The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ยงยุทธ นาย, 2022-06-12 01:24:18

นาฏศิลป์

นาฏศิลป์




นาย ยงยุทธ อภิรัตนกุล ม.4/3 เลขที่ 9

นาย ยงยุทธ อภิรัตนกุล ม.4/3 เลขที่ 9

เนื้อหาอยู่หน้าถัดไป
ครับ/ค่ะ




นาย ยงยุทธ อภิรัตนกุล ม.4/3 เลขที่ 9

• การแสดงนาฏศิลป์ในงานพระราชพิธี

โดยงานพระราชพิธี และรัฐ พิธีเป็ นงานในหน้าที่ของกรมศิลปากร
ที่ต้องจัดการ แสดงในโอกาสสาคัญต่างๆ เช่น

งานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่

และพระบาทสมเด็จพระราชินีนาถ


• การแสดงนาฏศิลป์และละครไทยในงานมงคลทั่วไป

เช่น งานมงคลสมรส งานบวช เป็นต้น

• การแสดงนาฏศิลป์และการละครไทยในงานอวมงคล

เช่น งานศพ เป็นต้น

• การแสดงนาฏศิลป์ในงานเทศกาลต่างๆ

การแสดงนาฏศิลป์ในโอกาสต่างๆ

หลักในการเลือกชุดการแสดงให้เหมาะสม •

เลือกชุดแสดงให้เหมาะสมกับโอกาสที่แสดงถ้าเป็ นงานเฉลิมฉลอง
ความสำเร็จใดเป็ นงานสถาปนาโรงเรียนวันเกิดบุคคลสำคัญต้องเลือก
ชุดการแสดงที่เป็ นการอวยพรมอบความเป็ นสิริมงคล โดยมี
แบบแผนการปฏิบัติดังนี้

1.การแต่งบทร้องให้ได้ใจความเหมาะสม
2.ตีท่ารำให้ตรงตามความหมายของบทร้อง
3 . ใ ส่ ทำ น อ ง เ พ ล ง ใ ห้ ถู ก ต้ อ ง แ ล ะ เ ห ม า ะ ส ม กั บ เ น้ื อ เ พ ล ง
4.ปี่ พาทย์ทำเพลงรัวผู้แสดงใช้ลีลาท่าราและตีบทได้ถูกต้อง
5.ช่วงจบปี่ พาทย์ทำเพลงรำ
6.คัดเลือกผู้แสดงที่มีความสามารถมีฝี มือในการรำ

แนวคิดในการจัดชุดการแสดงในวันสำคัญของโรงเรียน •

1.กำหนดการแสดงให้เหมาะสมกับวัยสำคัญของโรงเรียน
2.การนำเสนอรูปแบบของการอนุรักษ์
3.เวลาในการแสดง
4.การกำหนดองค์ประกอบร่วมของการแสดง นางสาวจิรัชญา แสงเสน่ห์ ม. 4/3 เลขที่33

1) การสืบทอด 2)กระบวนการสืบทอดนาฏศิลป์ใน
สมัยปัจจุบัน
นาฏศิลป์สมัยโบราณ
ปัจจุบันวิชานาฏศิลป์เปิดสอนอยู่ใน
เป็นการถ่ายทอดจากครูแบบ สถาบันการศึกษาเกือบทุกระดับ มี
ตัวต่อตัว โดยวิธีการจำไม่ีการ กระบวนการเรียนการสอนที่เป็น
บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร แบบแผน โดยจัดทำสื่อและกิจกรรม
เพื่อประเทืองปัญญา โดยใช้ระบบ

การเรียนการสอนที่มีผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลาง

กระบวนการสืบทอดนาฏศิลป์

การจัดกิจกรรมเพื่อสืบทอดวัฒนธรรมทางด้าน แนวทางการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย
นาฏศิลป์ไทย
1. การค้นคว้าวิจัย ควรศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูล
พิธีไหว้ครู ครอบครู และรับมอบ ภูมิปัญญาของไทยในด้านต่างๆ
2. การอนุรักษ์ โดยการปลุกจิตสำนึกให้คนในท้องถิ่น
3.1นาฏศิลป์ไทย
ตระหนักถึงคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น
3. การฟื้ นฟู เลือกสรรสิ่งที่สูญหายไปแล้วมาทำให้มีคุณค่า
มีลักษณะเฉพาะที่เป็นแบบแผนขนบนิยมสืบทอดกันมา 4.การพัฒนา สร้างสรรค์และปรับปรุงภูมิปัญญาให้เหมาะสม
กับยุคสมัย
เป็นเรื่องความศรัทธา เชื่อถือ จึงมีการจัดกิจกรรมที่ 5.การถ่ายทอดเลือกสรรกลั่นกรองด้วยเหตุและผลอย่าง
รอบคอบ ไปถ่ายทอดให้คนในสังคมได้รับรู้
สะท้อนถึงความเชื่อดังกล่าว คือ พิธีไหว้ครู ครอบครู รับ 6. ส่งเสริมกิจกรรม โดยการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดเครือ
ข่ายการสืบสานและพัฒนาภูมิปัญญาของชุมชนต่างๆ
มอบครู เพื่อให้ศิษย์ใหม่ได้รู้จักพระนามครูมหาเทพ พระ 7. การเผยแพร่แลกเปลี่ยน เผยแพร่และแลกเปลี่ยน
ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมอย่างกว้างขวาง
ฤษี มนุษย์ ยักษ์ ทั้งที่มีชีวิตอยู่และไม่มีชีวิตอยู่เพื่อ 8. การเสริมสร้างปราชญ์ท้องถิ่น สนับสนุนการพัฒนา
ศักยภาพของชาวบ้าน
มอบตัวเป็นศิษย์

3.2คติความเชื่อเกี่ยวกับนาฏศิลป์

คติความเชื่อเกี่ยวกันนาฏศิลป์มีหมายเรื่อง แต่ที่รู้จักกันดี

ก็คือ คติความเชื่อในเรื่อง ผิดครู แรงครู ครูเข้า เป็นคติ

ความเชื่อที่มีวัตถุประสงค์เพื่อขจัดภัยพิบัติ

และนำมาซึ่งความเป็นสิริมงคล

นางสาว วรินรำไพ ปานแก้ว ม.4/3 เลขที่29

1. ให้คุณค่าด้านการอนุรักษ์และเผยแพร่ 2. ให้คุณค่าด้านความเพลิดเพลิน
เพราะเป็นศิลปะการแสดงที่เป็น บันเทิงใจต่อผู้รับชม
มรดกของชาติให้คงอยู่สืบไป

คุณค่าของนาฏศิลป์

นาฏศิลป์ไทยมีคุณค่ามากในฐานะที่เป็นที่รวมของศิลปะ
หลายแขนง ปลูกฝังจริยธรรม และเป็นเอกลักษณ์ของชาติที่
แสดงถึงความเป็นอารยประเทศ อาทิ ศิลปะแขนงวิจิตรศิลป์

หรือ ประณีตศิลป์ เป็นศิลปะแห่งความงามที่มุ่งหมายเพื่อ
สนองความต้องการทางสติปัญญา อารมณ์ก่อให้เกิดความ

สะเทือนใจ หรือมุ่งแสดงสุนทรียะโดยตรง

3. ให้คุณค่าด้านพิธีกรรม เพราะมีการ 4. ให้คุณค่าด้านความรู้เกี่ยวกับ
แสดงนาฏศิลป์ในงานพิธีต่าง ๆ เช่น รำ วรรณคดีไทย เพราะการแสดงนาฏศิลป์
อวยพร หรือการแสดงเกี่ยวกับความเชื่อ บางชุดเป็นการแสดงที่ใช้ประกอบละคร
ในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เช่น เซิ้งบั้งไฟ เป็นการ วรรณคดีไทยต่าง ๆ จึงให้ได้รับความรู้
ฟ้อนรำประกอบของงานแห่บั้งไฟเพื่อบูชา
ด้านวรรณคดีไทยไปด้วย
พระยาแถนให้บันดาลให้ฝนตก

น.ส.ณัฐฐินันท์ อินปิน ม.4/3 เลขที่40

ฟ้อนที่สืบเนื่ องมาจากการนั บถือผี ระบำดั้งเดิม/ระบำมาตรฐาน
ฟ้อนแบบเมือง
ฟ้อนแบบม่าน เป็นระบำแบบดั้งเดิมที่มีมาแต่โบราณกาล

ฟ้อนแบบเงี้ยวหรือไทยใหญ่ ระบำปรับปรุง/ระบำเบ็ดเตล็ด
ฟ้อนที่ปรากฏในการแสดงละคร
เป็นลักษณะระบำที่ปรับปรุงหรือประดิษฐ์ขึ้น
ใหม่ โดยคำนึงถึงความเหมาะสมของผู้
แสดง และการนำไปใช้ในโอกาสต่างๆ

ฟ้อน ระบำ

ระบำ รำ ฟ้อน

และการแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองของไทย

รำ การแสดงพื้นเมือง

รำเดี่ยว

การแสดงรำที่ใช้ผู้แสดงเพียงคนเดียว การแสดงพื้นเมืองภาคเหนือ

แสดงถึงความสามารถของผู้รำและลีลาการรำ การแสดงพื้นเมืองภาคอีสาน

รำคู่

การรำที่ใช้ผู้แสดง 2 คน ลักษณะการรำคู่ คือ การรำคู่ การแสดงพื้นเมืองภาคกลาง

เชิงศิลปะการต่อสู้และการรำคู่ชุดสวยงาม การแสดงพื้นเมืองภาคใต้

รำหมู่

การแสดงที่ใช้ผู้แสดงมากกว่า 2 คนขึ้นไป
มุ่งความงามของท่ารำและความพร้อมเพรียงของผู้

แสดง นางสาวนฤภร ถนอมใจ เลขที่ 37 ม.4/3

การแต่งกาย โอกาสและวิธีการเล่น

๑.ชายนุ่งกางเกงขายาวครึ่งแข้งสวม นิยมเล่นกันในงานตรุษ งานสงกรานต์ หรืองานแห่แหน ซึ่งต้อง
เสื้อคอกลมแขนสั้นเหนือศอกมีผ้าโพก เดินเคลื่อนขบวน คนใดรู้สึกสนุกจะเข้าไปรำด้วยก็ได้ เพราะเป็นการเล่น
ศีรษะและผ้าคาดเอว อย่างชาวบ้าน ตรงไหนมีลานกว้างหรือเหมาะก็หยุดตั้งวงเล่นก่อนแล้ว
เคลื่อนไปต่อ ต่อมากรมศิลปากรได้ปรับปรุงใหม่ กำหนดให้มีแบบแผน
๒.หญิงนุ่งผ้าซิ่นมีเชิงยาวกรอมเท้า ลีลาท่ารำ โดยกำหนดให้มีกลองรำ กลองยืนด้วย
สวมเสื้อทรงกระบอกคอปิดผ่าอกหน้าห่ม
สไบ/เสื้อคาดเข็มขัด/ เสื้อใส่สร้อยคอ > กลองรำ หมายถึงผู้ที่แสดงลวดลายในการร่ายรำ
และต่างหูปล่อยผมทัดดอกไม้ > กลองยืน หมายถึงผู้ตีกลองยืนให้จังหวะในการรำ
การเล่นการเล่นเถิดเทิง แบบนี้มีมาตรฐานตายตัว ผู้เล่นทั้งหมด
ต้องได้รับการฝึกฝนมาก่อน คนดูจะได้เห็นความงามและความ
สนุกสนาน แม้จะไม่ได้ร่วมเล่นด้วยก็ตาม จำนวนผู้แสดงแบบนี้จะมีเป็น
ชุด คือ พวกตีเครื่องประกอบจังหวะ
คนตีกลองยืน คนตีกลองรำ และผู้หญิงที่รำล่อ พวกตีประกอบ
จังหวะจะร้องประกอบเร่งเร้าอารมณ์ให้สนุกสนานในขณะที่ตีด้วย

การละเล่นประเภทนี้เรียกว่าเถิดเทิง เทิง

๕. การแสดงนาฏศิลป์ไทย บ้องนั้น คงเรียกตามเสียงกลองยาว กล่าว
รำกลองยาว หรือ เถิดเทิง คือ มีเสียงเมื่อเริ่มตีเป็นจังหวะ หูคนไทย
ได้ยินเป็นว่า เถิด-เทิง-บ้อง-เทิง-บ้อง

เรียกตามเสียงที่ได้ยินว่าเถิดเทิงหรือเทิง

ประวัติความเป็นมา
บ้อง เพื่อให้ต่างกับการเล่นอย่างอื่น

การเล่นการเล่นเถิดเทิงมีผู้สันนิษฐานว่าเป็นของพม่า นิยมเล่นกัน เมื่อชาวไทยเห็นเป็นการละเล่นที่สนุกสนานและเล่นได้ง่าย นิยมเล่น
มาเมื่อครั้งพม่าทำสงครามกับไทยในสมัยกรุงธนบุรีหรือสมัยต้นกรุง กันแพร่หลายสืบมาจนทุกวันนี้ กลองยาวที่เล่นกันในวงหนึ่งๆ มีการเล่น
รัตนโกสินทร์ เวลาพักรบทหารพม่าเล่นสนุกสนานด้วยกันเล่นต่างๆ บาง กันหลายลูกมีสายสะพายเฉวียงบ่าของผู้ตี ลักษณะรูปร่างของกลอง
พวกก็เล่นกลองยาว ไทยได้เห็นก็จำมาเล่นกัน มีเพลงดนตรีเพลงหนึ่งซึ่ง ยาวขึงหนังด้านเดียว อีกข้างเป็นหางยาวบานปลายเหมือนกับกลองยาว
ดนตรีไทยนำมาใช้บรรเลง มีทำนองเป็นเพลงพม่า เรียกกันมาแต่เดิมว่า ของเชียงใหม่ ทางภาคอีสานเลือกกลองยาวชนิดนี้ว่า กลองหาง
เพลงพม่ากลองยาว ต่อมาได้มีผู้ปรับเป็นเพลงระบำ กำหนดให้ผู้รำแต่ง
ตัวใส่เสื้อนุ่งโสร่งตา ศรีษะโพกผ้าสีชมพู(หรือสีอื่นๆ) มืมือถือขวานออก กลองยาวของพม่า เรียกว่า โอสิ มีลักษณะคล้ายคลึงกับของชาว
มาได้รำเข้ากับจังหวะเพลง จึงเรียกกันอีกชื่อหนึ่งว่า เพลงพม่ารำขวาน ไทยอาหมในแคว้นอัสสัม แต่ของชาวไทยอาหมรูปร่างคล้ายตะโพน คือ
หัวท้ายเล็ก กลางป่อง ใบเล็กกว่าตะโกน ขึ้นหนังทั้งสองข้าง ผูกสาย
การเล่นการเล่นเทิงบองกลองยาว เพิ่งมีเข้ามาในเมืองไทยเมื่อสมัย สะพายและตีได้ วิธีเล่นทั้งกลองยาวของพม่าและของชาวไทยอาหมเล่น
รัชกาลที่สี่ กล่าวคือ มีพม่าพวกหนึ่งนำเข้าเข้ามาในรัชกาลนั้น ยังมี แบบเดียวกัน อาจเลียนแบบการเล่นไปจากกันก็ได้
บทร้องกราวรำยกทัพพม่าในการแสดงละครเรื่องพระภัยมณี ตอน เก้า
ทัพ นิยมเล่นกันมาแต่ก่อน สังเกตดูก็เป็นตำนานอยู่บ้างแล้ว คือ ร้องกัน เมื่อรัฐบาลไทยมอบให้คณะนาฏศิลป์ของกรมศิลปากร ไปแสดง
ว่า เพื่อเชื่อมสัมพันธทำไมตรี ทางรัฐบาลพม่าได้จัดนักโบราณคดีผู้หนึ่ง
เป็นผู้นำชมพิพิธภัณฑ์สถานและโบราณสถาณเรื่องกลองยาวได้ กล่าว
ทุ่งเล ฯ ทีนี้จะเห่พม่าใหม่ ว่า พม่าได้กลองยาวมาจากไทยใหญ่อีกต่อหนึ่ง

ตกมาเมืองไทย มาเป็นผู้ใหญ่ตีกลองยาว
ตีว่องตีไวตีได้จังหวะ ทีนี้จะกะเป็นเพลงกราว
เลื่องชื่อลือฉาว ตีกลองยาวสลัดได ๆ

นางสาว กุลิสรา ฐิตโชติ ชั้น ม.๔/๓ เลขที่ ๒๗

ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี นายรงภักดี (เจียร จารุจรณ)

ได้รับการฝึกหัดนาฏศิลป์กับครูบาอาจารย์ ครูรงภักดีฝึกหัดโขน(ยักษ์) กับพระยานัฏกานุ

ผู้ทรงคุณวุฒิในราชสำนัก เจ้าจอมมารดาวาด รักษ์และคุณหญิงนัฏกานุรักษ์ เมื่ออายุ 13 ปี

และเจ้าจอมมารดาเขียนในรัชกาลที่ 4 ผลงาน ที่กลับมหรสพสมัยรัชกาลที่ 6 ต่อมาเข้ารับ
เกี่ยวกับการแสดงศิลปะนาฏศิลป์ เช่น ท่ารำ ราชการเป็นศิลปินในกรมมหรสพสมัยรัชกาลที่
ของตัวพระ/นาง ยักษ์ ลิง และตัวประกอบ การ 7 รับราชการเป็นตำรวจหลวง และมีหน้าที่เป็น
แสดงโขน
ครูสอนนาฏศิลป์โขน
-ละครชาตรี

-ละครนอก ละครใน

-ละครพันทาง

-และระบำฟ้อนต่างๆ

-เป็นผู้คัดเลือกการแสดง

6 บุคคลสำคัญในวงการนาฎศิลป์ไทย

ครูอาคม สายาคม ครูเฉลย ศุขะวณิช ครูลมุล ยมะคุปต์

เป็นบุตรของนายเจือ ศรียาภัย ผลงานด้านการประดิษฐ์ท่ารำ ธิดาของร้อยโทนายแพทย์จีน
อัญชัญภาติกับนางคามอย
และนางผาด ศรียาภัย และระบำ ระบำกินนร ระบำ
ผลงานการแสดง
ผลงานการแสดง โบราณคดี 4 ชุด ได้แก่ -เขยเล็ก

-พระราม รามเกียรติ -ระบำทวารวดี

-อิเหนา -ระบำศรีวิชัย -ศรีสุวรรณ

-พระร่วง -ระบำลพบุรี -สุดสาคร

-ขุนแผน พระไวย -เชียงแสน -อุศเรน

-พระอภัยมณี ฟ้อนแคน เซิ้งสัมพันธ์ ระบำฉิ่ง -วิหยาสะกา

-ฮเนา ธิเบต ระบำกรับ รำกิ่งไม้เงินทอง -พระมงกุฎ
-ไกรทอง พระลอ
-พระสังข์ ถวาย เซิ้งสราญ ระบำสวัสดิรักษา -อินทรชิต

ระบำศรีชัยสิงห์ ระบำมิตรไมตรี -พระคเณศ

ซีเกมส์ ระบำขอม -สมิงพระราม

-พลายบัว พระพันวษา เป็นต้น

นาย ชยธร นกแก้ว ม.4/3 เลขที่ 4

ไทยไทย. (2558). นายรงภักดี (เจียร จารุจรณ). [ระบบออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก : https://m.facebook.com/thaithaichannel.
สืบค้นเมื่อ 5 มิ.ย. 2565.
ท่านผู้หญิงแผ้ว สนิทวงศ์เสนี. [ระบบออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก : https://sites.google.com.
สืบค้นเมื่อ 5 มิ.ย. 2565.
ครูอาคม สายาคม. [ระบบออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก :
https://sites.google.com/site/bukhkhlsakhaynatsilpm4
สืบค้นเมื่อ 6 มิ.ย. 2565.
ครูเฉลย ศุขะวณิช. [ระบบออนไลน์].

เข้าถึงได้จาก : https://sites.google.com/site/lsakhxng-natsilp
สืบค้นเมื่อ 6 มิ.ย. 2565.

นาย ชยธร นกแก้ว ม.4/3 เลขที่ 4
นาย ยงยุทธ อภิรัตนกุล ม.4/3 เลขที่ 9






Click to View FlipBook Version