(ตัว) (ตวั ) (ตัว) (ตวั ) (ตวั ) (ตวั )
พน้ื ที่ ผูเ ลี้ยงสตั ว โคนม กระบือ
(ตัว) (ตัว)

รวม (ราย)

รวม 40,776 21,946 85 7,539 244,441 3,232,206 313,709 5,633 637

เมอื งกาํ แพงเพชร 8,035 4,004 14 825 121,605 543,509 60,250 409 6

ไทรงาม 3,263 1,339 - 223 2,768 121,593 22,440 374 26

คลองลาน 3,043 1,888 - 296 14,473 95,090 6,160 364 -

ขาณุวรลกั ษบรุ ี 8,110 1,249 - 137 10,256 783,199 88,819 264 65

คลองขลงุ 2,992 2,168 - 55 7,740 149,868 75,209 507 181

พรานกระตา ย 5,090 7,654 35 5,307 37,069 628,952 9,196 802 8

ลานกระบือ 3,383 1,766 - 173 8,238 195,738 18,235 2,223 331

ทรายทองวัฒนา 1,975 765 - 40 3,239 101,807 13,639 8 -

ปางศลิ าทอง 2,303 908 - 164 5,885 68,307 14,156 481 20

บึงสามคั คี 1,291 205 36 55 20,451 48,699 4,786 18 -

๓๗

เกษตรกร โคเน้อื สกุ ร ไก เปด แพะ แกะ
(ตัว) (ตัว) (ตวั ) (ตวั ) (ตัว) (ตัว)
พ้นื ที่ ผูเ ลีย้ งสัตว โคนม กระบือ
(ตัว) (ตวั )
โกสมั พีนคร
รวม (ราย)

1,291 - - 264 12,717 495,444 819 183 -

ที่มา : สาํ นักงานปศุสตั วจังหวดั กาํ แพงเพชร พ.ศ.2562

ตาราง 8 ครัวเรอื นท่เี พาะเลี้ยงสตั วน า้ํ ในพนื้ ทีน่ ้าํ จืด บอ กระชัง เนอื้ ที่ และปริมาณสัตวนํ้าจดื ที่จบั ไดจาก
การทําประมงนํา้ จดื ป พ.ศ. 2562

ครัวเรือนที่เพาะเล้ียงสัตวน้ําในพ้ืนที่นํ้าจืด บอ กระชัง เน้ือท่ี และปริมาณสัตวนํ้าจืดท่ีจับไดจากการ
ทําประมงนํ้าจืด ป พ.ศ. 2562 จํานวนครัวเรือนท้ังหมด 6,090 ครัวเรือน จํานวน บอทั้งหมด 9,546 บอ
เนื้อท่ีไร รวม 76,986,886 ไร การเพาะเลี้ยงมากที่สุดอยูท่ี อําเภอ พรานกระตาย 968 ครัวเรือน 1,171
บอ การเพาะเลี้ยงนอยที่สดุ อยูที่ อําเภอบึงสามัคคี จํานวน 85 ครัวเรือน 146 บอปริมาณการจับสัตวน้ําจืด/
ป อยูท่ี 4,916,140 กิโลกรมั มูลคา ประมาณ 217 ลานบาท

การเพาะเล้ยี งสตั วน้ําจดื ปริมาณ มูลคา (บาท)
การจบั สตั วน ้ําจืด
อําเภอ จํานวน จาํ นวน เนื้อท่ี 26,735,610
ครวั เรือน บอ (ไร) (กก.) 353,400
เมอื งกาํ แพงเพชร
ไทรงาม 680 1,362 716.919 568,720 19,796,680
คลองลาน 9,860 19,118,720
ขาณุวรลกั ษบุรี 356 493 364.021 556,940 49,966,070
คลองขลงุ 462,860 38,646,220
พรานกระตา ย 936 1,141 1,010,.330 1,017,120 13,772,520
ลานกระบอื 729,690 8,478,170
ทรายทองวฒั นา 580 861 609.850 348,400 1,552,850
บงึ สามคั คี 215,830 18,186,620
ปางศิลาทอง 645 1,806 1,309.650 50,610 21,098,020
โกสมั พีนคร 459,270 217,704,880
968 1,171 1,303.610 496,840
รวม 4,916,140
504 674 587.592

216 381 384.020

85 146 141.750

589 757 652.843

531 754 618.104
6,090 9,546 7,698.6886

ทม่ี า: สํานกั งานประมงจงั หวัดกาํ แพงเพชร

๓๘

๑.3.๔.2 ดา นอตุ สาหกรรม

ในป พ.ศ.2563 มีโรงงานอุตสาหกรรม จํานวนรวม 736 แหง เงินลงทุนรวม 60,602.56
ลานบาท จํานวนแรงงานรวม 11,152 คน กําลังเคร่ืองจักรรวม 2,306,382.20 แรงมา สวนใหญเปน
โรงงานอุตสาหกรรมการเกษตร จํานวน 252 โรงงาน คิดเปนสัดสวน รอยละ 34.24 ของจํานวน
อุตสาหกรรมทั้งหมด 736 แหง มูลคาการลงทุนโรงงานแปรรูปพืชเศรษฐกิจหลัก 3 ประเภท ไดแก ขาว มัน
สําปะหลัง ออย ในจังหวดั กาํ แพงเพชรมมี ลู คา การลงทุน 17,863,729,739 บาท

โรงงานอุตสาหกรรมจังหวัดกําแพงเพชรแบงได 3 จําพวก ไดแก โรงงานจําพวก 1 จํานวน 1
แหง , โรงงานจําพวก 2 จาํ นวน 88 แหง และโรงงานจาํ พวก 3 จาํ นวน 647 แหง

จงั หวัดกาํ แพงเพชรมที รัพยากรแรธ าตทุ ่นี าํ มาประกอบการในเชงิ พาณิชยที่สําคัญ ไดแก การผลิต
น้ํามันท่ีอําเภอลานกระบือ โดยบริษัท ปตท.สผ.สยาม จํากัด มีผลิตภัณฑมวลรวม สาขาอุตสาหกรรมและ
เหมืองแร/เหมืองหิน ในป 2561 เทากับ 53,160 ลานบาท หรือคิดเปน รอยละ 45.16 ของผลิตภัณฑ
มวลรวมของจังหวัด (GPP) สวนใหญเปนเหมืองหินออน เหมืองแรหินปูน (เพ่ือใชในการกอสราง) ฟอสเฟต
และแกรนติ

ตาราง 9 จาํ นวนโรงงานอุตสาหกรรมในจงั หวดั กาํ แพงเพชร

รายการ จาํ นวน (แหง) เงนิ ทุน (บาท) จาํ นวนแรงงาน (คน)

โรงงานจาํ พวก 1 1 - 2

โรงงานจําพวก 2 88 95,416,300 438
โรงงานจาํ พวก 3 647 60,507,144,217 10,712
736 60,602,560,517 11,152
รวม

ท่มี า : สาํ นักงานอตุ สาหกรรมจงั หวดั กาํ แพงเพชร

จํานวนโรงงานอตุ สาหกรรมสําคญั ทีข่ ึน้ ช่ือของจังหวัดกําแพงเพชรตามพชื เศรษฐกิจหลัก 3 ประเภท
ไดแก ขา ว มนั สาํ ปะหลัง ออย ในป 2563 มีดงั น้ี

ตาราง ๑0 ขาว : โรงสขี าวในจังหวัดกําแพงเพชร

ที่ รายการ จํานวน (แหง) เงินลงทนุ (ลา นบาท)

1. โรงสขี า วขนาดกลางและขนาดยอม<=200 ลานบาท 40 1,390.66

2. โรงสขี าวขนาดใหญ > 200 ลา นบาท 5 2,044.30
รวม 45 3,434.96

ทีม่ า : สํานักงานอุตสาหกรรมจงั หวัดกาํ แพงเพชร

๓๙


Click to View FlipBook Version