Digital Government
รัฐบาลดจิ ทิ ัล
อาจารย์ผสู้ อน อ.ปณั ฑช์ ณิช เพง่ ผล1
วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อไดร้ ับความรู้เกย่ี วกับ
1. ผูเ้ รยี นสามารถบอกความหมายของรฐั บาลดิจทิ ลั ได้
2. ผูเ้ รียนอธิบายการเปล่ียนแปลงสู่ Global Digital ได้
3. ผูเ้ รียนอธิบายอุปสรรคข์ องรฐั บาลดิจทิ ลั (Digital Government)
แหลง่ ทมี่ า : เอกสารวชิ าการ Academic Focus ภาครฐั ไทยกบั การกา้ ว
เขา้ ส่รู ฐั บาลดิจิทัล สานกั วชิ าการ สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร ISBN
2287-0520
2
หัวขอ้ รฐั บาลดิจทิ ัล(Digital Government)
1. ความหมาย Digital Government (รฐั บาลดิจทิ ลั )
2. การเปลี่ยนแปลงสู่ Global Digital
3. อุปสรรคของรฐั บาลดิจทิ ลั
3
4
Digital Government
ความหมายและลักษณะของรฐั บาลดิจทิ ัล
อาจารย์ผู้สอน อ.ปณั ฑ์ชณิช เพง่ ผล5
ความหมายของรฐั บาลดจิ ิทลั (Digital Government)
ขอบคุณภาพจาก GOOGLE 6
ความหมายของรัฐบาลดจิ ทิ ัล(Digital Government)
7
ความหมายของรัฐบาลดิจทิ ลั (Digital Government)
รฐั บาลดจิ ิทลั (Digital Governmentหมายถึง การออกแบบและ
ปรับเปลี่ยนรูปแบบบริการของรัฐ โดยอาศยั ข้อมลู ดิจิทลั เพอ่ื สรา้ งบริการของ
รัฐในรปู แบบใหม่ ผ่านเทคโนโลยี Mobile Social Cloud Technology
ในยคุ อินเทอรเ์ น็ต
โดยมีลกั ษณะ 3 ประการ คอื
8
ลกั ษณะของรฐั บาลดจิ ทิ ลั (Digital Government)
1. Reintegration เปน็ การบูรณาการการทางานของหน่วยงานภาครัฐตา่ ง ๆ
เข้าดว้ ยกัน เพ่ือให้เกดิ การก ากบั ควบคุมการบริหารภาครฐั ท่ีมีประสทิ ธิภาพ
2. Needs-based holism เปน็ การปรับปรุงองค์กรภาครฐั เพอ่ื ให้เกิดการ
ให้บรกิ ารสาธารณะทใ่ี ห้ ความส าคญั ตอ่ การน าความตอ้ งการของพลเมืองมาเป็น
ศนู ย์กลาง
3. Digitalization เป็นการใช้ศกั ยภาพอย่างเต็มท่ีในการน าระบบบรหิ าร
สารสนเทศมาใช้ รวมถงึ การ ให้ความส าคญั ตอ่ การสอ่ื สารผา่ นทางอินเทอร์เน็ตซึ่งจะ
เข้ามาแทนทว่ี ิธีการท างานแบบเดมิ (Digital Economy Thailand, ม.ป.ป.)
9
ลกั ษณะของรัฐบาลดิจทิ ัล (Digital Government)
สรุป
รัฐบาลดจิ ทิ ัล คอื เป็นการนาดจิ ทิ ลั เทคโนโลยีมาใช้เป็นกลยทุ ธส์ าคญั ในการ
ยกระดบั การ ทางานภาครัฐให้มคี วามทันสมยั เพอื่ สรา้ งบรกิ ารท่มี ีคณุ ค่าสู่ประชาชน ดว้ ย
การทางานอย่างเปน็ ระบบและ พง่ึ พาทุกภาคสว่ น ท้ังหน่วยงานภาครัฐ หนว่ ยงานอสิ ระ ภาค
ธุรกจิ ภาคประชาชน และปจั เจกบุคคลท่มี ี บทบาทในฐานะผ้ใู หแ้ ละผู้ใชข้ ้อมลู รวมถงึ ร่วม
สรรค์สรา้ งสาระทีจ่ าเปน็ และสาคัญตอ่ การใหบ้ รกิ ารของภาครฐั (Recommendation of
the Council on Digital Government Strategies, OECD, 2557, อ้างถงึ ใน สานักงาน
รัฐบาลอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์, 2558)
10
11
Digital Government
การเปลีย่ นแปลงสู่ Global Digital
อาจารยผ์ สู้ อน อ.ปัณฑช์ ณชิ เพง่ ผ1ล2
การเปล่ยี นแปลงสู่ Global Digital
จากชว่ งระยะเวลาที่ผา่ นมา เราจะเหน็ ได้ว่า เทคโนโลยีต่างๆ ได้ก้าวหน้าไป
อย่างรวดเร็ว สามารถใช้งานได้สะดวก เข้าถึงได้ง่ายข้ึน จากการใช้งานเฉพาะกลุ่ม
ก็ขยับขยายไปใช้งานได้อย่างกว้างขวาง ได้มากข้ึน ถูกนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่าง
มากมายและหลายทาง โดยท่เี ราไม่คาดคิดมาก่อน ไม่ใช่แตเ่ ฉพาะภาคธุรกิจเอกชน
เทา่ น้นั ภาครัฐ ในหลายๆ ประเทศ กไ็ ดน้ าเทคโนโลยีเหล่านีม้ าใช้มากข้ึน
13
การเปลี่ยนแปลงสู่ Global Digital
ในส่วนของประเทศไทย ไดม้ กี ารกาหนด ภูมิทศั นด์ จิ ิทลั ในระยะ 20 ปี
ระหว่างปี พ.ศ. 2561-2580
https://onde.go.th/ 14
การเปลย่ี นแปลงสู่ Global Digital
เพื่อให้วิสัยทัศน์และเป้าหมายในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลบรรลุผล
นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมจึงได้กาหนดกรอบ
ยทุ ธศาสตร์การพัฒนา 6 ดา้ นคือ
https://onde.go.th/
15
การเปลีย่ นแปลงสู่ Global Digital
ขับเคล่อื นจาก Digital Foundation ไปสู่ Global Digital Leadership
Digital Global Digital
Foundation Leadership
16
การเปลยี่ นแปลงสู่ Global Digital
ขบั เคล่อื นจาก Digital Foundation ไปสู่ Global Digital Leadership
17
การเปลี่ยนแปลงสู่ Global Digital
หมายความว่า ในวันหน่ึง ประเทศไทย จะสามารถใช้ ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
สร้างมลู คา่ ทางเศรษฐกจิ และมูลค่าทางสังคม แบบยั่งยนื
18
การเปล่ยี นแปลงสู่ Global Digital
ส่วนของภาครัฐ มีการวางแผนของภาครัฐ สู่งการเป็นรัฐบาลดิจิทัล ซ่ึงจะ
สอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 ของ Digital Thailand
19
อุปสรรคในการขบั เคลอื่ นสกู่ ารเปน็ รัฐบาลดิจิทลั
อปุ สรรคในการขับเคล่อื นสู่การเปน็ รฐั บาลดิจิทัล
20
อุปสรรคในการขบั เคลอื่ นสกู่ ารเปน็ รัฐบาลดิจิทลั
อปุ สรรคในการขับเคล่อื นสู่การเปน็ รฐั บาลดิจิทัล
21
22
Digital Government
แนวโนม้ ทศิ ทางการพฒั นารัฐบาลดิจิทลั โลก
อาจารย์ผสู้ อน อ.ปณั ฑช์ ณิช เพง่ ผ2ล3
เอกสารวิชาการ
แหลง่ ท่ีมา :
เอกสารวชิ าการ Academic Focus
ภาครฐั ไทยกับการกา้ วเข้าสู่รฐั บาลดจิ ทิ ัล
สานักวชิ าการ สานกั งานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร
ISBN 2287-0520
2559
24
แนวโนม้ ทศิ ทางการพฒั นารัฐบาลดิจทิ ัลโลก
เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามามีบทบาทสาคญั ในชีวิตของมนุษยแ์ ทบทุกดา้ น
การติดตอ่ ส่ือสารและ ปฏสิ ัมพนั ธ์ของผูค้ นในสงั คมดาเนนิ บนฐานของขอ้ มูล
ในอินเทอรเ์ น็ต หลายประเทศในโลกจงึ จาเปน็ ตอ้ ง ปรับตวั ไปสู่ความเปน็
ดจิ ิทลั โดยภาครัฐในหลายประเทศเปล่ียนแปลงจากระบบรัฐบาล
อิเล็กทรอนิกสไ์ ปสู่ ระบบรฐั บาลดจิ ิทัล สิง่ เหลา่ นสี้ ่งผลใหเ้ กดิ แนวโน้มทิศ
ทางการพฒั นารฐั บาลดจิ ทิ ลั โลกขน้ึ ดังน้ี
25
แนวโน้มทศิ ทางการพฒั นารัฐบาลดิจทิ ัลโลก
1. การบรู ณาการข้อมูลประชาชนให้เป็นภาพเดยี ว (Single View
of Citizen) เป็นการบูรณาการ ข้อมูลบุคคลและนิติบุคคลที่กระจัด
กระจายอยู่ในหลายหน่วยงานให้เป็นภาพเดียว เพื่อต่อยอดให้เกิด
ประโยชน์ ในการยกระดับคุณภาพงานบริการและการบริหารจัดการ
ภาครฐั
เชน่ ระบบอลั ทินน์ (Altinn) จากประเทศ นอร์เวย์ ซึ่งมีการบูรณา
การข้อมูลภาครัฐ ทาให้มีข้อมูลเพียงพอในการคานวณและยื่นภาษีโดย
อตั โนมตั ิ พลเมืองนอร์เวยจ์ งึ ไมจ่ าเปน็ ต้องกรอกแบบฟอรม์ เพอ่ื ย่นื ภาษี
26
แนวโนม้ ทศิ ทางการพัฒนารฐั บาลดิจิทัลโลก
2. การให้บริการภาครัฐแบบเฉพาะเจาะจงรายบุคคล
(Personalized Customer Experience) เป็น การมุ่งเน้นการ
ให้บริการภาครัฐโดยคานึงถึงความต้องการของประชาชน มีระบบ
วิเคราะห์เชิงลึกเพื่อให้บริการ แบบเฉพาะเจาะจงรายบุคคลได้อย่าง
ถกู ตอ้ งเหมาะสม
เช่น พอร์ทัลการท่องเที่ยว (Incredible India) ของ ประเทศ
อินเดีย ซ่ึงนาเสนอแผนการท่องเที่ยวที่เฉพาะเจาะจงรายบุคคลให้แก่
นักท่องเที่ยว และได้รบั รางวัล World Travel Award ใน พ.ศ. 2552
27
แแนนวโวนโม้นทม้ ศิ ททศิางทการงพกัฒารนพารัฒฐั บนาาลรดัฐิจทิบัลาโลลดกิจิทัลโลก
3. การให้บรกิ ารภาครัฐแบบครบวงจร ณ จดุ เดียว (One Stop
Service Management) เป็นการ บริการทร่ี วบรวมข้อมูลและบริการ
ของหลายหนว่ ยงานมาไว้ ณ จุดเดยี วแบบครบวงจร
เชน่ ระบบจดทะเบยี น ธุรกจิ ออนไลน์ (Online Business
Licensing Service: OBLS) ของประเทศสงิ คโปร์ ซึ่งเปน็ ระบบกลาง
ท่อี านวยความสะดวกใหน้ กั ธรุ กิจสามารถยน่ื ขอใบอนุญาตเพือ่ เรม่ิ ต้น
ธรุ กจิ ทุกประเภทได้ ผา่ นระบบเดียว และใชเ้ อกสารชดุ เดยี ว
28
แแนนวโวนโม้นท้มิศททิศางทการงพกัฒารนพารฒั ฐั บนาาลรดฐัจิ ทิบลัาโลลดกิจทิ ัลโลก
4. การเชอ่ื มต่ออุปกรณ์เคล่ือนท่ี (Internet of Things & Mobility)
เป็นการเช่ือมต่อข้อมูลจาก อุปกรณ์ดิจิทัลต่าง ๆ เพ่ือสนับสนุนการ
ปฏบิ ตั งิ านของเจา้ หน้าทภี่ าครฐั และอ านวยความสะดวกต่อประชาชน
เช่น โครงการ Safe City ของประเทศสิงคโปร์ ซึ่งเป็นระบบรกั ษา
ความปลอดภัยสาธารณะที่บูรณาการข้อมูล จากกล้องวงจรปิดไปยังศูนย์
บัญชาการ และนาเคร่ืองมือวิเคราะห์ภาพเคล่ือนไหวเชิงลึกมาประเมิน
สถานการณ์ เสีย่ งเพือ่ แจ้งเตือนเจ้าหน้าทกี่ ่อนเกิดเหตุ
29
แแนนวโวนโ้มนทม้ ิศททศิางทการงพกัฒารนพารฒั ฐั บนาาลรดฐัจิ ทิบัลาโลลดกจิ ทิ ัลโลก
5. การจดั การข้อมลู ขนาดใหญ่และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก (Big Data
& Analytics) เป็นการ บริหารและจัดการข้อมูลจานวนมากท้ังข้อมูลที่ถูก
จัดเก็บในฐานข้อมูล และข้อมูลท่ียังไม่มีระบบจัดการ (Unstructured Data)
โดยมกี ารวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกเพื่อน าไปใช้ตอ่ ยอดให้เกดิ ผล
เช่น ระบบบูรณาการ ตลาดแรงงานแบบครบวงจร (Integrated Virtual
Labor Market: IVLM) ของประเทศเยอรมัน ซึ่งวิเคราะห์ ข้อมูลเพ่ือคาดการณ์
และวางแผนการผลิตบุคลากรให้ตรงความต้องการของตลาดแรงงาน
30
แแนนวโวนโม้นท้มิศททิศางทการงพกฒัารนพารัฒฐั บนาาลรดฐัจิ ทิบัลาโลลดกจิ ิทัลโลก
6. การใช้บริการทางเทคโนโลยีร่วมกัน (Shared Services) เป็นการใช้
เครือข่ายข้อมูลและโครงสร้าง พื้นฐานเทคโนโลยี เช่น บริการด้านซอฟต์แวร์
ร่วมกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพจากการเพิ่มขนาด (Economies of Scale)
ตัวอย่างเช่น ระบบ SingPass และ CorpPass ของประเทศสิงคโปร์
ซ่งึ เป็นระบบกลางสาหรบั ยืนยนั ตวั ตนและบริหารจัดการสิทธิในการเข้ารับบรกิ าร
ทางอิเลก็ ทรอนิกสท์ ุกประเภทของทุกหนว่ ยงานภาครฐั
31
แแนนวโวนโม้นทม้ ศิ ททศิางทการงพกฒัารนพารัฒฐั บนาาลรดฐัจิ ทิบลัาโลลดกจิ ทิ ลั โลก
7. การสร้างสมดลุ ระหว่างความปลอดภัยและการอ านวยความสะดวก
(Rebalancing between Security & Facilitation) การยนื ยันตัวตนและ
การบรหิ ารจดั การสทิ ธนิ ้นั อาจมีขัน้ ตอนมาก จงึ จ าเปน็ ต้อง ค านึงถึงความ
สมดลุ ระหว่างการรกั ษาความปลอดภยั ของข้อมูลและการอ านวยความ
สะดวกให้เหมาะสม
เช่น โปรแกรม Automated Passport Control ของประเทศ
สหรัฐอเมรกิ า ซง่ึ ให้ผู้โดยสารท่ีได้รบั การยกเวน้ วซี ่า สามารถลงทะเบยี น
ล่วงหน้าเพื่อลดข้ันตอนการพิสูจนต์ ัวตน ในขณะทสี่ ามารถรกั ษามาตรฐาน
ความปลอดภยั ไว้ได้
32
แแนนวโวนโ้มนท้มิศททศิางทการงพกัฒารนพารัฒฐั บนาาลรดฐัิจทิบัลาโลลดกจิ ิทลั โลก
8. การเปลี่ยนแปลงโดยมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ (Outcome-driven
Transformation) เป็นการปรับเปลี่ยน กระบวนการทางานแบบครบ
วงจรท้ังในด้านทรัพยากรมนุษย์ ข้ันตอนการทางาน เทคโนโลยี และ
กฎระเบียบ เพ่ือให้สามารถขับเคลื่อนการเปล่ียนแปลงให้เกิดตาม
เป้าหมายอยา่ งเป็นรปู ธรรม
เช่น การพฒั นาระบบยืนยนั ตัวตน (Aadhar) ของประเทศอินเดีย
ที่ได้ศึกษาบทเรียนจากต่างประเทศและนามาประยุกต์ใช้เพ่ือขับเคลื่อน
การจดั เก็บข้อมลู ลายน้วิ มืออเิ ล็กทรอนกิ สใ์ ห้เกิดผลสาเรจ็ เป็นรูปธรรม
33
แแนนวโวนโม้นทม้ ศิ ททศิางทการงพกัฒารนพารฒั ฐั บนาาลรดฐัจิ ทิบัลาโลลดกิจิทลั โลก
9. ภาวะผูน้ าการเปลี่ยนแปลง (Change Leadership) เปน็ การ
ขับเคล่ือนการเปลี่ยนแปลงโดยผู้นาระดับประเทศ มีความมุ่งมั่น มี
วิสัยทัศน์ และเล็งเห็นความสาคัญของการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการ
พัฒนา ประเทศ
เช่น การพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ในประเทศสาธารณรัฐเกาหลีที่
ภาครัฐสามารถดาเนินงานได้ตามนโยบาย 4 และแผนปฏิบัติการที่วางไว้
เน่ืองจากได้รับการสนบั สนุนเชิงนโยบายจากผู้น าประเทศอย่างตอ่ เนื่อง
(Digital Government of Thailand, 2559)
34
35
Digital Government
ความเปน็ มาของรฐั บาลดจิ ิทัลในประเทศไทย
อาจารย์ผู้สอน อ.ปณั ฑช์ ณิช เพ่งผ3ล6
ความเป็นมาของรฐั บาลดจิ ทิ ลั ในประเทศไทย
แนวคิดการปรับเปล่ียนภาครัฐสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัลเป็นแนวคิด
ท่ีมาจากในคราวการประชุม คณะกรรมการเตรียมการด้านดิจิทัลเพื่อ
เศรษฐกิจดิจิทัลและสังคม ครั้งท่ี 1/2559 เม่ือวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2559
ที่พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีเป็นประธานการประชุม
โดยท่ปี ระชุมมีมติเห็นชอบ รา่ งแผนพฒั นาดิจทิ ัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
เพือ่ ปฏิรูปประเทศไทยสู่ DIGITAL THAILAND
37
คคววามาเมปเน็ ปมน็ าขมอางขรอัฐบงารลัฐดบิจาิทลั ดในจิ ปทิ ระัลเใทนศปไทรยะเทศไทย
คือการท่ีประเทศ ไทยสามารถสร้างสรรค์ และใช้ประโยชน์
จากเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างเต็มศักยภาพในการพัฒนาโครงสร้าง
พื้นฐาน นวัตกรรม ข้อมูล ทุนมนุษย์ และทรัพยากรอ่ืนใด เพ่ือ
ขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศไปสู่ความ
มน่ั คง มั่งค่ัง และยง่ั ยนื ตามนโยบายของรัฐบาล
38
เปา้ หมายของแผนพฒั นาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสงั คม
โดยร่างแผนพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและ สังคม มีเป้าหมายใน
ภาพรวม 4 ประการดงั ตอ่ ไปนี้
1. เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศ
ด้วยการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี ดิจิทัล เป็นเคร่ืองมือหลักในการ
สรา้ งสรรคน์ วตั กรรมการผลิตและการบริการ
2. สร้างโอกาสทางสังคมอย่างเท่าเทียมด้วยข้อมูลข่าวสารและ
บริการต่าง ๆ ผ่านส่อื ดจิ ิทัลเพ่ือ ยกระดบั คณุ ภาพชีวิตของประชาชน
39
เปป้า้าหหมมายาขยอขงอแผงนแพผฒันนพาฒั ดิจนทิ าลั ดเพิจอ่ื ิทเศัลรเษพฐอ่ื กเจิ ศแรลษะสฐงั กคิจมและสงั คม
3. เตรียมความพร้อมให้บุคลากรทุกกลุ่มมีความรู้และทักษะที่
เหมาะสมต่อการดาเนินชีวติ และ การประกอบอาชีพในยุคดิจิทัล
4. ปฏิรูปกระบวนทัศน์การท างานและการให้บริการของภาครัฐ
ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล และการใช้ ประโยชน์จากข้อมูลเพื่อให้เป็นการ
ปฏิบัติงานที่โปร่งใส มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล (กลุ่มยุทธศาสตร์
และ แผนการประชาสัมพันธ์ ส านักโฆษก, 2559 และกระทรวง
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร, 2559)
40
เปปา้ า้ หหมมายาขยอขงอแผงนแพผฒันนพาัฒดิจนทิ าลั ดเพจิ อื่ ทิ เศลั รเษพฐอ่ื กเิจศแรลษะสฐังกคจิมและสังคม
ท้ังนี้ เห็นได้ว่าเป้าหมายท่ีเก่ียวข้องกับรัฐบาลดิจิทัล คือ เป้าหมายการปฏิรูปกระบวน
ทัศน์การทางาน และการให้บริการของภาครัฐด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลและการใช้ประโยชน์จาก
ข้อมลู เพอ่ื ให้เปน็ การปฏิบัติงานที่ โปร่งใส มปี ระสทิ ธภิ าพ และประสทิ ธิผล
ซึ่งเป็นกระบวนทัศน์ของการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ และการ ให้บริการของ
ภาครัฐท่ีถูกเปลี่ยนแปลงด้วยเทคโนโลยดี ิจิทัล เพื่อใหบ้ ริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ มี
ความมั่นคงปลอดภัย มีธรรมาภิบาล และมีเป้าหมายการสร้างโอกาสทางสังคมอย่างเท่าเทียม
ด้วยข้อมูล ข่าวสารและบริการต่างๆ ผ่านส่ือดิจิทัลเพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน
เพราะจะทาให้ประชาชน ทุกกลุ่ม โดยเฉพาะกลุ่มผู้ด้อยโอกาสทางสังคม สามารถเข้าถึง
เทคโนโลยีดิจิทัลและสื่อดิจิทัลอย่างเท่าเทียม คุณภาพชีวิตของประชาชนจะดีขึ้นจากการเข้าถึง
ทรัพยากรสารสนเทศและบริการสาธารณะ โดยเฉพาะบริการ สาธารณะพ้ืนฐานที่จาเป็นต่อการ
ดารงชีวติ โดยผ่านทางเทคโนโลยีดิจิทัล
41
42
Digital Government
รฐั บาลดิจทิ ลั ก่อให้เกิด 10 แนวโน้มทส่ี าคญั ในประเทศไทย
อาจารย์ผสู้ อน อ.ปัณฑ์ชณชิ เพง่ ผ4ล3
รัฐบาลดจิ ทิ ลั ก่อให้เกดิ 10 แนวโน้มที่สาคญั ในประเทศไทย
การที่ภาครัฐผลักดันให้เกิดรัฐบาลดิจิทัลอย่างเป็นระบบ จะ
ก่อให้เกิดแนวโน้มท่ีสาคัญในประเทศไทย 10 ด้าน ซึ่งหากเกิดแนวโน้ม
ดังกล่าวขึ้น จะกระทบต่อประชาชนและหน่วยงานภาครัฐเป็นวงกว้าง
ดังน้ัน ภาครัฐจึงจ าเป็นต้องมีการเตรียมตัวอย่างเป็นระบบเพื่อรองรับ
ผลกระทบที่จะเกิดขนึ้ ซึง่ แนวโน้มท่ีสาคญั 10 ด้าน คอื
44
รฐั บบาาลลดดจิ ิจททิัลกัล่อกใอ่ หใเ้ หกิดเ้ ก1ิด01แ0นวแโน้มวทโนีส่ ม้าคทญั สี่ ใานคปัญระใเนทปศรไทะยเทศไทย
1. เครือข่ายอินเทอร์เน็ตของประเทศไทยจะถูกจัดสรรใหม่เช่นเดียวกับการ
จัดสรรคล่ืนความถ่ีในธุรกิจ โทรคมนาคม ภาครัฐจะสามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้
ทุกแห่ง และจะมีการเชื่อมต่อข้อมูลปลายทางจาก หน่วยงานภาครัฐ เช่น ข้อมูล
พื้นฐานจากบัตรประชาชน ทะเบียนบ้าน และอ่ืน ๆ จะเป็นข้อมูลพ้ืนฐานที่ สามารถ
ดึงไปใช้ได้ในทันที
2. ภาครฐั จะใช้ Cloud Computing เป็นพื้นฐานกว่าร้อยละ 50 เนอื่ งจากการ
ผลักดันของ กฎระเบียบต่าง ๆ รวมถึงการใช้งานจากภาครัฐและภาคเอกชนที่แสดงให้
เห็นแล้วว่ามีประสิทธิภาพและ ประหยัดกว่า ซึ่งระบบใหญ่ ๆ ของภาครัฐจะมีการใช้
งานผา่ น Cloud Computing โดยภาครัฐจะมีระบบ G-Cloud เข้ามารองรับอยา่ ง
สมบูรณ์
45
รัฐบบาาลลดดิจจิททิลั กลั ่อกใอ่ หใเ้ หกิดเ้ ก1ิด01แ0นวแโนม้วทโน่ีสม้าคทัญส่ี ใานคปัญระใเนทปศรไทะยเทศไทย
3. การใช้จ่ายภาครัฐหรืองบประมาณภาครัฐทางด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศจะเปลี่ยนเป็นการพัฒนา เฉพาะแอปพลิเคชันถึงร้อยละ 50 การ
จัดซ้ือฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และอุปกรณ์เครือข่ายจะลดลง เพราะ นโยบาย
การสรา้ ง Data center แห่งชาติ และระบบ G-Cloud จะทาใหร้ ะบบการ
จัดซ้ือระบบเทคโนโลยี สารสนเทศของภาครัฐเปลี่ยนไป
4. ภาครัฐจะแบ่งปันข้อมูลแบบมาตรฐานเข้าสู่โครงการ Open Data
ประมาณ 200 ชุดข้อมูล ซ่ึงถือว่าจะยังไม่มากนัก แต่หลังจากน้ันจะเกิดชุด
ขอ้ มูลแบบก้าวกระโดด
46
รัฐบบาาลลดดิจิจทิทัลกัล่อกใอ่ หใเ้ หกิดเ้ ก1ดิ 01แ0นวแโน้มวทโนี่ส้มาคทัญส่ี ใานคปัญระใเนทปศรไทะยเทศไทย
5. แอปพลเิ คชันบนโทรศพั ท์มือถอื ของภาครัฐจะมใี ห้บรกิ ารประชาชน
มากกว่า 500 โปรแกรม และจะกลายเป็นแอปพลิเคชันหลักในตลาด โดย
แอปพลิเคชันเหล่าน้ีจะมาจากภาครฐั โดยตรงและจากการ พัฒนาเชิงพาณิชย์
ของนกั พฒั นาซอฟต์แวร์ภาคเอกชน
6. การจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) จะเริ่มดาเนินการ โดย
อาจจะมีองค์กรใหม่ของภาครฐั เข้า มาจัดการ และจะมีนักวิทยาศาสตร์ข้อมูล
(Data Scientist) ภาครัฐข้ึน เพ่ือให้ฝ่ายบริหารของรฐั บาลได้ข้อมูล ท่ีส าคัญ
และน าไปช่วยในการบริหารงานตอ่ ไป
47
รฐั บบาาลลดดจิ จิทิทัลกัล่อกใ่อหใ้เหกิดเ้ ก1ดิ 01แ0นวแโน้มวทโนส่ี ม้าคทญั ี่สใานคปัญระใเนทปศรไทะยเทศไทย
7. Internet of Thing (IOT) ในภาครัฐจะเริ่มเกิดขนึ้ การเข้ามาของ
IOT คือการท่ีส่ิงของทุกอย่าง สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้เอง แนวคิดนี้
ถูกนามาสร้างเป็นผลิตภัณฑ์จริงบ้างแล้ว ซ่ึงส่ิงนี้คือแนวโน้มใหญ่ ของโลกท่ี
แสดงใหเ้ ห็นถงึ การพฒั นานวตั กรรมเขา้ มาสูร่ ะบบรฐั บาลดจิ ทิ ลั ในเรว็ ๆ น้ี
8. จุดให้บริการของภาครัฐต่อประชาชนจะเริม่ เปล่ียนจากการใช้คนมา
เป็นใช้เครื่อง ไม่ว่าจะเป็น ตู้คีออส (Kios) ตู้ขายสินค้าอัตโนมัติ (Vending
Machine) หรือเคร่ืองอัตโนมัติต่าง ๆ ประชาชนจะดาเนิน ธุรกรรมต่าง ๆ
ผ่านเครอื่ งด้วยตนเอง ซึ่งจะลดขั้นตอนและลดปัญหาต่าง ๆ ลงไปได้มาก
48
รัฐบบาาลลดดิจจิททิลั กลั อ่กใอ่ หใเ้ หกดิ้เก1ิด01แ0นวแโนม้วทโน่ีสม้าคทญั ี่สใานคปัญระใเนทปศรไทะยเทศไทย
9. ประชาชนจะเร่ิมเก็บข้อมูลธุรกรรมกับภาครัฐต่าง ๆ ไว้กับตัว
และสามารถบริหารข้อมูลเหล่าน้ันให้ เป็นประโยชน์ได้ โดยการจัดเก็บ
และการบริหารอาจอยู่ในรูปแบบท่ีแตกต่างกัน เช่น เก็บในฮาร์ดดิสก์
ส่วนตัว หรือเก็บไว้บนคลาวด์ แต่ทั้งหมดต้องสามารถดึงมาใช้ได้ทันทีที่
ต้องการ
49
รฐั บบาาลลดดิจิจททิัลกัลอ่กใอ่ หใ้เหกิดเ้ ก1ดิ 01แ0นวแโนม้วทโนี่ส้มาคทญั ีส่ ใานคปญั ระใเนทปศรไทะยเทศไทย
10. ระบบแอปพลิเคชันใหม่ ๆ ของภาครัฐจะเชื่อมโยงกับ
เทคโนโลยีใหม่ ๆ ไม่ว่าจะเป็นระบบ Payment Gateway และ
ระบบอ่ืน ๆ ที่เป็นของภาคเอกชน ดังนั้นแอปพลิเคชันต่าง ๆ ของ
ภาครัฐจะมี การให้บริการในหลากมิติ (ส านักงานรัฐบาล
อิเลก็ ทรอนิกส์ เผย 10 แนวโน้มรัฐบาลดจิ ิทัล, 2559)
50