43
ครอบคลุมเนื้อหาในแผนการจัดการเรียนรู้และแบบฝึกทักษะที่กำหนดไว้สามารถนำมาวัดได้ตรงตาม
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ท่ีตงั้ ไว้
10. นำแบบทดสอบไปทดสอบเพื่อหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ตามสูตร KR 20
ของคูเดอร์และริชาร์ดสัน (Kuder&Richardson) ซึ่งผลการวิเคราะห์ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ
วดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนมีค่าเทา่ กับ 0.98 (ดรู ายละเอียดในภาคผนวก ค: 82)
11. นำแบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญที่ได้นำมาใช้
เป็นแบบทดสอบก่อนเรียน 1 ชุด และจัดทำแบบทดสอบหลังเรียน โดยนำแบบทดสอบก่อนเรียน
ชดุ เดิมมาสลบั ข้อและสลับตวั เลอื ก
12. นำแบบทดสอบทไ่ี ดไ้ ปใช้ทดลองกบั นกั เรยี นกลมุ่ ตวั อย่าง
ข้นั ตอนการสร้างแบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านจบั ใจความสำคญั ดังแผนภูมทิ ี่ 4
ศึกษาหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551
กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1
ศกึ ษาทฤษฎี หลกั การ และวธิ ีการสร้างเครื่องมือวดั ความสามารถในการอ่านจับใจความ
สำคัญวเิ คราะหเ์ นื้อหาและจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
สร้างตารางวเิ คราะหห์ ลักสูตร (Test Blueprint) ซง่ึ ขอ้ คำถามสอดคล้องกับจุดประสงค์
การเรยี นรแู้ ละครอบคลุมเนื้อหาในแบบฝึกทักษะและแผนการจดั การเรียนรทู้ ่ีกำหนดไว้
สรา้ งแบบทดสอบวดั ความสามารถในการอา่ นจับใจความสำคัญฉบบั รา่ ง
เปน็ แบบเลอื กตอบ 4 ตัวเลือกจำนวน 1 ฉบับ รวม 60 ขอ้
นำแบบทดสอบเสนอผูเ้ ชยี่ วชาญ 3 คน หาคา่ IOC
คัดเลือกขอ้ สอบท่ีมีค่า IOC ต้ังแต่ .05-1.00 และปรบั ปรุงแก้ไขแล้วจำนวน 60 ขอ้
ไปทดลอง (Try Out) กับนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564
คดั เลอื กแบบทดสอบท่ีมีคา่ ความยากง่าย (p) ต้งั แต่ .20-.80 ข้ึนไป และอำนาจจำแนก (r)
ตั้งแต่ .20 ขน้ึ ไป จำนวน 30 ข้อ
นำแบบทดสอบไปทดสอบเพ่ือหาคา่ ความเชอื่ ม่นั (Reliability) ตามสูตร KR 20 ของคูเดอร์
และริชารด์ สัน (Kuder & Richardson)
แผนภมู ทิ ่ี 4 สรปุ ข้ันตอนการสรา้ งแบบทดสอบวดั ความสามารถในการอา่ นจับใจความสำคัญ
44
2.4 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ที่มีต่อ
การจัดการเรยี นรู้โดยใช้แบบฝึกทกั ษะการอ่านจบั ใจความสำคัญ มขี ้ันตอนดังนี้
2.4.1 ศึกษาเอกสารวิธีสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจแบบมาตราส่วน
ประเมินค่า (Rating Scale) ตามแบบลิเคิร์ต (Likert Scale) (Likert, 1967: 90-95, อ้างถึงใน
นรนิ ทร์ สงั ขร์ ักษา, 2556: 200)
2.4.2 สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ที่มีต่อ
การจดั การเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ ประกอบด้วย 3 ดา้ น คอื ดา้ นบรรยากาศใน
การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ และด้าน
เนื้อหาและรปู แบบของแบบฝึกทกั ษะ
2.4.3 เสนอแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน ให้ผู้เชี่ยวชาญ 3 คน
ที่มีความเชี่ยวชาญด้านเนื้อหา ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาและผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดและประเมินผล
การศึกษา ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา ความสอดคล้องแบบสอบถามและวัตถุประสงค์ของ
การสอบถาม เพือ่ หาคา่ ดัชนีความสอดคล้อง (IOC) พิจารณาและให้คะแนนดังนี้
+1 แนใ่ จว่าคุณลกั ษณะของแบบสอบถามมคี วามสอดคล้องกับวัตถปุ ระสงค์
0 ไม่แนใ่ จวา่ คุณลกั ษณะของแบบสอบถามสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หรือไม่
-1 แนใ่ จว่าคณุ ลักษณะของแบบสอบถามไม่สอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงค์
ซึ่งดัชนีความสอดคล้องมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ .5 ขึ้นไป จึงจะถือว่าแบบสอบถาม
มีคณุ ภาพ
จากนั้นนำคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 คน มาคำนวณหาค่า IOC
(Index of Item Objective Congruence)
ผลของการวิเคราะห์ความสอดคล้องของแบบสอบถามและวัตถุประสงค์
ของการสอบถามมีค่าเท่ากับ 1.00 แสดงให้เห็นว่าแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ
มีคุณลักษณะท่เี หมาะสมสอดคล้องกบั วัตถปุ ระสงค์ สามารถใชไ้ ด้ (ดรู ายละเอียดในภาคผนวก ค: 79)
45
ขั้นตอนการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ทม่ี ีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทกั ษะการอ่านจบั ใจความสำคญั ดงั แผนภมู ทิ ี่ 5
ศกึ ษาทฤษฎี หลักการและวธิ ีการสรา้ งแบบสอบถาม
สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรยี น
นำแบบสอบถามทีป่ รับปรุงแก้ไขแล้วเสนอผูเ้ ช่ยี วชาญ 3 คน คำนวณหาค่า IOC
แผนภมู ิที่ 5 สรุปขน้ั ตอนการสรา้ งแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 1
ทมี่ ีต่อการจดั การเรียนรู้โดยใช้แบบฝกึ ทักษะการอา่ นจบั ใจความสำคญั
ข้ันตอนที่ 3 ข้นั ดำเนนิ การศกึ ษา
ผู้ศึกษาได้นำแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ที่สร้างขึน้ ไปใช้กบั นักเรยี นกลุ่มตวั อย่าง โดยดำเนนิ การตามขั้นตอนดงั ตอ่ ไปน้ี
1. ขัน้ กอ่ นทดลอง
ผู้ศึกษานำแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 1 ที่ได้สร้างขึ้นไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/3 โรงเรียนเทศบาล 3 (เทศบาล
สงเคราะห์) ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 30 คน โดยผู้ศึกษา
เป็นผู้ดำเนินการสอนด้วยตนเอง ในการทดลองใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนทำการทดลอง ผู้ศึกษาได้ชี้แจงหลักการ เหตุผล และประโยชน์
ของการศึกษาให้กับนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่างฟัง พร้อมทั้งทำความเข้าใจกับนักเรียนเกี่ยวกับ
แบบฝึกทกั ษะการอา่ นจับใจความสำคัญ สำหรบั นกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 เพือ่ เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ
2. ขั้นทดลอง
ผู้ศึกษาดำเนินการทดลองใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับ
นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 โดยการจัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีกำหนดไว้กบั
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/3 โรงเรียนเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห)์ สังกัดเทศบาลเมืองราชบรุ ี
จังหวัดราชบุรี ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้เวลาในการจัดการเรียนรู้เป็นเวลา 10 ชั่วโมง ชั่วโมงละ
60 นาที ไม่รวมการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน เวลาเรียนตามปกติ มีขั้นตอนการทดลองดังน้ี
46
2.1 ทำการทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/3
จำนวน 30 คน โดยใช้แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับนักเรียน
ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 จำนวน 30 ขอ้ ใช้เวลา 60 นาที
2.2 ดำเนินการทดลองใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยแจ้งวัตถุประสงค์ของการเรียนและบทบาทของนักเรียนในการปฏิบัติ
กิจกรรมการเรียนรู้ และดำเนินการตามกระบวนการที่ได้วางไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้โดย ให้
นักเรียนทำแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ผู้ศึกษา
สรา้ งขึน้ จำนวน 5 เล่ม เพ่อื ให้นกั เรยี นนำความรู้และข้อสรุปไปใช้
2.5 หลังจากที่ดำเนินการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สิ้นสุดแล้ว ผู้ศึกษาทำการทดสอบหลังเรียน (Post-test) โดยใช้
แบบทดสอบชุดเดยี วกันทใ่ี ชใ้ นการทดสอบก่อนเรียนแต่เปล่ยี นแปลงโดยการสลับข้อและสลบั ตัวเลือก
จำนวน 30 ขอ้ เวลา 60 นาที
2.6 ให้นักเรียนตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ทม่ี ีตอ่ การจัดการเรยี นรโู้ ดยใช้แบบฝึกทักษะการอา่ นจับใจความสำคญั สำหรบั นกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1
47
ขั้นตอนท่ี 3 ข้ันดำเนนิ การศึกษา ดงั แผนภมู ิท่ี 6
ทดลองใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรบั นักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1
ก่อนทำการทดลอง ผศู้ ึกษาได้ช้ีแจงหลักการ เหตผุ ล และประโยชนข์ องการศกึ ษา
ใหก้ บั นกั เรยี นท่เี ปน็ กลุ่มตวั อยา่ งฟัง
ดำเนินการทดลองใช้แบบฝึกทกั ษะ โดยใช้เวลาในการจัดการเรียนรู้เปน็ เวลา
10 ช่วั โมง ช่วั โมงละ 60 นาที ไมร่ วมการทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรยี น
โดยใช้ช่ัวโมงเวลาเรียนตามปกติ
ทดสอบก่อนเรยี น (Pre-test) กบั นักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 1/3 จำนวน 30 คน
โดยใช้แบบทดสอบวดั ความสามารถในการอา่ นจับใจความสำคัญ
สำหรบั นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 จำนวน 30 ขอ้ ใช้เวลา 60 นาที
ดำเนนิ การทดลองใช้แบบฝึกทักษะ โดยแจง้ วตั ถุประสงคข์ องการเรียนและบทบาท
ของนักเรียนในการปฏบิ ัติกจิ กรรมการเรยี นรู้ และดำเนนิ การตามกระบวนการท่ีได้วางไว้
ในแผนการจดั การเรยี นรู้
ทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) โดยใชแ้ บบทดสอบชุดเดยี วกนั ที่ใช้ในการทดสอบก่อนเรยี น
แตเ่ ปลีย่ นแปลงโดยการสลบั ข้อและสลับตวั เลือก
ใหน้ ักเรยี นตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของนกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1
ท่ีมตี ่อการจดั การเรยี นรูโ้ ดยใช้แบบฝึกทกั ษะการอา่ นจบั ใจความสำคญั
แผนภมู ทิ ่ี 6 สรุปข้นั ตอนท่ี 3 ข้นั ดำเนนิ การศกึ ษา
48
ข้ันตอนที่ 4 ขนั้ วิเคราะห์ขอ้ มลู
ผู้ศึกษานำข้อมูลทั้งหมดมาวิเคราะห์ด้วยวิธีการทางสถิติ สรุปเป็นผลการทดลองและ
ทดสอบสมมติฐานตามลำดับดงั น้ี
1. หาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ โดยใช้สูตรหาค่า E1/E2 (ชัยยงค์ พรหมวงศ์,
2544: 249-250) ดังน้ี
1.1 ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1)
X
N
E1 = A ×100
เม่ือ E1 คือ ประสิทธภิ าพของกระบวนการ
X คือ คะแนนรวมของแบบฝึกทกั ษะทุกแบบฝกึ ทกั ษะ
A คือ คะแนนเตม็ ของแบบฝกึ ทกั ษะท้งั หมด
N คือ จำนวนผู้เรยี น
1.2 ประสิทธิภาพของผลผลติ (E2)
X
N
E2 = B ×100
เมื่อ E2 คอื ประสทิ ธิภาพของผลผลิต
X คอื คะแนนรวมของการทดสอบหลงั เรียน
A คือ คะแนนเตม็ ของการทดสอบหลงั เรยี น
N คือ จำนวนผเู้ รียน
49
2. เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนแบบทดสอบก่อนและหลังการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ โดยใช้ t-test แบบ Dependent ค่าคะแนนร้อยละ คะแนนเฉล่ีย
( ¯x ) และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยใช้สูตรดังน้ี
2.1 ค่าเฉลี่ย ( ¯x ) โดยใชส้ ูตร (บุญชม ศรีสะอาด, 2553: 122)
x̅ = ∑x
n
เมือ่ ¯x แทน คะแนนเฉล่ียของกลมุ่ ตัวอย่าง
X แทน ผลรวมของคะแนนทงั้ หมด
n แทน จำนวนนกั เรียน
2.2 คา่ ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยใชส้ ูตร (บุญชม ศรสี ะอาด, 2553: 103)
S.D.=√n ∑ x2-(∑ x)2
n(n-1)
เมอ่ื S.D. แทน คา่ ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน
แทน คะแนนแต่ละคน
X
∑ x2 แทน ผลรวมของคะแนนนักเรียนแต่ละคนยกกำลังสอง
(∑ x)2
แทน ผลรวมของคะแนนท้งั หมดยกกำลังสอง
n แทน จำนวนนักเรียน
50
2.3 ทดสอบคา่ ที (t-test) แบบ Dependent โดยใชส้ ตู ร (พวงรตั น์ ทวรี ตั น์, 2538:
165)
t= ∑ D D)2
√n ∑ D2-(∑
n-1
เม่ือ t แทน ค่าความแตกตา่ งของคะแนนก่อนและหลงั เรยี น
D แทน ผลตา่ งของคะแนนในแต่ละคู่
n แทน จำนวนคู่
∑ D แทน ผลรวมของผลต่างคะแนนก่อนและหลังเรียน
∑ D2 แทน ผลรวมของผลต่างกำลังสองของคะแนนก่อนและหลังเรยี น
(∑ D)2แทน ยกกำลงั สองของผลรวมของผลตา่ งของคะแนนก่อน
และหลังเรยี น
3. วิเคราะห์แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อ
การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ ใชก้ ารแปลคา่ แบบสอบถามความพึงพอใจ
5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าเฉลี่ย ( ¯x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เทียบกับเกณฑ์
การแปลผล (Best & Kahn, 2006: 331, อ้างถึงใน นรนิ ทร์ สังขร์ กั ษา, 2556: 155) ดังนี้
คะแนนเฉลีย่ 4.50-5.00 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจในระดบั มากท่ีสดุ
คะแนนเฉลีย่ 3.50-4.49 หมายถึง มคี วามพึงพอใจในระดบั มาก
คะแนนเฉลี่ย 2.50-3.49 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจในระดบั ปานกลาง
คะแนนเฉลย่ี 1.50-2.49 หมายถึง มคี วามพึงพอใจในระดับน้อย
คะแนนเฉล่ีย 1.00-1.49 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจในระดับน้อยทส่ี ุด
52
บทที่ 4
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู
การศึกษาเรื่องการพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญ ของนักเรียน
ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 โดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ มีวัตถุประสงคเ์ พ่ือ 1) สร้างและ
หาประสิทธิภาพแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญ
ก่อนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ
และ 3) ศกึ ษาความพึงพอใจของนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 ทมี่ ีต่อการจดั การเรยี นรู้โดยใช้แบบฝึก
ทกั ษะการอา่ นจับใจความสำคัญ ผู้ศึกษาขอนำเสนอผลการวเิ คราะหต์ ามลำดับดังนี้
ตอนที่ 1 ผลการสร้างและหาประสิทธิภาพแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ
สำหรบั นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 ให้มปี ระสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญก่อนและ
หลงั เรียนของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 โดยใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะการอา่ นจับใจความสำคัญ
ตอนที่ 3 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการ
จดั การเรยี นรูโ้ ดยใช้แบบฝึกทกั ษะการอ่านจบั ใจความสำคญั
ตอนที่ 1 ผลการสรา้ งและหาประสิทธิภาพแบบฝกึ ทักษะการอ่านจบั ใจความสำคัญ
สำหรบั นักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ให้มปี ระสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80
จากการศึกษาข้อมูลเบื้องต้น ผู้ศกึ ษาได้นำข้อมูลตา่ ง ๆ มาเป็นแนวทางในการสร้างและ
หาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ มีขั้นตอนดังนี้ 1) ศึกษาค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้องกับแบบฝึก
ทักษะ 2) กำหนดเรื่องและเนื้อหาของแบบฝึกทักษะ 3) สร้างแบบฝึกทักษะ 4) เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ
จำนวน 3 คน เพื่อตรวจสอบความถูกต้องด้านเนื้อหาด้านภาษา ด้านการวัดผลและประเมินผล และ
หาค่าดัชนีความสอดคล้องของเครื่องมือการศึกษา (Index of Item Objective Congruence: IOC)
5) หาประสิทธิภาพแบบรายบุคคล 6) ปรับปรุงแก้ไข 7) หาประสิทธิภาพแบบกลุ่มย่อย 8) ปรับปรุง
แกไ้ ข 9) หาประสิทธภิ าพแบบภาคสนาม และ 10) ปรับปรงุ แก้ไข โดยมรี ายละเอยี ดดงั น้ี
51
52
ผู้ศึกษาได้นำแบบฝึกทักษะมาตรวจสอบก่อนการทดลองใช้ โดยให้ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน
3 คน เป็นผู้ประเมินค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) พิจารณาความสอดคล้องของแบบฝึกทักษะ
นำข้อเสนอแนะที่ได้ไปปรับปรุงแก้ไขโดยการวิเคราะห์เนื้อหาจากผลการประเมินแบบฝึกทักษะ
มคี ่าดชั นคี วามสอดคลอ้ ง (IOC) เท่ากบั 1.00 (รายละเอียดภาคผนวก ค: 78)
การปรับปรุงแก้ไขแบบฝกึ ทักษะ
แบบฝึกทักษะที่ผู้เชี่ยวชาญได้เห็นถึงความสอดคล้องของแบบฝึกทักษะ และผู้ศึกษาได้
ปรับปรุงในบางส่วนตามขอ้ เสนอแนะของผู้เช่ียวชาญในดา้ นภาษาที่ใช้ ผู้ศึกษาได้ดำเนินการปรบั ปรงุ
และแกไ้ ขใหม้ ีความเหมาะสมในแตล่ ะเลม่ เรียบรอ้ ยแล้ว และมีความเหมาะสมยง่ิ ข้ึน
การหาประสทิ ธิภาพของแบบฝึกทกั ษะ
แบบฝึกทักษะที่สร้างขึ้นมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องนำไปหาประสิทธิภาพ เพราะ
การหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะนั้นจะต้องนำไปทดลองใช้ (Tryout) เพื่อปรับปรุงแล้ว
จงึ นำไปใชส้ อนจรงิ และ นำผลที่ได้มาปรับปรงุ แก้ไขเพื่อให้แบบฝึกทักษะมปี ระสิทธภิ าพยิง่ ขนึ้
ในการพัฒนาแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ผศู้ กึ ษาได้ใชเ้ กณฑ์ในการหาประสทิ ธิภาพดังน้ี
การหาประสิทธิภาพแบบรายบุคคล (Individual Tryout)
ผศู้ กึ ษาได้นำแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับนักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1
ที่ผ่านการปรับปรุงแก้ไขแล้วไปหาค่าประสิทธิภาพ E1/E2 (80/80) แบบรายบุคคล (Individual
Tryout) กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 โรงเรียนเทศบาล 3
(เทศบาลสงเคราะห์) ที่ไม่เคยเรียนเรื่องนี้มาก่อนและไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบ
เจาะจงจากนักเรียนทมี่ ีผลการเรียนระดบั 4 หรอื 3 จำนวน 1 คน ผลการเรยี นระดับ 2 จำนวน 1 คน
และผลการเรียนระดับ 1 จำนวน 1 คน
การหาประสิทธิภาพรายบุคคลเป็นการทดลองเพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพขอ งแบบฝึก
ทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และความเหมาะสมในด้าน
ต่าง ๆ โดยละเอยี ด เมือ่ ผศู้ ึกษาไดส้ ังเกตพฤตกิ รรมของผเู้ รยี นขณะร่วมกจิ กรรมการเรยี นรู้และทำแบบฝึก
ทักษะดังตารางที่ 4
ตารางที่ 4 ประสทิ ธภิ าพของแบบฝึกทกั ษะการอ่านจับใจความสำคญั แบบรายบุคคล
คะแนน จำนวนนกั เรยี น คะแนนเต็ม ¯x S.D. ประสทิ ธภิ าพ
23.20 2.27 77.33
ระหว่างเรียน 3 30 23.33 4.16 77.78
หลงั เรยี น 3 30
53
จากตารางที่ 4 พบว่า ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ
สำหรบั นักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ในกลุ่มรายบคุ คลนมี้ ีค่าเท่ากบั 77.33/77.78 (ดูรายละเอียดใน
ภาคผนวก ค: 83) นกั เรียนสามารถทำคะแนนระหว่างเรยี นและคะแนนหลังเรียนผ่านทุกจุดประสงค์
การปรับปรุงแก้ไขแบบฝกึ ทกั ษะ
จากผลการทดลองแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับนักเรียน
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 พบข้อควรปรบั ปรุงแกไ้ ขระหว่างการทดลอง ดงั นี้ ปรบั ปรุงภาษาทใี่ ช้ในการอธบิ ายให้
ชัดเจนง่ายตอ่ การเขา้ ใจของนกั เรียนเพ่ือใหน้ ักเรียนปฏบิ ตั ิกิจกรรมตามลำดบั ข้ันตอนได้ถูกต้อง
การหาประสิทธิภาพแบบกลุม่ ยอ่ ย (Small group Tryout)
ผู้ศึกษานำแบบฝึกทักษะท่ีได้ปรับปรุงแก้ไขแล้ว ไปทดลองกับนักเรียนจำนวน 9 คน
โรงเรยี นเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห์) ทไ่ี มเ่ คยเรยี นเร่ืองนี้มาก่อนและไม่ใช่กลุ่มเดมิ โดยการเลือก
แบบเจาะจงจากนักเรียนทีม่ ีผลการเรียนระดับ 4 หรือ 3 จำนวน 3 คน ผลการเรียนระดับ 2 จำนวน
3 คน ผลการเรียนระดับ 1 จำนวน 3 คน กำหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/E2 (80/80) เพื่อหา
ข้อบกพรอ่ งของแบบฝึกทักษะแลว้ นำไปปรับปรงุ แกไ้ ขอีกครัง้
การหาประสิทธิภาพแบบกลุ่มย่อยเป็นการทดลองเพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพของ
แบบฝึกทักษะและความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ โดยละเอียด เมื่อผู้ศึกษาได้สังเกตพฤติกรรมของ
ผเู้ รียนขณะรว่ มกิจกรรมการเรียนรู้และทำแบบฝกึ ทักษะดังตารางท่ี 5
ตารางท่ี 5 ประสทิ ธภิ าพของแบบฝึกทักษะการอา่ นจับใจความสำคัญแบบกล่มุ ย่อย
คะแนน จำนวนนกั เรียน คะแนนเต็ม ¯x S.D. ประสทิ ธิภาพ
23.87 1.03 79.56
ระหวา่ งเรียน 9 30 23.89 1.36 79.63
หลังเรยี น 9 30
จากตารางที่ 5 พบว่า ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ
ในกลุ่มย่อยนี้มีค่าเท่ากับ 79.56/79.63 (ดูรายละเอียดในภาคผนวก ค: 84) นักเรียนสามารถ
ทำคะแนนระหวา่ งเรยี นและคะแนนหลังเรยี นผ่านทกุ จดุ ประสงค์
จากการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนระหว่างทดลองใช้แบบฝึกทักษะพบว่า นักเรียน
กระตือรือร้นในการทำแบบฝึกทักษะ อ่านและเข้าใจคำชี้แจงในแต่ละกิจกรรมเพิ่มขึ้น แต่เนื่องจาก
นักเรียนขาดการฝึกฝนการคิดวิเคราะห์ จึงตอบคำถามผิด ครูจึงต้องชี้แนะแนวทางในการวิเคราะห์
อยา่ งใกล้ชิดในระยะแรก และคอยใหก้ ำลังใจอยา่ งสม่ำเสมอ
การปรับปรงุ แกไ้ ขแบบฝกึ ทักษะ
ผลการปรับปรุงแก้ไขแบบฝึกทักษะครั้งที่ 2 ผู้ศึกษาได้นำผลจากการตรวจสอบ
ของผู้เชี่ยวชาญ และจากการหาค่าประสิทธิภาพ E1/E2 ทั้ง 2 ครั้ง มาปรับปรุงแก้ไขอีกครั้ง เพื่อให้
54
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีความสมบูรณ์
และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยปรับปรุงด้านภาษาให้ถูกต้อง กระชับ ปรับภาษาให้มีความชัดเจน
ถกู ต้อง โดยมีรายละเอยี ดดังนี้
1. ปรบั ปรงุ ขอ้ ความ ประโยคใหก้ ระชบั ชัดเจนขน้ึ
2. ปรบั ขนาดตวั อกั ษร ใหม้ ีขนาดเทา่ กนั ทงั้ เล่ม
2. ปรบั ปรุงรปู ภาพตกแตง่ ใหม้ ขี นาดเหมาะสม
3. ปรบั ปรุงตัวอักษรหนา้ ปก และรูปเล่มให้มสี ีสนั สวยงามสดใส
การหาประสทิ ธิภาพแบบภาคสนาม (Field Try Out)
ผู้ศึกษานำแบบฝึกทักษะที่ได้รับการปรับปรุงแก้ไขแล้วไปทดลองกับนักเรียนจำนวน
53 คน โรงเรียนเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห์) ที่ไม่เคยเรียนเรื่องนี้มาก่อนและไม่ใช่กลุ่มเดิม
โดยการเลือกแบบเจาะจง จากนักเรียนที่มีผลการเรียนระดับ 4 หรือ 3 จำนวน 16 คน ผลการเรียน
ระดับ 2 จำนวน 24 คน ผลการเรียนระดับ 1 จำนวน 13 คน กำหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพ E1/E2
(80/80) จากนนั้ นำแบบฝึกทกั ษะท่ีได้รับการปรับปรงุ แก้ไขไปใช้กับกลมุ่ ตวั อย่างตอ่ ไป
การหาประสิทธิภาพแบบภาคสนามเป็นการทดลองเพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพของ
แบบฝึกทักษะ และความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ โดยละเอียด เมื่อผู้ศึกษาได้สังเกตพฤติกรรม
ของผู้เรียน ขณะรว่ มกิจกรรมการเรียนรู้และทำแบบฝึกทกั ษะ ดังตารางที่ 6
ตารางที่ 6 ประสิทธิภาพของแบบฝกึ ทักษะแบบภาคสนาม
คะแนน จำนวนนักเรียน คะแนนเตม็ ¯x S.D. ประสทิ ธภิ าพ
24.70 1.23 82.34
ระหว่างเรียน 31 30 24.74 1.57 82.45
หลงั เรยี น 31 30
จากตารางที่ 6 พบว่า ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ
ในแบบภาคสนามนี้มีค่าเท่ากับ 82.34/82.45 (ดูรายละเอียดในภาคผนวก ค: 86) นักเรียนสามารถ
ทำคะแนนระหว่างเรียนและคะแนนหลังเรียนผ่านทุกจุดประสงค์ แล้วนำแบบฝึกทักษะมาปรับปรุง
แก้ไข ตรวจสอบความถูกต้องของภาษา ตัวอักษรการสะกดคำถูกคำผิด สีสันของภาพตกแต่งอีกคร้ัง
เพ่อื ใหเ้ หมาะสมยงิ่ ขนึ้ ซ่ึงสอดคลอ้ งกับสมมตฐิ านของการศึกษา ขอ้ ที่ 1 ทก่ี ำหนดไว้
ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทยี บความสามารถในการอ่านจบั ใจความสำคญั ก่อนและหลงั เรียน
ของนกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะการอ่านจบั ใจความสำคญั
ผู้ศึกษาได้นำแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญทดลองใช้กับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/3 โรงเรียนเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห์) เทศบาลเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
จำนวน 30 คน เนื่องจากมีความพร้อมในด้านวัสดุอุปกรณ์และผู้บริหารให้การสนับสนุน ในด้าน
การทดลองใช้แบบฝึกทักษะ โดยผู้ศึกษาได้ทำการทดลองใช้ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
55
โดยใช้เวลาในการจดั การเรียนรู้เป็นเวลา 10 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 60 นาที ไม่รวมการทดสอบก่อนเรยี น
และหลงั เรยี น โดยใช้ชั่วโมงเวลาเรยี นตามปกติ ผ้ศู ึกษาเปน็ ผู้ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน
ในแตล่ ะแผนการจดั การเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง โดยการดำเนนิ การดงั นี้
1. การทดสอบก่อนเรียน ผู้ศึกษาเป็นผู้ดำเนินการทดสอบวัดความสามารถในการอ่าน
โดยใช้แบบทดสอบวดั ความสามารถในการอา่ นจบั ใจความสำคัญ จำนวน 30 ขอ้ ใชเ้ วลา 60 นาที
2. ดำเนินการทดลองใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับนักเรียน
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 โดยมีจดุ ประสงค์เพ่ือให้นกั เรยี นตอบคำถามจากเรื่องได้ และสรปุ ใจความสำคัญ
จากเรอ่ื งได้
3. หลังจากที่ดำเนินการใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับนักเรียน
ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 สิ้นสดุ แล้ว ผศู้ กึ ษาทำการทดสอบหลังเรยี น (Post-test) โดยใช้แบบทดสอบชุด
เดียวกันที่ใช้ในการทดสอบก่อนเรียนแต่เปลี่ยนแปลงโดยการสลับข้อและสลับตัวเลือก
จำนวน 30 ข้อ เวลา 60 นาที
การประเมนิ หลงั การใช้แบบฝกึ ทักษะ
การประเมินผลหลังการใช้แบบฝึกทักษะ ผู้ศึกษาดำเนินการครบทั้ง 5 เรื่อง โดยใช้
แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญ หลังเรียน แบบปรนัย 4 ตัวเลือก จำนวน
30 ข้อ ผู้ศึกษาได้นำมาทดสอบค่าสถิติ t-test แบบ Dependent เพื่อเปรียบเทียบความสามารถ
ในการอ่านจับใจความสำคัญก่อนและหลังเรียนสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้แบบฝึก
ทกั ษะการอ่านจับใจความสำคญั ดงั ตารางท่ี 7
ตารางท่ี 7 ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญก่อนและหลังเรียน
ของนกั เรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 โดยใช้แบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นจบั ใจความสำคญั
การทดสอบ จำนวน คะแนน ค่าเฉลี่ย สว่ นเบย่ี งเบน t
(n) เต็ม ( ¯x ) มาตรฐาน
(S.D.)
ก่อนเรียน 30 30 19.30 2.38 14.441*
หลังเรยี น 30 30 24.50 1.50
* มนี ยั สำคัญทางสถติ ทิ รี่ ะดับ .05
จากตารางที่ 7 พบว่า ความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญก่อนเรียน
(¯x =19.30, S.D.= 2.38) และความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญหลังเรียน (¯x =24.50,
S.D.= 1.50) เมื่อตรวจสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยใช้สถิติทดสอบค่า (t-test) พบว่า
ความสามารถในการอ่านจบั ใจความสำคัญหลงั เรียนสงู กว่าความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญ
กอ่ นเรยี นอยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถติ ิที่ระดบั .05 ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั สมมติฐานการศึกษาข้อที่ 2 ที่กำหนดไว้
56
ตอนที่ 3 ผลการศึกษาความพงึ พอใจของนกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ท่มี ีตอ่ การจัด
การเรียนร้โู ดยใช้แบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นจบั ใจความสำคญั
ผู้ศึกษาได้ดำเนินการสอบถามความพึงพอใจสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ จำแนกเป็นภาพรวมและ
รายด้าน จำนวน 3 ด้าน คือด้านบรรยากาศในการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ ด้านการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ และด้านเนือ้ หาและรูปแบบของแบบฝกึ ทักษะ ดงั ตารางที่ 8
ตารางที่ 8 ผลการศึกษาความพึงพอใจโดยภาพรวมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อ
การจัดการเรยี นรู้โดยใช้แบบฝึกทกั ษะการอ่านจบั ใจความสำคัญ
รายการ ¯x n=30
1. ดา้ นเน้ือหาและรปู แบบของ 4.71 S.D. ระดับความพึงพอใจ ลำดับที่
แบบฝึกทักษะ
2. ด้านการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 4.60 0.87 มากท่สี ดุ 1
โดยใช้แบบฝกึ ทักษะ
3. ดา้ นบรรยากาศในการจดั 4.58 1.06 มากท่สี ดุ 2
การเรยี นรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ 4.64
0.47 มากท่ีสดุ 3
โดยภาพรวม 1.67 มากท่ีสุด
จากตารางที่ 8 พบว่าความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการจัด
การเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (¯x = 4.64, S.D.= 1.67)
เมื่อพิจารณาความพึงพอใจรายด้านพบว่า ด้านเนื้อหาและรูปแบบของแบบฝึกทักษะ มีความพึงพอใจ
ในระดับมากที่สุด (¯x =4.71, S.D.= 0.87) รองลงมาคือ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้
แบบฝึกทักษะมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด (¯x = 4.60, S.D.= 1.06) และด้านบรรยากาศ
ในการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด (¯x = 4.58,
S.D.= 0.47) ตามลำดับ ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั สมมติฐานการศึกษาข้อท่ี 3 ทกี่ ำหนดไว้
จากการสอบถามนักเรียนพบว่า 1) นักเรียนชอบทำแบบฝึกทักษะเพราะเนื้อหาและ
ภาษาในแบบฝึกทักษะอ่านเข้าใจง่าย เรียงจากง่ายไปหายากมีความสุขที่สามารถทำได้ถูกต้อง
2) ไม่กล้าแสดงความคิดเห็น ไม่กล้ายกตัวอย่าง เพราะกลัวผิด แต่เมื่อได้ฝึกฝนบ่อย ๆ ทำให้กล้า
ยกตัวอย่าง กล้าแสดงความคิดเห็น และเมื่อครูให้ทำแบบฝึกทักษะทำให้เข้าใจบทเรียนมากขึ้น
3) นักเรียนรู้สึกสนุกและมีความสุขในการเรียน สามารถเข้าใจบทเรียนจากการวิเคราะห์ตัวอย่าง
กล้าแสดงออก กล้าคิด กล้าเสนอความคิดเห็นของตนในการวิเคราะห์ กล้ายกตัวอย่างคำ
เพราะครูให้ข้อเสนอแนะ ให้กำลังใจแก่นักเรียนอย่างสม่ำเสมอและกระตุ้นให้นักเรียนคิดวิเคราะห์
57
ครูยกตัวอย่างคำที่หลากหลาย ให้คำแนะนำแก่นักเรียนอย่างใกล้ชิดทุกครั้งเมื่อนักเรียนมีข้อสงสัย
ในขณะปฏิบตั ิกจิ กรรมการเรียนรูแ้ ละทำแบบฝกึ ทักษะ
ตารางที่ 9 แสดงคะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญด้านการจัด
กจิ กรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝกึ ทักษะ
n=30
รายการ ¯x S.D. ระดับความพึง ลำดับที่
พอใจ
1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบ
ฝึกทักษะ ส่งเสริมให้นักเรียนพัฒนาทักษะ 4.92 0.27 มากท่ีสุด 1
การคิดวิเคราะห์ และสร้างองค์ความรู้ใหม่
ดว้ ยตนเอง
2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบ
ฝึกทักษะ ทำให้นักเรียนมีเวลาในการทำ 4.92 0.27 มากที่สดุ 1
กิจกรรมทเ่ี หมาะสม
3. นักเรียนสามารถนำความรู้เรือ่ งการอ่าน
จ ั บ ใ จ ค ว า ม ส ำ ค ั ญ ซ ึ ่ ง เ ร ี ย น โ ด ย ก า ร จั ด 4.40 0.49 มากทส่ี ุด 2
กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะไป
ประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจำวนั ได้
4. ควรส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะในการเรยี น 4.40 0.57 มาก 2
วชิ าภาษาไทยเพิม่ ขึ้น
5. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบ
ฝึกทักษะทำใหน้ ักเรยี นมีความรู้ความเข้าใจ 4.36 0.48 มาก 3
เรอื่ งการอา่ นจบั ใจความสำคญั
รวม 4.60 1.06 มากท่ีสดุ
จากตารางที่ 9 ความพึงพอใจสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการจัด
การเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้
แบบฝึกทักษะ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะพบว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
โดยใช้แบบฝึกทักษะ ส่งเสริมให้นักเรียนพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ และสร้างองค์ความรู้ใหม่
ด้วยตนเอง และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ ทำให้นักเรียนมีเวลาในการทำ
กิจกรรมทเี่ หมาะสม อยู่ในระดบั มากท่ีสดุ (¯x = 4.92, S.D.= 0.27) รองลงมาคือ นกั เรียนสามารถ
นำความรู้การอ่านจับใจความสำคัญ ซึ่งเรียนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ
58
ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ อยู่ในระดับมากที่สุด (¯x = 4.40, S.D.= 0.49) ควรส่งเสริม
ให้มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะในการเรียนวิชาภาษาไทยเพิ่มขึ้นอยู่ในระดับมาก
(¯x = 4.40, S.D.= 0.57) และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ ทำให้นักเรียนมีความรู้
ความเข้าใจเรอื่ งการอา่ นจบั ใจความสำคัญ อยใู่ นระดับมาก (¯x = 4.36, S.D.= 0.48) ตามลำดับ
ตารางที่ 10 แสดงคะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ ด้านบรรยากาศในการจัดกิจกรรม
การเรยี นรู้โดยใช้แบบฝึกทกั ษะ
n=30
รายการ ¯x S.D. ระดับความพึง ลำดบั ท่ี
พอใจ
1. นักเรียนรู้สึกสนุก มีความสุขในการร่วม 4.96 0.20 มากทส่ี ุด 1
ทำกิจกรรมการเรยี นรูแ้ ละทำแบบฝึกทกั ษะ
2. นักเรียนได้ใช้ความคิดทุกครั้งในการร่วม 4.92 0.27 มากท่ีสดุ 2
ทำกิจกรรมการเรยี นรแู้ ละทำแบบฝกึ ทกั ษะ
3. นักเรียนกล้าแสดงความคิดเห็นโดยใช้ 4.36 0.48 มาก 3
เหตุผลประกอบมากขึ้น
4. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึก 4.08 0.27 มาก 4
ทักษะทำใหน้ ักเรยี นมีความกระตือรือร้น
รวม 4.58 0.47 มากทสี่ ดุ
จากตารางที่ 10 ความพึงพอใจสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการจัด
การเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ ด้านบรรยากาศในการจัดการเรียนรู้โดยใช้
แบบฝึกทักษะพบว่า นักเรียนรู้สึกสนุก มีความสุขในการร่วมทำกิจกรรมการเรียนรู้และทำแบบฝึก
ทักษะ อยู่ในระดับมากที่สุด (¯x = 4.96, S.D. = 0.20) รองลงมาคือ นักเรียนได้ใช้ความคิดทุกครั้ง
ในการร่วมทำกิจกรรม การเรียนรู้และทำแบบฝึกทักษะ อยู่ในระดับมากที่สุด (¯x = 4.92,
S.D. = 0.27) และนักเรียนกล้าแสดงความคิดเห็นโดยใช้เหตุผลประกอบมากขึ้น อยู่ในระดับมาก
(¯x = 4.36, S.D.= 0.48) และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะทำให้นักเรียนมีความกระตือรือร้น
อยใู่ นระดบั มากทีส่ ุด (¯x = 4.08, S.D. = 0.27) ตามลำดับ
59
ตารางที่ 11 แสดงคะแนนเฉล่ีย ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1
ทีม่ ตี อ่ การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝกึ ทกั ษะ ดา้ นเนื้อหาและรปู แบบของแบบฝกึ ทักษะ
n=30
รายการ ¯x S.D. ระดบั ความพึงพอใจ ลำดบั ที่
1. ภาษาท่ีใชเ้ หมาะสม 4.92 0.27 มากที่สดุ 1
2. ขนาดตัวอักษรอ่านง่าย ชัดเจน และ 4.88 0.32 มากที่สดุ 2
เหมาะสม
3. แบบฝึกทกั ษะมีกจิ กรรมหลากหลาย 4.76 0.43 มากท่ีสดุ 3
4. คำอธบิ ายเน้อื หาชัดเจน เขา้ ใจงา่ ย 4.60 0.49 มากทส่ี ดุ 4
5. เนื้อหามีความยากง่ายเหมาะสมกับ 4.56 0.50 มากทสี่ ดุ 5
ผูเ้ รียน
6. จำนวนข้อของแตล่ ะกิจกรรมในแบบฝึก 4.56 0.50 มากที่สดุ 5
ทกั ษะเหมาะสม
รวม 4.71 0.87 มากท่ีสุด
จากตารางที่ 11 ความพึงพอใจสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการ
จัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ ด้านเนื้อหาและรูปแบบของแบบฝึก
ทักษะพบว่า ภาษาที่ใช้เหมาะสม อยู่ในระดับมากที่สุด (¯x = 4.92, S.D.= 0.27) รองลงมาคือ
ขนาดตัวอักษรอ่านง่าย ชัดเจน และเหมาะสม อยู่ในระดับมากที่สุด (¯x =4.88, S.D.= 0.32) แบบฝึก
ทักษะมีกิจกรรมหลากหลาย อยู่ในระดับมากที่สุด (¯x = 4.76, S.D.= 0.43) คำอธิบายเนื้อหาชัดเจน
เข้าใจง่าย อยู่ในระดับมากที่สุด (¯x = 4.60, S.D.= 0.49) เนื้อหามีความยากง่ายเหมาะสมกับผู้เรยี น
และจำนวนข้อของแต่ละกิจกรรมในแบบฝึกทักษะเหมาะสม อยู่ในระดับมากที่สุด (¯x = 4.56,
S.D.= 0.50) ตามลำดบั
61
บทท่ี 5
สรุปผลการศึกษา อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ
การศึกษาเรื่องการพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญของนักเรียน
ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 โดยใช้แบบฝึกทักษะการอา่ นจับใจความสำคัญมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) สร้างและ
หาประสิทธิภาพแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ให้มี
ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญก่อนและ
หลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ และ
3) ศึกษาความพงึ พอใจของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีตอ่ การจัดการเรยี นรู้โดยใช้แบบฝกึ ทักษะ
การอ่านจับใจความสำคัญ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/3
โรงเรียนเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห์) สังกัดเทศบาลเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี ที่เรียนอยู่ใน
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 30 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random
Sampling) โดยใช้ห้องเรยี นเป็นหน่วยสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครัง้ น้ีประกอบด้วย 1) แผนการ
จัดการเรียนรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ 2) แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 3) แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญ
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1
ทมี่ ตี ่อการจดั การเรยี นรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการอา่ นจับใจความสำคัญ
สรุปผลการศึกษา
1. ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ มีค่าเท่ากับ 81.47/81.67
แสดงว่ามีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 80/80 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานการศึกษาข้อที่ 1
ท่ีกำหนดไว้
2. ความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
หลงั เรยี นสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่รี ะดับ .05 ซงึ่ สอดคลอ้ งกับสมมติฐานการศึกษา
ข้อที่ 2 ทีก่ ำหนดไว้
61
61
3. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (¯x = 4.64, S.D.= 1.67)
เมื่อพิจารณาความพึงพอใจรายด้านพบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด คือ
ด้านเนอื้ หาและรปู แบบของแบบฝกึ ทักษะ (¯x =4.71, S.D. = 0.87) รองลงมาคือ ดา้ นการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ (¯x = 4.60, S.D. = 1.06) และด้านบรรยากาศในการจัดการเรียนรู้
โดยใช้แบบฝึกทักษะ (¯x = 4.58, S.D. = 0.47) ตามลำดับ ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานการศึกษา
ขอ้ ท่ี 3 ที่กำหนดไว้
อภปิ รายผล
จากผลการศึกษาเรื่องการพัฒนาแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับนักเรียน
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 สามารถอภปิ รายผลไดด้ ังต่อไปน้ี
1. ผลการสร้างและหาประสทิ ธภิ าพของแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคญั
จากผลการศึกษาพบว่าผลการหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความ
สำคัญ สำหรับนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1 มคี า่ เทา่ กบั 81.47/81.67 สงู กวา่ เกณฑ์ท่ีกำหนดไว้ ทั้งน้ี
อาจเป็นเพราะว่าผู้ศึกษาได้นำแบบฝึกทักษะมาตรวจสอบก่อนการทดลองใช้ โดยให้ผู้เชี่ยวชาญ
จำนวน 3 คน เป็นผู้ประเมินค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) พิจารณาความสอดคล้องของแบบฝึก
ทกั ษะนำข้อเสนอแนะท่ีได้ไปปรับปรงุ แก้ไขโดยการวเิ คราะหเ์ นื้อหาจากผลการประเมนิ แบบฝึกทักษะ
มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) เท่ากับ 1.00 รวมทั้งแบบฝึกทักษะมีเนื้อหาที่เข้าใจง่าย มีโอกาสได้
ทบทวนความรู้ ฝึกซ้ำ ๆ บ่อย ๆ ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย นักเรียนส่วนใหญ่ให้ความสนใจ เนื้อหา
เรียงลำดับจากง่ายไปหายาก ฝึกให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ฝึกฝนทักษะการอ่าน
การเขียน การฟงั การดูและการพดู ฝึกทักษะการคิด การเรยี นรู้จากประสบการณจ์ ริง โดยครูมีหน้าที่
จัดบรรยากาศอำนวยความสะดวกให้นักเรียน แบบฝึกทักษะที่พัฒนาขึ้น มุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิด
สมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พทุ ธศักราช 2551 เช่น ทกั ษะการคิด ใฝ่เรียนรู้ มงุ่ ม่นั ในการทำงาน (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551)
2. การเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้
แบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นจบั ใจความสำคัญ
จากผลการศึกษาพบว่าความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญ ของนักเรียน
ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โดยใช้แบบฝึกทกั ษะการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับนักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1
หลงั เรียนสงู กว่ากอ่ นเรยี นอยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถิตทิ ี่ระดับ .05 ดังนี้
การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จากการใช้แบบฝึกทักษะมีส่วนสำคัญที่จะทำให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้น
และกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจในบทเรียนมากยิ่งขึ้น สามารถพัฒนาและเสริมสร้าง
62
ประสบการณ์ ตลอดจนนำความรู้ไปใชไ้ ด้อยา่ งถูกต้อง และนักเรียนเรยี นร้จู ากการกระทำจริงจึงทำให้
จดจำสิ่งที่เรียนได้ดียิ่งขึ้น ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ ทำให้เกิดทัศนคติที่ดี ทราบความก้าวหน้าและ
ข้อบกพร่องจากผลการเรียนที่ตรวจสอบด้วยตนเอง ส่งผลทำให้เกิดแรงจูงใจและประสิทธิภาพ
ในการเรียนรู้เพิม่ ข้นึ ทงั้ น้อี าจเน่ืองมาจากผ้ศู ึกษาไดส้ ร้างแบบฝึกทักษะจำนวน 5 เลม่ ไดแ้ ก่ เล่มท่ี 1
เรอ่ื งจบั ใจความสำคัญนิทาน เลม่ ที่ 2 เรอ่ื งจับใจความสำคญั บทเพลง เล่มท่ี 3 เร่อื งจับใจความสำคัญ
สารคดี เล่มที่ 4 เรื่องจับใจความสำคัญเรื่องสั้น และเล่มที่ 5 เรื่องจับใจความสำคัญบทโฆษณา
แบบฝึกทักษะที่สร้างขึ้นประกอบด้วยชื่อแบบฝึกทักษะ คำชี้แจง ข้อควรปฏิบัติสำหรับครู
ข้อควรปฏิบัติสำหรับนักเรียน จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ใบความรู้ กจิ กรรม แบบทดสอบหลังเรียน และ
เฉลย จากการสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนหลังจากสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะพบ ว่า
นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ตนได้รับไปใช้ในการทำแบบฝึกทักษะ จึงกล่าวได้ว่าแบบฝึกทักษะทำให้
เกิดคงทนในเนื้อหาที่เรียน ดังท่ี สมพงษ์ ศรีพยาต (2553) กล่าวว่าจากการวิจัยเรื่องการพัฒนา
ชุดแบบฝึกการเขียนสะกดคำ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า การเรียนสะกดคำส่งผล
ให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีผลสัมฤทธิ์สูงกว่าร้อยละ 80 ตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้สอดคล้องกับ
แสงระวี ประจวบวัน (2553) กล่าว่าจากการศึกษาเรื่องการพัฒนาทักษะการเขียนความเรียง โดยใช้
แบบฝึกทักษะที่ใช้วิธีการแผนที่ความคิด สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า ผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนดา้ นทักษะการเขียนความเรยี งสำหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 แตกต่างกันอย่างมี
นยั สำคญั ทางสถติ ทิ ่รี ะดับ .05 โดยผลสัมฤทธิ์หลงั เรียนสงู กวา่ ก่อนเรียน
จากผลการศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาพบว่า แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับ
นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ทำใหน้ ักเรียนสรา้ งองค์ความร้ดู ว้ ยตนเองจากการคดิ วเิ คราะห์และได้ฝึก
เป็นรูปธรรม เรียนจากง่าย ไปหายาก จึงทำให้เรียนรู้ได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพยิ่งกว่า
การสอนทัว่ ไป ในการทำแบบฝึกทักษะควรให้ผูเ้ รียนเริ่มอยา่ งง่ายก่อนเพื่อใหผ้ เู้ รยี นมีความรู้สึกที่ดีต่อ
การเรียน กรณีที่ผู้เรียนยังไม่สามารถทำได้ ครูควรให้คำแนะนำและดูแลอย่างใกล้ชิด ส่วนผู้เรียนที่มี
ความสามารถทำไดค้ วรให้อิสระในการคดิ อย่างเต็มที่ และควรมีการสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้และ
ทำแบบฝึกทักษะที่กระตุ้นส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิดอย่างเต็มที่ และมีอิสระในการคิดจะทำให้
ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีของธอร์นไดต์เรื่องกฎ
การฝึกหดั โดยการให้ผเู้ รียนไดฝ้ ึกหัดดว้ ยตนเอง นักเรยี นมีโอกาสทำซ้ำ ๆ ในการทำแบบฝึกทักษะจึง
ทำให้นักเรียนได้ทบทวนความรู้ แบบฝึกหัดที่ดีจะส่งผลต่อการเรียนรู้ซึ่งตรงกับทฤษฎีของสกินเนอร์
เรื่องกฎของการเสริมแรง โดยผู้ศึกษาได้เสริมแรงด้วยการให้คำชมเชย ให้กำลังใจอย่างสม่ำเสมอ
ผู้เรียนมีการพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
นักเรียนสามารถเรียนรู้เนื้อหาตามลำดับขั้น คิดวิเคราะห์ เปรียบเทียบความเหมือนความแตกต่าง
จนกระท่ังสรุปองคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเองได้ ถือเป็นลักษณะท่ีสำคัญอย่างมากต่อการเรยี น
63
3. ความพงึ พอใจสำหรับนักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ที่มตี อ่ แบบฝกึ ทักษะการอา่ นจบั ใจความสำคัญ
จากผลการศึกษาพบว่า ผูเ้ รยี นส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ
สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (¯x = 4.64, S.D.= 1.67) ทั้งน้ี
เกดิ จากเหตุผลดงั น้ี
ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่าน
จบั ใจความสำคัญ สำหรบั นักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1/3 จำนวน 30 คน นักเรียนมีความพึงพอใจต่อ
แบบฝึกทักษะ เมื่อพิจารณารายละเอียดในแตล่ ะด้านโดยพิจารณาจากด้านที่มคี วามเห็นมากที่สุดคือ
ด้านเนื้อหาและรูปแบบของแบบฝึกทักษะพบว่า ภาษาที่ใช้เหมาะสม อยู่ในระดับมากที่สุด
(¯x = 4.92, S.D.= 0.27) รองลงมาคอื ขนาดตวั อักษรอ่านง่าย ชัดเจน และเหมาะสม อยู่ในระดับมาก
ที่สุด (¯x =4.88, S.D.= 0.32) และแบบฝึกทักษะมีกิจกรรมหลากหลายอยู่ในระดับมากที่สุด
(¯x = 4.76, S.D.= 0.43) และคำอธิบายเนื้อหาชัดเจน เข้าใจง่าย อยู่ในระดับมากที่สุด (¯x = 4.60,
S.D.= 0.49) และเนื้อหามีความยากง่ายเหมาะสมกับผู้เรียน และจำนวนข้อของแต่ละกิจกรรม
ในแบบฝึกทักษะเหมาะสม อยูใ่ นระดับมากที่สดุ (¯x = 4.56, S.D.= 0.50)
รองลงมาคือด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะพบว่า การจัดกิจกรรม
การเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ ส่งเสริมให้นักเรียนพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ และสร้าง
องคค์ วามรูใ้ หมด่ ้วยตนเองและการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ ทำให้นกั เรียนมีเวลาใน
การทำกิจกรรมที่เหมาะสม อยู่ในระดับมากที่สุด (¯x = 4.92, S.D. = 0.27) รองลงมาคือ นักเรียน
สามารถนำความรู้เรื่องการสร้างคำในภาษาไทยซึ่งเรียนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึก
ทักษะไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ อยู่ในระดับมาก (¯x = 4.40, S.D. = 0.49) และควรส่งเสริม
ให้มกี ารจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝกึ ทักษะในการเรียนวชิ าภาษาไทยเพ่ิมมากข้ึน อยู่ในระดับ
มาก (¯x = 4.40, S.D. = 0.57) และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ ทำให้นักเรียนมี
ความรคู้ วามเข้าใจเรอื่ งการอ่านจบั ใจความสำคัญ อยูใ่ นระดับมาก (¯x = 4.36, S.D. = 0.48)
อันดับสุดท้ายคือด้านบรรยากาศในการจัดการเรียนรู้แบบฝึกทักษะพบว่า นักเรียนรู้สึก
สนุก มีความสุขในการร่วมทำกิจกรรมการเรียนรู้และทำแบบฝึกทักษะ อยู่ในระดับมากที่สุด
(¯x = 4.96, S.D. = 0.20) รองลงมาคือนักเรียนได้ใช้ความคิดทุกครั้งในการร่วมทำกิจกรรม
การเรียนรู้และทำแบบฝึกทักษะ อยู่ในระดับมากที่สุด (¯x = 4.92, S.D. = 0.27) และนักเรียน
กล้าแสดงความคิดเหน็ โดยใช้เหตุผลประกอบมากข้ึน อยู่ในระดบั มาก (¯x = 4.36, S.D.= 0.48) และ
การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะทำให้นักเรยี นมคี วามกระตือรือร้นอยู่ในระดับมากท่ีสุด
(¯x = 4.08, S.D. = 0.27) ตามลำดับ สอดคล้องกับงานวิจัยของ ไชยวัฒน์ อารีโรจน์ (2557: 100-
101) ศึกษาเรื่องการพัฒนาแบบฝึกทักษะการพูดรายงานการศึกษาค้นคว้าสำหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า ผลการศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อ
แบบฝึกทักษะการพูดรายงานการศึกษาค้นคว้าที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.79
64
ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.47 แสดงว่านักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 มคี วามคิดเห็นต่อแบบฝึก
ทกั ษะการพดู รายงานการศกึ ษาค้นคว้าอยใู่ นระดับมากทีส่ ุด
จากผลการศึกษาคร้ังนผี้ ู้ศึกษาพบว่า การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะเป็นวิธีการที่
ไม่ยากจนเกินไป มีขั้นตอนชัดเจน นักเรียนได้ฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ สร้างองค์ความรู้
ด้วยตนเอง และนำความรู้จากการเรียนมาใช้ในการทำแบบฝึกทักษะ เพื่อทบทวนบทเรียน ฝึกซ้ำ ๆ
จนเกิดความเข้าใจ สามารถทำแบบฝึกทักษะในห้องเรียนและนอกห้องเรียนทำให้นักเรียนรู้สึกสนุก
กระตือรือร้น คิดวิเคราะห์ จนทำให้ประสบความสำเร็จในการทำแบบฝึกทักษะ เกิดความภาคภูมิใจ
และเกดิ แรงจูงใจในการพัฒนาตนเองต่อไป
ข้อเสนอแนะ
จากการศึกษาเรื่องการพัฒนาแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับนักเรียน
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ตามทไี่ ดเ้ สนอไปแล้วข้างตน้ ผูศ้ กึ ษามขี อ้ เสนอแนะดังตอ่ ไปน้ี
ขอ้ เสนอแนะเพอื่ นำผลการศึกษาไปใช้
1. จากผลการศึกษาพบว่า ในการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ ควรใช้เวลา
ในการจัดการเรยี นรู้ให้มากขึ้น เพือ่ ผู้เรียนจะได้มโี อกาสฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์บ่อย ๆ จนเกดิ ความ
ชำนาญ ดงั น้ันครูควรเพิ่มเวลาในการจัดการเรียนรู้ ไมจ่ ำเป็นต้องจดั เป็นวชิ าเป็นชวั่ โมง ครูอาจแทรก
ในกิจกรรมการเรยี นรู้ตามปกติ ทำให้การจดั กิจกรรมการเรยี นรสู้ นุกสนาน น่าสนใจย่ิงขึ้น
2. จากผลการศึกษาพบว่า ในการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ นักเรียนยังขาด
ความรับผิดชอบในการทำงาน จึงไม่สามารถทำกิจกรรมให้เสร็จภายในระยะเวลาที่กำหนด ดังนั้นครู
ควรกำหนดข้อตกลงรว่ มกับนกั เรียน เพื่อฝึกความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมายให้เสร็จภายใน
ระยะเวลาท่กี ำหนด เชน่ การใหก้ ำลงั ใจ กลา่ วคำชมเชยเม่ือนักเรยี นปฏบิ ัติได้ การแนะนำขัน้ ตอนการ
ทำงาน
ขอ้ เสนอแนะในการศกึ ษาครง้ั ตอ่ ไป
1. ควรมีการศึกษาโดยใช้กลุ่มตัวอย่างในระดับชั้นอื่นในการทดลอง เพื่อศึกษา
การจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ อาจจะส่งผลการเรียนรู้ของกลุ่ม
ตัวอย่างทีแ่ ตกตา่ งกนั ไป
2. ควรมีการวิจยั และพัฒนาการจดั การเรยี นรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะสำหรับใช้ในการสอน
วิชาภาษาไทยในเนือ้ หาอืน่ ๆ เช่น การเขียนสะกดคำ การแต่งบทรอ้ ยกรอง
65
รายการอ้างอิง
กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นึ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช
2551. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย.
กำชยั ทองหล่อ. (2556). หลักภาษาไทย. พมิ พ์ครัง้ ที่ 54. กรงุ เทพฯ: รวมสาส์น (1977).
จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . (2542). บันทกึ การเสดจ็ พระราชดำเนนิ พระราชทานกระแสพระราชดำริ
เรอ่ื งปัญหาการใชค้ ำไทย. พิมพค์ รง้ั ท่ี 7. กรุงเทพฯ: ชมุ ชุมภาษาไทยคณะอักษรศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .
ชัยยงค์ พรหมวงค์. (2520). ระบบส่ือการสอน. กรงุ เทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.
__________. (2537). “การทดสอบประสิทธิภาพชุดการสอน.” เอกสารการสอนชุดวิชา
เทคโนโลยแี ละส่อื สารการศกึ ษา หน่วยท่ี 1-5. กรงุ เทพฯ:
มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช.
ไชยวฒั น์ อารโี รจน์. (2557). “การพัฒนาแบบฝกึ ทกั ษะการพดู รายงานการศึกษาค้นคว้าสำหรับ
นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3.” วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญาศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาการ
สอนภาษาไทย บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ฐะปะนยี ์ นาครทรรพ และคณะ. (2544). หนงั สือเรียนสาระการเรียนรพู้ น้ื ฐาน กลุม่ สาระภาษาไทย
ม.1. พมิ พค์ รง้ั ที่ 2. กรงุ เทพฯ: อกั ษรเจริญทัศน์.
________. (2550). หนงั สือเรียนสาระการเรยี นรู้พน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ม.1
ช่วงชั้นท่ี 3. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทศั น.์
ดวงเดอื น อ่อนน่วม และคณะ. (2536). เร่อื งน่ารสู้ ำหรบั ครูคณติ ศาสตร์. กรงุ เทพฯ:
ไทยวฒั นาพานิช.
ทวศี กั ดิ์ ไชยมาโย. (2537). คู่มือการปฏบิ ัติการจดั ทำแผนการสอน. นครพนม: หน่วยศกึ ษานเิ ทศก์
สำนักงานการประถมศึกษาจังหวดั นครพนม.
ทพิ ย์วิมล วงั แก้วหิรัญ. (2551). การจดั กระบวนการเรียนรู้. พมิ พ์คร้งั ที่ 1. สงขลา: เทมการพิมพ์.
ทิศนา แขมมณ.ี (2558). ศาสตรก์ ารสอน: องค์ความรูเ้ พอ่ื การจัดกระบวนการเรยี นรู้ที่มี
ประสิทธภิ าพ. พมิ พ์ครง้ั ท่ี 16. กรุงเทพฯ: สำนกั พมิ พ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย.
ธวชั ปณุ โณทก. (2543). วิวัฒนาการภาษาไทย. กรงุ เทพฯ: ไทยวฒั นาพานิช.
ธรี ญา เหง่ียมจุล. (2547). “การพัฒนาแบบฝกึ การอา่ นจบั ใจความสำคญั สำหรับนกั เรียน
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6.” วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยศิลปากร.
ธีรศกั ด์ิ อนุ่ อารมยเ์ ลศิ . (2551). เครอ่ื งมอื วิจยั ทางการศึกษา: การสรา้ งและการพฒั นา. นครปฐม:
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร.
66
นภัสชา ศรีเสนพลิ า. (2563). โรงเรียนเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห์) จงั หวดั ราชบรุ .ี สมั ภาษณ,์
2 กรกฎาคม 2563.
นรินทร์ สังข์รักษา. (2556). การวิจยั และพัฒนาทางการศกึ ษา. พมิ พ์ครง้ั ที่ 5. นครปฐม:
มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร.
นนั ทกา พหลยุทธ. (2541). “การพฒั นาการเรียนการสอนวชิ าหลักภาษาไทย ระดับช้ันมัธยมศึกษา
ปที ี่ 2.” รายงานการวจิ ยั คณะกรรมการวิจยั ทางการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.
นาวนิ ี หลำประเสรฐิ . (2552). หลกั ภาษาและการใชภ้ าษาไทย ม.1. กรุงเทพฯ:
พัฒนาคณุ ภาพวิชาการ.
บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวจิ ัยสำหรบั ครู. กรุงเทพฯ: สวุ รี ยิ าสาส์น.
ประยูร ทรงศิลป์. (2551). หลกั ภาษาไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบรุ .ี
ปราณี จันทรเ์ กนิ . (2563). โรงเรียนเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห์) จังหวัดราชบรุ .ี สัมภาษณ,์
2 กรกฎาคม 2563.
เปรมจิต ชนะวงศ์. (2538). หลักภาษาไทย. พมิ พค์ รง้ั ท่ี 8. นครศรีธรรมราช: โครงการตำราและ
เอกสารทางวชิ าการ สถาบันราชภัฏนครศรีธรรมราช.
________. (2545). เอกสารคำสอนหลกั ภาษาไทย (พิมพค์ ร้ังที่ 10). นครศรีธรรมราช:
สถาบันราชภฏั นครศรธี รรมราช.
เผชิญ กจิ ระการ. (2544). “การวิเคราะห์ประสิทธภิ าพสอื่ และเทคโนโลยเี พ่ือการศกึ ษา”. การวดั ผล
การศึกษา มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. 2(7) : 44-51 ; กรกฎาคม.
พรรณี ชูทัย. (2522). จติ วทิ ยาการเรียนการสอน. พมิ พ์ครั้งท่ี 8. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์วุฒิการพิมพ์.
________. (2528). จติ วทิ ยาการเรียนการสอน. กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั คอมแพคพร้นิ จำกัด.
พวงรัตน์ ทวรี ัตน์. (2543). วิธกี ารวจิ ยั ทางพฤตกิ รรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ:
สำนกั ทดสอบทางการศกึ ษาและจติ วิทยา มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
ฟองจนั ทร์ สขุ ยิง่ และคณะ. (2547). หนังสอื เรยี นสาระการเรียนร้พู ื้นฐาน กล่มุ สาระการเรยี นรู้
ภาษาไทย ม.3 ชว่ งช้นั ท่ี 3. กรงุ เทพฯ: อกั ษรเจรญิ ทัศน์.
มนตรี แย้มกสิกร. (2551). “เกณฑป์ ระสิทธิภาพในงานวิจัยและพฒั นาส่ือการสอน: ความแตกต่าง
90/90 Standard และ E1/E2”. วารสารศกึ ษาศาสตร์ 10 (1) 1-16 ตลุ าคม-มกราคม
2551.
มาเรียม นลิ พันธ.์ุ (2555). วธิ ีวจิ ยั ทางการศึกษา. พิมพ์ครัง้ ท่ี 6. นครปฐม: โรงพิมพม์ หาวทิ ยาลัย
ศิลปากร.
รังษิมา สรุ ิยารังสรรค์. (2555). “การพฒั นาแบบฝึกการอา่ นจบั ใจความสำหรับนักเรียนช้ัน
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 โดยใช้ข้อมูลทอ้ งถนิ่ จังหวัดเพชรบรุ ี.” วิทยานิพนธป์ ริญญาศกึ ษาศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาไทย บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร.
67
ราชบัณฑติ ยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2554. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรงุ เทพฯ: นานมีบคุ๊ ส์พบั ลิเคชัน่ ส์.
ลว้ น สายยศ และองั คณา สายยศ. (2538). เทคนคิ การวิจัยทางการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ:
ภาควิชาการวัดผลและวิจยั ทางการศึกษา มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมติ ร.
วรรณ แก้วแพรก. (2526). คมู่ อื การสอนเขยี นชนั้ ประถมศกึ ษา. กรุงเทพฯ: โอเดยี นสโตร์.
วรรณา บัวเกดิ และศรีสดุ า จริยากุล. (2534). เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาไทยเพอ่ื การส่ือสาร
หน่วยท่ี 1-7. พมิ พ์คร้งั ท่ี 7. กรงุ เทพมหานคร: มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช.
วนั เพญ็ เทพโสภา. (2553). หลักภาษาไทย ฉบับนักเรียน-นกั ศึกษา. กรงุ เทพฯ: พัฒนศึกษา.
วนั วิดา กจิ เจา.(2557). “การศกึ ษาผลสมั ฤทธ์กิ ารอ่านจับใจความสำคัญของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษา
ปีท่ี 1 ทจี่ ดั การเรยี นรโู้ ดยการเรยี นแบบร่วมมือเทคนิค STAD ร่วมกับเทคนคิ KWL Plus.”
วทิ ยานพิ นธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยศิลปากร.
วินยั ภูร่ ะหงษ์. (2531). ภาษาไทย 3 เล่ม 2 หน่วยที่ 7-15. พิมพค์ ร้งั ท่ี 13. นนทบรุ ี:
มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช.
วิมลรตั น์ สนุ ทรโรจน.์ (2545). เอกสารประกอบการสอนวิชา 0506711 สัมมนาหลกั สูตรและ
การสอนวิชาภาษาไทย. มหาสารคาม: ภาควชิ าหลกั สตู รและการสอน
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม.
________. (2549 ก). เอกสารการวจิ ยั ในชน้ั เรยี น. มหาสารคาม: มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม.
________. (2549 ข). เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 0506702: นวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้.
มหาสารคาม: มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.
________. (2553). นวัตกรรมตามแนวคดิ แบบ Backward Design. พิมพ์คร้ังที่ 3. กรุงเทพฯ:
สำนักพมิ พ์ชา้ งทอง.
วไิ ล จิตตอ์ ำไพ. (2558). โรงเรยี นเทศบาล 2 (วดั ช่องลม) จังหวัดราชบรุ ี. สมั ภาษณ์,
18 พฤษภาคม 2558.
สมถวลิ วเิ ศษสมบัต.ิ (2544). สอบภาษาไทยง่ายนดิ เดยี ว. กรงุ เทพฯ: อักษรไทย.
สมพงษ์ ศรีพยาด. (2553). “การพฒั นาชดุ แบบฝึกการเขียนสะกดคำ สำหรับนักเรียน
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6.” วิทยานพิ นธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวชิ าการสอนภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร.
สอางค์ ดำเนนิ สวสั ดิ์ และคณะ. (2546). หนงั สอื เรียนสาระการเรยี นรพู้ น้ื ฐานภาษาไทย
กล่มุ สาระกาเรยี นรู้ภาษาไทย ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6. กรุงเทพฯ: พัฒนาคุณภาพวิชาการ.
สำนกั งานคณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาต.ิ (2535). การศกึ ษาประสทิ ธิ์ผลของวิธกี ารสอนและ
การสอนภาษาไทย. กรงุ เทพฯ: สำนกั งานคณะกรรมการการประถมศกึ ษาแห่งชาติ.
68
________. (2537). เอกสารเสริมความรู้สำหรับครู การสอนภาษาไทยแบบมุ่งประสบการณ์
ทางภาษา ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1-2. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์คุรุสภาลาดพร้าว.
________. (2540). แนวทางการจัดทำผลงานทางวชิ าการสำหรบั ขา้ ราชการครู. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพรา้ ว.
สำนักนายกรัฐมนตรี. สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาต.ิ (2551). พระราชบัญญัติ
การศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 และทีแ่ ก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2545.
กรงุ เทพมหานคร: สกายบุ๊กส์ จำกดั .
สจุ รติ เพียรชอบ และสายใจ อินทรมั พรรย.์ (2536). วธิ ีสอนภาษาไทยระดับมธั ยมศึกษา. กรงุ เทพฯ:
สำนกั พิมพจ์ ุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
สธุ วิ งศ์ พงศ์ไพบลู ย์. (2544). หลกั ภาษาไทย. พมิ พค์ รงั้ ที่ 16. กรงุ เทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
สุนนั ทา สุนทรประเสรฐิ . (2543). การสร้างแบบฝึก. ชัยนาท: ชมรมพฒั นาความรดู้ ้านระเบียบ
กฎหมาย.
สพุ นิ บญุ ชูวงศ.์ (2554). เทคนคิ การสอน. กรงุ เทพฯ: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดสุ ติ .
สรุ พล พะยอมแย้ม. (2544). จิตวิทยาพนื้ ฐานสำหรับการศึกษา. นครปฐม: คณะศึกษาศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร.
สวุ ทิ ย์ มลู คำ. (2551). กลยุทธ์การสอนคิดเชงิ มโนทัศน์. กรงุ เทพฯ: ห้างห้นุ ส่วนจำกัด ภาพพิมพ์.
สวุ ทิ ย์ มูลคำ และอรทัย มลู คำ. (2547). 21 วธิ ีจัดการเรียนรู้เพอี่ พัฒนากระบวนการคดิ .
พิมพ์คร้ังที่ 5. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกดั ภาพพมิ พ.์
เสนยี ์ วิลาวรรณ. (2548). หนงั สอื เรยี นสาระการเรยี นรพู้ ืน้ ฐานพฒั นาทักษะภาษา ม.3 เล่ม 5.
กรงุ เทพฯ: วฒั นาพานิช.
เสาวณยี ์ โพธเิ์ ต็ง. (2563). โรงเรยี นเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห์) จังหวดั ราชบรุ .ี สัมภาษณ์,
2 กรกฎาคม 2563.
แสงระวี ประจวบวนั . (2553). “การพัฒนาทกั ษะการเขยี นความเรยี ง โดยใช้แบบฝึกทักษะ
ทีใ่ ช้วธิ ีการแผนที่ความคดิ สำหรับนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6.” วิทยานพิ นธ์
ปรญิ ญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาการสอนภาษาไทย บณั ฑติ วทิ ยาลัย
มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร.
อคั รา บุญทิพย.์ (2534). หลักภาษาไทยสำหรับครมู ัธยมศึกษาตอนต้น. กรงุ เทพฯ: โอเดียนสโตร์
อัจฉรา ชวี พนั ธ์. (2531). ศาสตรข์ องการสอนภาษาไทย. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์
จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
อญั ชลี แจม่ เจรญิ . (2526). ศึกษา 231 วธิ ีสอนวิชากลุ่มทักษะภาษาไทย. กรงุ เทพฯ:
โรงพมิ พเ์ จรญิ ผล.
อุปกิตศิลปสาร, พระยา. (2544). หลกั ภาษาไทย. กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นา.
69
ภาคผนวก
70
ภาคผนวก ก
รายชือ่ ผ้เู ช่ยี วชาญตรวจสอบเคร่อื งมือศึกษา
71
รายชอ่ื ผูเ้ ชี่ยวชาญตรวจเครื่องมอื การศกึ ษา
1. นายอศั วิน คงเพ็ชรศักด์ิ
ตำแหน่ง: ผู้อำนวยการสถานศึกษา
สถานทท่ี ำงาน: โรงเรยี นเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห์)
อำเภอเมืองราชบุรี จังหวดั ราชบรุ ี
ผู้เช่ียวชาญดา้ นวัดผลประเมินผล
2. นางสาวเบญญาณิช กจิ เต่ง
ตำแหนง่ : ครู วทิ ยฐานะเชี่ยวชาญ
สถานที่ทำงาน: โรงเรยี นเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห)์
อำเภอเมืองราชบรุ ี จังหวัดราชบรุ ี
ผู้เชี่ยวชาญดา้ นเทคโนโลยี
3. นางสาวเสาวณยี ์ โพธิเ์ ตง็
ตำแหนง่ : ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ
สถานที่ทำงาน: โรงเรยี นเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห)์
อำเภอเมืองราชบรุ ี จงั หวัดราชบุรี
ผูเ้ ชยี่ วชาญด้านเน้อื หา
72
ภาคผนวก ข
หนงั สือขอเชญิ เปน็ ผตู้ รวจเคร่ืองมือศึกษา
73
ท่ี รบ 52006.3 / 66 โรงเรียนเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห)์
ถนนมนตรีสุรยิ วงศ์ ตำบลหน้าเมอื ง
อำเภอเมืองราชบรุ ี จังหวัดราชบรุ ี 70000
๓ สงิ หาคม 256๓
เรือ่ ง ขอเชิญเปน็ ผเู้ ช่ียวชาญตรวจเคร่ืองมือศึกษา
เรยี น นายอศั วิน คงเพช็ รศกั ด์ิ
ด้วย นายสุเมธ เขียวโสภา ตำแหน่ง ครู กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กำลังศึกษา
เรอื่ ง “การพฒั นาความสามารถในการอ่านจบั ใจความสำคัญ ของนกั เรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ โดยใช้
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ” มีความประสงค์จะขอเรียนเชิญท่านในฐานะผู้เชี่ยวชาญ
ตรวจเครื่องมือศึกษาเพื่อประกอบการศึกษา ในการนี้โรงเรียนเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห์)
จงึ ขอความอนุเคราะหจ์ ากท่านโปรดเปน็ ผเู้ ช่ยี วชาญตรวจเครือ่ งมือศึกษาใหก้ บั ครดู ังกล่าวด้วย
จึงเรยี นมาเพื่อโปรดอนุเคราะห์ จกั ขอบพระคุณย่งิ
ขอแสดงความนบั ถอื
(นายอศั วิน คงเพ็ชรศักด์ิ)
ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา
โรงเรยี นเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห์)
ธรุ การโรงเรยี น
0 3233 7365
74
ที่ รบ 52006.3 / 67 โรงเรียนเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห)์
ถนนมนตรีสรุ ิยวงศ์ ตำบลหนา้ เมอื ง
อำเภอเมอื งราชบรุ ี จังหวัดราชบุรี 70000
๓ สิงหาคม 256๓
เร่ือง ขอเชิญเปน็ ผูเ้ ชยี่ วชาญตรวจเครือ่ งมือศึกษา
เรยี น นางสาวเบญญาณชิ กจิ เต่ง
ด้วย นายสุเมธ เขียวโสภา ตำแหน่ง ครู กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กำลังศึกษา
เร่อื ง “การพัฒนาความสามารถในการอา่ นจับใจความสำคญั ของนักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ โดยใช้
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ” มีความประสงค์จะขอเรียนเชิญท่านในฐานะผู้เชี่ยวชาญ
ตรวจเครื่องมือศึกษาเพื่อประกอบการศึกษา ในการน้ีโรงเรียนเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห์)
จึงขอความอนุเคราะหจ์ ากท่านโปรดเปน็ ผู้เช่ียวชาญตรวจเคร่ืองมือศึกษาใหก้ บั ครูดงั กลา่ วด้วย
จงึ เรยี นมาเพือ่ โปรดอนุเคราะห์ จักขอบพระคุณยงิ่
ขอแสดงความนับถือ
(นายอศั วิน คงเพช็ รศักด)ิ์
ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา
โรงเรียนเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห์)
ธรุ การโรงเรียน
0 3233 7365
75
ท่ี รบ 52006.3 / 68 โรงเรยี นเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห์)
ถนนมนตรสี ุรยิ วงศ์ ตำบลหน้าเมอื ง
อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี 70000
๓ สงิ หาคม 256๓
เร่อื ง ขอเชญิ เป็นผ้เู ชย่ี วชาญตรวจเครอ่ื งมือศึกษา
เรียน นางสาวเสาวณยี ์ โพธ์เิ ต็ง
ด้วย นายสุเมธ เขียวโสภา ตำแหน่ง ครู กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กำลังศึกษา
เรือ่ ง “การพัฒนาความสามารถในการอา่ นจบั ใจความสำคัญ ของนกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ โดยใช้
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ” มีความประสงค์จะขอเรียนเชิญท่านในฐานะผู้เชี่ยวชาญ
ตรวจเครื่องมือศึกษาเพ่ือประกอบการศึกษา ในการนี้โรงเรียนเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห์) จึงขอ
ความอนเุ คราะห์จากทา่ นโปรดเปน็ ผู้เช่ียวชาญตรวจเครือ่ งมอื ศกึ ษาใหก้ บั ครดู งั กลา่ วดว้ ย
จึงเรียนมาเพือ่ โปรดอนุเคราะห์ จกั ขอบพระคณุ ยง่ิ
ขอแสดงความนับถอื
(นายอัศวนิ คงเพ็ชรศักด)ิ์
ผ้อู ำนวยการสถานศึกษา
โรงเรียนเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห์)
ธรุ การโรงเรยี น
0 3233 7365
76
บันทึกขอ้ ความ
ส่วนราชการ โรงเรยี นเทศบาท 3 เทศบาลสงเคราะห์
ท่ี รบ. 52006.3/ วชิ าการ วันที่ 1 กุมภาพนั ธ์ 256๓
เร่อื ง ขอทดลองเครื่องมือศกึ ษา
เรยี น ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษาโรงเรียนเทศบาล 3 (เทศบาลสงเคราะห)์
ขา้ พเจ้า นายสุเมธ เขียวโสภา ตำแหนง่ ครู กล่มุ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย กำลังศึกษา
เรือ่ ง “การพัฒนาความสามารถในการอา่ นจบั ใจความสำคัญ ของนักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ โดยใช้
แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ” มีความประสงค์จะขอทดลองเครื่องมือศึกษากับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑/๓ ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 256๓ เพื่อประกอบการศึกษา ในการนี้
จงึ ขอความอนเุ คราะห์ จากท่านโปรดอนญุ าตให้ขา้ พเจ้าทดลองเครอื่ งมือศกึ ษาดว้ ย
จงึ เรียนมาเพือ่ โปรดใหค้ วามอนเุ คราะห์ จกั ขอบพระคณุ ยิง่
(นายสเุ มธ เขียวโสภา)
ตำแหนง่ ครู
77
ภาคผนวก ค
ข้อมลู แสดงความสอดคลอ้ งของเครื่องมือ
78
ตารางที่ 12 แสดงค่าดัชนีความสอดคล้องที่ได้จากการประเมินความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา
ของแบบฝกึ ทกั ษะการอ่านจบั ใจความสำคัญ ของผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 คน
ขอ้ ประเด็น ระดับความคิดเหน็ รวม ค่าความ
ของผเู้ ช่ียวชาญ สอดคลอ้ ง
12 3
1 วตั ถปุ ระสงค์
1.1 ความสอดคล้องของวตั ถุประสงค์ +1 +1 +1 3 1
ในการจัดทำแบบฝึกทักษะ
1.2 ความสอดคล้องของแผนการจัด +1 +1 +1 3 1
การเรียนรู้
1.3 ความสอดคล้องของแบบทดสอบ +1 +1 +1 3 1
2 เนื้อหา
2.1 ลำดบั ข้นั ตอนในการฝกึ ฝนเหมาะสม +1 +1 +1 3 1
2.2 ความยาก - ง่ายเหมาะสมกบั ผูเ้ รียน +1 +1 +1 3 1
3 การใช้ภาษา
3.1 ภาษาท่ีใชช้ ัดเจน รดั กมุ เหมาะสมและ +1 +1 +1 3 1
เข้าใจงา่ ย
3.2 ภาษาท่ีใช้เหมาะสมกับวัยและระดบั ชน้ั +1 +1 +1 3 1
ของผ้เู รยี น
4 รปู แบบของแบบฝึกทกั ษะ
4.1 ความสอดคล้องของเน้ือหา +1 +1 +1 3 1
4.2 ความสอดคล้องด้านขนาดตัวอกั ษรและ +1 +1 +1 3 1
รูปภาพประกอบ
79
ตารางที่ 13 ค่าดัชนีความสอดคล้องที่ได้จากการประเมินแบบสอบถามความ พึงพอใจ
สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ
การอา่ นจับใจความสำคญั ของผเู้ ชีย่ วชาญจำนวน 3 คน
ข้อ ประเดน็ ระดับความคดิ เห็น รวม คา่ ความ
ของผู้เช่ยี วชาญ สอดคล้อง
ด้านบรรยากาศในการจัดการเรยี นรู้ 12 3
โดยใชแ้ บบฝึกทักษะ
1 นกั เรยี นรู้สึกสนุก มีความสุขในการรว่ มทำ +1 +1 +1 3 1
กจิ กรรมการเรียนรู้และทำแบบฝึกทักษะ +1 +1 +1 3 1
2 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝกึ +1 +1 +1 3 1
ทักษะ ทำให้นกั เรยี นมีความกระตอื รือรน้ +1 +1 +1 3 1
3 นกั เรยี นกล้าแสดงความคดิ เห็นโดยใช้เหตผุ ล
ประกอบมากขน้ึ +1 +1 +1 3 1
4 นกั เรียนได้ใชค้ วามคิดทุกครั้งในการร่วมทำ
กจิ กรรมการเรยี นรู้และทำแบบฝกึ ทักษะ +1 +1 +1 3 1
ดา้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้
แบบฝึกทักษะ +1 +1 +1 3 1
5 การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้แบบฝกึ
ทกั ษะ ส่งเสรมิ ใหน้ กั เรียนพัฒนาทักษะ
การคดิ วเิ คราะห์ และสร้างองคค์ วามรใู้ หม่
ดว้ ยตนเอง
6 การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้โดยใช้แบบฝกึ
ทักษะ ทำให้นักเรยี นมีเวลาในการทำ
กจิ กรรมท่เี หมาะสม
7 การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝกึ
ทักษะ ทำใหน้ ักเรยี นมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ
การอ่านจับใจความสำคัญ
80
ตารางท่ี 13 ค่าดัชนีความสอดคล้องที่ได้จากการประเมินแบบสอบถามความ พึงพอใจ
สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ
การอา่ นจบั ใจความสำคัญ ของผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คน (ต่อ)
ขอ้ ประเด็น ระดับความคิดเหน็ รวม ค่าความ
ของผเู้ ช่ยี วชาญ สอดคล้อง
12 3
8 นกั เรยี นสามารถนำความรู้เรอื่ งการอา่ น
จับใจความสำคญั ซึ่งเรยี นโดยการจดั กจิ กรรม +1 +1 +1 3 1
การเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ ไปประยกุ ต์ใช้
ในชีวิตประจำวนั ได้
9 ควรส่งเสรมิ ให้มกี ารจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
โดยใช้แบบฝกึ ทักษะในการเรียนวิชา +1 +1 +1 3 1
ภาษาไทยเพมิ่ ข้ึน
ด้านเน้ือหาและรปู แบบของแบบฝึกทักษะ
10 ขนาดตวั อักษรอ่านงา่ ย ชัดเจน และ +1 +1 +1 3 1
เหมาะสม
11 แบบฝกึ ทกั ษะมกี ิจกรรมหลากหลาย +1 +1 +1 3 1
12 คำอธบิ ายเนื้อหาชัดเจน เข้าใจงา่ ย +1 +1 +1 3 1
13 เนอื้ หามีความยากง่ายเหมาะสมกับผู้เรยี น +1 +1 +1 3 1
14 จำนวนขอ้ ของแตล่ ะกจิ กรรมในแบบฝึกทกั ษะ +1 +1 +1 3 1
เหมาะสม
15 ภาษาท่ีใชเ้ หมาะสม +1 +1 +1 3 1
81
ตารางที่ 14 ผลการวิเคราะห์ค่าความยากง่าย ค่าอำนาจจำแนก ของแบบทดสอบวัดความสามารถ
ในการอ่านจับใจความสำคญั ของนักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 จำนวน 30 ข้อ
N=75
ขอ้ ท่ี ค่าความยากง่าย คา่ อำนาจจำแนก ข้อท่ี ค่าความยากง่าย คา่ อำนาจจำแนก
(p) (r) (p) (r)
1 0.79 0.56 21 0.77 0.21
2 0.35 0.06 22 0.52 0.71
3 0.71 0.55 23 0.60 0.51
4 0.29 0.19 24 0.83 0.51
5 0.67 0.60 25 0.88 0.25
6 0.42 0.25 26 0.75 0.40
7 0.75 0.71 27 0.56 0.56
8 0.42 0.36 28 0.79 0.56
9 0.50 0.58 29 0.83 0.30
10 0.60 0.41 30 0.42 0.36
11 0.79 0.35
12 0.48 0.45
13 0.63 0.44
14 0.50 0.58
15 0.50 0.58
16 0.63 0.33
17 0.58 0.59
18 0.69 0.63
19 0.71 0.44
20 0.60 0.30
82
ตารางท่ี 15 ผลการวิเคราะห์ค่าความยากง่าย ค่าอำนาจจำแนกและค่าความเชื่อม่ัน
ของแบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญ ของนักเรียน
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1
ขอ้ ที่ กลุม่ สูง กลุ่มตำ่ ค่าความยากง่าย (p) คา่ อำนาจจำแนก (r) คา่ ความเชื่อม่นั
1 42 33 0.79 0.56
2 42 33 0.71 0.55 0.98
3 42 33 0.67 0.60
4 42 33 0.75 0.71
5 42 33 0.60 0.41
6 42 33 0.79 0.35
7 42 33 0.63 0.44
8 42 33 0.63 0.33
9 42 33 0.69 0.63
10 42 33 0.71 0.44
11 42 33 0.77 0.21
12 42 33 0.83 0.51
13 42 33 0.88 0.25
14 42 33 0.79 0.56
15 42 33 0.83 0.30
16 42 33 0.60 0.30
17 42 33 0.60 0.51
18 42 33 0.88 0.25
19 42 33 0.75 0.28
20 42 33 0.73 0.79
21 42 33 0.63 0.33
22 42 33 0.69 0.63
23 42 33 0.83 0.51
24 42 33 0.71 0.55
25 42 33 0.63 0.44
26 42 33 0.88 0.25
27 42 33 0.71 0.55
28 42 33 0.83 0.51
29 42 33 0.69 0.63
30 42 33 0.71 0.44
83
ตารางท่ี 16 แสดงผลการหาประสิทธภิ าพรายบุคคล
คะแนนแบบฝกึ ทกั ษะระหว่างเรยี น คะแนน คะแนนทดสอบ
คนที่ เล่มท่ี 1 เลม่ ท่ี 2 เล่มท่ี 3 เลม่ ที่ 4 เลม่ ท่ี 5 ระหว่างเรยี น หลังเรยี น
10 10 10 10 10 30 30 คะแนน
1 9 8 7 6 7 22.20 22
2 8 7 7 7 7 21.60 20
3 10 9 8 8 8 25.80 28
รวม 27.00 24.00 22.00 21.00 22.00 69.60 70
คา่ เฉลีย่ 9.00 8.00 7.33 7.00 7.33 23.20 23.33
S.D. 1.00 1.00 0.58 1.00 0.58 2.27 4.16
ร้อยละ 90.00 80.00 73.33 70.00 73.33 77.33 77.78
X = 69.60 F = 70
E1 = 77.33 E2 = 77.78
84
ตารางท่ี 17 แสดงผลการหาประสทิ ธิภาพกลุ่มย่อย
คะแนนแบบฝกึ ทักษะระหวา่ งเรยี น คะแนน คะแนนทดสอบ
คนท่ี เล่มที่ 1 เลม่ ที่ 2 เลม่ ที่ 3 เล่มที่ 4 เลม่ ท่ี 5 ระหวา่ งเรยี น หลังเรียน
10 10 10 10 10 30 30 คะแนน
1 9 8 7 6 7 22.20 22
2 8 8 8 9 8 24.60 23
3 8 9 9 8 8 25.20 22
47 8 8 8 9 24 24
58 8 8 8 8 24 24
6 9 10 8 8 7 25.20 26
7 8 7 7 8 8 22.80 24
8 9 8 7 8 7 23.40 25
9 10 7 8 7 7 23.40 25
รวม 76.00 73.00 70.00 70.00 69.00 214.80 215
คา่ เฉล่ีย 8.44 8.11 7.78 7.78 7.67 23.87 23.89
S.D. 0.88 0.93 0.67 0.83 0.71 1.03 1.36
ร้อยละ 84.44 81.11 77.78 77.78 76.67 79.56 79.63
X = 214.80 F = 215
E1 = 79.56 E2 = 79.63
85
ตารางที่ 18 แสดงผลการหาประสทิ ธภิ าพภาคสนาม
คะแนนแบบฝึกทกั ษะระหวา่ งเรียน คะแนน คะแนนทดสอบ
คนที่ เลม่ ท่ี 1 เลม่ ท่ี 2 เล่มท่ี 3 เลม่ ที่ 4 เลม่ ที่ 5 ระหวา่ งเรยี น หลังเรียน
10 10 10 10 10 30 30 คะแนน
1 8 8 8 9 8 24.60 25
2 9 8 8 7 8 24.00 25
3 9 7 7 8 8 23.40 26
4 10 9 8 9 8 26.40 27
5 9 9 8 9 8 25.80 25
6 10 10 9 9 8 27.60 28
7 9 9 8 7 7 24.00 24
8 9 8 9 8 8 25.20 25
9 9 7 8 7 8 23.40 26
10 8 8 7 7 8 22.80 25
11 8 9 9 8 8 25.20 24
12 7 10 8 9 9 25.80 25
13 8 8 8 9 8 24.60 23
14 9 7 8 9 8 24.60 25
15 9 9 8 8 7 24.60 24
16 10 9 9 8 8 26.40 25
17 8 9 8 8 7 24.00 23
18 9 8 7 7 8 23.40 24
19 9 9 8 8 7 24.60 23
20 8 8 8 9 8 24.60 23
21 10 10 9 9 8 27.60 23
22 9 8 7 6 7 22.20 24
23 8 8 8 9 8 24.60 24
24 8 9 9 8 8 25.20 25
25 7 10 8 9 9 25.80 26
86
ตารางที่ 18 แสดงผลการหาประสทิ ธิภาพภาคสนาม (ต่อ)
คะแนนแบบฝึกทักษะระหว่างเรียน คะแนน คะแนนทดสอบ
คนที่ เลม่ ที่ 1 เล่มที่ 2 เล่มที่ 3 เลม่ ท่ี 4 เล่มที่ 5 ระหว่างเรยี น หลังเรียน
10 10 10 10 10 30 30 คะแนน
26 8 8 8 9 8 24.60 24
27 9 10 8 8 7 25.20 23
28 8 7 7 8 8 22.80 24
29 9 8 7 8 7 23.40 25
30 10 7 8 7 7 23.40 24
31 9 8 7 8 7 23.40 20
32 10 7 8 7 7 23.40 22
33 8 8 8 9 8 24.60 27
34 9 10 8 8 7 25.20 27
35 9 8 7 6 7 22.20 25
36 8 8 8 9 8 24.60 24
37 9 8 8 8 8 24.60 24
38 10 8 8 8 8 25.20 22
39 8 8 8 9 8 24.60 27
40 8 8 8 9 8 24.60 25
41 9 8 8 8 8 24.60 25
42 8 8 8 9 8 24.60 24
43 8 9 9 8 8 25.20 25
44 9 8 8 8 8 24.60 25
45 9 8 8 9 8 25.20 27
46 9 8 8 8 8 24.60 25
47 8 8 8 9 8 24.60 25
48 9 8 8 8 8 24.60 26
49 9 9 9 9 9 27.00 28
50 9 8 8 8 8 24.60 25
87
ตารางที่ 18 แสดงผลการหาประสทิ ธิภาพภาคสนาม (ต่อ)
คะแนนแบบฝกึ ทกั ษะระหวา่ งเรียน คะแนน คะแนนทดสอบ
คนท่ี เลม่ ที่ 1 เล่มท่ี 2 เลม่ ที่ 3 เล่มท่ี 4 เล่มที่ 5 ระหวา่ งเรียน หลงั เรียน
10 10 10 10 10 30 30 คะแนน
51 8 8 8 9 8 24.60 24
52 8 8 8 9 8 24.60 24
53 10 10 9 9 9 28.20 28
รวม 462.00 443.00 425.00 436.00 416.00 1309.20 1311
ค่าเฉล่ีย 8.72 8.36 8.02 8.23 7.85 24.70 24.74
S.D. 0.77 0.86 0.57 0.82 0.53 1.23 1.57
รอ้ ยละ 87.17 83.58 80.19 82.26 78.49 82.34 82.45
X = 1309.20 F = 1311
E1 = 82.34 E2 = 82.45
88
ตารางที่ 19 คะแนนความสามารถในการอ่านจบั ใจความสำคญั ระหว่างเรยี นและหลงั เรยี น
ของนักเรียนท่เี ป็นกลมุ่ ทดลอง จำนวน 30 คน
คะแนนแบบฝกึ ทกั ษะระหว่างเรยี น คะแนน คะแนนทดสอบ
คนท่ี เล่มท่ี 1 เลม่ ที่ 2 เลม่ ที่ 3 เล่มที่ 4 เล่มที่ 5 ระหวา่ งเรียน หลังเรียน
10 10 10 10 10 30 30 คะแนน
1 8 8 9 9 8 25.20 25
2 9 8 7 6 7 22.20 25
3 9 8 8 8 8 24.60 26
4 10 8 8 9 8 25.80 27
5 9 9 8 9 8 25.80 25
6 9 9 9 9 8 26.40 28
7 8 8 8 9 8 24.60 24
8 10 10 9 9 8 27.60 25
9 9 8 7 6 7 22.20 26
10 8 8 8 9 8 24.60 25
11 8 9 9 8 8 25.20 24
12 7 10 8 9 9 25.80 25
13 9 8 7 6 7 22.20 23
14 8 8 8 9 8 24.60 25
15 9 9 8 8 7 24.60 24
16 10 9 9 8 8 26.40 25
17 9 9 9 9 8 26.40 23
18 9 8 7 6 7 22.20 22
19 9 8 8 7 8 24.00 23
20 9 7 7 8 8 23.40 23
21 8 8 9 9 8 25.20 23
22 9 8 7 6 7 22.20 24
23 8 8 8 8 8 24.00 24
24 9 9 9 9 8 26.40 25
25 9 8 7 6 7 22.20 26
89
ตารางที่ 19 คะแนนความสามารถในการอ่านจับใจความสำคญั ระหวา่ งเรยี นและหลังเรียน
ของนักเรียนทเี่ ป็นกล่มุ ทดลอง จำนวน 30 คน (ต่อ)
คะแนนแบบฝึกทักษะระหว่างเรยี น คะแนน คะแนนทดสอบ
คนท่ี เล่มที่ 1 เล่มที่ 2 เลม่ ที่ 3 เลม่ ที่ 4 เล่มท่ี 5 ระหวา่ งเรียน หลงั เรียน
10 10 10 10 10 30 30 คะแนน
26 8 8 8 9 8 24.60 24
27 9 9 8 8 7 24.60 23
28 8 8 8 8 8 24.00 24
29 8 8 7 6 7 21.60 25
30 8 8 8 9 8 24.60 24
รวม 260.00 251.00 240.00 239.00 232.00 733.20 735
คา่ เฉลย่ี 8.67 8.37 8.00 7.97 7.73 24.44 24.50
S.D. 0.71 0.67 0.74 1.22 0.52 1.58 1.31
รอ้ ยละ 86.67 83.67 80.00 79.67 77.33 81.47 81.67
X = 733.20 F = 735
E1 = 81.47 E2 = 81.67
90
ตารางที่ 20 แสดงคะแนนเปรยี บเทียบความสามารถในการอา่ นจับใจความสำคัญก่อนและหลังเรยี น
นกั เรยี นคนท่ี คะแนน ผลตา่ ง (D)
ก่อนเรียน (30) หลังเรยี น (30)
1 14 22 8
2 20 23 3
3 14 24 10
4 18 23 5
5 17 22 5
6 21 25 4
7 16 21 5
8 22 24 2
9 20 24 4
10 19 26 7
11 22 24 2
12 20 25 5
13 18 25 7
14 20 27 7
15 22 26 4
16 19 23 4
17 17 25 8
18 20 26 6
19 17 24 7
20 24 26 2
21 21 25 4
22 21 27 6
23 22 26 4
24 20 25 5
25 19 23 4
26 17 25 8
27 20 25 5
28 18 25 7
29 22 26 4
30 19 23 4
D 579 735 156
91
ภาคผนวก ง
ตวั อย่างแผนการจัดการเรียนรู้การอ่านจับใจความสำคัญ
92
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๒
เวลาเรยี น ๑๐ ช่วั โมง
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๗ การอ่านจบั ใจความจากสอ่ื ตา่ ง ๆ เวลาเรยี น ๑ ช่ัวโมง
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ สนกุ สนานกับนทิ าน ๑
ครผู ูส้ อน นายสุเมธ เขียวโสภา
๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชวี้ ัด
สาระท่ี ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคดิ เพือ่ นำไปใช้ตัดสนิ ใจ
แกป้ ญั หาในการดำเนนิ ชีวิตและมีนสิ ยั รกั การอ่าน
ตวั ชวี้ ัด
ท ๑.๑ ม.๑/๒ จับใจความสำคัญจากเรอื่ งท่ีอ่าน
ท ๑.๑ ม.๑/๔ ระบุและอธิบายคำเปรียบเทียบและคำที่มีหลายความหมายในบริบทต่าง ๆ
จากการอ่าน
๒. สาระสำคัญ
การอ่านจับใจความนิทานที่ดี ต้องจับใจความสำคัญของเรื่องโดยการฝึกอ่านอย่างรวดเร็ว
ตั้งคำถามจากเรื่องที่อ่านว่ามีใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร เพราะอะไร และผลเป็นอย่างไร ลำดับ
เหตุการณว์ ิเคราะห์ความสัมพันธร์ ะหว่างเหตุและผลทีเ่ กิดข้ึน แสดงความคดิ เหน็ และบอกจุดมุ่งหมาย
ทส่ี ำคญั ของนิทานไดจ้ ะช่วยให้ผู้อา่ นมวี จิ ารณญาณในการอา่ นมากขึน้
๓. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
ดา้ นความรู้ (Knowledge)
๑. นกั เรยี นตอบคำถามเก่ียวกับนิทานได้ถูกต้อง
๒. นักเรียนสรปุ ใจความสำคัญของนิทานไดถ้ กู ตอ้ ง
๓. นกั เรยี นบอกข้อคดิ จากนิทานได้ถูกต้อง
ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (Process)
๑. นกั เรยี นมีทักษะการอ่านจบั ใจความนทิ าน
๒. นักเรียนมีทักษะการทำงานกลุ่ม
คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (Attitude)
๑. นกั เรียนมีวินัย
๒. นกั เรยี นมีมารยาทในการอ่าน
๔. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน
๑. ความสามารถในการส่ือสาร
๒. ความสามารถในการคิด