The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

103หน้าแผนพัฒนา.indd_compressed

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by gipghe, 2021-09-10 06:48:05

103หน้าแผนพัฒนา.indd_compressed

103หน้าแผนพัฒนา.indd_compressed

ตาราง ๑1 มนั สาํ ปะหลงั : จาํ นวนลานมนั /โรงงานแปรรปู มันสําปะหลงั ในจังหวัดกําแพงเพชร

ที่ รายการ จํานวน (แหง) เงนิ ลงทนุ (ลา นบาท)
153 1,113.55
1. ลานตากมัน (แหง ) 9 1,661.28
2 688.11
2. โรงงานผลติ แปงมัน (โรงงาน) 164 3,462.94

3. เอทานอล

รวม

ทม่ี า : สาํ นกั งานอุตสาหกรรมจังหวัดกาํ แพงเพชร

ตาราง 12 ออย : จาํ นวนโรงงานน้ําตาล/โรงงานไฟฟา

ท่ี รายการ จํานวน (แหง) เงนิ ลงทุน (ลานบาท)
1. โรงงานนา้ํ ตาล 3 7,073.50
22 12,172.60
2. โรงงานผลติ ไฟฟา 25 19,246.10
รวม

ท่ีมา : สาํ นักงานอตุ สาหกรรมจังหวดั กําแพงเพชร

๑.3.๔.3 อุตสาหกรรมท่ีสําคัญ
จังหวดั กําแพงเพชร มีโรงงานอุตสาหกรรมท่ีไดรับอนุญาตประกอบกิจการ ณ วันท่ี 30มิถุนายน พ.ศ.
๒๕63 จํานวนท้ังส้ิน 736 โรงงาน สวนใหญเปนโรงงานขนาดเล็กเงินลงทุนไมเกิน ๑๐ลานบาท แยกเปน
จําพวก 1 จํานวน 1 โรงงาน คิดเปนรอยละ 0.14 เงินลงทุน 0.00 ลานบาท คนงาน 2 คน จําพวก ๒
จํานวน 88 โรงงาน คิดเปนรอยละ 11.95 เงินลงทุน 95.41 ลานบาท คนงาน 438 คน และจําพวก ๓
จํานวน 647 โรงงาน คิดเปนรอ ยละ ๘7.91 เงินลงทุน 60,507.14 ลา นบาท คนงาน 11,152 คน

โรงงานอตุ สาหกรรมขนาดใหญท ม่ี เี งนิ ลงทนุ มากกวา ๑,๐๐๐ ลานบาท มดี งั น้ี

ทรายขาว 1. บริษัท น้ําตาลนครเพชร จํากัด ประกอบกิจการ ทํานํา้ ตาลทรายดบิ และนํา้ ตาลทรายขาว
ทรายขาว 2. บริษัท น้ําตาลทิพยกําแพงเพชร จํากัด ประกอบกิจการ ทําน้ําตาลทรายดิบและนํ้าตาล

3. บริษัท นํ้าตาลทรายกําแพงเพชร จํากัด ประกอบกิจการ ทํานํ้าตาลทรายดิบและน้ําตาล

4. บรษิ ัท อายโิ นะโมะโตะ(ประเทศไทย) จํากัด ประกอบกิจการ ผลิตผงชรู สและกรดกลตู ามคิ
5. บรษิ ทั เบียรไ ทย(๑๙๙๑) จาํ กดั (มหาชน) ประกอบกจิ การ ผลติ เบียร,นํ้าดื่ม,โซดา

๔๐

6. บรษิ ัท กฟผ. จํากัด (มหาชน) ประกอบกจิ การ ผลิตพลังงานไฟฟา
7. บริษัท ทิพยก ําแพงเพชร ไบโอเอนเนอย่ี จาํ กดั ประกอบกิจการ ผลติ พลงั งานไฟฟา
8. บริษทั สุรากระทิงแดง (1988) จํากัด ประกอบกจิ การ ผลิตสุรากลั่นประเภทวสิ กี้

ตาราง ๑3 ตารางแสดงจํานวนโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปขาว ออย และมันสําปะหลังในจังหวัด
กําแพงเพชร

ผลิตภัณฑแ ปรรูป จํานวนโรงงาน
แปรรปู ขา ว
- สขี า ว 45
- ผลิตเสนขนมจนี 3
- ผลิตแปงหมกั 1
แปรรปู ออย
- ผลิตน้ําตาลทราย ๓
แปรรูปมนั สําปะหลงั
- ผลติ แปง มันสาํ ปะหลงั 10
- ทาํ มันเสน 2
- ผลติ เอทานอล 153
217
รวม

ทม่ี า: สํานักงานอตุ สาหกรรมจงั หวดั กําแพงเพชร

1.3.5 ขอ มลู ดานทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอม
๑.3.5.๑ ดานทรพั ยากรน้ํา

จังหวัดกําแพงเพชรมีแหลงนํ้าตามธรรมชาติในลักษณะของแมนํ้าลําคลอง หนองและบึง
จาก การศกึ ษาแผนที่ภูมปิ ระเทศจงั หวัดกําแพงเพชร แบงแหลง น้ําได ๒ ลุมนาํ้ คือ

- บริเวณลุมนํ้าปง (Mae Nam Ping Catchment basin) บริเวณพ้ืนที่รับนํ้าท่ีมีสันปนน้ําลอมรอบ
เมื่อฝนตก น้ําฝนจะไหลลงสูทางนํ้าและบึงที่อยูในบริเวณตางๆ ของพ้ืนที่จังหวัด กําแพงเพชร แลวจึงไหลสู
แมนํ้าปง ซ่ึงประกอบดวยพื้นท่ีรับนํ้า (Catchment area) หรือลุมนํ้า (River basin) ตางๆ รวมเน้ือที่
๕,๙๕๕.๘๖๕ ตารางกิโลเมตร หรือรอยละ ๖๙.๑๙

- บริเวณลุมนํ้ายม (Mae Nam Yom Catchment basin) บริเวณพ้ืนที่รับน้ําท่ีมีพ้ืนท่ีอยูในจังหวัด
กําแพงเพชร เนื้อท่ี ๒,๖๕๑.๖๒๕ ตารางกิโลเมตร หรือรอยละ ๓๐.๘๑ แตลําน้ําจะไหลลงสูแมน้ํายม การท่ี
ภูมิประเทศบริเวณท่ีเปนธรณีสัณฐานแบบเนินตะกอนรูปพัด มีความลาดเอียงจากตําแหนงสูงสุดท่ีอําเภอ

๔๑

เมืองกําแพงเพชร ระดับความสูงประมาณ ๗๘ เมตร จากระดับน้ําทะเลปานกลาง เอียงไปตามแนวรูปพัด
ที่ระดับความสูง ๔๖ เมตร น้ําท่ีลนทวมฝงแมนํ้าปงในอดีต จึงไหลไปลงแมน้ํายม ดังนั้น ลํานํ้าทั้งหลายที่ไหล
บนเนินตะกอนรูปพัดกําแพงเพชร จึงแพรกระจายการกัดกรอนในทางลึกเปนลํา น้ําไหลไปตามความลาด
ท่ตี ํา่ กวา สทู ่ีราบทางตะวันออก

จังหวัดกําแพงเพชรแมนํ้าปงเปนแหลงนํ้าตนทุนท่ีสําคัญ มีความยาว ๑๐๔ กิโลเมตร มีแหลงนํ้า
เชน อางเก็บน้ํา ฝาย ทํานบ สระ หนอง บึง คูคลอง บอบาดาล และบอน้ําตื้น จํานวน 10,133 แหง ระบบ
น้ําชลประทานมีพ้ืนท่ีอยูในเขตชลประทาน 1,013,422 ไร คิดเปนรอยละ 30.2 ของพ้ืนท่ีการเกษตร
ท้ังหมด
ตาราง 14 จาํ นวนแหลง นา้ํ จาํ แนกตามประเภทแหลงนาํ้ เปน รายอําเภอ พ.ศ. ๒๕61

ประเภทแหลง นํ้า

ท่ี อําเภอ รวม อา งเกบ็ น้ํา ฝาย ทาํ นบ สระ/ ค/ู บอ บอ
ใหญ กลาง เลก็ คอนกรตี หนอง/บึง คลอง บาดาล นํ้าต้นื
1 เมอื งกาํ แพงเพชร
2 ไทรงาม 7,590 - 1 - 130 - 1,237 413 1,186 4,623
3 คลองลาน
4 ขาณุวรลกั ษบรุ ี 95 - - - 2 - 24 4 39 26
5 คลองขลงุ
6 พรานกระตาย 717 - 1 9 38 - 51 38 92 488
7 ลานกระบอื
8 ทรายทองวฒั นา 8 - -2 1 - - 5 - -
9 บงึ สามัคคี
10 ปางศิลาทอง 4 - -- - - - 4 - -
11 โกสมั พนี คร
1,191 - 1 1 27 - 85 47 80 950
รวม
79 - - - - - 3 8 68 -

- - -- - - - - - -

8 - -- - - - 8 - -

6 - -1 2 - - 3 - -

431 - -- - - 75 23 33 300
10,129 - 3 13 200 - 1,475 553 1,498 6,387

ทีม่ า: โครงการชลประทานกาํ แพงเพชร

๑.3.5.๒ ดานทรัพยากรดิน
จากการสํารวจดินพบวาจังหวัดกําแพงเพชร มีดินอยู 24 กลุมชุดดิน จําแนกออกเปนดินท่ีพบใน

พื้นที่ลุม สวนใหญใชทํานามีอยู 10 กลุมชุดดิน ไดแก กลุมชุดดินที่ 4, 5, 6, 7, 15, 16, 18, 21, 22
และ 25 มีเน้อื ท่ีประมาณ 1,641,774 ไร หรือรอยละ 30.51 ของเนื้อที่ทั้งหมด ดินในพื้นท่ีดอน และพื้นที่
เนินเขา สว นใหญใ ชปลูกพชื ไร ไมผ ลตา งๆ บางบรเิ วณยังคงสภาพเปน ปาธรรมชาติ มีอยู 13 กลุมชุดดิน ไดแก
กลุมชุดดินที่ 31, 33, 35, 36, 38, 40, 44, 46, 47, 48, 49, 55 และ 56 มีเนื้อที่ประมาณ
2,456,480 ไร หรอื รอยละ 45.56 ของเนอื้ ทที่ ง้ั หมด สว นดินในพน้ื ที่ภเู ขาและเทอื กเขาสงู ที่มีความลาดชัน
มากกวา 35 เปอรเซ็นต สวนใหญเปนพื้นท่ีปาธรรมชาติ บางบริเวณไดมีการบุกรุกแผวถางเพื่อปลูกพืชไร

๔๒

ไมผล และไมยืนตน ไดจําแนกเปนกลุมชุดดินท่ี 62 มีเน้ือที่ประมาณ 142,403 ไร หรือรอยละ 2.65
ของเนื้อที่ท้ังหมด นอกจากนี้ยังพบวามีพ้ืนท่ีเขตอุทยานแหงชาติและเขตรักษาพันธุสัตวปา (F) ท่ีดินดัดแปลง
(ML) พื้นที่ชุมชน (U) และพ้ืนที่น้ํา (W) มีเนื้อท่ีรวมกันประมาณ 1,144,651 ไร หรือรอยละ 21.28 ของ
เน้ือทท่ี ้ังหมด

๑.3.5.3 ดา นทรพั ยากรปาไม
ทรัพยากรปาไมที่สามารถพบไดในจังหวัดกําแพงเพชร มีทั้งปาเบญจพรรณ ปาเต็งรัง และปาดิบแลง

โดยอยูทางดานทิศตะวันตกของพ้ืนที่ กระจายอยูในเขตพ้ืนท่ีอนุรักษปาไมประเภทตางๆ ปจจุบันมีการบุกรุก
ทําลายพ้ืนท่ีปาเพ่ือเปล่ียนแปลงเปนพื้นท่ีทําการเกษตร และท่ีอยูอาศัย มีการนําพ้ืนที่ปาไปใชประโยชน
อยางไมคุมคา ไมมีการปลูกปาทดแทน สงผลทําใหเน้ือที่ปามีปริมาณลดลงกวาในอดีตมาก แตผลจากการ
รณรงคประชาสัมพันธ และการจัดกิจกรรมปลูกตนไมในจังหวัดท่ีผานมา สงผลทําใหพ้ืนท่ีปาไมมีแนวโนม
เพิ่มขึ้น

จังหวัดกําแพงเพชรมีพ้ืนท่ีปาตามกฎหมาย โดยออกตามกฎกระทรวง และพระราชกฤษฎีกา
กาํ หนดเปน ปา สงวนแหงชาติ จาํ นวน 9 แหง ไดแก

1. ปาคลองวังเจาและปาคลองสวนหมาก อยูในเขตพื้นที่อําเภอเมืองกําแพงเพชร อําเภอคลองลาน
และอําเภอโกสมั พีนคร

2. ปาคลองสวนหมากและปาคลองขลุง อยูในเขตพ้ืนที่อําเภอเมืองกําแพงเพชร อําเภอคลองลาน
และอําเภอคลองขลุง

3. ปาคลองขลุงและปาแมวงก อยูในเขตพ้ืนที่อําเภอขาณุวรลักษบุรี อําเภอคลองขลุง และ
อําเภอปางศลิ าทอง

4. ปาไตรตรึงษ อยูในเขตพื้นทีอ่ าํ เภอเมืองกําแพงเพชร
5. ปา หนองเสือโฮกและปา หนองแขม อยใู นเขตพืน้ ที่อําเภอพรานกระตาย
6. ปา หนองหลวง อยูในเขตพื้นท่อี าํ เภอพรานกระตาย และอาํ เภอลานกระบือ
7. ปาเขาเขียว-เขาสวาง และปาคลองหวยทราย อยูในเขตพ้ืนที่อําเภอเมืองกําแพงเพชร อําเภอ
พรานกระตา ย
8. ปาแมระกา อยูในเขตพ้นื ท่อี าํ เภอเมอื งกาํ แพงเพชร อําเภอพรานกระตา ย อําเภอโกสัมพนี คร

9. ปาหนองคลาและปาดงฉัตร อยูในเขตพ้ืนที่อําเภอลานกระบือ อําเภอไทรงาม อําเภอพราน
กระตา ย อาํ เภอเมอื งกาํ แพงเพชร อาํ เภอขาณวุ รลักษบรุ ี และอําเภอคลองขลุง

จังหวัดกําแพงเพชร มีอุทยานแหงชาติ จํานวน 3 แหง คือ อุทยานแหงชาติแมวงก เน้ือท่ี 558.750
ไร อุทยานแหงชาติคลองลาน เน้ือท่ี 187,500 ไร และอุทยานแหงชาติคลองวังเจา เนื้อท่ี 466,875 ไร
และมเี ขตรักษาพนั ธสุ ัตวป า จํานวน 1 แหง คือ เขตรักษาพันธุส ตั วป า เขาสนามเพรียง เน้อื ท่ี 63,125 ไร

การเปล่ียนแปลงพื้นที่ปาไม
จากขอมูลการแปลภาพถายดาวเทียม Sentinel-2 และขอมูลภาพถายดาวเทียม Landsat 8
บันทึกภาพป พ.ศ.2562 ของสํานักจัดการที่ดินปาไม กรมปาไม พบวาจังหวัดกําแพงเพชร มีเนื้อที่ปาไม
จาํ นวน 1,248,121.66 ไร (1,996.99 ตารางกโิ ลเมตร) หรือคิดเปนรอยละ 23.46 ของพื้นท่ีจังหวัด เม่ือ

๔๓

เปรียบเทียบกับขอมูลเนื้อท่ีปาไมในปท่ีผานมา พ.ศ.2561 เน้ือที่ปาไมของจังหวัดกําแพงเพชร มีจํานวน
1,247,273.38 ไร (1,995.64 ตารางกิโลเมตร) หรือคิดเปนรอยละ 23.44 แลวพบวาเน้ือที่ปาไมน้ัน
เพิ่มข้นึ 849.28 ไร (1.36 ตารางกิโลเมตร) หรือคิดเปนรอ ยละ 0.02

ตาราง 15 เปรยี บเทียบเนอ้ื ที่ปา ไมในจังหวัดกาํ แพงเพชร ระหวางป พ.ศ.2538-2561

เนื้อทจี่ ังหวัด เนื้อที่ปาไม
(ไร)
ป พ.ศ. (ไร) (ตร.กม.) รอยละของ
(ตร.กม.) พ้ืนที่จังหวัด

2538 8,607.49 5,379,681.25 2,049 1,280,625 23.80
1,251,875 23.27
2541 8,607.49 5,379,681.25 2,003 1,365,437.5 25.38
1,231,825 22.90
2543 8,607.5 5,379,687.5 2,184.7 1,189,268.75 22.11
1,187,406.25 22.07
2547 8,607.49 5,379,681.25 1970.92 1,311,681.25 24.38
1,266,893.75 23.55
2548 8,607.49 5,379,681.25 1,902.83 1,244,060.49 23.38
1,237,695.38 23.26
2549 8,607.49 5,379,681.25 1,899.85 1,233,849.69 23.19

2552 8,607.49 5,379,681.25 2,098.69

2554 8,607.49 5,379,681.25 2,027.03

2556 8,512.1 5,320,062.5 1,990.5

2557 8,512.05 5,320,031.36 1980.31

2558 8,512.45 5,320,279.22 1974.16

2559 8,512.45 5,320,279.22 1,981.76 1,238,596.44 23.28

2560 8,512.45 5,320,279.22 1,980.92 1,238,073.55 23.27

2561 8,512.45 5,320,279.22 1,995.63 1,247,273.38 23.44

ท่ีมา : ขอ มลู สถติ อิ ทุ ยานแหง ชาติ สัตวปา และพนั ธพุ ชื (ป 2547- 2552)

๑.3.6 ดา นคุณภาพส่งิ แวดลอม
๑.3.6.๑ คุณภาพนาํ้

ในปงบประมาณ พ.ศ.2561 สํานักงานสิ่งแวดลอมภาคท่ี 4 นครสวรรค ไดดําเนินการติดตาม
ตรวจสอบคุณภาพน้าํ ในพนื้ ท่ีจงั หวดั กาํ แพงเพชร จํานวน 5 สถานี ในแมนํ้าปง จํานวน 4 สถานี และในคลอง
สวนหมาก จํานวน 1 สถานี จํานวน 4 ครั้ง ครั้งที่ 1 เดือนพฤศจิกายน 2560 คร้ังท่ี 2 เดือนกุมภาพันธ
2561 ครัง้ ที่ 3 เดือนพฤษภาคม 2561 และครัง้ ที่ 4 เดอื นสงิ หาคม 2561 สรปุ ผลไดดังนี้

๔๔

ผลการตรวจสอบคุณภาพนํ้าในแหลงน้ําผิวดินในจังหวัดกําแพงเพชร ในปงบประมาณ พ.ศ.2562
พบวา คุณภาพน้ําในแมนํ้าปงอยูในเกณฑพอใช หรือจัดอยูในแหลงนํ้าประเภทท่ี 3 ไดแก แหลงน้ําท่ีไดรับน้ํา
ทง้ิ จากกจิ กรรมบางประเภท และสามารถเปนประโยชนเพื่อการอุปโภคและบริโภคโดยตองผานการฆาเชื้อโรค
ตามปกตกิ อน และผานกระบวนการปรับปรงุ คุณภาพนาํ้ ทัว่ ไปกอน และการเกษตร

๔๕

สว นท่ี 2 การวิเคราะหศกั ยภาพและสภาพแวดลอม

ดา นการเกษตร

2.1 การวิเคราะหปญ หาและความตองการ

การจําแนกขอมูลสาระสําคัญตามแผนแมบทเพื่อพัฒนาเกษตรกรรม (มาตรา 41) พรอมจัด
เรียงลําดับความสาํ คัญอยา งนอย 5 เรื่อง จากแบบสํารวจขอมูลการจดั ทําแผนพัฒนาเกษตรกรรมระดับจังหวัด
ปงบประมาณ 2564 ของเกษตรกร จํานวน 400 ราย ท้ังน้ี บางกรณีอาจเปนประเด็นการพัฒนา
(ยุทธศาสตร) และบางกรณีอาจปรากฏในประเด็นการพัฒนายอย (กลยทุ ธ) ของแผนพัฒนาเกษตรกรรมจังหวัด
ท่ีจัดทําข้ึน โดยสามารถเรียงลําดับเร่ืองท่ีมีปญหาดานการเกษตรที่รุนแรง หรือมีจุดเดนที่ประสบความสําเร็จ
สามารถนาํ ไปขยายผลไดใ นพ้ืนท่ี จาํ นวน 5 เร่อื ง โดยเรยี งลาํ ดบั ความสาํ คญั จากมากไปนอ ยไดดงั ตอไปน้ี

ขอ้ ทÉี 7 ขอ้ ทÉี 9 ขอ้ ทีÉ 10 ขอ้ ทÉี 11 ขอ้ ทีÉ 1
6% ขอ้ ทีÉ 8 3% 3% 2% 5%
ขอ้ ทีÉ 6 7%
3%
ขอ้ ทÉี 2
ขอ้ ทÉี 5 27%
6%

ขอ้ ทีÉ 4
18% ขอ้ ทÉี 3

20%

ขอที่ 1 การสงเสริมสนบั สนุนการรวมกลุม/องคกรเกษตรกร ตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ขอท่ี 2 การคุมครองพนื้ ทเ่ี กษตรกรรม และคมุ ครองสทิ ธขิ องเกษตรกรใหมีกรรมสทิ ธ์ิหรอื สิทธิในท่ีดิน
ขอ ที่ 3 การแกปญหาที่ดินและสง เสรมิ ปรับปรุงดนิ เพ่อื การเกษตร
ขอ ที่ 4 การสรา งความเปนธรรมดา นราคาผลผลิตทางเกษตรกรรม และสงเสริมใหสนิ คา เกษตรไดรับ
ผลตอบแทนสงู สุด
ขอ ท่ี 5 การพฒั นาแหลงนาํ้ และระบบชลประทานเพ่ือเกษตรกรรม
ขอที่ 6 การคนควา วิจยั และพัฒนาภูมิปญญาทองถ่นิ เพือ่ ประโยชนท างเกษตรกรรมและเกษตรอุตสาหกรรม

46

ขอที่ 7 การอนุรักษฟ น ฟแู ละใชประโยชนจ ากทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอมเพ่ือการเกษตร
ขอ ท่ี 8 การแกไขปญหาหนส้ี ินและการเขาถงึ แหลง ทุนของเกษตรกร
ขอ ท่ี 9 การสรา งเครือขา ยองคก รเกษตรกรเชื่อมโยงและพัฒนาความรว มมือดานการผลิตทางเกษตรกรรม การ
แปรรูป และการบรโิ ภคเพ่ือการยงั ชีพระหวา งเครอื ขายองคกรเกษตรกรกบั ภาครัฐและภาคเอกชน
ขอที่ 10 การสนับสนุน สง เสริมการศึกษา อบรมถายทอดความรู เทคโนโลยีดานเกษตรกรรม และการจัดการ
แกเกษตรกรและยวุ เกษตร
ขอ ท่ี 11 การปรบั ปรงุ การบริหารจดั การกองทนุ ทีเ่ ก่ียวกับการเกษตรทีม่ ีอยู ใหส ามารถรองรบั การชวยเหลอื
เกษตรกรอยางครบวงจร และลดความซ้ําซอน รวมถึงการจัดตงั้ กองทนุ เพอื่ วตั ถุประสงคดงั กลาว

จากแบบสํารวจพบวาเกษตรกรสวนใหญใหความสําคัญตอปญหาไมมีที่ดินทํากินหรือมีนอยไม
เพียงพอ และเสนอแนวทางแกไข ดังนี้

1.ใหคณะกรรมการท่ีดินแหงชาติ (คทช) เรงดําเนินการจัดท่ีดินทํากินใหเกษตรกรที่ไมมีที่ดินทํากิน
หรือมที ่ดี นิ นอ ยไมเพยี งพอประกอบอาชีพเกษตร

2.ขอใหรัฐจัดหาที่ดินทํากินใหแกเกษตรกรเพ่ิม โดยเฉพาะเกษตรกรพื้นท่ีสูงบริเวณเขาไมสามารถ
ขยายทด่ี นิ ทํากินได

3.ใหความรเู รือ่ งเกษตรปลอดภยั และใหค วามสาํ คญั ในเรื่องไมมีเอกสารสิทธิ์ทํากิน ในพื้นท่ีสาธารณะ
ปา สงวน ปา อนุรกั ษ และปญหาคาเชาทีด่ ินแพงตามลาํ ดับ

1.การสงเสริม การพัฒนา การคุมครองพื้นท่ีเกษตรกรรม และการแกไขปญหาดินและที่ดินโดย
สง เสริมและคุมครองสทิ ธิของเกษตรกรใหมีกรรมสิทธ์ิหรือสิทธิในที่ดินเพ่ือประกอบเกษตรกรรมของตนเอง
อยา งท่ัวถงึ

การคุมครองพน้ื ท่ีเกษตรกรรม และคุมครองสิทธิของเกษตรกรใหมีกรรมสิทธ์ิหรือสทิ ธ์ใิ นที่ดนิ

ประเด็นปญ หา แนวทางแกไข
1.ท่ดี ินไมมเี อกสารสิทธท์ิ าํ กินในพน้ื ทสี่ าธารณะ ปา 1.ตองการใหรัฐแกกฎหมายเอื้อประโยชน ออก
สงวน ปา อนุรกั ษ อทุ ยาน เขตรกั ษาพันธสุ ัตวป า เอกสารสิทธ์ิให แกเกษตรกรในรูปแบบ สปก. 4-01
หรอื โฉนด
2.เรงรัดออกหนังสือแสดงสิทธิ์ท่ีดินอยางใดอยางหนึ่ง
เพือ่ ทําการเกษตรไดในเขตปา
3.ใหชุมชนรวมกับ อปท. และหนวยงานปาไม
กําหนดแบงเขตพ้ืนที่อยูอาศัย พื้นท่ีทํากิน และพื้นท่ี
ปาชุมชนใชประโยชนรวมกัน เพ่ือใหราษฎรชวยดูแล
พื้นทปี่ า

47

2. การแกป ญหาท่ีดินและสงเสรมิ ปรับปรุงดนิ เพ่อื การเกษตร

ประเด็นปญหา แนวทางแกไข

1.เกษตรกรขาดความรู และเอาใจใสการปรับปรุง 1.ใหมีศูนยเรยี นรปู รับปรงุ บํารงุ ดนิ ในตาํ บลและ

บาํ รุงดิน หมูบา น

2.ขยายเพิม่ หมอดินอาสาทุกหมบู า น เพื่อให

คาํ แนะนํา

2.สภาพดินไมเ หมาะสมแกการเพาะปลูก 1.สงเสริมปลูกพืชปยุ สด และปลกู พชื หมนุ เวยี น
2.สงเสริมการลด ละ เลกิ การใชปุยเคมี เปลย่ี นมาใช
ปุยอนิ ทรยี 
3.ทํานาข้ันบันไดลดการชะลางพงั ทลาย เสยี ความ
อุดมสมบรู ณหนา ดิน

3. การสรา งความเปนธรรมดานราคาผลผลิตทางเกษตรกรรม และสงเสริมใหสนิ คาเกษตรไดร บั
ผลตอบแทนสูงสุด

ประเด็นปญ หา แนวทางแกไข
1.พอคา คนกลางกดราคารับซื้อ 1.ปรับเปลี่ยนจากการผลิตสนิ คา เกษตรทท่ี าํ อยเู ดิม
ไปผลิตสินคาเกษตรชนิดใหมท่ีมโี อกาสทางการตลาด
2.สรางความเขม แข็งการดําเนินธรุ กจิ ตลาดของกลุม /
องคกร

2.ขาดการพฒั นาคณุ ภาพผลผลิต 1.สงเสริมการพฒั นาคุณภาพผลผลติ ใหไดคณุ ภาพ
มาตรฐาน เชน มาตรฐาน GAP มาตรฐานเกษตร
อินทรยี  มาตรฐาน อย.
2.สง เสริมการจดทะเบียนสง่ิ บงชที้ างภูมศิ าสตรส นิ คา
เกษตรเพอื่ สรา งความเชอื่ ถอื สินคา

49

ประเด็นปญหา แนวทางแกไ ข

2.ท่ีดินทับซอนกับเขตปาสงวน ปาไม เขตอนุรักษ 1.ใหรัฐสํารวจพื้นที่ปาเสื่อมโทรม กันเขตออกจากปา

พันธุส ตั วป า สงวน ปาไม เขตอนุรักษพันธุสัตวปาใหชัดเจน เพ่ือ

ออกเอกสารสิทธ์ิ หรือให สิทธิทํากินในท่ีดินแก

เกษตรกรได

3.ไมส ามารถทําธุรกรรมทางการเงินไดอยากวา งขวาง 1.ขอใหร ัฐเรง ดาํ เนินการเปล่ยี นจาก สค. 1 เปนโฉนด

เน่ืองจากไมมโี ฉนด รวมท้ัง ขอใหเปลี่ยนจาก สปก. 4-01 เปนโฉนด

ตลอดจนเกษตรกรในเขตจัดรูปที่ดินขอใหออกโฉนด

ชุมชนดว ย

4.ไมม ที ด่ี ินทํากนิ หรอื มนี อ ยไมพอเพยี ง 1.ข อ ใ ห รั ฐ จั ด ห า ท่ี ดิ น ทํ า กิ น แ ก เ ก ษ ต ร ก ร เ พิ่ ม
โดยเฉพาะเกษตรกร พ้ืนที่สูงบริเวณเขา ไมสามารถ
ขยายท่ีดนิ ทาํ กินได
2.ใหคณะกรรมการจัดท่ีดินแหงชาติ (คทช.)เรง
ดาํ เนนิ การจดั ที่ดินทํากนิ ใหแกเกษตรกรที่ไมมีท่ีดินทํา
กนิ หรือมีที่ดินนอ ยไมเ พยี งพอประกอบอาชีพเกษตร
3.ใหค วามรูดานเกษตรประณีต และใชเทคโนโลยีเพิ่ม
ผลผลิตในท่ดี ินขนาดเล็ก

5.เกษตรกรยากจนขายที่ดินทาํ กนิ ใหแกนายทุน 1.สรา งจติ สํานึกใหเ กษตรกรรักผืนดินทํากินของตน
2 . อ อก ก ฎ ห ม า ย คุม ค ร อ ง ท่ี ดิ น เ พ่ื อก า ร เ ก ษ ต ร มิ ใ ห
เกษตรกรยากจนตองขายที่ดนิ
3.สงเสริมการพัฒนาท่ีดินใหเกิดรายได เชนการปลูก
พชื ผสมผสาน โคกหนองนาโมเดล
4.สงเสริมการมีธนาคารท่ีดิน หรือกองทุนท่ีดินระดับ
ชุมชน

6.คา เชาทด่ี ินแพง 1.ออกกฎหมายควบคุมคาเชาที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
คุมครองผเู ชา
2.อบรมใหความรูขอมูลขาวสารเกีย่ วกบั
อสงั หาริมทรัพย สิทธิท่ดี ินทาํ กนิ กฎหมายปา ไม
กฎหมายคาเชา ทดี่ นิ ฯลฯ เพื่อใหเกษตรกรเขาใจรักษา
สทิ ธขิ์ องตน

48

ประเด็นปญ หา แนวทางแกไข
3.ตนทนุ การผลติ สูง 1.ถายทอดความรเู ทคโนโลยี ลดตน ทุนการผลิต
2.สง เสรมิ ลดตน ทุนการใชปจ จัยการผลติ เมลด็ พนั ธุ
ปุย ยาคาน้าํ มนั เช้อื เพลิง ฯลฯ ในการผลิต
3.จดั ต้ังกองทนุ เคร่ืองจกั กลกลางเพื่อการผลติ ประจาํ

4.ขาดแหลงตลาดและพอ คา รับซ้ือผลผลิตท่แี นนอน 1.สรา งเกษตรกรผนู ําดา นการตลาดของแตละกลุม
2.ถา ยทอดความรูด า นการขายผลผลติ สนิ คาเกษตร
ทางออนไลน และแหลงตลาดตางๆระดบั ชมุ ชนอําเภอ
และจงั หวดั

4. การแกไขปญ หาหน้สี นิ และการเขาถึงแหลง ทนุ ของเกษตรกร

ประเด็นปญ หา แนวทางแกไข

1.ปจจัยการผลิตราคาแพงขนึ้ สงผลใหตนทนุ การผลติ 1.จดั อบรมใหค วามรูการทาํ เกษตรตามแนวเศรษฐกิจ

สงู แตข ายผลผลติ ไดราคาตํ่าและประสบภัยธรรมชาติ พอเพียงเพอื่ ลดตน ทนุ โดยผลิตปยุ คอก ปุย หมกั ปยุ

ทําใหม ภี าระหนส้ี นิ พชื สด สมนุ ไพรปองกนั กําจัดศัตรูพชื ใชเอง ปลูกพชื

เล้ยี งสัตวเ พื่อบริโภคและปลูกพชื หมุนเวียน สรา ง

รายไดต ลอดป

2.สนบั สนุนการรวมตัวเกษตรกรในรปู กลมุ สหกรณ

วสิ าหกิจชุมชน หรอื กลุมอาชีพ เพ่ือดําเนินธุรกจิ

สนิ เชื่อ รวมซอื้ ปจจัยการผลิต แปรรูปสรา งมลู คา เพิ่ม

และรวมขายผลผลิต เพ่ือแกไขปญ หาตน ทุนการผลติ

และการตลาด

2.เกษตรกรไมสามารถเขาถึงแหลง ทนุ เพราะสถาบัน 1.สถาบนั การเงนิ ปรับหลกั เกณฑท ี่ผอนปรนในการให
การเงนิ มหี ลักเกณฑปลอยสนิ เช่อื ที่เขม งวด สินเชอ่ื เชนหลักทรพั ยค ํา้ ประกันเงินกู ผลการ
ดําเนินงานที่ผา นมา เปนตน
2.จัดตั้งกองทุนเพ่ือการชว ยเหลอื เกษตรกรรายยอย
กลมุ /องคกรท่จี ดั ตั้งใหม และเพอ่ื ฟนฟูเกษตรกรหลัง
การระบาดของโควิด – 19
3.ใหสถาบันการเงนิ พจิ ารณาความเปน ไปไดของ
โครงการทีเ่ สนอขอกูเงนิ เปน หลักประกัน โดยไมต อง
ใชห ลักทรพั ยคํ้าประกนั

50

ประเดน็ ปญหา แนวทางแกไข

3.อัตราดอกเบย้ี สูงจาก ธ.ก.ส. สหกรณ และกองทนุ 1.ใหส ถาบันการเงนิ ลดอัตราดอกเบย้ี เงินกแู ละอัตรา

หมบู าน รวมทั้งอัตราคา ปรับสูง กรณไี มสามารถชําระ คาปรับลง

หนไี้ ดตามกาํ หนด 2.กรณีผลผลิตเกษตรเสยี หายจากภัยธรรมชาติ

เกษตรกรไม สามารถชาํ ระหนี้ไดต ามกาํ หนด ควรงด

คิดคาปรับและ พักชาํ ระหนี้

4.เกษตรกรใชเ งนิ กผู ิดวัตถปุ ระสงค ใชจายเงินเกินตวั 1.จดั อบรมเกษตรกรใหความรกู ารบรหิ ารเงินท่ีถกู วิธี

ไมทาํ บัญชีตนทุนอาชีพ 2.ใหแหลงเงนิ กกู าํ หนดมาตรการ ตรวจสอบการใช

เงินกเู ขมงวด

3.สง เสริมการทําบญั ชตี น ทุนประกอบอาชีพ

4. สง เสรมิ ชุมชนปลอดอบายมขุ

5.อนุรักษฟน ฟูและใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ มเพือ่ การเกษตร

ประเดน็ ปญหา แนวทางแกไข
1.เกษตรกรขาดความรูการอนุรักษ 1.รณรงคใ หเกษตรกรเหน็ ความสําคัญของ
ทรพั ยากรธรรมชาติการใชประโยชนจ ากความ ทรพั ยากรธรรมชาติ และลดการทาํ ลายปา สัตวนํ้า
หลากหลายทางชีวภาพ ขาดจิตสาํ นึกและความ การใชนา้ํ อยา งประหยัด
รว มมือ 2.จดั อบรมใหค วามรูการนาํ ทรัพยากรธรรมชาติ เชน
พืชปา มาใชประโยชนป องกันกําจัดศัตรูพชื หรือเปน
อาหารฯ

2.เกษตรกรยังนยิ มเผาตอซังขาว ขาวโพด เผาออย 1.จดั อบรมใหเกษตรกรเขา ใจผลเสียจากการใช
และใชสารเคมีเกษตรมากเกินจาํ เปน ทาํ ใหดนิ เสื่อม สารเคมี และสงเสรมิ การทําระบบเกษตรกรรมยั่งยืน
นาํ้ เสยี เชน เกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฎีใหม เกษตร
อนิ ทรีย เกษตรธรรมชาตวิ นเกษตร
2.ภาครฐั บงั คบั ใชก ฎหมายแกผเู ผาแปลงเกษตรอยา ง
เขม งวด
3.รณรงคไ มเ ผาตอซงั และใหผปู ระกอบการมี
มาตรการจูงใจรบั ซอื้ ผลผลิตท่ีไมไดมาจากการเผา
แปลงเกษตร

51

ประเด็นปญ หา แนวทางแกไ ข
3.เกิดภยั ธรรมชาตนิ ํ้าทวม ฝนแลงพ้ืนท่ีเกษตร 1.สง เสริมการปลูกปา ตนนํา้ ปาชุมชน ปลูกตน ไมหัว
เสียหาย ไรปลายนาปลูกไผใกลแหลง น้ําปองกันดินตลิ่งพัง
2.ฟน ฟูทรัพยากรธรรมชาติตามแนวปรัชญาของ
4.การบกุ รกุ ทําลายปา และใชทรัพยากรในปา เศรษฐกจิ พอเพียง
สิน้ เปลอื ง
1.รัฐออกระเบยี บอนุรักษท รัพยากรธรรมชาติ
5.ไมมกี ารอนุรักษพนั ธุพืช พันธสุ ตั วทองถน่ิ ปราบปรามผบู ุกรุกปาอยา งเด็ดขาด และประกาศเปน
ปา ชุมชนทุกตาํ บล
2.แนวทางแกไขปญ หาใหช มุ ชนมีสวนรวมอนุรกั ษปา
โดยใหเ กษตรกรที่อาศยั อยูเดิมในพืน้ ท่ีปาไม รวมกบั
องคกรปกครองสว นทองถิน่ และหนว ยงาน ปาไม
กาํ หนดกฎเกณฑ ระเบียบชุมชน แบง พ้นื ที่อยูอาศยั
พ้ืนที่ ทาํ กิน และพ้นื ทีป่ าไมชุมชน โดยหามบกุ รกุ ปา
เพิม่

1.ตงั้ ชมรม/กลุมอนรุ ักษท รัพยากรธรรมชาติ รวมทง้ั
สง เสรมิ การอนุรักษพันธพุ ืช และพันธสุ ตั วท อ งถ่นิ
2.ใหอ งคการบรหิ ารสว นตาํ บลมบี ทบาทการอนรุ ักษ
พนั ธุพืชพันธุสตั วทอ งถิ่น

52

2.2 วเิ คราะหส ภาพแวดลอมภายในดานการเกษตร (จุดออ น - จุดแข็ง)
สํานักงานสภาเกษตรกรจังหวัดกําแพงเพชรไดน ําผลการวิเคราะหขอมลู จงั หวดั มาสนบั สนุน

การวเิ คราะหสภาวะแวดลอมของจังหวดั โดยไดจ าํ แนกผลการวเิ คราะหป จ จัยภายในท่ีเปนจดุ แขง็ และจดุ ออน
และปจจัยภายนอกทเี่ ปนโอกาสและอปุ สรรคของจังหวดั โดยสรปุ เฉพาะประเด็นทีส่ าํ คัญได ดังน้ี
จดุ แข็ง (Strengths)

1. จังหวัดกําแพงเพชร มีแมน้ําปงไหลผานกลางจังหวัดระยะทาง 104 กิโลเมตร โดยรับนํ้าตนทุน
จากเขอื่ นภมู ิพล ทาํ ใหพ ื้นทีส่ องฝง สามารถใชป ระโยชนจ ากการทแ่ี มนาํ้ ปงไหลผา นได

2. จังหวัดกําแพงเพชร มีระบบชลประทาน โดยมีคลอบคลุม พื้นที่ชลประทานจํานวน 1,478,607
ไร คิดเปนรอยละ ของพื้นที่เกษตรกรรมของจังหวัด มีโครงการชลประทานยอยจํานวน 4 โครงการ ไดแก
โครงการชลประทานทอ ทองแดง วังบัว วงั ยาง และหนองขวญั

3. จงั หวดั กาํ แพงเพชร เปน แหลงผลติ พืชเศรษฐกิจสําคญั ไดแ ก ขาว ออย มันสําปะหลัง และขาวโพด
เลีย้ งสัตว โดยเฉพาะมนั สําปะหลังมพี ้นื ทปี่ ลูกมากเปนอันดบั ท่ี 2 ของประเทศ

4. จังหวัดมีพ้ืนทดี่ าํ เนนิ การโครงการสง เสริมการเกษตรระบบแปลงใหญ จํานวน 57 แปลง 10 ชนิด
สินคา ไดแก ขาว มันสําปะหลัง ออย พืชผัก กลวยไข โคเนื้อ มะนาว ยางพารา ปลาชอน หมอนไหม
เกษตรกรรวม 3,379 ราย คิดเปนพนื้ ที่ รวม 63,517 ไร

5. จังหวัดกําแพงเพชรมีแหลงรับซ้ือ ผลผลิตทางการเกษตร ไดแก โรงสีขาวรวม 44 แหง ลานมัน
และโรงงานแปรรปู มันสาํ ปะหลังรวม 164 แหง โรงงานนาํ้ ตาล จํานวน 3 แหง โรงงานผลิตผงชูรส จํานวน 1
แหง และบรษิ ทั เบยี รไทย จํานวน 1 แหง

6. สภาพดินสวนใหญข องจังหวดั กําแพงเพชร เปน พ้ืนทีด่ ินดาํ น้าํ ชุม เหมาะสม แกการเพาะปลูกพืช ท่ี
หลากหลาย เชน ขาว พชื ไร ไมผ ล รวมท้งั พชื ในพ้นื ทส่ี ูง

จุดออ น (Weaknesses)
1.พื้นท่ี เพาะปลูกกลวยไขซึ่งเปนผลไมอัตลักษณของจังหวัดลดลง เนื่องจากปญหาวาตะภัยในพ้ืนที่

จังหวัดกําแพงเพชร ซึง่ จะเกิดข้ึน 2 ชว ง คอื ชวงตน กลวยไขกาํ ลงั เจริญเติบโตในฤดูแลง (มี.ค - เม.ย) และชวง
กลวยไขกําลังตกเครือในฤดูฝน (ส.ค - ก.ย ) ซ่ึงพายุดังกลาว มีสภาวะเปนพายุหมุน ทําให ลําตนกลวยไขหัก
โคนถงึ ระดบั ไสในกลว ยไข

2.กลมุ เกษตรกรบางสวน บางพ้ืนท่ียังขาดความเขมแข็ง เนื่องจากขาดการสนับสนุนดานความรู และ
การจัดการจากภาครัฐอยา งตอ เน่ือง

3. เกษตรกรยังยึดติดในการทําการเกษตรแบบเดิมๆ และขาดการปรับปรุงฟนฟูทรัพยกร ดิน น้ํา
อยางตอ เนือ่ ง

4. เกษตรกรยังมกี ารนํานวัตกรรม หรือเทคโนโลยีดิจติ ัลมาใชใ นระบบการผลติ ไมมากนัก

53

5. แรงงานดานการเกษตรไมเพียงพอ และตนทุนดานแรงดานแรงงานภาคการเกษตรมีแนวโนมเพิ่ม
สูงขึ้นในอนาคต ประกอบกับแรงงานตางดาวบางสวน ในภาคการเกษตรเปนแรงงานผิดกฎหมายทําให
คา ใชจ าย แฝงเปน ตน ทนุ สูงขึน้

6. เกษตรกรสว นใหญ มีภาระหน้สี ินซงึ่ เกดิ จากการกยู ืมเงนิ เพ่ือเกษตรกรรม บางสวนขาดความรูการ
บรหิ ารการเงนิ ทถี่ กู ตอ งและเหมาะสมท้ังในระดบั บุคคล ครัวเรือน และกลุมเกษตรกร เชน การใชเงินจากการ
กูยืมผิดวัตถุประสงค ทําใหเกิดปญหาตอเน่ืองซ้ําซาก ระยะยาว ระดับการพ่ึงพาตนเองต่ํา และยังตองพ่ึงพา
การชวยเหลอื จากภาครฐั โดยเฉพาะเมื่อเกิดภยั พบิ ตั ิ กับพน้ื ท่ี ท่ที ําการเกษตร

7.ดานฝงตะวันตกของจังหวัดกําแพงเพชร ยังขาดการพัฒนาแหลงน้ํา ไมสามารถขยายพื้นท่ีได
เนือ่ งจากตดิ พื้นทป่ี า และอทุ ยานแหง ชาติ

8. เกษตรกรที่มีที่ดินทํากินเปนของตนเอง มีสัดสวนนอยมากเมื่อเทียบกับพื้นท่ีการเกษตรท้ังจังหวัด
โดยเฉพาะพ้ืนทฝ่ี งตะวนั ตกของจงั หวดั สว นใหญเปน พื้นทป่ี าสงวน อทุ ยานแหง ชาต(ิ ปา เสื่อมโทรม)

9. เกษตรกรมกี ารใชสารเคมี เพม่ิ ขน้ึ ทาํ ใหระบบนิเวศนถ ูกทาํ ลาย แหลง นาํ้ มีสารเคมปี นเปอ น

2.3 วิเคราะหสภาพแวดลอมภายในภายนอกดานการเกษตร (โอกาส – อปุ สรรค)
โอกาส (Opportunities)

1. รัฐบาลมีนโยบายสงเสริมการบริหารจัดการพ้ืนที่เกษตร (Zoning) สรางโอกาสใหจังหวัดสามารถ
บริหารจดั การพน้ื ทเ่ี พ่ือการเกษตรปลอดภัย การสง เสรมิ ความรูแ กเกษตรกร และการวางแผนบริหารจัดการน้ํา
อยางเปนระบบ

2. นโยบายและแผนงานของรัฐบาลในการบริหารจัดการนํ้าอยางเปนระบบเปนโอกาสที่จังหวัดจะ
สามารถพัฒนาแหลงนํ้าตามธรรมชาติและสามารถบริหารจัดการใชประโยชนจากแหลงนํ้าไดอยางเต็ม
ประสทิ ธภิ าพ

3. นโยบายสงเสริมการทองเที่ยวของรัฐบาลสนับสนุนใหจังหวัดพัฒนาแหลงทองเที่ยวเชิ ง
ประวตั ศิ าสตรและวัฒนธรรม รวมท้ังแหลงทองเที่ยวธรรมชาติและเกษตรกรรม เพื่อดึงดูดนักทองเที่ยวไดมาก
ขึ้น

4. การเขาสูประชาคมอาเซียนสงผลใหเกิดตลาดที่ใหญมากประมาณ ๖๐๐ ลานคน เปนโอกาสที่
จังหวัดมีชองทางการจําหนายผลิตภัณฑ สินคาทางการเกษตร เกษตรแปรรูปไดกวางขวางมากข้ึน รวมถึง
สามารถดึงดูดนักทอ งเทย่ี วจากประเทศเพ่ือนบา นไดเพิ่มขน้ึ

อุปสรรค (Threats)
๑. การจัดตง้ั เขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area : AFTA) หรือเขตการคาเสรีอื่นๆใน

บางมุมมองก็เปนอุปสรรค ทําใหการคาภายในอาเซียนเปนไปโดยเสรี โดยปราศจากการกีดกันที่ไมใชภาษี
สงผลใหสินคาเกษตรของประเทศอ่ืนในกลุมสมาชิกที่นําเขามีราคาลดลง ทําใหสินคาเกษตรของไทยซ่ึงมี

54

ตนทุนสูงกวาไดรับผลกระทบ รวมท้ังยังทําใหราคาผลผลิตในประเทศลดลงเพื่อสูกับราคาผลผลิตของ
ตางประเทศท่มี ีราคาตํา่ กวา

๒ การสงออกผลผลิตทางการเกษตรประสบปญหาจากการใชมาตรการท่ีไมใชภาษี (Non-Tariff
Barriers: NTB) เปนเคร่ืองมือในการปกปองการนําเขาสินคามากขึ้น โดยเฉพาะมาตรการดานสุขอนามัยและ
สุขอนามัยพืช (Sanitary and Phytosanitary Standard: SPS)

๓. ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ ภาวะโลกรอนทําใหเกิดปญหาภัยธรรมชาติ เชน ภัยแลง นํ้า
ทว ม ฤดูกาลเปล่ียนแปลง โรคแมลงระบาด ซงึ่ สง ผลตอการผลติ สินคา เกษตรคอนขางสูง

๔. การแพรระบาดของโรคไวรสั โคโรนา โควิด ๑๙ สงผลใหก ารสงออกสินคาเกษตรและเศรษฐกิจโลก
ชะลอตัว

5. สภาวะเศรษฐกจิ โลกชะลอตัวอยางตอเนือ่ ง โดยเฉพาะในประเทศไทย สหรฐั อเมริกาและประเทศ
ในสหภาพยโุ รป ซ่งึ เปนผูซ ือ้ รายใหญอาจสงผลตอการส่งั ซอื้ สนิ คาเกษตรในอนาคต

6. การเปล่ียนแปลงของสภาพอากาศโลกและการขาดสมดุลในระบบนิเวศนท าํ ใหเกดิ การ ระบาดของ
โรคพชื แมลง ซึ่งเปนศัตรพู ชื เพ่ิมขน้ึ

7. ราคาสนิ คาเกษตรในตลาดโลกไมม ีเสถียรภาพ ทําใหร าคาสนิ คาเกษตร ในประเทศผนั ผวน เชน
ราคาขาว มนั สาํ ปะหลัง

8. ปจจยั การผลติ ภาคการเกษตรมีราคาสูงและไมมีคณุ ภาพ เชน พนั ธุข า ว เมล็ดพนั ธุ ปยุ ยากาํ จัด
ศตั รพู ืช ทําใหตน ทุนการผลติ สงู ข้ึน และเกษตรกรยังยึดตดิ กบั การพึ่งพาเกษตร เคมีมากกวา เกษตรอนิ ทรยี 

55

สว นที่ 3 ทิศทางการพัฒนาดานการเกษตรของจังหวดั

3.1 วิสัยทศั น (Vision)

เปนแหลงผลิตสินคา เกษตรปลอดภัย โดยใชเ ทคโนโลยีเพิ่มประสทิ ธภิ าพการผลติ เครือขาย
องคกรเกษตรกรเขมแข็ง

3.2 พันธกจิ (Misson)

3.2.1.สงเสริมการเพ่ิมผลผลิตทางการเกษตรที่มคี ุณภาพและปลอดภยั ตลอดจนเพ่มิ มลู คา
ของผลผลติ ทางการเกษตรแบบครบวงจร

3.2.2.สง เสริมการคุมครองพื้นทีเ่ กษตรกรรม สทิ ธเิ กษตรกร ตลอดจนการแกป ญหาดิน น้ํา
และท่ดี นิ เพื่อการเกษตรกรรม

3.2.3.สง เสรมิ การพฒั นาศักยภาพ และการรวมกลมุ เกษตรกร องคกรเกษตรกร ตามแนว
ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง เพื่อใหเกษตรกรมีความมัน่ คงในอาชพี และสรา งความเปน ธรรมดานราคา

3.2.4.พฒั นาและเชื่อมโยงเครือขายเพอ่ื เพ่มิ ขีดความสามารถในการบริหารจัดการ การแปร
รูป การตลาดผลผลติ ทางการเกษตรอยางมีประสทิ ธิภาพ

3.2.5.สนับสนุนสงเสริมภมู ิปญ ญาทอ งถ่นิ การศึกษา วิจัยและพฒั นา การถา ยทอดเทคโนโลยี
ดานการเกษตร ตลอดจนการนาํ ไปใชประโยชนอยางเปน รูปธรรม

3.2.6.รกั ษาและฟน ฟูทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ มใหม ีความอุดมสมบรู ณ และรักษา
สมดุลของระบบนิเวศนอยา งย่ังยนื

3.3 เปา ประสงคหลกั

3.3.1.ผลผลติ ทางการเกษตรของจงั หวัดกําแพงเพชรมีคุณภาพปลอดภัย มีปริมาณและราคา
ที่เหมาะสม เปน ธรรม

3.3.2.เกษตรกรไดร ับการคุมครองพน้ื ท่ีเกษตรกรรม สิทธิเกษตรกร ตลอดจนปญหาดิน นา้ํ
และที่ดินเพ่อื การเกษตรไดรับการแกไขอยางเปน รูปธรรมและตอ เนื่อง

3.3.3.การรวมกลุมของเกษตรกรมคี วามเขม แขง็ เกษตรกรนอ มนําแนวทางปรชั ญาเศรษฐกจิ
พอเพียงเพ่ือสรางความมัน่ คงในอาชพี และความสุขอยางย่งั ยืน

3.3.4.เกษตรกรและเครือขา ยท่ีเก่ียวของกับการเกษตรมีขีดความสามารถในการบริหาร
จัดการ การแปรรปู การตลาดผลผลติ ทางการเกษตรอยางมีประสทิ ธภิ าพ

3.3.5.ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอมของจังหวัดกําแพงเพชรมีความอดุ มสมบูรณ เกดิ
ความสมดลุ ของระบบนเิ วศอยา งย่งั ยืน

๕๖

3.4 ยทุ ธศาสตรก ารพฒั นาเกษตรกรรม

การพฒั นาเกษตรกรรมของจงั หวดั กาํ แพงเพชร มุง เนนใหความสําคัญกับความม่ันคงในอาชีพ
และการมีรายไดเพม่ิ มากขึน้ การเพ่ิมผลผลิต การฟนฟูทรัพยากรการเกษตร ดิน นํ้า การสรางความสมดุลของ
ระบบนิเวศน และการวิจัยและพฒั นาเพื่อการเกษตร พรอมท้ังการแกไขปญหาดา นหน้ีสิน และการเขาถึงแหลง
ทุน ซึ่งจากแบบสํารวจปญหาความตองการ และขอเสนอแนวทางพัฒนาของเกษตรกรตามสาระสําคัญ ของ
แผนแมบทเพ่ือพัฒนาเกษตรกรรมในพระราชบัญญัติสภาเกษตรกรแหงชาติ พ.ศ. 2553 มาตรา 41 จึงได
กาํ หนดยุทธศาสตรก ารพฒั นาเกษตรกรรมจงั หวดั กําแพงเพชร ในชว งระยะเวลา ป 2556 - 2559 ดังน้ี

1) ยทุ ธศาสตร การสงเสริมและคุมครองสิทธใิ นท่ดี นิ เพื่อประกอบอาชีพเกษตรกรรมของเกษตรกร
2) ยุทธศาสตร การเพ่ิมรายไดภ าคการเกษตร
3) ยุทธศาสตร การแกไขปญ หาหนี้สิน และการบริหารจดั การกองทนุ ดา นการเกษตร
4) การอนุรักษ การฟน ฟู และการใชป ระโยชนจากทรพั ยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอมและความ
หลากหลายทางชวี ภาพเพ่ือการเกษตร
5) ยทุ ธศาสตร การพัฒนาแหลง นํ้าและจดั ระบบชลประทานเพอ่ื เกษตรกรรม

๕๗

ช่ือประเด็นการพฒั นา/ยทุ ธศาสตร ท่ี 1 การสง เสริมและคมุ ครองสทิ ธิในทด่ี ิน
เพอื่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรมของเกษตรกร

1) สอดคลองกับสาระสําคญั ของแผนแมบทเพือ่ พัฒนาเกษตรกรรม
1 .1) การสงเสริมการพฒั นาการคุมครองพ้ืนที่เกษตรกรรมและการแกไขปญหาดินและท่ีดิน

โดยสงเสริมและคุมครองสิทธิเกษตรกรใหมีกรรมสิทธิหรือสิทธิในท่ีดินเพื่อประกอบเกษตรกรรมของตนเอง
ทวั่ ถึง

2) ประเดน็ การพฒั นา
2.1 ลดความซาํ้ ซอนประเภทของสารสทิ ธิท์ ่ดี ินของรัฐโดยควบรวมทดี่ นิ ของรัฐใหเ หลือ

ประเภทเดียว
2.2 การกําหนดขอบเขตพน้ื ทด่ี ินของรัฐใหชัดเจน (One map)
2.3 กาํ หนดแปลงผอนปรนของเกษตรในท่ีดินของรัฐทห่ี มดสภาพปา
2.4 เรงรดั โดยการจัดสรรท่ีดินทํากนิ (คทช.) ใหแลว เสรจ็ โดยเรว็ และทั่วถึง
2.5 สงเสรมิ และฟน ฟูที่ดินใหมคี วามอุดมสมบรู ณ ย่ิงขนึ้
2.6 ประชาสมั พันธ และช้ีแจงกฎหมายเกย่ี วกับท่ีดนิ ใหป ระชาชนรับทราบอยา งทัว่ ถงึ

3) เปา ประสงค
3.๑ เกษตรกรที่ทํากนิ ในพ้ืนท่ีไมมเี อกสารสิทธิ์ ไดร ับการคุมครองสทิ ธิทาํ กนิ และไดร ับความ

ชวยเหลอื ตามนโยบายรัฐ
3.๒ เกษตรกรท่ีไมมีที่ดินทํากิน มีโอกาสเขาถึงทรัพยากรท่ีดินโดยมีสิทธิทํากิน ในรูปแบบท่ี

เหมาะสม
3.๓ เกษตรกรมีการบริหารจัดการทดี่ นิ ที่เหมาะสม

4) ตวั ชี้วัด/คาเปา หมาย
เกษตรกรมีท่ีดินทํากินโดยมสี ิทธิทํากิน และการบริหารจดั การที่เหมาะสมไมต ํ่ากวา รอยละ ๖๐

๕๘

ชือ่ ประเดน็ การพฒั นา/ ยุทธศาสตรท่ี 2 การเพิม่ รายไดภ าคการเกษตร

1) สอดคลองกับสาระสาํ คัญของแผนแมบทเพอ่ื พฒั นาเกษตรกรรม
1.1) การสรางความเปนธรรมดานราคาผลผลิตทางเกษตรกรรมโดยคํานึงถึงการสงเสริมให

สนิ คา เกษตรไดร บั ผลตอบแทนสูงสุด

2) ประเด็นการพัฒนา
2.1 การสง เสรมิ การใชนวตั กรรม และเทคโนโลยีดิจทิ ัลเพอื่ เพมิ่ ผลผลิต
2.2 สง เสรมิ การผลิตและใชส ารอินทรยี ช วี ภาพ เพ่อื ทดแทนสารเคมเี พ่ือลดตนทุนการผลิต
2.3 กําหนดใหราคาปจจัยการผลิตการเกษตร เปนสินคาควบคุมราคาโดยรัฐบาลเปนผู

กําหนดราคาช้ีนําตลาด
2.4 สงเสริมการใชพ ันธุพชื ปศสุ ตั ว ประมง ท่ใี หผลผลติ สงู
2.5 สงเสริมการนําผลงานวิจัย และคนควาจากสถาบันการศึกษาและหนวยงานของรัฐที่

เก่ียวของสูแปลงนาของเกษตรกร
2.6 สงเสริมใหสหกรณ สถาบันเกษตรกร องคกรเกษตรกร เปนผูจําหนายปจจัย

การผลิตราคาถกู
2.7 ปรบั โครงสรางการประกอบอาชพี การเกษตรท่หี ลากหลาย ตลาดมคี วามตองการ
2.8 สงเสริมและเพ่มิ ชองทางการจําหนายสนิ คา เกษตรดว ยระบบออนไลน
2.9 สงเสริมการทําการเกษตรที่ปลอดภัย เพื่อมุงสูเกษตรอินทรีย ดวยระบบเกษตร

มสี ว นรว ม (PGS)

3) เปาประสงค
3.1 เกษตรกรสามารถลดตนทุน เพ่ิมผลผลิตและคุณภาพความปลอดภัยของผลผลิตและ

สามารถกระจายการเก็บเกี่ยว ผลผลิตออกสูตลาดอยางเหมาะสม เพ่ือใหเกิดเสถียรภาพเชิงปริมาณ มีผลผลิต
ในตลาดอยางเหมาะสม เพ่ือใหเ กิดเสถยี รภาพเชงิ ปริมาณ มีผลผลิตในตลาดเหมาะสม ไมมาก หรือนอยเกินไป
ในแตล ะชว งระยะเวลา

3.๒ เกษตรกรสามารถแปรรปู ผลผลิต เพ่ือสรางมูลคาเพ่ิม และมีชองทางการตลาด จําหนาย
ผลติ ภณั ฑแ ปรรูปในระดับราคาทีส่ ุงขึ้น มีรายไดเพิ่มข้ึน โดยปรับเปลี่ยนจากการทําการเกษตรท่ีขายผลผลิตใน
รูปวัตถุดิบท่ีไดราคาต่ํา เปนการทําเกษตรอุตสาหกรรม ที่มีการเชื่อมโยงต้ังแตการผลิต การแปรรูป จนถึง
การตลาด อยา งครบวงจร

3.3. คุมครองและรักษาภูมิปญญาทางการเกษตร พันธุกรรมพืชและพันธุกรรมสัตวทองถิ่น
ใหคงอยูเปนสมบัติของประเทศไทยตลอดไป ปองกันไมใหชาวตางชาติฉวยโอกาส นําไปใชประโยชนในเชิง
พาณิชย

3.4.ทบทวนทศิ ทางการวิจัยดานการเกษตรใหสามารถ ตอบสนองความไดเปรียบในการผลิต
เพื่อการแขง ขันของสินคา เกษตรไทยสูตลาดโลก

3.5. ถายทอดเทคโนโลยีเพื่อเพ่ิมคุณภาพประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตรและเกษตร
อตุ สาหกรรม

3.6.กลุม/องคกรเกษตรในพ้ืนที่มีความเขมแข็ง สามารถดําเนินกิจกรรมพัฒนาแกไขปญหา
ดานการเกษตร แกเ กษตรสมาชกิ ตอเนือ่ ง ในแนวราบรวมกับภาคภี าคสว นตา งๆ

๕๙

3.7. มีการเช่ือมโยงเครือขายกลุม/องคกรเกษตรกรรายสินคาเกษตรในแนวต้ังจากระดับ
หมบู า นสอู ําเภอ จงั หวดั อาํ เภอ จงั หวดั และระดับชาติ

4)ตวั ชี้วัด/คา เปาหมาย
4.๑ ตนทนุ การผลิตทีล่ ดลง การผลติ ภาพการผลติ และคุณภาพความปลอดภัยของผลผลิตท่ี

เพ่มิ ขึ้น
4.๒ สนิ คาเกษตรและผลิตภณั ฑก ารเกษตรท่มี ีศักยภาพ อาทิ ขาว ยางพารา ปาลมนํ้ามัน มัน

สาํ ปะหลงั หลงั โรงงาน ออยโรงงาน และขาวโพดเล้ียงสัตว ไดรับการพัฒนาสูระบบเกษตรอุตสาหกรรมท่ีมีการ
ดาํ เนนิ งานเชื่อมโยงเปนระบบครบวงจร ตัง้ แตการผลติ การแปรรูป จนถึงการตลาด

4.3 มูลคาสนิ คา เกษตรและผลติ ภณั ฑเพิ่มข้นึ
4.4รอยละของผลงานวิจัยภาครัฐดานการเกษตร ถูกนําไปสูการปฏิบัติจริงบังเกิดผลเปน
รูปธรรม
4.5.มีการจัดตั้งกลุม/องคกรเกษตรกรรายชนิดสินคาเกษตรระดับหมูบานหรือตําบลหรือ
อําเภอ ไดไมตํ่ากวา รอยละ 70 ของเปา หมาย

๖๐

ชอื่ ประเด็นการพัฒนา/ยุทธศาสตรท่ี 3 การแกไ ขปญหาหนีส้ นิ
และการบริหารจดั การกองทนุ ดา นการเกษตร

1) สอดคลองกับสาระสาํ คญั ของแผนแมบทเพอ่ื พฒั นาเกษตรกรรม
1.1)การเสนอแนะแนวทางในการเขา ถึงแหลง ทนุ และแนวการแกไขปญหาหน้สี ินของ

เกษตรกร
2) ประเด็นการพฒั นา
2.1 การสงเสริมใหเกษตรกร ดํารงชีวิตโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยการสราง

ชุมชนเขม แขง็ สามารถแกไขปญหาของตนเองได เสรมิ สรางวนิ ยั ความซ่ือสตั ว ความมีคณุ ธรรม
2.2 การเพ่มิ ชองทาง และปญหาเกษตรเขาถงึ แหลง เงินทุนดอกเบ้ียตํ่า ตางๆ ไดแก กองทุน

ปรบั โครงสรา งการผลิต (FTA) กองทุนฟนฟแู ละพฒั นาเกษตรกรรม และกองทุนชวยเหลือเกษตรกร
2.3 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนเพ่ือการเกษตรในพื้นที่ ใหเกิดความเปน

ธรรม โปรงใส และมีประสทิ ธิภาพมากท่ีสุด
3 ) เปา ประสงค
3.1 เกษตรกรรายยอ ยสามารถแกไขปญ หาหนสี้ ินโดยพึ่งพาตนเอง
3.2 เกษตรกรและกลุม/องคกรเกษตรกรมีโอกาสเขาถงึ แหลงทุน
3.3 เกษตรกรมีกองทุนใหความชวยเหลือตามความตองการ อยางเบ็ดเสร็จครบวงจรและมี

เงื่อนไขขนั้ ตอน วธิ ีการทเี่ อ้ืออํานวยใหเกษตรกร เขา ถึงกองทนุ ดังกลาว โดยสะดวกรวดเร็ว อยา งทั่วถึง
4)ตัวช้ีวัด/คา เปาหมาย
4.1 เกษตรกรรายยอยมีหน้ีสินนอกระบบลดลง และเขารวมกลุมในองคกรเกษตรกรไมตํ่า

กวา รอ ยละ 50 องคกรเกษตรกรเขาถงึ แหลงทนุ เพิ่มขน้ึ ไมต ํ่ากวา รอยละ 50
4.2 มีกองทนุ ท่ีสามารถใหการชว ยเหลือเกษตรกรไดอยางมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลใน

รายสนิ คา เกษตรท่ีมีความสําคัญในทางเศรษฐกจิ สงู อาทิ ขา ว ยางพารา ปาลมน้ํามัน มันสําปะหลังโรงงานและ
ออยโรงงาน

๖๑

ช่ือประเด็นการพัฒนา/ยทุ ธศาสตรท ี่ 4 การอนุรักษ การฟน ฟู และการใชประโยชนจาก
ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอมและความหลากหลายทางชวี ภาพเพื่อการเกษตร

1) สอดคลองกับสาระสําคญั ของแผนแมบ ทเพื่อพฒั นาเกษตรกรรม
1.1) การอนุรักษฟนฟูและการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมและ

ความหลากหลายทางชีวภาพเพ่ือการเกษตร

2) ประเดน็ การพัฒนา
2.1เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติสิง่ แวดลอ มและความหลากหลาย

ทางชีวภาพไมใ หเ กิดความเสียหายเพมิ่ มากขนึ้
2.2ฟน ฟูทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดลอมทเี่ สียหายใหฟน คนื สภาพ เพ่ือรักษาสมดุลของ

ระบบนเิ วศ
2.3 การสงเสริมและคุมครองสิทธิเกษตรกร และการเพิ่มสิทธิ และบทบาทของเกษตรกรที่

เกีย่ วขอ งกบั การทํากิน และการเขาถงึ แหลง ทรพั ยากรท่จี าํ เปน ตอการประกอบการเกษตร

3) เปา ประสงค
3.1 เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอมและความ

หลากหลายทางชีวภาพ ไมใหเกดิ ความเสียหายเพ่ิมมากขึน้
3.2 เพอ่ื ฟน ฟูทรัพยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอมท่เี สียหายใหฟน คืนสภาพ เพ่ือรักษาสมดุล

ของระบบนเิ วศ
3.3 เพ่ิมโอกาสของเกษตรกรในการไดรับสวัสดิการ เขาถึงทรัพยากรที่ดินทํากิน การเกษตร

แบบพันธะสัญญาไดร บั การคุมครอง และความรใู นการพทิ ักษสทิ ธิ์
3.4 เกษตรกรยากจนไดรบั การพฒั นาองคความรู และสนับสนุนสรางความเขมแข็ง ดานการ

ประกอบอาชพี เกษตรกรรมอยา งย่ังยืน

4) ตวั ชี้วัด/คาเปา หมาย
4.1 พื้นทป่ี าไมโ ดยเฉพาะผืนปาตน นํ้าลําธาร ไมถูกทาํ ลายเพ่ิมข้ึน
4.2 มพี ื้นทีป่ า ไมเพ่ิมขน้ึ ปล ะไมน อยกวารอยละ 10 และเพ่ิมพ้ืนท่ปี าชายเลนไมน อยกวา ปล ะ

5,000ไร
4.3 ลดการเนาเสียของน้ําในแมน ้าํ ลําคลอง และชายฝง ทะเล คณุ ภาพน้ําในแมน ํ้าลําคลองอยู

ในเกณฑท ด่ี ี ใชในการอปุ โภคได
4.4 จัดการกําจัดขยะ ตามหลักสุขาภิบาล ใหไดไมนอยกวารอยละ 70 และนํากลับมาใช

ใหมไ มน อ ยกวา รอ ยละ 30 ของปริมาณขยะที่เกดิ ข้นึ
4.5 มกี ารตราพระราชบญั ญัตกิ ารจัดสวสั ดิการ พ.ศ..............และพระราชบญั ญัตกิ ารสงเสริม

คุมครองและพฒั นาระบบเกษตรแบบพันธะสญั ญาท่ีเปน ธรรมพ.ศ.............. เพ่ือประโยชนข องเกษตรกร
4.6 มีรูปแบบตัวอยาง การดาํ เนินการในพื้นท่ี นํารองใหเกษตรกรในพ้ืนท่ีภูเขาสูง สามารถมี

ที่ดินทํากิน และรวมกับชุมชน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน หนวยงานที่เก่ียวของดูแลรักษาปาไม เพ่ือนําแนว
ทางการดาํ เนินการไปขยายผลตอ ไป

๖๒

4.7 รอยละ 70 ของเกษตรกรยากจน ที่เขารวมโครงการมีการปรับปรุงกิจกรรมเกษตรใน
ฟารม ท่ีทําอยูเดิม ไปสูเกษตรกรรมยั่งยืน และตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งสามารถเพ่ิมรายได ลด
รายจายช่ือ

๖๓

ประเด็นการพัฒนา/ยทุ ธศาสตรท ่ี 5 การพัฒนาแหลงนา้ํ และจัดระบบชลประทาน
เพอ่ื เกษตรกรรม

1) สอดคลองกับสาระสาํ คญั ของแผนแมบทเพื่อพัฒนาเกษตรกรรม
1.1) การพฒั นาแหลง น้ําและจัดระบบชลประทานเพ่ือเกษตรกรรม

2) ประเดน็ การพฒั นา
2.1 การพัฒนาแหลงนํ้าเพื่อเพิ่มพ้ืนท่ีชลประทาน โดยการพิจารณาสรางโครงการ

ชลประทานขนาดกลาง อางเก็บนํ้า และโครงการชลประทานขนาดเล็ก โดยเฉพาะในพ้ืนที่ฝงตะวันตกของ
จงั หวัด

2.2 สนับสนุนการบริหารจัดการนํ้าแบบมีสวนรวม มีการวางแผนการบริหารจัดการแบบมี
สวนรวม จดั ตัง้ กลมุ ผูใชนาํ้ วางแผนและจัดระบบเพาะปลกู พืชใหส ัมพนั ธก ับการจัดสรรนา้ํ

2.3 ปรับปรุงระบบสงน้ําเดิม และแหลงน้ําตามธรรมชาติ โดยการขุดลอกปรับปรุงซอมแซม
เทคอนกรตี คลองสง น้ํา เพื่อใหก ารสงน้ํามปี ระสทิ ธิภาพ

2.4 พัฒนาแหลงนํ้าในไรนา เพื่อเปนการเตรียมนํ้าใหเพียงพอ ในการทําการเกษตรตาม
ศกั ยภาพของพืน้ ท่ี

3) เปา ประสงค
3.1 ขยายพนื้ ทท่ี าํ การเกษตรในเขตชลประทานเพม่ิ ข้ึนจากปจจบุ นั
3.2 รปู แบบ วิธีการในการดาํ เนนิ การใหมอี า งนํา้ ขนาดตางๆ ตองเปนการผสมผสานทั้งขนาด

เล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ โดยการมีสวนรวมของเกษตรกร คณะกรรมการลุมน้ํา และองคการบริหาร
สวนทอ งถ่นิ บูรณาการความรวมมือจากทุกหนวยงานที่เก่ียวของ โดยยึดถือความสําเร็จตามเปาหมายในพื้นท่ี
เปน สําคัญ

3.3ใหก ารบริหารจดั การนํา้ เปน วาระแหง ชาติ และ/หรือจัดตั้งหนวยงานเพ่ือการบรหิ าร
จัดการนาํ้ อยางเบด็ เสร็จ

4)ตัวช้ีวดั /คาเปา หมาย
4.1 มพี นื้ ที่ทาํ การเกษตรในเขตชลประทานเพ่ิมขึน้ จากรอยละ 20
.2 มีหนวยงานเพื่อการบริหารจดั การนํา้ เพื่อการเกษตรอยางเบ็ดเสรจ็ โดยการมสี ว นรว มของ

เกษตรกร

๖๔

สวนที่ 4 ขอเสนอเชงิ นโยบายเพ่อื พฒั นาแกไ ขปญหาดา น
การเกษตรที่ไดจ ากการจัดทาํ แผนพัฒนาเกษตรกรรม
จงั หวัดกาํ แพงเพชร จาํ นวน 2 เรอื่ ง ดงั น้ี

1.ขอเสนอเพอื่ แกไ ขปญหาปจจัยการเกษตรมรี าคาแพง

สาระสําคญั ตามแผน สภาพปญ หา ขอเสนอ/แนวทางการ เปา หมาย หนว ยงาน
แมบทฯ (มาตรา41) แกไ ขปญ หา (พ้ืนท่/ี จํานวน
1.มีการปรับขน้ึ ราคาทุกๆป เชน เกษตรกร/ พาณชิ ยจังหวัด
1) เร่ืองการสรางความ ปยุ ยูเรยี เมือ่ ป พ.ศ.2563 1.กําหนดให ปุย ยา กลุม /องคกร กําแพงเพชร
เปนธรรมดา นราคา ราคาประมาณกระสอบละ สารเคมี เปนสนิ คา เกษตรกร
ผลผลติ ทางเกษตรกรรม 550 บาท แตป จจุบัน ราคา ควบคุมราคา มีมาตรฐาน จังหวัด
และสงเสรมิ ใหสินคา ประมาณ 820 บาท และคาด ราคา กาํ แพงเพชร
เกษตรไดร บั ผลตอบแทน วา ราคาจะสูงถงึ 1,000 บาท 2.สง เสรมิ และสนับสนุน
สงู สุด ในขณะท่รี าคาผลผลิตเทา เดิม ปุย ยา สารเคมี ราคาถกู
หรือ ต่าํ กวาเดมิ จาํ หนา ยใหเ กษตรกร
2.แตละรา นกาํ หนดราคาเอง ผา นสหกรณ , กลมุ
ตามใจเจา ของ ไมมเี กณฑราคา องคกรเกษตรกร
มาตรฐาน 3.ขอใหมกี ารฟน ฟู การ
3.มกี ารกกั ตุนสนิ คา (ปุย ยา ดําเนนิ งานของโรงงานปยุ
สารเคมี) ในชวงทีเ่ กษตรกรมี แหง ชาติ
ความตอ งการใชต ่ํา และนํา 4.สงเสรมิ ใหเกษตรกร
ออกมาขายในชว งทเ่ี กษตรกรมี ผสมปยุ ใชเ อง (หาซอ้ื แม
ความตองการสูงและขายใน ปยุ ไดง า ย และสะดวก)
ราคาทส่ี ูงอกี ดว ย 5.พาณชิ ยจ งั หวดั
4.สถานการณโ รคระบาดโควดิ ชว ยเหลอื เกษตรกรใน
19 สงผลใหส ินคาเกษตรใน ดานการกระจายสนิ คา
จังหวดั (เชน มะมวงน้าํ ดอกไมส ี ไปสูจังหวัด อ่ืนๆ
ทอง) ไมสามารถสงออกขายไป 6.สนับสนุนพนั ธุขา ว
ยงั ตางประเทศได ใหก ับเกษตรกร หรือ
5.พันธขุ า วมีราคาสูง แตราคา ควบคมุ ราคาพันธขุ าวให
ขายผลผลติ ตาํ่ ต่ําลง
7.สงเสรมิ การสงออก
ผลผลติ ดานการเกษตร

65



เขตความเหมาะสมสําหรับพืชเศรษฐกิจ ขาว ขาวโพดเลี้ยงสัตว ออยโรงงาน มันสําปะหลัง และ
ยางพารา
การจัดทําเขตความเหมาะสมสําหรับพืชเศรษฐกิจ โดยมีการกําหนดเขตความเหมาะสมสําหรับพืชเศรษฐกิจ
ออกเปน 4 ระดับ คือ

ระดับที่ 1 เขตเหมาะสมมาก (S1)
ระดบั ที่ 2 เขตเหมาะสมปานกลาง (S2)
ระดบั ท่ี 3 เขตเหมาะสมนอ ย (S3)
ระดบั ท่ี 4 เขตไมเหมาะสม (N)
และทําการจําแนกชั้นความเหมาะสมยอยลงไปอีก โดยระบุชนิดของขอจํากัดไวตอทายชั้นความ
เหมาะสม ชนิดของขอจํากัดหรือลักษณะของดินท่ีเปนอันตรายหรือทําความเสียหายกับพืชท่ีพบในดิน
ของจงั หวัดกําแพงเพชร ไดแก
1. เนื้อดิน (texture) หรือ ช้นั อนุภาคดนิ (particle size class) ใชต ัวยอ : s
2. หนิ พืน้ โผล (rockiness) ใชตัวยอ : r
3. อนั ตรายจากการถูกนา้ํ ทวม (flooding) ใชต วั ยอ : f
4. ความเสย่ี งตอ การขาดแคลนน้ํา (rick of moisture shortage) ใชตัวยอ : m
5. ความอุดมสมบรู ณของดิน (nutrient status) ใชตวั ยอ : n
6. การกรอนของดนิ (erosion) ใชตวั ยอ : e
7. ความหนาของชน้ั วัสดุดินอินทรีย (thickness of organic soil material) ใชต วั ยอ : o

66

ตาราง ๑ เขตความเหมาะสมของดินสาํ หรับปลกู ขา ว

จงั หวัด อําเภอ ระดบั ความเหมาะสม ขอจํากดั พื้นที่ (ไร) รอยละ
317,689 5.97
กําแพงเพชร โกสมั พนี คร N : เขตไมเหมาะสม S2fm
S2 : เหมาะสมปานกลาง S2m 4,005 0.08
S3m 15,417 0.29
S2 : เหมาะสมปานกลาง
S2m 70 0.00
S3 : เหมาะสมเลก็ นอ ย S3m 14,669 0.28
58,939 1.11
บึงสามัคคี N : เขตไมเหมาะสม S2fm 10,849 0.20
S1 : เหมาะสมมาก S2m 88,394 1.66
S3m 453,216 8.52
S2 : เหมาะสมปานกลาง S3r 12,772 0.24
3,981 0.07
S3 : เหมาะสมเล็กนอ ย S2fm 225,986 4.25
S2m 25,499 0.48
ขาณุวรลักษบุรี N : เขตไมเหมาะสม S3m 1,436 0.03
S1 : เหมาะสมมาก 152,088 2.86
S2m 94,604 1.78
S2 : เหมาะสมปานกลาง S3m 3,990 0.08
165,242 3.11
S2 : เหมาะสมปานกลาง 30,090 0.57
855,115 16.08
S3 : เหมาะสมเลก็ นอย 48,359 0.91
2,961 0.06
S3 : เหมาะสมเลก็ นอย

คลองขลุง N : เขตไมเ หมาะสม
S1 : เหมาะสมมาก

S2 : เหมาะสมปานกลาง

S2 : เหมาะสมปานกลาง

S3 : เหมาะสมเล็กนอย

คลองลาน N : เขตไมเหมาะสม
S2 : เหมาะสมปานกลาง

S3 : เหมาะสมเล็กนอ ย

67

จงั หวัด อาํ เภอ ระดับความเหมาะสม ขอ จาํ กดั พน้ื ท่ี (ไร) รอ ยละ

N : เขตไมเหมาะสม

ทรายทองวัฒนา 8,184 0.15
S1 : เหมาะสมมาก
93,912 1.77
S2 : เหมาะสมปานกลาง S2m 5,366 0.10
S3m 21,150 0.40
S3 : เหมาะสมเล็กนอย
88,783 1.67
ไทรงาม N : เขตไมเ หมาะสม
S1 : เหมาะสมมาก 96,392 1.81
S2fm 223 0.00
S2 : เหมาะสมปานกลาง S2m 133,243 2.50
S3m 20,970 0.39
S2 : เหมาะสมปานกลาง
415,144 7.80
S3 : เหมาะสมเล็กนอย S2m 53,949 1.01

ปางศลิ าทอง N : เขตไมเ หมาะสม 391,152 7.35
S2 : เหมาะสมปานกลาง
14,902 0.28
พรานกระตาย N : เขตไมเหมาะสม S2fm 8,318 0.16
S1 : เหมาะสมมาก S2m 188,900 3.55
S3m 2,018 0.04
S2 : เหมาะสมปานกลาง S3r 14,149 0.27

S2 : เหมาะสมปานกลาง 534,118 10.04

S3 : เหมาะสมเล็กนอย 104,354 1.96
S2fm 12,269 0.23
S3 : เหมาะสมเล็กนอ ย

เมืองกําแพงเพชร N : เขตไมเ หมาะสม
S1 : เหมาะสมมาก

S2 : เหมาะสมปานกลาง

68

จังหวดั อาํ เภอ ระดบั ความเหมาะสม ขอ จาํ กดั พ้นื ท่ี (ไร) รอ ยละ
S2m 193,902 3.65
S2 : เหมาะสมปานกลาง S3m 74,179 1.39
S3r
S3 : เหมาะสมเลก็ นอย 3,645 0.07
S2fm 112,563 2.12
S3 : เหมาะสมเลก็ นอ ย S2m
9,973 0.19
ลานกระบอื N : เขตไมเ หมาะสม 132,183 2.48
S2 : เหมาะสมปานกลาง 5,319,312 100

S2 : เหมาะสมปานกลาง

รวมพืน้ ที่

ทม่ี า: สถานีพัฒนาท่ดี นิ กําแพงเพชร

ตาราง 2 เขตความเหมาะสมของดนิ สาํ หรบั ปลกู มนั สําปะหลัง

จงั หวดั อาํ เภอ ระดับความเหมาะสม ขอ จํากัด พนื้ ท่ี (ไร) รอ ยละ

กาํ แพงเพชร โกสัมพีนคร N : เขตไมเหมาะสม S2ns 20,906 0.39
S1 : เขตเหมาะสมมาก S2rns
S2sne 37,546 0.71
S2sner
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S3m 2,484 0.05
S3r
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S3re 20,401 0.38

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2ns 2,121 0.04
S2rns
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2sne 6,909 0.13

S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอ ย 480 0.01

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอ ย 48,722 0.92

S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอ ย 197,611 3.72

ขาณุวรลักษบุรี N : เขตไมเหมาะสม 259,615 4.88
S1 : เขตเหมาะสมมาก
187,215 3.52

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง 55,255 1.04

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง 11,158 0.21

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง 3,454 0.06

69

จังหวดั อําเภอ ระดับความเหมาะสม ขอจํากดั พืน้ ท่ี (ไร) รอ ยละ

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2sner 157 0.00
S3m
S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอย S3r 38,675 0.73
S3re
S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอ ย 142,745 2.68
S2ns
S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอย S2rns 24,618 0.46
S3m
คลองขลงุ N : เขตไมเหมาะสม S3r 267,553 5.03
S1 : เขตเหมาะสมมาก
S2ns 131,390 2.47
S2rns
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2sne 26,380 0.50
S2sner
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S3m 15,781 0.30
S3r
S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอย S3re 4,657 0.09

S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอย S3m 253 0.00

คลองลาน N : เขตไมเหมาะสม 77,346 1.45
S1 : เขตเหมาะสมมาก
63,263 1.19

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง 2,643 0.05

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง 75,938 1.43

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง 17,826 0.34

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง 1,075 0.02

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอย 661 0.01

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอย 43,870 0.82

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอย 623,811 11.73

ทรายทองวฒั นา N : เขตไมเ หมาะสม 99,307 1.87
27,090 0.51
S1 : เขตเหมาะสมมาก

S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอย 2,216 0.04
230,577 4.34
ไทรงาม N : เขตไมเ หมาะสม 96,878 1.82

S1 : เขตเหมาะสมมาก

70

จงั หวดั อําเภอ ระดบั ความเหมาะสม ขอ จํากัด พ้ืนท่ี (ไร) รอ ยละ
12,233 0.23
S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอ ย S3m 70,146 1.32
102,444 1.93
บงึ สามคั คี N : เขตไมเหมาะสม S3m 261 0.00
56,719 1.07
S1 : เขตเหมาะสมมาก S2ns 38,401 0.72
S2rens 7,967 0.15
S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอ ย S2rns
S2sne 11 0.00
ปางศลิ าทอง N : เขตไมเหมาะสม S2sner 27,092 0.51
S1 : เขตเหมาะสมมาก S3m 2,727 0.05
149 0.00
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S3r 2,433 0.05
S3re 43,569 0.82
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง 290,027 5.45
S2ns 224,201 4.22
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2rens 74,281 1.40
S2rns 1,494 0.03
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2sner 295 0.01
S3m 11,916 0.22
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง 1,905 0.04
S3r 18,101 0.34
S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอ ย S3rm 55,922 1.05
231,601 4.35
S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอ ย 320,727 6.03

S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอ ย

พรานกระตา ย N : เขตไมเ หมาะสม

S1 : เขตเหมาะสมมาก

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอย

S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอย

S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอย

เมอื งกาํ แพงเพชร N : เขตไมเ หมาะสม

71

จังหวดั อําเภอ ระดับความเหมาะสม ขอจาํ กดั พนื้ ท่ี (ไร) รอยละ
224,900 4.23
S1 : เขตเหมาะสมมาก S2ns 23,943 0.45
S2rens 3,465 0.07
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2rns 84,203 1.58
S2sne 2,923 0.05
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2sner 2,728 0.05
S3em 1,731 0.03
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S3m 25,776 0.48
S3mr
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง 441 0.01
S3r 140,916 2.65
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S3re
S3rm 474 0.01
S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอย 90,250 1.70
S3m 142,509 2.68
S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอ ย 110,008 2.07
1,154 0.02
S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอย 5,318,630 100

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอย

S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอ ย

S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอ ย

ลานกระบอื N : เขตไมเหมาะสม
S1 : เขตเหมาะสมมาก

S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอย

รวมพนื้ ที่

ทม่ี า: สถานีพฒั นาทด่ี ินกําแพงเพชร

ตาราง 3 เขตความเหมาะสมของดนิ สําหรับปลูกออย

จังหวดั อําเภอ ระดับความเหมาะสม ขอ จํากัด พื้นท่ี (ไร) รอ ยละ

กาํ แพงเพชร โกสัมพนี คร N : เขตไมเ หมาะสม S2m 19,232 0.36
S1 : เขตเหมาะสมมาก S2mns
S2ns 18,706 0.35

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง 1,235 0.02
12,674 0.24
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง 7,407 0.14

72

จงั หวัด อําเภอ ระดบั ความเหมาะสม ขอจํากัด พ้ืนที่ (ไร) รอยละ

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2omns 27 0.00

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2ons 874 0.02

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2rns 19,368 0.36

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2rnse 2,334 0.04

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2rnsm 1,041 0.02

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2rnsme 6,698 0.13

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอย S3m 481 0.01

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอ ย S3o 775 0.01

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอย S3r 48,703 0.92

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอย S3re 197,626 3.72

ขาณุวรลักษบุรี N : เขตไมเ หมาะสม 237,854 4.47

S1 : เขตเหมาะสมมาก 82,401 1.55

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2ens 3,446 0.06

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2mns 12,559 0.24

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2ns 160,177 3.01

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2omns 2,401 0.05

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2ons 5,488 0.10

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2rmns 1,473 0.03

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2rms 9,699 0.18

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2rnse 165 0.00

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอ ย S3m 38,680 0.73

S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอย S3o 821 0.02

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอ ย S3ons 357 0.01

S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอย S3r 142,741 2.68

73

จังหวดั อาํ เภอ ระดบั ความเหมาะสม ขอ จํากัด พืน้ ท่ี (ไร) รอ ยละ

S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอ ย S3re 24,629 0.46

คลองขลงุ N : เขตไมเ หมาะสม 165,274 3.11

S1 : เขตเหมาะสมมาก 214,368 4.03

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2ns 38,949 0.73

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2ons 5,686 0.11

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2rns 15,775 0.30

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอย S3m 4,135 0.08

S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอ ย S3o 1,428 0.03

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอย S3ons 145 0.00

S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอ ย S3r 253 0.01

คลองลาน N : เขตไมเหมาะสม 74,922 1.41

S1 : เขตเหมาะสมมาก 57,969 1.09

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2ens 16,750 0.31

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2ns 7,943 0.15

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2ons 2,439 0.05

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2rns 77,584 1.46

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2rnse 503 0.01

S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอย S3m 662 0.01

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอย S3r 43,862 0.82

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอ ย S3re 623,800 11.73

ทรายทองวฒั นา N : เขตไมเหมาะสม 3,638 0.07

S1 : เขตเหมาะสมมาก 121,052 2.28

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2ons 1,456 0.03

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอย S3m 2,178 0.04

74

จังหวดั อําเภอ ระดบั ความเหมาะสม ขอ จาํ กดั พน้ื ท่ี (ไร) รอยละ

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอ ย S3o 290 0.01

ไทรงาม N : เขตไมเหมาะสม 127,176 2.39

S1 : เขตเหมาะสมมาก 203,482 3.83

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2ons 4,780 0.09

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอ ย S3m 2,064 0.04

S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอ ย S3o 2,184 0.04

บึงสามัคคี N : เขตไมเ หมาะสม 10,060 0.19

S1 : เขตเหมาะสมมาก 161,615 3.04

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2mns 193 0.00

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2ons 925 0.02

S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอย S3ons 58 0.00

ปางศลิ าทอง N : เขตไมเหมาะสม 51,553 0.97

S1 : เขตเหมาะสมมาก 36,932 0.69

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2ens 2,731 0.05

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2ns 9,450 0.18

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2ons 5,000 0.09

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2rns 27,078 0.51

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2rnse 159 0.00

S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอย S3m 2,433 0.05

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอย S3o 174 0.00

S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอ ย S3r 43,565 0.82

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอ ย S3re 290,018 5.45

พรานกระตาย N : เขตไมเหมาะสม 200,661 3.77

S1 : เขตเหมาะสมมาก 86,849 1.63

75

จังหวดั อาํ เภอ ระดบั ความเหมาะสม ขอจํากดั พืน้ ที่ (ไร) รอยละ

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2mns 1,080 0.02

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2ns 3,645 0.07

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2ons 6,798 0.13

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2rmnse 1,174 0.02

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2rns 11,848 0.22

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2rnse 152 0.00

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2rnsme 875 0.02

S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอย S3m 17,196 0.32

S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอย S3o 2,092 0.04

S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอย S3r 287,346 5.40

เมืองกาํ แพงเพชร N : เขตไมเ หมาะสม 199,792 3.76

S1 : เขตเหมาะสมมาก 315,236 5.93

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2ens 2,919 0.05

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2ns 46,362 0.87

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2ons 11,215 0.21

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2r 53 0.00

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2rns 84,239 1.58

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2rnse 6,191 0.12

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอย S3m 19,749 0.37

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอย S3o 4,006 0.08

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอย S3ons 727 0.01

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอ ย S3r 142,946 2.69

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอย S3re 89,044 1.67

ลานกระบือ N : เขตไมเ หมาะสม 129,894 2.44

76

จงั หวัด อําเภอ ระดบั ความเหมาะสม ขอจํากดั พน้ื ที่ (ไร) รอ ยละ
110,010 2.07
S1 : เขตเหมาะสมมาก 11,096 0.21
1,059 0.02
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2ons 1,288 0.02

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอย S3m 324 0.01
5,318,629 100
S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอย S3o
พน้ื ท่ี (ไร) รอ ยละ
S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอ ย S3ons 138,640 2.61
18,117 0.34
รวมเนือ้ ท่ี 5,070 0.10
21,625 0.41
ท่มี า: สถานพี ฒั นาท่ดี นิ กาํ แพงเพชร 14,936 0.28
18,294 0.34
ตาราง 4 เขตความเหมาะสมของดินสาํ หรับปลกู ขา วโพดเล้ียงสตั ว 2,874 0.05

จงั หวดั อาํ เภอ ระดับความเหมาะสม ขอจาํ กดั 377 0.01
21,455 0.40
กาํ แพงเพชร โกสมั พนี คร N : เขตไมเ หมาะสม 5,997 0.11
S1 : เขตเหมาะสมมาก 89,800 1.69
70,217 1.32
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2e 100,462 1.89
2,172 0.04
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2m 267,768 5.03

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2mer

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2mr

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2r

S3 : เหมาะสมเลก็ นอ ย S3e

S3 : เหมาะสมเลก็ นอ ย S3er

S3 : เหมาะสมเลก็ นอ ย S3m

S3 : เหมาะสมเลก็ นอย S3r

บึงสามคั คี N : เขตไมเหมาะสม
S1 : เขตเหมาะสมมาก

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2m

ขาณวุ รลักษบรุ ี N : เขตไมเหมาะสม

77

จังหวดั อําเภอ ระดับความเหมาะสม ขอ จํากดั พ้นื ที่ (ไร) รอ ยละ
S1 : เขตเหมาะสมมาก 67,726 1.27
คลองขลงุ S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2m 167,651 3.15
คลองลาน S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2mer 165 0.00
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2mr 8,993 0.17
S3 : เหมาะสมเล็กนอย S3er 4,136 0.08
S3 : เหมาะสมเลก็ นอ ย S3m 54,310 1.02
S3 : เหมาะสมเลก็ นอ ย S3r 152,142 2.86
N : เขตไมเหมาะสม 267,628 5.03
S1 : เขตเหมาะสมมาก S2m 76,971 1.45
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S3m 100,830 1.90
S3 : เหมาะสมเล็กนอ ย S3r 331 0.01
S3 : เหมาะสมเล็กนอ ย 253 0.00
N : เขตไมเหมาะสม S2e 634,996 11.94
S1 : เขตเหมาะสมมาก S2m 22,367 0.42
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2me 400 0.01
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2mer 121,219 2.28
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2mr 417 0.01
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2r 503 0.01
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S3e 11,051 0.21
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S3er 846 0.02
S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอ ย S3m 4,048 0.08
S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอ ย S3r 27,929 0.53
S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอย 20,789 0.39
S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอ ย 61,868 1.16

78

จังหวดั อําเภอ ระดับความเหมาะสม ขอ จาํ กัด พื้นที่ (ไร) รอ ยละ
99,273 1.87
ทรายทองวัฒนา N : เขตไมเหมาะสม S2m 26,132 0.49
S3m
S1 : เขตเหมาะสมมาก 994 0.02
S2m 2213 0.04
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S3m 230,495 4.33
99,993 1.88
S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอ ย S2m 7,061 0.13
S2me 2,064 0.04
ไทรงาม N : เขตไมเหมาะสม S2mr 298,267 5.61
S1 : เขตเหมาะสมมาก S3er 23,560 0.44
S3m 50,454 0.95
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S3r 165 0.00
6,110 0.11
S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอ ย S2e 26,698 0.50
S2er 2,425 0.05
ปางศิลาทอง N : เขตไมเ หมาะสม S2m 61,413 1.15
S2me 271,898 5.11
S1 : เขตเหมาะสมมาก S2mr 65,199 1.23
S2r 14,763 0.28
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง 5,546 0.10
15,777 0.30
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง 978 0.02
14,022 0.26
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง 5,303 0.10

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอย

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอ ย

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอ ย

พรานกระตาย N : เขตไมเหมาะสม

S1 : เขตเหมาะสมมาก

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง

79

จังหวัด อาํ เภอ ระดับความเหมาะสม ขอ จํากัด พน้ื ท่ี (ไร) รอยละ
12,847 0.24
S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอ ย S3er 69,142 1.30
S3m 143,963 2.71
S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอย S3r 344,192 6.47
179,135 3.37
S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอ ย S2m 139,392 2.62
S2me 6,184 0.12
เมอื งกําแพงเพชร N : เขตไมเหมาะสม S2mr 12,787 0.24
S1 : เขตเหมาะสมมาก S2r 7,142 0.13
S3er 12,384 0.23
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S3m 56,742 1.07
S3r 164,509 3.09
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง 143,374 2.70
S2m 103,423 1.94
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S3m 6,868 0.13
1,055 0.02
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง 5,319,315 100

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอ ย

S3 : เขตเหมาะสมเล็กนอ ย

S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอ ย

ลานกระบอื N : เขตไมเ หมาะสม
S1 : เขตเหมาะสมมาก

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง

S3 : เขตเหมาะสมเลก็ นอ ย

รวมพน้ื ท่ี

ท่มี า : สถานพี ฒั นาที่ดนิ กําแพงเพชร

ตาราง 5 เขตความเหมาะสมของดนิ สําหรับปลูกยางพารา

จังหวัด อําเภอ ระดบั ความเหมาะสม ขอจาํ กัด พื้นที่ (ไร) รอยละ
19,344 0.36
กําแพงเพชร โกสัมพีนคร N : เขตไมเ หมาะสม S2m 20,411 0.38
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2mns 17,194 0.32
S2rmns 29,434 0.55
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง

80

จงั หวัด อาํ เภอ ระดบั ความเหมาะสม ขอ จํากดั พ้ืนท่ี (ไร) รอยละ
S3 : เหมาะสมเล็กนอย 2,992 0.06
S3 : เหมาะสมเลก็ นอ ย S3m 49,156 0.92
S3 : เหมาะสมเลก็ นอ ย S3r 198,652 3.74
S3re 240,601 4.52
ขาณวุ รลักษบุรี N : เขตไมเ หมาะสม 70,761 1.33
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2m 130,321 2.45
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2mns 11,341 0.21
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2rmns 102,043 1.92
S3 : เหมาะสมเล็กนอ ย S3m 167,824 3.16
S3 : เหมาะสมเลก็ นอย
S3r 255,758 4.81
คลองขลงุ N : เขตไมเ หมาะสม 91,774 1.73
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2m 51,440 0.97
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2mns 15,765 0.30
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2rmns 31,024 0.58
S3 : เหมาะสมเล็กนอย S3m 253 0.00
S3 : เหมาะสมเลก็ นอย 63,637 1.20
S3r 15,661 0.29
คลองลาน N : เขตไมเ หมาะสม 1,537 0.03
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2m 67,442 1.27
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2mn 78,166 1.47
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2mns 3,315 0.06
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2rmns 58,213 1.09
S3 : เหมาะสมเล็กนอย S3m 618,463 11.63
S3 : เหมาะสมเลก็ นอย S3r 97,406 1.83
S3 : เหมาะสมเล็กนอ ย S3re

ทรายทองวฒั นา N : เขตไมเ หมาะสม

81

จังหวัด อําเภอ ระดบั ความเหมาะสม ขอ จาํ กัด พน้ื ท่ี (ไร) รอยละ
24,194 0.45
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2m 570 0.01
S2mns 6,443 0.12
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S3m 224,947 4.23
100,514 1.89
S3 : เหมาะสมเลก็ นอย S2m 385 0.01
S2mns 13,842 0.26
ไทรงาม N : เขตไมเหมาะสม S3m 67,293 1.27
104,055 1.96
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2m 1,504 0.03
S3m 52,388 0.98
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง 29,413 0.55
S2m 15,941 0.30
S3 : เหมาะสมเล็กนอ ย S2mns 28,866 0.54
S2rmns 8,777 0.17
บงึ สามคั คี N : เขตไมเ หมาะสม S3m 333,709 6.27
214,907 4.04
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S3r 67,538 1.27
6,258 0.12
S3 : เหมาะสมเลก็ นอ ย S2m 15,731 0.30
S2mns 19,299 0.36
ปางศลิ าทอง N : เขตไมเ หมาะสม S2rmns 295,984 5.57
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S3m 302,190 5.68
196,381 3.69
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S3r

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2m

S3 : เหมาะสมเล็กนอย

S3 : เหมาะสมเล็กนอย

พรานกระตา ย N : เขตไมเหมาะสม

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง

S3 : เหมาะสมเล็กนอ ย

S3 : เหมาะสมเลก็ นอย

เมอื งกําแพงเพชร N : เขตไมเ หมาะสม

S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง

82

จังหวดั อาํ เภอ ระดับความเหมาะสม ขอจํากดั พน้ื ที่ (ไร) รอ ยละ
ลานกระบอื S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง 52,463 0.99
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S2mns 90,472 1.70
ทม่ี า : สถานพี ฒั นาท่ีดนิ กาํ แพงเพชร S3 : เหมาะสมเลก็ นอย 51,118 0.96
S3 : เหมาะสมเล็กนอย S2rmns 141,270 2.66
S3 : เหมาะสมเล็กนอ ย S3m 88,585 1.67
N : เขตไมเหมาะสม S3r 138,535 2.60
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง S3re 113,917 2.14
S2 : เขตเหมาะสมปานกลาง 103 0.00
S3 : เหมาะสมเล็กนอย S2m 1,116 0.02
รวมทั้งสนิ้ S2mns 5,318,636 100
S3m

83

ตาราง 6 เน้อื ทีป่ ลูกขา วนาป เนือ้ ทเี่ กบ็ เกีย่ ว ผลผลติ และผลผลติ เฉลี่ยตอ ไร ปเ พาะปลกู 2561/62

ขาวนาป

อาํ เภอ เน้ือท่เี พาะปลูกขา ว (ไร) เนอ้ื ทีเ่ กบ็ เกย่ี ว (ไร) ผลผลิต (ตนั ) ผลผลติ เฉลี่ยตอไร (กก.)

ขา ว ขาว ขา ว ขา ว
ขา วเจา
ขาวเจา ขา วเจา ขา วเจา
เหนยี ว
เหนยี ว เหนยี ว เหนียว

เมอื งกําแพงเพชร 143,552 3,112 143,549 3,111 115,126 2,162 802 ๖๙๕

ไทรงาม 119,080 240 118,964 240 95,171 160 800 ๖๖๘

คลองลาน 36,302 1,697 36,260 1,697 28,428 1,094 784 ๖๔๕

ขาณุวรลักษบรุ ี 181,541 4 181,457 4 143,532 3 791 ๖๖๕

คลองขลงุ 150,653 26 150,468 26 121,578 18 808 ๖๗๘

พรานกระตา ย 168,189 1,279 168,070 1,279 134,793 850 802 ๖๖๕

ลานกระบอื 79,668 326 79,638 316 63,232 211 794 ๖๖๘

ทรายทองวัฒนา 29,275 129 29,275 129 23,127 87 790 ๖๗๖

ปางศิลาทอง 41,311 178 41,256 178 32,262 119 782 ๖๖๙

บึงสามคั คี 58,780 161 58,750 161 47,118 112 802 ๖๙๘

โกสัมพนี คร 10,228 184 10,223 184 8,005 122 783 ๖๖๕

รวม 1,018,581 7,336 1,017,910 7,326 808,220 4,923 794 ๖๗๒

ท่ีมา : สํานักงานเกษตรจังหวดั กําแพงเพชร (พ.ศ.2561)

84

ตาราง 7 เนือ้ ท่ปี ลกู ขา วนาปรงั เนื้อทีเ่ กบ็ เก่ียว ผลผลติ และผลผลติ เฉลีย่ ตอไร ปเ พาะปลกู 2561/62

ขาวนาปรงั

อาํ เภอ เน้อื ท่ีเพาะปลกู ขาว (ไร) เนื้อทเ่ี ก็บเกีย่ ว (ไร) ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตเฉลีย่ ตอไร (กก.)

ขา วเจา ขาว ขาวเจา ขา ว ขา วเจา ขาว ขา วเจา ขา ว
เหนยี ว เหนียว เหนียว เหนียว

เมอื งกําแพงเพชร 92,793 - 92,791 - 59,200 - 638 -

ไทรงาม 107,837 - 107,646 - 71,584 - 665 -

คลองลาน 10,925 - 10,921 - 7,252 - 664 -

ขาณุวรลักษบรุ ี 63,982 - 63,934 - 40,918 - 640 -

คลองขลงุ 89,128 - 89,124 - 49,999 - 561 -

พรานกระตาย 97,102 - 97,037 - 52,497 - 541 -

ลานกระบือ 54,760 - 54,751 - 33,453 - 611 -

ทรายทองวัฒนา 18,162 - 18,162 - 10,715 - 590 -

ปางศลิ าทอง 10,182 - 10,107 - 6,064 - 600 -

บงึ สามคั คี 35,832 - 35,825 - 23,465 - 655 -

โกสมั พีนคร 3,673 - 3,673 - 1,987 - 541 -

รวม 584,376 - 583,969 - 356,221 - 610 -

ท่มี า : สํานักงานเกษตรจังหวดั กําแพงเพชร (พ.ศ.2561)

85

ตาราง 8 เนอ้ื ทีเ่ พาะปลกู พืชไร เนือ้ ทีเ่ กบ็ เกี่ยว ผลผลติ และผลผลิตเฉล่ียตอ ไร ปเ พาะปลกู 2561/62

ชนิดของพืชไร เน้ือทีเ่ พาะปลูก เนื้อทเ่ี กบ็ เกี่ยว (ไร) ผลผลิต ผลผลิตเฉลย่ี ตอไร
(ไร) (ตนั ) (กก.)

ขาวโพดเลย้ี งสัตว ๙8,294 87,571 ๗6,038 775

ถัว่ เขียวผวิ มัน ๒2,512 20,612 3,154 153

ถวั่ เหลือง ๑,634 1,613 358 221

ถั่วเหลอื งฝก สด ๙๐๐ ๙๐๐ ๕,๘๒๗ ๖,๔๗๔

มันสาํ ปะหลงั 684,681 684,561 ๒,487,594 ๓,634

ออ ยโรงงาน ๗๓๐,๐๑๗ ๖๖๘,๕๗๖ ๙,๐๐๘,๐๗๓ ๑๓,๒๗๓

ท่มี า : สํานกั งานเกษตรจังหวัดกาํ แพงเพชร (พ.ศ.2561)

86

ตาราง 9 เนอื้ ที่เพาะปลกู พืชผัก เนอื้ ทเี่ ก็บเกย่ี ว ผลผลิต และผลผลติ เฉล่ียตอไร ปเ พาะปลกู 2561

ชนิดของพชื ผัก เนอื้ ทีเ่ พาะปลูก เนอื้ ที่เกบ็ เกีย่ ว ผลผลติ ผลผลิตเฉลยี่ ตอไร
(ไร) (ไร) (ตัน) (กก.)

กยุ ชา ย 145 145 700 4,830

ขาวโพดฝก ออน 9,520 7,820 11,986 1,532

คะนา 45 40 35 890

ตะไคร 371 371 230 620

แตงกวา 347 275 253 923

แตงโมเน้ือ 285 265 743 2,804

ถ่ัวฝก ยาว 1,774 1,241 2,166 1,745

ผกั กวา งตุง 90 85 55 655

พรกิ ขหี้ นเู มด็ เล็ก(ข้ีหนูสวน) 384 191 186 973

พรกิ ขห้ี นูเม็ดใหญ 56 55 29 527

พรกิ ใหญ 164 27 54 2,000

มะเขอื ยาว 100 40 79 1,975

มะเขอื อน่ื ๆ 30 30 51 1,714

มะระจนี 270 192 575 2,997

หอมแบง (ตนหอม) 23 23 46 2,004

ทม่ี า : สาํ นักงานเกษตรจงั หวดั กําแพงเพชร (พ.ศ.2561)

87

ตาราง 10 เนื้อทเี่ พาะปลกู ไมผลและไมยืนตน เนื้อทเ่ี กบ็ เก่ยี ว ผลผลติ และผลผลติ เฉลีย่ ตอ ไร ปเพาะปลูก
2561

ชนิดของไมผ ล เนอื้ ทเี่ พาะปลูก เนอื้ ที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต ผลผลิตเฉลย่ี ตอ ไร
และไมย นื ตน (ไร) (ไร) (ตนั ) (กก.)

กลว ยไข 3,204 3,014 7,126 2,364

ลาํ ไย 7,471 6,186 4,032 652

สม เขียวหวาน 3,812 1,508 2,848 1,889

มะมว ง 5,244 1,120 1,918 1,712

มะนาว 10,408 5,267 3,744 2,664

กลว ยน้าํ วา 5,831 3,290 3,964 1,205

ฝรั่ง 1,632 904 988 1,093

ยางพารา 37,899 24,155 4,040 167

ท่ีมา : สํานักงานเกษตรจงั หวัดกําแพงเพชร (พ.ศ.2561)

88


Click to View FlipBook Version