The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pattarapong Promjun, 2022-10-31 07:40:41

SOC136-DigitalGovernment

SOC136-DigitalGovernment

Keywords: SOC136,DigitalGovernment

รัฐบาลดจิ ิทลั กอ่ ใหเ้ กิด 10 แนวโนม้ ทส่ี าคญั ในประเทศไทย

แนวโน้มทั้งหมดน้ีถือว่าเป็น The New Paradigm of
Government Services ที่จะเข้ามาส่ปู ระเทศ ไทยในไม่ช้า ซึ่งจะเป็น
การยกระดับและทาให้บริการของภาครัฐต่อประชาชนเปล่ียนไปอย่าง
พลิกโฉม เพราะ เป็นการเปล่ียนทั้งระบบ ไม่ใช่การเปลี่ยนเฉพาะ
หน่วยงานภาครัฐที่มีความพร้อมเท่านั้น โดยประชาชนจะได้รับ
ประโยชน์จากรัฐบาลดิจิทัลที่อยู่เคียงข้างและคอยให้บริการ รวมทั้ง
สนับสนนุ เศรษฐกจิ ดิจิทลั อย่างเต็มท่ี

51


52


Digital Government

การปรบั เปลี่ยนภาครฐั ไทยสกู่ ารเป็นรฐั บาลดิจิทัล

อาจารย์ผ้สู อน อ.ปณั ฑ์ชณชิ เพง่ ผ5ล3


การปรับเปล่ยี นภาครฐั ไทยสกู่ ารเป็นรัฐบาลดิจทิ ัล

สาหรับแนวคิดการปรับเปลี่ยนภาครัฐไทยสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล
เป็นแนวคิดท่ีมุ่งใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ในการปรับปรุงประสิทธิภาพการ
บริหารจัดการของหนว่ ยงานภาครฐั ท้ังส่วนกลางและส่วนภูมิภาคอย่างมี
แบบ แผนและเป็นระบบจนสามารถพัฒนาสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัลโดย
สมบูรณ์โดยลักษณะของบริการภาครัฐหรือ บริการสาธารณะจะอยู่ใน
รูปแบบดิจิทัลท่ีขับเคลื่อนโดยความต้องการของประชาชนหรือ
ผูใ้ ชบ้ ริการ (citizen driven)

54


กาารรปปรรบั ับเปเลป่ยี ลนีย่ แนลภะยากครระฐัดไบั ทภยาคสรกู่ ฐั าไทรยเปส่กูน็ ารฐัเปบ็นารลัฐบดาจิ ลิทดลัิจทิ ลั

ซึ่งหมายถึงการท่ีประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้โดยไม่มีข้อจากัดทาง
กายภาพ พนื้ ที่ และภาษา

ซ่งึ ความกา้ วหน้าของเทคโนโลยดี ิจิทัลจะช่วยใหร้ ัฐบาลสามารถหลอมรวม
การทางานของภาครัฐเสมือนเป็น องค์กรเดียว รัฐบาลดิจิทัลในอนาคตจะต้อง
เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกาหนดแนวทางการ บริหารบ้านเมือง
และเสนอความคดิ เหน็ ตอ่ การดาเนินงานของภาครฐั ไดอ้ ย่างสมบูรณ์

ท้ังน้ี การปรับเปลี่ยนและยกระดับ ภาครัฐ ไทยสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล
จาเปน็ ต้องดาเนนิ การในหลายสว่ น ประกอบดว้ ย 4 ด้านด้วยกนั

55


56


Digital Government

สิง่ ทีจ่ าเปน็ ตอ้ งดาเนินการ เพ่อื การปรบั เปลย่ี น
และยกระดับภาครฐั ไทยสู่การเปน็ รัฐบาลดจิ ิทัล

อาจารย์ผ้สู อน อ.ปณั ฑช์ ณิช เพง่ ผ5ล7


สงิ่ ทจี่ าเปน็ ต้องดาเนนิ การ เพื่อการปรบั เปล่ียนและยกระดบั ภาครฐั ไทยสู่การเป็นรัฐบาลดจิ ทิ ลั

1. การปรับเปลี่ยนการทางานภาครัฐด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล ให้มี
ประสิทธิภาพ และมีธรรมาภิบาล เน้นการเช่ือมโยงข้อมูล และการ
ทางานของหน่วยงานภาครัฐเข้าด้วยกัน (connected government)
โดยบูรณาการข้อมูลข้ามหน่วยงานจนเสมือนเป็นองค์กรเดียว (one
government) ทาให้เกิดการใช้ทรัพยากร ดิจิทัลร่วมกันอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพสงู สุด ซ่ึงจะลดความซ้าซอ้ นในการลงทุนในทรัพยากร

58


สิ่งทจี่ าเป็นตอ้ งดาเนินการ เพอื่ การปรบั เปลี่ยนและยกระดับภาครฐั ไทยสู่การเป็นรฐั บาลดิจทิ ลั

นอกจากนี้ การพัฒนา back office รุน่ ใหม่เพื่อรองรบั การปรับเปลีย่ น
กระบวนการบริหารจัดการทุกอย่าง ของรัฐให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัลอย่างเป็น
ระบบ รวมถึงการนาเอกสารอิเล็กทรอนิกส์มาใช้แทนกระดาษ เพื่อลด
ข้นั ตอน และเพ่ิมประสทิ ธิภาพในกระบวนการทางานของหน่วยงานภาครัฐทั้ง
ในส่วนการให้บรกิ ารประชาชน และการบริหารจดั การหนว่ ยงานภาครัฐ

โดยระบบ back office ของสว่ นราชการต้องรองรับการแลกเปล่ียน
ข้อมลู อิเล็กทรอนกิ สไ์ ดโ้ ดยสมบรู ณร์ วมท้งั ตอ้ งมีการเตรียมความพรอ้ มสาหรับ
การเพิ่มข้ึนของข้อมูลจานวน มหาศาลในระบบ ในด้านการจัดเก็บข้อมูล การ
วเิ คราะห์ข้อมูล และการจดั การความปลอดภยั ไซเบอร์(Cyber Security)

59


ส่งิ ท่ีจาเป็นต้องดาเนินการ เพอื่ การปรับเปลีย่ นและยกระดบั ภาครฐั ไทยสู่การเปน็ รัฐบาลดิจิทัล

2. การสนับสนุนให้มีการเปิดเผยข้อมลู ทเี่ ป็นประโยชน์ (open data) และ
ส่งเสริมให้ประชาชนมี ส่วนร่วมในกระบวนการทางานของรัฐ (open
government) เพื่อนาไปสู่การเป็น Digital Thailand โดยการ ส่งเสริมให้
หน่วยงานภาครัฐและประชาชน เปิดเผย จดั เก็บ แลกเปลี่ยน และบูรณาการข้อมูล
ตามมาตรฐาน open data เพอ่ื นามาซ่ึงการพัฒนาฐานข้อมูล รวมถึงชุดข้อมูลดา้ น
ต่าง ๆ โดยเชื่อมโยงข้อมูลจากทุก หน่วยงานภาครัฐโดยไม่ยึดติดความเป็นเจ้าของ
และเปิดเผยตอ่ สาธารณะ เพ่ือใหเ้ กิดการพัฒนานวัตกรรม บริการ และสรา้ งคุณค่า
ทางเศรษฐกิจและสังคม เช่น ทะเบียนข้อมูลประชาชน ท่ีเก็บรวบรวมข้อมูลบุคคล
ตั้งแต่เกิดจนตายสาหรับการวางแผนพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ข้อมูลสุขภาพที่จะ
พฒั นาส่บู รกิ ารสุขภาพดี

60


สงิ่ ที่จาเปน็ ต้องดาเนินการ เพ่ือการปรบั เปลยี่ นและยกระดบั ภาครัฐไทยสู่การเปน็ รัฐบาลดจิ ทิ ลั

การเชื่อมโยงการบริหารจัดการ การพัฒนา และการให้บริการของ
ภาครัฐ จะทาให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนในการกาหนดนโยบาย
และเปน็ สว่ น หนึง่ ของกระบวนการตดั สินใจท่ีเกิดจากการหลอมรวมทาง
สังคม รวมท้ังเกิดการตรวจสอบการท างานของ ภาครัฐ นาไปสู่ความ
โปร่งใสและลดปัญหาการทุจริตถ้วนหน้า (universal healthcare)
ทะเบยี นขอ้ มูลเกษตร เป็นตน้

61


สง่ิ ที่จาเป็นตอ้ งดาเนนิ การ เพ่อื การปรบั เปล่ยี นและยกระดบั ภาครฐั ไทยสู่การเปน็ รฐั บาลดจิ ทิ ลั

3. การพัฒนาแพลตฟอร์มบริการพื้นฐานภาครัฐ (government service
platform) เพื่อรองรับ การพัฒนาแอปพลิเคชันหรือบริการรูปแบบใหม่ท่ีเป็น
บริการพื้นฐานของทุกหน่วยงานภาครัฐ โดยส่งเสริม ให้เกิดการพัฒนา
แพลตฟอร์ม 7 บริการพ้ืนฐาน ซ่ึงเป็นการปรับเปลี่ยนรูปแบบการทาธุรกรรม
และการให้บริการ ท่ีเป็นบริการพื้นฐานของทุกหน่วยงานภาครัฐ เพ่ืออานวย
ความสะดวกสาหรับทุกหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน เช่น
บริการใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์บริการยืนยันตัวตน บริการช าระเงินทาง
อิเล็กทรอนิกส์ บริการโลจิสติกส์ให้สะดวก รวดเร็ว และมีความปลอดภัยในการ
ใช้งานและใหบ้ ริการ

62


สง่ิ ท่จี าเป็นต้องดาเนนิ การ เพอื่ การปรบั เปลยี่ นและยกระดบั ภาครฐั ไทยสู่การเปน็ รฐั บาลดจิ ทิ ลั

4. การจัดให้มีบริการอัจฉริยะ (smart service) ท่ีอานวยความสะดวกต่อ
ประชาชนตามความต้องการ ของประชาชนผู้รับบริการ บริการอัจฉริยะเป็นการแปร
สภาพการบริการภาครัฐจากรูปแบบเดิมไปสู่รูปแบบ การบริการท่ีประชาชนผู้รับบริการ
สามารถเลือกใช้บริการสาธารณะผ่านระบบดิจิทัลตามความต้องการของ แต่ละบุคคลได้
ดว้ ยตนเอง รวมท้ังการพฒั นาไปสู่การบริการสาธารณะในลักษณะอัตโนมัติ(automated
public services) ตามหลักการออกแบบที่เป็นสากล และเข้ากับสถานการณ์โดย
ประชาชนผู้รับบริการ ไม่ต้องร้องขอหรือย่ืนเรื่องตอ่ รัฐ เช่น เมื่อมีเด็กเกิดใหม่ ประชาชน
ไม่ต้องแจ้งเกิดต่อภาครัฐ แต่ระบบจะเชื่อมโยง กับข้อมูลการแจ้งเกิดโดยโรงพยาบาล
และบันทึกข้อมูลลงฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์รวมท้ังส่งหลักฐานให้ ผู้ปกครองของเด็ก
เกิดใหม่เอง เป็นต้น (กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร, 2559, น.43-46)

63


64


Digital Government

ระยะการปรบั เปล่ยี นภาครัฐไทยสกู่ ารเปน็ รัฐบาลดิจิทลั

อาจารย์ผสู้ อน อ.ปัณฑ์ชณิช เพ่งผ6ล5


ระยะการปรับเปลีย่ นภาครัฐไทยส่กู ารเปน็ รฐั บาลดิจิทลั

การปรับเปลี่ยนภาครัฐสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัลต้องโปร่งใส
อานวยความสะดวก รวดเรว็ และเชอื่ มโยง เป็นหน่งึ เดยี ว

การบริการของภาครัฐต้องตอบสนองต่อความต้องการของ
ประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และแม่นยา และต้องมีโครงสร้าง
พื้นฐาน การจัดเก็บ การบริหารข้อมูลที่บูรณาการไม่ซ้าซ้อน พร้อม
รองรับการ เช่ือมโยงการทางานระหว่างหน่วยงาน การให้บริการ
ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งให้ประชาชน เข้าถึงข้อมูล
ภาครัฐได้สะดวก และเหมาะสม เพื่อส่งเสริมความโปร่งใส และการมี
สว่ นร่วมของประชาชน

66


ระยะการปรับเปลย่ี นภาครัฐไทยสู่การเปน็ รฐั บาลดจิ ิทัล

การปรบั เปล่ียนดังกล่าวต้องมีการดาเนนิ การตามลาดับอย่างเปน็ ระยะ
โดยแบ่งออกเปน็ 4 ระยะ ดังนี

67


ระยะการปรบั เปลี่ยนภาครัฐไทยสู่การเปน็ รฐั บาลดจิ ทิ ัล

ระยะที่ 1 ภาครฐั ไทยลงทุนและสรา้ งฐานรากในการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
การบรหิ ารจัดการของรัฐ จะถูกปรับเปล่ียนเป็นรฐั บาลดิจิทลั อย่างเป็นระบบ มี
การใช้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์แทนกระดาษมากข้ึน เกิดการ ใช้ทรพั ยากรดิจิทัล
ร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เริ่มบูรณาการข้อมูลและทรัพยากรร่วมกัน
นาไปสกู่ าร เช่ือมโยงหน่วยงานภาครัฐ (connected government) และการมี
ชุดข้อมูลและระบบบริการพื้นฐานภาครัฐ (government service platform)
ที่มีมาตรฐาน สามารถเข้าถึง แลกเปล่ียน เชื่อมโยง และใช้งานร่วมกันไดะยะ
การปรับเปลี่ยนภาครัฐไทยสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล ด้ระยะการปรับเปลี่ยน
ภาครฐั ไทยสู่การเปน็ รัฐบาลดจิ ิทัล

68


ระยะการปรบั เปลยี่ นภาครัฐไทยสกู่ ารเปน็ รฐั บาลดจิ ิทลั

ระยะท่ี 2 ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลตามแนวประชารัฐ เกิดการ
เช่ือมโยง หน่วยงานภาครัฐและบูรณาการข้อมูลข้ามหน่วยงานโดยสมบูรณ์ผู้บริหารภาครัฐ
สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ ทุกระดับ และใช้ประโยชน์จากการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ เพื่อ
ประกอบการวางแผนและการตัดสินใจอย่าง ถูกต้อง ทันสถานการณ์ พัฒนาบริการภาครัฐตาม
ความต้องการของประชาชนผู้รับบริการตามหลักการ ออกแบบที่เป็นสากล (universal design)
ผ่าน single window service เพ่ิมขึ้น การบริหารจัดการภาครัฐ และการบริการภาครัฐต้องยึด
ประชาชนเป็นศูนย์กลาง และให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเชิงนโยบาย ผ่านทาง
อิเล็กทรอนิกส์(connected governance) ตลอดจนเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลและมี
ส่วน ร่วมในการก าหนดแนวทางการพัฒนาภาครัฐ (open government) และเสนอความ
คดิ เหน็ ตอ่ การด าเนินงาน ของภาครัฐไดอ้ ยา่ งสะดวก ทนั สถานการณม์ น่ั คง ปลอดภัย และรักษา
ความเป็นส่วนตัวของข้อมูล ซ่ึงน าไปสู่ การด าเนินงานท่ีมีความโปร่งใส (transparency) และ
น่าเชื่อถอื (accountability) ซ่ึงสามารถถูกตรวจสอบได้ จากประชาชน

69


ระยะการปรบั เปล่ยี นภาครัฐไทยสกู่ ารเปน็ รัฐบาลดิจทิ ัล

ระยะท่ี 3 ภาครัฐไทยสามารถขับเคล่ือนและใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมดิจิทัลได้
อย่างเต็มศักยภาพ ภาครัฐมกี ระบวนการท างานเป็นระบบดจิ ิทลั โดยสมบูรณ์เช่ือมโยงกา
รท างานและขอ้ มลู ระหวา่ งภาครฐั จน เสมือนเป็นองค์กรเดียว (one government) และ
เช่ือมโยงประชาชนในการเข้าถึงข้อมลู และมสี ่วนร่วมในการ ก าหนดแนวทางการบริหาร
จัดการภาครัฐ การพัฒนาสังคมและเศรษฐกจิ (open government)

โดยรัฐจะ แปรสภาพเป็นผู้จัดให้มีการบริการของรัฐจากรูปแบบเดิม ไปสู่รูปแบบ
การบริการสาธารณะในลักษณะอตั โนมัติ (automated public services) ตามหลักการ
ออกแบบทเ่ี ป็นสากล (universal design) ผ่านระบบดิจิทัลที่ สอดคล้องกับสถานการณ์
และความต้องการของผู้รับบริการแต่ละบุคคล โดยผู้ใช้งานไม่ต้องร้องขอต่อรัฐ การก
าหนดนโยบายและการตัดสินใจอยู่บนพื้นฐานของข้อมูลท่ีทันสมัย มีการวิเคราะห์ข้อมูล
ขนาดใหญ่ และการมสี ่วนรว่ มของประชาชน

70


ระยะการปรบั เปล่ยี นภาครัฐไทยสกู่ ารเป็นรฐั บาลดิจทิ ัล

ระยะที่ 4 ภาครัฐไทยอยู่ในกลุ่มรัฐบาลดิจิทัลท่ีพัฒนาแล้ว และสามารถใช้
เทคโนโลยีดิจิทัลสร้าง บริการภาครัฐแก่ประชาชนอย่างยั่งยืน การทางานของภาครัฐที่
รวมกันเป็นเสมือนองค์กรเดียวที่ท างานด้วย เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างชาญฉลาด รวดเร็ว
โปร่งใส ได้เปลี่ยนแปลงบทบาทภาครัฐในอนาคต โดยรัฐจะไม่เป็น ผู้สร้างบริการ
สาธารณะอีกต่อไป แต่บทบาทของรัฐในอนาคตเป็นเพียงผู้อานวยความสะดวก ผู้กากับ
ดูแล บริหารจัดการการให้บริการสาธารณะระหว่างภาคเอกชนและประชาชนให้เกิด
ความเป็นธรรม ประชาชน ทุกคนสามารถเข้าถึงบริการได้โดยไม่มีขอ้ จ ากัดทางกายภาพ
พื้นที่ และภาษา ประชาชนสามารถมีส่วนร่วม ในการปกครองและบริหารบ้านเมืองโดย
สมบูรณ์ ภาครัฐไทยจะกลายเป็นผู้น าด้านรัฐบาลดิจิทัลด้านการ 10 บริหารจัดการ
ภาครัฐและด้านการบรกิ ารประชาชนในภูมภิ าคอาเซยี น (กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ
และ การสือ่ สาร, 2559, น.27-32)

71


72


Digital Government

ปจั จัยหลักที่สนบั สนนุ ภาครฐั ไทยในการกา้ วเขา้ สู่
การเป็นรฐั บาลดจิ ทิ ลั

อาจารยผ์ สู้ อน อ.ปณั ฑช์ ณชิ เพง่ ผ7ล3


ปจั จยั หลกั ทีส่ นับสนนุ ภาครฐั ไทยในการกา้ วเขา้ สู่การเปน็ รฐั บาลดจิ ิทัล
การท่ีภาครัฐไทยจะก้าวเข้าสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัลได้น้ันมีปัจจัย

หลักท่ีสนับสนุนหลาย ด้าน แต่ปัจจัยดังกล่าวยังคงประสบปัญหาที่
แตกต่างกัน จึงต้องมีการแก้ไขปัญหาเหล่าน้ันควบคู่กันไปด้วย เพ่ือให้
รฐั บาลดจิ ิทัลสามารถเกิดข้ึนได้จริงตามระยะการปรบั เปลี่ยนภาครัฐไทย
สู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล ในที่น้ี จะขอจาแนกปัจจัยหลักท่ีสนับสนุน
ภาครัฐไทยในการก้าวเข้าสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัลพร้อมด้วยวิธีการแก้ไข
ปญั หาทง้ั 6 ด้าน ดงั น้ี

74


ปจั จัยหลกั ท่สี นบั สนุนภาครฐั ไทยในการกา้ วเขา้ สูก่ ารเปน็ รัฐบาลดจิ ทิ ลั

1. ด้านความพร้อมของภาครัฐหน่วยงานภาครัฐยังไม่ได้มีการบูรณาการระบบ
สารสนเทศภาครัฐท่ีเช่ือมต่อกันมากเท่าที่ควร การใช้ข้อมูลร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐจึง
ทาได้ยากหน่วยงานภาครัฐยังคงจัดเก็บข้อมูลซ้าซ้อนประชาชนจึงยังต้องยื่นข้อมูลเดิม ซ้าๆ ตาม
เง่ือนไขการรับข้อมูลท่ีต่างกันของแต่ละหน่วยงาน ภาครัฐข้อมูลยังขาดความเป็นเอกภาพทาให้
ใช้เวลาในการให้บริการมากและมีภาระค่าใช้จ่ายสูงซ่ึงไม่ก่อให้เกิดคุณค่าเพิ่มแก่ท้ังหน่วยงาน
ภาครัฐและประชาชน อุปสรรคสาคัญของการบูรณาการระบบสารสนเทศภาครัฐคือการขาด
การบูรณาการการท างานข้ามหน่วยงานภาครัฐแต่ละหน่วยงานภาครัฐมีเง่ือนไขการจัดเก็บ
ข้อมูลและหลักเกณฑ์ในการก าหนดช่ือรายการข้อมูลที่แตกต่างกันโครงสร้างและรูปแบบของ
ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับการออกแบบมีพ้ืนฐานอยู่บนช่ือรายการข้อมูลท่ีต่างกันการใช้
กฎเกณฑ์การสื่อสารในการร้องขอและตอบสนองระหว่างระบบที่แตกต่างกันทาให้ การบูรณา
การ หน่วยงานภาครัฐเชื่อมโยงกนั ได้ยาก

75


ปจั จยั หลกั ท่ีสนบั สนุนภาครฐั ไทยในการกา้ วเขา้ ส่กู ารเปน็ รฐั บาลดิจทิ ลั

การแก้ปัญหาความพร้อมของภาครัฐ จะต้องปรับปรุงรูปแบบและวิธีการทางาน
ของภาครฐั ใหเ้ กิดการบรู ณาการการท างานในลักษณะข้ามกระทรวงโดยเฉพาะอย่างย่ิง
หน่วยงานภาครัฐต่างๆ ต้องบูรณาการการท างานร่วมกันในลักษณะที่เป็นองค์รวม
แทนท่ีการทางานแบบแยกส่วนดังที่เคยปฏิบัติในช่วงที่ผ่านมาเพ่ือให้กลไกต่าง ๆ
สามารถท างานได้อย่างสมดุลและมีประสิทธิภาพโดยมีการ กาหนดเจ้าภาพรับผิดชอบ
ในแต่ละภารกิจ เม่ือ มีการทางานร่วมกันหรือเช่ือมโยงกัน และ เม่ือบุคลากรในแต่ละ
หนว่ ยงานภาครัฐอาจรวมท้ัง ภาคเอกชนมีการทางานเช่ือมโยงกันจะเกิดการลดภารกิจท่ี
ทับซ้อนหรือซ้าซ้อนและ เกิดการนาข้อมูลท่ีแต่ละฝ่ายมีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์ส่งผล
ให้การ บริหารจัดการทรัพยากรภาครัฐ ท่ีมีอยู่อย่างจากัดเกิดความคุ้มค่าสูงสุดเป็นการ
ลดต้นทุนการดาเนินงานเพ่ิม ความรวดเร็ว และ อานวยความสะดวกในการให้บริการ
ประชาชน

76


ปัจจัยหลกั ทส่ี นับสนุนภาครฐั ไทยในการก้าวเขา้ สกู่ ารเป็นรฐั บาลดจิ ทิ ลั

2. ด้านโครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคมท่ียังคงพบว่าโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยี
ดิจิทัลยังไม่ครอบคลุม ท่ัวถึง และเท่าเทียมกันทุกพื้นที่ แม้ว่าระดับหมู่บ้านจะมีหมู่บ้านท่ีสามารถ
เขา้ ถึงบรกิ ารอินเทอรเ์ นต็ ความเรว็ สูง แต่หมูบ่ ้านทีอ่ ยหู่ ่างไกลยังขาดการพฒั นาโครงสร้างพ้ืนฐาน
โทรคมนาคมที่เพียงพอ นอกจากนหี้ น่วยงาน ภาครัฐท่ีส าคัญ เช่น โรงเรียน โรงพยาบาลสุขภาพ
ประจาตาบล องค์การบริหารส่วนตาบล ยังไม่สามารถเข้าถึง บริการโครงข่ายบรอดแบนด์ ได้
นอกจากน้ี ความสามารถในการเข้าถึงและใช้งานของประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆยังข้ึนกับ
อัตราคา่ บรกิ ารท่เี หมาะสมกบั ระดับคา่ ครองชพี (affordability)

ซึ่งราคาค่าบริการบรอดแบนด์ของประเทศไทยเมื่อเทียบกับค่าบริการของประเทศเพื่อน
บ้านเช่น มาเลเซียและสิงคโปร์แล้ว ถือว่ามีราคาที่สูงกว่ามาก นอกจากน้ีในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา
ประเทศไทยมีปริมาณอินเทอร์เน็ตแบนด์วิดท์ระหว่างประเทศ (international internet
bandwidth) ทีเ่ ป็นการเชื่อมต่อโครงข่ายระหว่างประเทศและเป็นตัวชว้ี ัดคุณภาพของโครงสร้าง
พนื้ ฐานดิจทิ ัลนอ้ ยกวา่ ประเทศเพอ่ื นบา้ นเช่นสิงคโปร์และมาเลเซีย

77


ปจั จัยหลกั ทส่ี นับสนุนภาครฐั ไทยในการก้าวเขา้ สกู่ ารเป็นรัฐบาลดิจทิ ลั

การแก้ปัญหาโครงสร้างพ้ืนฐานโทรคมนาคมต้อง เร่ิม จาก การ ปฏิรูประบบ
โครงสร้างพ้ืนฐานโทรคมนาคม ของประเทศ ไม่ว่าจะเป็นความสามารถในการเข้าถึง
และใช้งานอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง หรือการใช้งานโครงข่ายที่มีอยู่ให้ เกิดประสิทธิภาพ
สูงสุด เพ่ือน ามาลดช่องว่างการเข้าถึงและการใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัล ระหว่าง
ประชาชนในเมืองและประชาชนในพ้ืนท่ีห่างไกล ในการน้ี ภาค รัฐต้องร่วมมือกับ
ภาคเอกชนเพื่อท าให้การเข้าถึงเทคโนโลยีดิจิทัลเป็นไปอย่างทั่วถึง เช่น การขยายฟรี
WiFi ประชาชนทุกคน จะสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ซ่ึงการเข้าถึงบริการต้อง
สามารถทาได้ทุกที่ทุกเวลาอย่างมีคุณภาพ โดยมีความเร็วที่รองรับความต้องการของ
ประชาชนและราคา ค่าบริการที่ต้องจ่ายจะต้องไม่กลายเป็นอุปสรรคในการเข้าถึง
บริการ ภาครัฐ อีกต่อไปในอนาคตโครงสร้างพ้ืนฐานอินเทอร์เน็ตบรอดแบนด์จะ
กลายเปน็ สาธารณูปโภคขน้ั พืน้ ฐานอย่างแทจ้ ริงเชน่ เดียวกับถนน ไฟฟา้ นา้ ประปา

78


ปัจจยั หลักทีส่ นับสนุนภาครฐั ไทยในการก้าวเขา้ สกู่ ารเป็นรฐั บาลดจิ ิทลั

3. ด้านกฎหมายและกฎระเบียบท่ีเอ้ือต่อการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล ปัจจุบันกฎหมาย
กฎระเบียบของราชการยังไม่เออ้ื ต่อการพฒั นาภาครัฐไปสู่การเปน็ รฐั บาลดจิ ิทัลมากนกั

ยกตัวอย่างเช่น การที่ยังต้องทาสาเนาบัตรประชาชนพร้อมรับรองในทุกๆ การทา
ธุรกรรมของภาครัฐ เพราะเก่ียวพันกับกฎหมายและกฎระเบียบในเร่ืองของการตรวจสอบและ
ยืนยันตัวตน (Authentication) ทีส่ ่งผลให้ ไม่สามารถลดการใชส้ าเนาบัตร ประชาชน ได้การ
แก้ปัญหากฎหมายและกฎระเบียบที่เอ้ือต่อการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลนั้น ต้องมีการปรับแก้
กฎหมายและกฎระเบียบท่ีเอื้อต่อการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล เพราะหากยังไม่มีการปรับแก้ใน
ลักษณะดังกล่าว การเปล่ยี นผ่านไปสู่รัฐบาลดจิ ิทัลจะเป็นไปไดย้ าก

นอกจากน้ี การปรับแก้กฎหมายและกฎระเบียบเพ่ือให้รัฐบาลดิจิทัลสามารถดาเนิน
ต่อไปได้ด้วยดีนัน้ ไม่ใช่ เพียงแต่ต้องแก้กฎหมายและกฎระเบียบทางด้านเทคโนโลยีดิจิทลั เท่าน้ัน
แต่ยังคาบเก่ียวไปถึงกฎหมายและกฎระเบียบด้านอื่น ๆ ท่ีเก่ียวข้องซ่ึงต้องมี การทบทวนไป
พร้อม ๆ กนั

79


ปัจจยั หลกั ท่ีสนบั สนุนภาครฐั ไทยในการกา้ วเขา้ สู่การเปน็ รฐั บาลดจิ ิทลั
4. ด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล ปัจจุบันหน่วยงาน

ภาครัฐมีการให้บริการภาครัฐทางอิเล็กทรอนิกส์หรือที่เรียกว่า e-
service มากขึ้นรวมถึงมีการจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์มาก
ข้ึนด้วยการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลที่มีวิวัฒนาการอย่างรวดเร็วข้อมูลสาคัญ
หลายอย่างท่ีเก่ียวข้องกับการให้บริการประชาชนและการบริหาร
ราชการถูกจัดเก็บและประมวลผลในรูปแบบอิเลก็ ทรอนกิ สเ์ พ่ิมมากขนึ้

80


ปัจจยั หลักท่ีสนบั สนนุ ภาครัฐไทยในการกา้ วเขา้ สูก่ ารเป็นรัฐบาลดจิ ทิ ัล

แต่ยังมีหน่วยงานภาครัฐเป็นจานวนมากที่ยังมิได้ตระหนักถึงภัยและผลกระทบ
อันเน่ืองจากการถูกละเมิดการรักษาความม่ันคงปลอดภัยของข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือ
ระบบคอมพิวเตอร์รวมถึงการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลแม้ว่าพระราชกฤษฎีกากาหนด
หลักเกณฑ์และวิธีการในการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ พ.ศ. 2549 ซ่ึงเป็น
กฎหมายลาดับรองภายใต้พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์พ.ศ. 2544
มาตรา 35 ได้กาหนดให้หน่วยงานภาครัฐท่ีมีการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ
ต้องจัดทาแนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษาความม่ันคงปลอดภัยของข้อมูลใน
ระบบสารสนเทศและแนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของ
หน่วยงานภาครัฐเพ่ือให้การดาเนินการใด ๆด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์มีความม่ันคง
ปลอดภัยและเชื่อถือได้และให้ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์น้ันมีผลตามกฎหมายว่าด้วยธุรกรรม
ทางอิเล็กทรอนิกส์แต่ยังมีหน่วยงานภาครัฐอีกหลายแห่งที่อาจยังไม่มีความตระหนักใน
เรอื่ งดังกลา่ ว

81


ปัจจัยหลักทสี่ นับสนนุ ภาครัฐไทยในการก้าวเขา้ สู่การเป็นรฐั บาลดจิ ิทัล

การแก้ปัญหาการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลน้ัน หน่วยงานภาครัฐ
จะต้องเห็นความสาคัญของการรักษาความม่ันคงปลอดภัยของข้อมูลในระบบ
สารสนเทศและการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล โดยการอาศัยมาตรฐาน
กฎหมายกฎระเบียบและกติกาท่ีมีประสิทธิภาพทันสมัยและสอดคล้องกับ
หลักเกณฑ์สากลมาเป็นพลังในการขับเคลื่อนรัฐบาลดิจิทัลของประเทศ
ตลอดจนการสร้างความมั่นคงปลอดภัย การสร้างความเชื่อม่ันและการ
ค้มุ ครองสทิ ธิใหแ้ กผ่ ู้ใช้งานเทคโนโลยีดิจิทลั ในทุกภาคส่วนเพ่ือก่อให้เกดิ การอ
านวยความสะดวกลดอุปสรรคเพ่ิมประสิทธิภาพในการประกอบกิจกรรมท่ี
เก่ียวข้องต่าง ๆ

82


ปัจจัยหลกั ทีส่ นบั สนุนภาครฐั ไทยในการก้าวเขา้ ส่กู ารเปน็ รัฐบาลดจิ ิทลั
5. ด้านการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลของประชาชน

แม้ว่าประชาชนเร่ิมมีการเข้าถึงเทคโนโลยีดิจิทัลเพิ่มขึ้นเร่ือย ๆ
โดยเฉพาะอย่างย่ิงจากอุปกรณพ์ กพาเช่นโทรศัพท์เคล่ือนท่ีและแท็บเล็ต
แตส่ ว่ นใหญย่ งั คงเน้นการใช้เทคโนโลยดี ิจิทัลเพ่อื ความสนุกสนานบนั เทิง
โดยไม่ได้นาเทคโนโลยีดิจิทัล ไปก่อให้เกิดประโยชน์เท่าที่ควรซ่ึง
ประชาชนควรมีความรู้เท่าทันข้อมูลข่าวสารและมีทักษะในการใช้
ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทลั อย่างมีความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม

83


ปจั จัยหลกั ท่ีสนบั สนนุ ภาครฐั ไทยในการก้าวเขา้ ส่กู ารเปน็ รฐั บาลดิจิทลั

การแก้ปัญหาการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลของประชาชนนั้นจะต้องมี
การพัฒนาความรู้ ความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลท่ีจาเป็นสาหรับประชาชนเสีย
ใหม่

โดยต้องรวมการคิดวิเคราะห์แยกแยะส่ือต่าง ๆและให้มี การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
อยา่ งมีความรับผดิ ชอบต่อสงั คม ดังนัน้ จงึ ควรมี การส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้เท่าทัน
เทคโนโลยดี ิจทิ ัล และสามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทลั ใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นชีวิตประจาวนั

โดยจัดให้มีการอบรมและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิทัลและสร้างวิธี
คิด แก่ประชาชน ยกตัวอย่าง เช่น ภาครัฐจัดให้มี การฝึกอบรมการใช้ซอฟต์แวร์
แอปพลิเคชันที่มีอยู่ในปัจจุบัน เพ่ือการเข้าถึงข่าวสารข้อมูลต่าง ๆ และบริการต่าง ๆ
ของภาครัฐ และควรจัด โครงการอบรมประชาชนทั่วประเทศ เชน่ แมบ่ า้ น ชาวนา ทหาร
ใหไ้ ดเ้ รยี นรถู้ งึ การใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ิทัลให้ไดถ้ งึ ร้อยละ 50 ของประชากรทง้ั ประเทศ

84


ปัจจยั หลักที่สนับสนุนภาครัฐไทยในการก้าวเขา้ สกู่ ารเปน็ รฐั บาลดิจทิ ัล

6. ดา้ นทรัพยากรบุคคล
ในขณะทป่ี ระเทศไทยกาลงั ปรบั เปลยี่ นและยกระดับภาครัฐให้เป็น
รัฐบาลดิจิทัล กลุ่มผู้ประกอบวิชาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การส่ือสารกลับ มีจานวนน้อยมากในประเทศไทยบุคลากรวัยทางานท่ีมี
ความสามารถในการสร้างสรรค์และใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างชาญฉลาด
ในการประกอบอาชีพในสาขาเทคโนโลยีดิจิทัลโดยตรง รวมท้ังมีทักษะ
ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล กาลังเป็นที่ต้องการในภาครัฐเพราะจะนาไปสู่การ
สรา้ งสินค้าและบริการเพื่อรองรบั ความต้องการของประชาชนในอนาคต

85


ปัจจัยหลกั ทสี่ นบั สนนุ ภาครัฐไทยในการก้าวเขา้ สกู่ ารเปน็ รัฐบาลดจิ ิทลั

การแก้ปัญหาทรัพยากรบุคคลด้านเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีกาลังขาดแคลนอย่างต่อเนื่องใน
ประเทศไทยนั้น จ าเป็นต้องมีการพัฒนาท้ังปริมาณและคุณภาพบุคลากรให้เพียงพอนอกจาก
การ พัฒนากลุ่มทักษะท่ีเป็นที่ต้องการแล้วภาครัฐ จ าเป็นต้องมีการปรับโครงสร้างกาลังคน
ทางด้านเทคโนโลยี ดิจิทัลอย่างเป็นระบบในลักษณะของการบูรณาการโดย เตรียมความพร้อม
ทางด้านก าลังคนร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนอ่ืน ๆที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
สายงานวิชาชพี ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารท่ีถูกคาดการณว์ ่าจะเป็นที่ต้องการของ
ตลาดแรงงานทางดา้ นเทคโนโลยดี ิจทิ ลั ในภาครฐั คือ

1)สายงานด้าน cloud computing
2)สายงานดา้ น big data และ
3)สายงานดา้ น mobile application and business solution

86


ปัจจยั หลกั ท่สี นับสนุนภาครัฐไทยในการก้าวเขา้ สกู่ ารเป็นรัฐบาลดจิ ิทลั

เน่ืองจากเทคโนโลยี ดิจิทัลต้อง สามารถรองรับความต้องการและพฤติกรรม
การใช้งานของประชาชนภาครัฐ จึงจาเป็นต้องมีการเตรียมบุคลากร ทางด้าน
เทคโนโลยี ดิจทิ ัลที่จาเปน็ ตอ่ การขบั เคล่ือนรัฐบาล ดิจิทัลในอนาคตของประเทศ ไทย
ทง้ั น้ี การจดั เวทเี สวนาแลกเปลี่ยนรับฟังความคิดเห็นโดยผู้เชี่ยวชาญทางด้านเทคโนโลยี
จากภาครัฐและภาคเอกชน เป็นอีกวิธีหนึ่งที่เป็นการเพ่ิมความรู้ ให้กับ ข้าราชการและ
เจ้าหน้าที่ภาครัฐให้สามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในกระบวนการท างานและอาจสามารถ
ปรับเปล่ียนตนเองจากผู้ใช้ (user) เป็นผู้ท่ีมีความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมได้
นอกจากน้ีการ ส่งเสริมองค์ความรู้ของผู้บริหารระดับสูงในหน่วยงานภาครัฐให้ ทันต่อ
การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีดิจิทัล จะนาไปสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนแนวคิด
(mindset) ของภาครัฐให้เปล่ยี นผ่านเข้าสู่ยุคดจิ ิทลั อยา่ งเต็มตวั อีกด้วย

87


สรปุ และขอ้ เสนอะแนะ

ในการปรับเปล่ียนภาครัฐไทยสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล ภาครัฐต้องจัดทานโยบาย
และ ขอบเขตการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลให้กว้างไปกว่าเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
ส่อื สาร โดยตอ้ ง คานงึ ถงึ ประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีขอบเขตการบริการภาครัฐ (Public
Sector Service) ที่ชัดเจน และต้องมีภาวะผู้นาทางรัฐบาลดิจิทัล มีการดูแลป้องกัน
ข้อมูลส่วนตัว และการเปิดเผยข้อมูล พร้อมกับการสร้างนวัตกรรมการบริการภาครัฐ
(Public Sector Innovation) สร้างความเป็นสากลให้กับรัฐบาลดิจิทัล มีการลงทุน
โครงสร้างพ้ืนฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารขนาดใหญ่ ไปพร้อมกับการ
พัฒนาความสามารถของเทคโนโลยีดิจิทัลให้เป็นกลไกในการแปลงนโยบายไปสู่การ
ปฏิบัติ ทั้งนี้ส่ิงท่ีต้องเร่งดาเนินการคือ การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ (Learning
Society) ไปพร้อมๆ กับการสร้างรัฐบาลแห่งการเรียนรู้ (Learning Government) จงึ
จะกอ่ ใหค้ วามร้คู วามเขา้ ใจ (Knowledge Intensive Workforce) ทแ่ี ท้จริง

88


สรุปและขอ้ เสนอะแนะ

อน่ึง การก้าวเข้าสู่รัฐบาลดิจิทัลของภาครัฐไทยให้ประสบความความส า
เร็จจะต้องเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมต้ังแต่กระบวนการปรึกษาหารือ
การสารวจและการรับฟังความเห็นของประชาชนมีกระบวนการตรวจสอบ
ติดตามความคืบหน้าการดาเนินงานเพื่อนา ไปสู่การบริหารจัดการภาครัฐที่มุ่ง
ผลสัมฤทธ์ิของการปฏิบัติงานเป็นหลักโดย ให้ความสาคัญกับการลดต้นทุน
ค่าใช้จ่ายและการเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณเพ่ือพัฒนารัฐบาล
ดิจิทัลต้องเป็นไปอย่างคุ้มค่าและเหมาะสม เพ่ือให้การขับเคล่ือนรัฐบาลดิจิทัล
เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลตรงต่อความต้องการความจาเป็นและความ
เหมาะสมของประชาชน

89


สรปุ และข้อเสนอะแนะ

ทั้งน้ี ประเทศไทยกาลังอยู่ในช่วงของการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศเพื่อ
ยกระดับขีดความสามารถของระบบการเมือง เศรษฐกิจ และสงั คม ซ่ึงรัฐบาลดิจิทัลเป็น
การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานด้านการบริการดิจิทัลของภาครัฐและเป็นการด าเนินงาน
บริการพ้ืนฐานดิจิทัลของภาครัฐเพ่ือน าไปสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล
ต่อไป การปรับเปล่ียนภาครัฐให้กลายเป็นรัฐบาลดิจิทัล เป็นการด าเนินการตาม
นโยบายรัฐบาลท่ีมุ่งสนับสนุนการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศไทยให้ประสบผลส าเร็จ
และจะน าไปสู่การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันด้วยการใช้นวัตกรรม เพ่ือให้
ประเทศไทยกลายเป็นศูนย์กลางทางอุตสาหกรรมดิจิทัล และมีสังคมท่ีมีความเท่าเทียม
กันจากการน าเทคโนโลยีดิจิทัลภาครัฐมายกระดบั คุณภาพชีวิตและผลกั ดนั ให้ทุกคนเข้า
มามสี ว่ นร่วมในเศรษฐกจิ และสังคมดจิ ทิ ัลอย่างแทจ้ ริง

90


แหลง่ อา้ งอิงข้อมลู :

1. เอกสารวิชาการ Academic Focus ภาครัฐไทยกับการกา้ วเขา้ สู่รฐั บาลดิจทิ ลั
สานักวิชาการ สานกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร ISBN 2287-0520
2. สถาบนั คณุ วฒุ วิ ิชาชีพ (https://e-training.tpqi.go.th/ )
3. สานักงานพฒั นาบคุ ลากรภาครัฐดา้ นดิจิทลั (https://e-training.tpqi.go.th/

91


Q&A

https://e-training.tpqi.go.th/

92


Thank You

Punchanit Phangphol

+065 693 99495
[email protected]
https://www.chonburi.spu.ac.th/


จบการบรรยาย

94


Click to View FlipBook Version