The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาชุดกิจกรรมฝึกทักษะการเขียน
เพื่อส่งเสริมทักษะการเขียนเรื่องจากภาพตามจินตนาการ
และความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้เทคนิค 5W1H

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KUNG MEMO, 2023-04-03 09:36:41

วิจัยในชั้นเรียน.ไทยป.2-เขียนเรื่องจากภาพ-RD5 (R)

การพัฒนาชุดกิจกรรมฝึกทักษะการเขียน
เพื่อส่งเสริมทักษะการเขียนเรื่องจากภาพตามจินตนาการ
และความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้เทคนิค 5W1H

Keywords: 5W1H ภาษาไทย ป.2

การพัฒนาชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน เพื่อสงเสริมทักษะการเขียนเรื่องจากภาพตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรคของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 โดยใชเทคนิค 5W1H นางสาวพรสวรรค โกศล วิจัยในชั้นเรียนนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา พ.ศ. 2565


ข การพัฒนาชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน เพื่อสงเสริมทักษะการเขียนเรื่องจากภาพตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรคของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 โดยใชเทคนิค 5W1H นางสาวพรสวรรค โกศล วิจัยในชั้นเรียนนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา พ.ศ. 2565 ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา


ค คำนำ เอกสารงานวิจัยฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อเปนสวนหนึ่ง ในงานวิจัยชั้นเรียนของการเรียนการสอน ในรายวิชาภาษาไทยของนักเรียน ซึ่งงานวิจัยชิ้นนี้ไดถูกพัฒนาขึ้นเพื่อพัฒนาปรับปรุงการเรียนการ สอนในโรงเรียนใหดียิ่งขึ้น การจัดการเรียนรูโดยใชเทคนิค 5W1H มีลักษณะสำคัญ 3 ประการไดแก 1) การเรียนรูผานการปฏิบัติ การแกปญหาเชิงสรางสรรคเปนทักษะการหาคำตอบที่ หลากหลาย 2) การใชทักษะการคิดเชื่อมโยงความรูเดิมสูการสรางความรูใหม 3) การใชทักษะการเรียนรู ไดแก การเขียน การพูด การฟง การอาน และการอภิปราย สะทอนความคิด เปนเครื่องมือในการเรียนรู รวมถึงการใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู โดยลักษณะ สำคัญดังกลาวสะทอนใหเห็นถึงการจัดบรรยากาศในการเรียนรูที่ตองสงเสริมใหผูเรียนไดมี ปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอมเพื่อการสืบคนองคความรูอยางหลากหลายที่ทาทายความคิด ซึ่งทำใหเกิด การเรียนรูที่มีคุณคาและสนุกสนาน ตามความถนัดและความสนใจของผูเรียน ในกระบวนการสอน การจัดการเรียนรูผานบทเรียนเชิงรุกภาษาไทย การพัฒนาชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนประกอบการสอนแบบใชเทคนิค 5W1H จึงเปน กระบวนการจัดการเรียนรูตามแนวคิดการสรางสรรคทางปญญา ผูสอนเริ่มตนบทเรียนหรือหัวขอที่ จะสอนโดยการถามคำถามที่เปนที่สนใจและนอยคนจะรูคำตอบ จากนั้นใหผูเรียนลองเดาคำตอบเพื่อ เปนการกระตุนความสงสัย แลวจะไดคำตอบหลังจากจัดกิจกรรมการเรียนรู เทคนิคนี้จะชวยสงเสริม ใหผูเรียนมีสวนรวมในกระบวนการแกปญหาแมไมไดมีการอภิปรายหรือเกิดบทสนทนาเกี่ยวกับ คำถามก็ตาม โดยอาจใหผูเรียนเขียนตอบเพื่อทำใหแนใจวาพวกเขาไดคิดเกี่ยวกับคำถามหรือปญหา นั้นจริง โดยผูสอนตองเขียนคำตอบดวยเชนเดียวกัน จากปญหาการเรียนการสอนในหองเรียนที่ครูผูสอนไดพบเจอพบวา ปญหาการเรียนรูของ นักเรียนเนื่องดวยความไมรับผิดชอบของนักเรียนและวุฒิภาวะ ทำใหคะแนนทักษะทางการเรียนต่ำ และนักเรียนเกิดความเบื่อหนายในการเรียนในรายวิชาภาษาไทย ครูผูสอนจึงไดใชเทคนิคการเรียน การสอนแบบใชเทคนิค 5W1H การจัดการเรียนการสอนแบบเนนใหผูเรียนไดปฏิบัติในการแกปญหา ดังกลาวหวังเปนอยางยิ่งวา จะเปนเอกสารที่กอใหเกิดประโยชนตอผูอานทุกทาน พรสวรรค โกศล ผูจัดทำ


ง สารบัญ บทคัดยอ..........................................................................................................................................ช กิตติกรรมประกาศ...........................................................................................................................ซ บทที่ 1.............................................................................................................................................1 ความเปนมาและความสำคัญของปญหา.......................................................................................1 วัตถุประสงคของการวิจัย.............................................................................................................2 สมมติฐานของการวิจัย.................................................................................................................3 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ...........................................................................................................3 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย...............................................................................................................3 ระยะเวลาการดำเนินงานวิจัย.......................................................................................................3 นิยามศัพทเฉพาะ.........................................................................................................................3 ขอบเขตของการวิจัย....................................................................................................................4 กรอบแนวคิดในการวิจัย...............................................................................................................5 บทที่ 2.............................................................................................................................................6 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551......................................................6 หลักการ...................................................................................................................................6 จุดมุงหมาย..............................................................................................................................7 สมรรถนะสำคัญของผูเรียน ......................................................................................................7 คุณลักษณะอันพึงประสงค.......................................................................................................8 มาตรฐานการเรียนรู.................................................................................................................9 2. คะแนนทักษะทางการเรียน......................................................................................................9 ความหมายของคะแนนทักษะทางการเรียน..............................................................................9 การวัดคะแนนทักษะทางการเรียน .........................................................................................10 แบบทดสอบวัดคะแนนทักษะทางการเรียน............................................................................11


จ ประเภทของแบบทดสอบวัดคะแนนทักษะทางการเรียน ........................................................12 3. การพัฒนาชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน ..............................................................................14 3.1 ความหมายและความสำคัญของชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน.......................................14 3.2 ลักษณะของแบบฝกที่ดี...................................................................................................15 3.3 ประโยชนของชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน...................................................................18 3.4 หลักการสรางแบบฝก.....................................................................................................20 3.5 สวนประกอบของแบบฝก................................................................................................20 3.6 รูปแบบการสรางแบบฝก.................................................................................................21 3.7 ขั้นตอนการสรางแบบฝก.................................................................................................22 3.8 แนวคิดหลักการที่เกี่ยวของกับชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน..........................................23 4. การสอนวิชาการ....................................................................................................................24 5. การเรียนการสอนแบบใชเทคนิค 5W1H................................................................................27 การวิเคราะหขอมูล ดวย 5W1H Analytical thinking with 5W1H.....................................29 ตัวอยางคำถามบางสวน เพื่อวิเคราะหขอมูลที่มีอยูในดานตางๆเพื่อประมวลผลขอมูลเบื้องตน ดวย 5W1H............................................................................................................................31 6. งานวิจัยที่เกี่ยวของ................................................................................................................32 การเรียนรูแบบใชเทคนิค 5W1H............................................................................................32 หลักการเรียนรูในชั้นเรียนแบบใชเทคนิค 5W1H....................................................................33 หนาที่ครูของผูสอน ................................................................................................................33 ขั้นตอนการเรียนรูในชั้นเรียนเชิงรุก........................................................................................33 การประเมิน ...........................................................................................................................33 แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและประเมินผล...................................................................................34 บทที่ 3...........................................................................................................................................38 แบบแผนการทดลอง..................................................................................................................38


ฉ กลุมเปาหมาย............................................................................................................................38 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย.............................................................................................................38 วิธีสรางเครื่องมือการวิจัย...........................................................................................................38 ขั้นตอนการดำเนินการทดลอง....................................................................................................41 การเก็บรวบรวมขอมูล................................................................................................................41 การวิเคราะหขอมูล.....................................................................................................................42 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล...................................................................................................42 คาความยากงายของขอสอบ.......................................................................................................45 การพิจารณาความยากงายของแบบทดสอบรายขอ....................................................................46 บทที่ 4...........................................................................................................................................47 วิเคราะหขอมูล...........................................................................................................................47 บทที่ 5...........................................................................................................................................50 สรุปผลการศึกษา.......................................................................................................................50 วัตถุประสงคของการวิจัย...........................................................................................................50 กลุมเปาหมาย............................................................................................................................50 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย.............................................................................................................50 การเก็บรวบรวมขอมูล................................................................................................................50 สรุปผลการวิจัย..........................................................................................................................51 อภิปรายผลการวิจัย...................................................................................................................51 ขอเสนอแนะ..............................................................................................................................53 ภาคผนวก......................................................................................................................................57


ช บทคัดยอ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคดังนี้ 1. เพื่อพัฒนาวิธีการเรียนรูแบบใชเทคนิค 5W1H ของนักเรียนใหเอื้อตอการเรียนรูของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2/1 โดยมีเปาหมายใหนักเรียนทุกคนมีผลการเรียนผานเกณฑที่ กำหนด เรื่องการเขียนเรื่องจากภาพตามจินตนาการและความคิดสรางสรรค 2. เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน เรื่องการเขียนเรื่องจากภาพตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรคประกอบการจัดการเรียนรูแบบใชเทคนิค 5W1H เครื่องมือที่ใชในการวิจัยชุดกิจกรรมการเรียน ไดแก 1. การพัฒนาชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน เรื่องการเขียนเรื่องจากภาพตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรคประกอบการจัดการเรียนรูแบบใชเทคนิค 5W1H 2. แบบบันทึกคะแนนเรื่องการเขียนเรื่องจากภาพตามจินตนาการและความคิดสรางสรรค 3. สมุดแบบฝกหัดและใบกิจกรรมของนักเรียน 4. แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนและแบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคของนักเรียน ผลจากการจัดการเรียนการสอนแบบใชเทคนิค 5W1H รวมกับการพัฒนาชุดกิจกรรมฝก ทักษะการเขียน มาใชในการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย ผลปรากฎวา คะแนนเฉลี่ยของการทดสอบ กอนเรียนเทากับ 4.72 คะแนน และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเทากับ 7.96 คะแนน ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ย หลังเรียนสูงกวากอนเรียน เทากับ 3.28 คะแนน และนักเรียนทุกคนมีคะแนนสูงขึ้นกวาเดิมโดยมี คะแนนความกาวหนาเมื่อเทียบระหวางคะแนนกอนเรียนกับคะแนนหลังเรียนคิดเปนรอยละ 126.8 และมีคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ลดลง นักเรียนมีคะแนนทักษะทางการเรียนในรายวิชาเพิ่มขึ้น อยางเห็นไดชัด และกิจกรรมกลุมเชิงรุกของนักเรียนทำใหเกิดบรรยากาศที่ดีและเอื้อตอการเรียนการ สอน ชวยใหนักเรียนมีความกระตือรือรนสนใจ ตั้งใจ และมีความรับผิดชอบตอการเรียนมากขึ้น อีก ทั้งยังชวยกระตุนใหนักเรียนมีความกระตือรือรนอยูตลอดเวลา ชวยสรางความสามัคคีใหเกิดขึ้นใน กลุม รูจักแกปญหารวมกัน ผูสอนจะเปนผูอำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู เพื่อใหผูเรียนเปน ผูปฏิบัติดวยตนเอง ซึ่งแนวทางนี้เหมาะสมในการแกปญหาในชั้นเรียนไดเปนอยางดี รวมถึงสามารถ สรางทัศนคติที่ดีตอการเรียนวิชาภาษาไทยเปนอยางมาก


ซ กิตติกรรมประกาศ รายงานการวิจัยชั้นเรียนฉบับนี้ เปนการวิจัยเชิงพัฒนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 สำเร็จลุลวงไดดวยคณะครู ผูเชี่ยวชาญ และผูอำนวยการโรงเรียน ที่ กรุณาใหคำปรึกษาพรอมทั้งชวยเหลือ แนะนำตรวจสอบ แกไขขอบกพรองตางๆ ผูรายงาน ขอขอบพระคุณเปนอยางสูง ขอขอบคุณคณะครู นักเรียนในโรงเรียนทุกคน ที่ใหความรวมมือในการ เก็บรวบรวมขอมูลในการพัฒนาการจัดการเรียนรูสูงานวิจัยในครั้งนี้ดวยดี คุณคาและประโยชนของรายงานฉบับนี้ ผูรายงานขอมอบเปนเครื่องแสดงความกตัญูตอ บิดา มารดา ที่ใหการศึกษา อบรมสั่งสอน ใหมีสติปญญาและคุณธรรมทั้งหลาย อันเปนเครื่องมือ นำไปสูความสำเร็จในชีวิตของผูรายงาน และการพัฒนาการเรียนรูของนักเรียนใหดีขึ้นเปนลำดับ พรสวรรค โกศล ผูจัดทำ


บทที่1 บทนำ ความเปนมาและความสำคัญของปญหา การเรียนการสอนโดยใชเทคนิค 5W1H เนนใหผูเรียนเปน Active learner มากกวาที่จะ เปน Passive learner จากการศึกษางานวิจัยของ Sweller (2016) พบวา การเรียนการสอนโดยใช เทคนิค 5W1H มีความเหมาะสมกับวัตถุประสงคของการเรียนรูในดานการเรียนรูเพื่อความเขาใจ และการนำความรู ที่ไดมาประยุกตใชในชีวิตประจำวันสงเสริมใหผูเรียนตื่นตัวตอการเรียนรูการ กระตือรือรนดานการรูคิดมากกวาที่ผูสอนสอนโดยการสอนแบบบรรยายเพื่อทองจำเพียงอยางเดียว การเรียนการสอนโดยใชเทคนิค 5W1H จึงเปนการเรียนการสอนที่ชวยใหคะแนนทักษะทางการเรียน ของผูเรียนมีประสิทธิภาพสูงผูเรียนจะมีความพึงพอใจในรูปแบบการเรียนการสอนที่ผูเรียนมีสวนรวม ในการปฏิบัติกิจกรรมลงมือกระทำมากกวาการเรียนที่ผูเรียนเปนฝายนั่งรับความรูเพียงอยางเดียว การจัดกิจกรรมการเรียนรู ที่สามารถทำใหผูเรียนเกิดความรูความเขาใจมโนทัศนที่สอนไดถูกตอง และลึกซึ้ง เกิดความคงทนถาวร ผูเรียนสามารถเชื่อมโยงความรูไดเปนอยางดี ผูเรียนเกิดความ สนุกสนานจากกิจกรรมที่จัดขึ้นในการเรียนการสอน ผูเรียนสามารถบูรณาการความรูที่ไดจากการ เรียนการสอนใหเกิดประโยชน เปนผลสืบเนื่องมาจากการเรียนรูที่ผูเรียนไดเปนผูลงมือปฏิบัติ กิจกรรมการเรียนดวยตนเอง รูปแบบการเรียนรูโดยใชเทคนิค 5W1H เปนวิธีการจัดการเรียนรูวิธีหนึ่งซึ่งมีเทคนิควิธีการที่ หลากหลาย (Office of Distance Learning, the Florida State University (2017) ซึ่งมุงเนนให ผูเรียนในโรงเรียนนั้นไดเปน Active learner โดยผูสอนจะทำหนาที่เปนผูคอยอำนวยความสะดวกใหแกผูเรียนมากกวาจะเปน ผูบรรยายหรือสอนเองทั้งหมด ผูสอนจะตองเปดโอกาสใหผูเรียนไดแสวงหาความรูแลกเปลี่ยนความรู และสรางความรูดวยตัวเอง ถือเปนสิ่งสำคัญที่ผูเรียนตองมี ซึ่งตอบสนองตอทักษะการเรียนรูศตวรรษ ที่ 21 ชวยใหผูเรียนสามารถบูรณาการ พัฒนาวิสัยทัศนการเรียนรูโดยผสมผสานองคความรู ทักษะ เฉพาะดาน ความชำนาญการและความรูเทาทันดานตาง ๆ เขาดวยกันเพื่อประสบความสำเร็จ การวิเคราะหปญหาจากชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนที่ใชเปนการวิเคราะหปญหาในการ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศของครูผูสอนและผูเรียนในสถานศึกษา ปจจัยหลักที่พบสวนใหญ ในสวนของ ครูมาจาก การไมไดรับการอบรม การเพิ่มพูนความรูอยางจริงจัง ครูที่เขาใจทางเทคโนโลยี สารสนเทศ สวนใหญ มาจากการแสวงหาความรูดวยตนเอง นอกจากนี้ ในสถานศึกษาบางแหงพบวา ครูผูสอนจะไมยอมรับการเรียนรู การเขาถึง หรือการแสวงหาการเรียนรูเพื่อนำมาพัฒนาสื่อ รูปแบบ ใหมๆ สนองตอกระบวนการเรียนรูภายใตยุคสังคมสารสนเทศ ในสวนของเด็ก ที่พบไดมากคือ การ


2 ติดเกม สวนใหญจะเปนสังคมเกมออนไลน อีกปญหาที่พบก็คือสังคมการแชท ผานโปรแกรมตางๆ เปนตน ซึ่งนับไดวา เปนสวนแบงเวลาในการศึกษาเรียนรูไปไดมากทีเดียว ชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนเปนเครื่องมือที่ชวยพัฒนาทักษะในเรื่องที่เรียนรูใหมากขึ้น โดยอาศัยการฝกฝนหรือปฏิบัติดวยตนเองของผูเรียน ลักษณะปญหาในชุดกิจกรรมฝกทักษะการ เขียนจะเปนปญหาที่เสริมทักษะพื้นฐานโดยกำหนดขึ้นใหผูเรียนตอบเรียงลำดับจากงายไปยาก ปริมาณของปญหาตองเพียงพอที่สามารถตรวจสอบและพัฒนาทักษะ กระบวนการคิด กระบวนการ เรียนรูของผูเรียน ที่เรียนไปแลว เพื่อนำไปใชในการแกปญหา รวมทั้งในชุดกิจกรรมฝกทักษะการ เขียนจะทำใหผูเรียนสามารถตรวจสอบความเขาใจบทเรียนดวยตนเองได เพื่อใหเกิดทักษะ เกิด ความรู ความเขาใจ ความชำนาญในเนื้อหาที่ผูเรียนไดเรียนไปในเรื่องนั้น ๆ อยางมีประสิทธิภาพ ลักษณะของชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนที่ดีโดยสรุปลักษณะของชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนที่ ดีคือ ตองมีจุดประสงคและคำสั่งที่ชัดเจน เขาใจงาย มีความเหมาะสมกับวัยของผูเรียน มีรูปแบบที่ ทันสมัย สามารถดึงดูดความสนใจของผูเรียนใหเกิดความตองการที่จะฝกปฏิบัติเพื่อใหเกิดการเรียนรู อยางมีประสิทธิภาพ แนวทางการแกไขปญหาการเขียนภาษาไทย ครูไดใชแนวทางการแกไขปญหาคือการสอน แบบใชเทคนิค 5W1H ใหกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 การจัดการเรียนการสอนแบบเนนให ผูเรียนไดปฏิบัติในสถานศึกษา สงเสริมใหความรู การใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนการ สอนของครูผูสอน ใหมีความรูสามารถใชงานเขาถึงเครือขายอินเทอรเน็ตได สงเสริมใหครูผูสอนมี ความรู ทักษะ การสรางสื่อ นวัตกรรม และบทเรียนดวยวิธีการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ สงเสริมให มีการพัฒนาสื่อชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน โดยใชกระบวนการทางเทคโนโลยีการใชชุดกิจกรรม การเขียน กำหนดวิธีการใหผูเรียน เขามาใชงาน การเรียนรูรวมกับชองทางการเรียนรูของ สถานศึกษา แลกเปลี่ยนเรียนรูกันระหวางครูผูสอนกับผูเรียน สงเสริมใหครูและผูเรียนเกิดการเรียนรู หรือการศึกษาดวยตนเองไดมากขึ้น วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาวิธีการเรียนรูแบบใชเทคนิค 5W1H ของนักเรียนใหเอื้อตอการเรียนรูของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2/1 โรงเรียนเขตการทางสงเคราะห ๕ (ไตรคามสิทธิศิลป) โดยมี เปาหมายใหนักเรียนทุกคนมีผลการเรียนผานเกณฑที่กำหนด เรื่องการเขียนเรื่องจากภาพตาม จินตนาการและความคิดสรางสรรค 2. เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน เรื่องการเขียนเรื่องจากภาพตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรคประกอบการจัดการเรียนรูแบบใชเทคนิค 5W1H


3 สมมติฐานของการวิจัย 1. กระบวนการเรียนรูแบบเนนใหผูเรียนไดปฏิบัติการเขียนดวยชุดกิจกรรมการเขียน ภาษาไทย หรือลงมือทำสามารถทำใหนักเรียนบางสวนที่ไมเขาใจบทเรียนนั้น กลับมาเขาใจบทเรียน มากขึ้นและเรียนรูไดมากขึ้นกวาคำอธิบายของครู 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการฝกทักษะ เรื่องการเขียนเรื่องจากภาพตาม จินตนาการและความคิดสรางสรรคซึ่งจะสงผลใหการเรียนของนักเรียนมีคะแนนทักษะทางการเรียน สูงขึ้น และนักเรียนจะมีเจตคติที่ดีตอการเรียนเพิ่มขึ้น ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. นักเรียนสามารถเขาใจบทเรียนไดดียิ่งขึ้น และคนที่ไมเขาใจมีโอกาสไดรับคำอธิบายที่ หลากหลายจากเพื่อนรวมหองของตัวเอง ซึ่งจะเปนผลดีตอการเรียนในคาบเรียนภาษาไทย 2. ไดพัฒนาชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนเรื่องการเขียนเรื่องจากภาพตามจินตนาการและ ความคิดสรางสรรคที่ผานการพัฒนาและหาประสิทธิภาพจากผูเชี่ยวชาญเรียบรอยแลว เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 1. การพัฒนาชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน เรื่องการเขียนเรื่องจากภาพตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรคประกอบการจัดการเรียนรูแบบใชเทคนิค 5W1H 2. แบบบันทึกคะแนนเรื่องการเขียนเรื่องจากภาพตามจินตนาการและความคิดสรางสรรค 3. สมุดแบบฝกหัดและใบกิจกรรมของนักเรียน 4. แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนและแบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคของนักเรียน ระยะเวลาการดำเนินงานวิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2565 รวมระยะเวลา 2 เดือน สัปดาหละ 2 ครั้ง นิยามศัพทเฉพาะ 1. คะแนนทักษะทางการเรียน หมายถึง ผลคะแนนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 ที่ได จากการประเมินผลกอนเรียนและหลังเรียน ซึ่งเครื่องมือเปนขอสอบที่ครูสรางขึ้นเองและได ตรวจสอบคุณภาพแลว 2. ความสนใจ หมายถึง การที่นักเรียนแสดงออกถึงความรูสึกชอบ และพอใจในวิธีสอน ที่ ใชการสอนโดยใชกิจกรรมการเรียนแบบการใชกระบวนการกลุมการพัฒนาการคิด การสอดแทรก คุณธรรม จริยธรรมในชั้นเรียน และเอาใจใสตอวิชาที่เรียนอยูดวยการแสวงหาความรูเพิ่มเติมจาก การศึกษาคนควาจากแหลงขอมูลตางๆ การทำแบบฝกหัด ดวยความพอใจ มีความกระตือรือรนและ จดจอตอการเรียนการสอนในชั่วโมง และสนใจซักถามปญหา ในเรื่องที่ครูสอนเมื่อมีขอสงสัย สนทนา


4 โตแยงอภิปรายปญหาในเรื่องที่เรียน ติดตามเอกสาร หนังสือพิมพหรือตำราเรียนที่เกี่ยวของมีสวน รวมในกิจกรรมการเรียนดวยความสมัครใจ ซึ่งจะวัดไดจากการตอบแบบสอบถามวัดความสนใจในวิธี สอนที่ไดมาตรฐาน ที่ผูวิจัยไดปรับปรุงขอคำถามเพื่อใหสอดคลองกับวิธีการสอนการสอนโดยใช กิจกรรมการเรียนแบบการใชกระบวนการกลุมการพัฒนาการคิด การสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในชั้นเรียน แบบสอบถามวัดความสนใจในวิธีสอนของ เรวัตร กีฏ วิทยา และ ปริยฉัตร พรหมศรีที่สรางขึ้นตามหลักการสรางแบบสอบถาม มาตราสวนประเมินคา 5 ระดับของ ลิเครท (Renniss Likert) 3. การสอนโดยใชเทคนิค 5W1H หมายถึง การสอนภาษาไทยดวยกระบวนการคิด วิเคราะหจากตัวอักษรตัวแรกของคำภาษาอังกฤษ 6 คำ ประกอบดวย Who, What, When, Where, Why และ How วิธีการใชเครื่องมือนี้ประกอบดวยการถามชุดคำถามอยางเปนระบบ เพื่อ รวบรวมขอมูลทั้งหมดที่จำเปนในการจัดทำรายงานสถานการณที่เกิดขึ้น โดยมีจุดประสงคเพื่อระบุ ลักษณะที่แทจริงของปญหาและอธิบายออกมาอยางแมนยำและครบถวน 5W1H จึงเปนสิ่งที่เปน คำตอบของทั้งหมด 4. การพัฒนาชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน หมายถึง การสรางสื่อหรือเอกสารการเรียน ประเภทหนึ่ง ที่ผูวิจัยสรางขึ้นเพื่อใหนักเรียนฝกปฏิบัติเพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจและทักษะ เพิ่มขึ้น เพื่อพัฒนาทักษะในดานหนึ่งๆ ที่ผูวิจัยตองการศึกษาพัฒนาการใหกับนักเรียน และ เรียงลำดับจากงายไปหายาก โดยเนนการฝกทักษะตามกระบวนการที่ไดกำหนดไวและสามารถ นำไปใชไดในชีวิตประจำวัน 5. แบบทดสอบ หมายถึง แบบทดสอบที่ผูวิจัยสรางขึ้น เพื่อทดสอบนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 2 กอนและหลังทดลองใชชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนแลวบันทึกคะแนนของ นักเรียนไวเปรียบเทียบผลการพัฒนา ขอบเขตของการวิจัย 1. กลุมเปาหมาย คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2/1 จำนวน 25 คน ประชากร คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2 จำนวน 49 คน 2. ตัวแปรที่ศึกษาไดแก 2.1 ตัวแปรตน การพัฒนาชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนประกอบการจัดการเรียนรูแบบใชเทคนิค 5W1H 2.2 ตัวแปรตาม


5 คะแนนทักษะทางการเรียนวิชาภาษาไทยเรื่องการเขียนเรื่องจากภาพตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค 3. การวิจัยครั้งนี้ดำเนินการในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2565 4. เนื้อหาที่ใชในการวิจัย คือ เนื้อหาในหนังสือเรียนวิชาภาษาไทยเรื่องการเขียนเรื่องจาก ภาพตามจินตนาการและความคิดสรางสรรค ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2 จำนวน 1 หนวย กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรตน ตัวแปรตาม การพัฒนาชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน เรื่องจากภาพตามจินตนาการและ ความคิดสรางสรรค โดยใชเทคนิค 5W1H คะแนนทักษะทางการเรียนวิชาภาษาไทย เรื่องการเขียนเรื่องจากภาพตาม จินตนาการและความคิดสรางสรรค


บทที่2 วรรณกรรมที่เกี่ยวของ ในการศึกษาการพัฒนาชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน เพื่อสงเสริมทักษะการเขียนเรื่องจาก ภาพตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรคของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2 โดยใชเทคนิค 5W1H ครั้งนี้ ผูศึกษาไดศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อเปนพื้นฐานแนวทางการ ดำเนินการศึกษาคนควาดังนี้ 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 2. คะแนนทักษะทางการเรียน 3. การพัฒนาชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน 4. การสอนวิชาการ 5. การเรียนการสอนแบบใชเทคนิค 5W1H 6. งานวิจัยที่เกี่ยวของ 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 เปนหลักสูตรที่พัฒนาจาก ผลการวิจัยและการประเมินผลการใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 โดยเนนการปรับปรุง ขอผิดพลาดและอุปสรรคของการใชหลักสูตรที่เกิดขึ้น หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานฉบับนี้ ครอบคลุมการจัดการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา โดยเริ่มใชนำรองครั้งแรก ในปการศึกษา 2552 และบังคับใชทั่วประเทศในทุกชั้นเรียนปการศึกษา 2555 หลักสูตรฉบับนี้มีการ ปรับปรุงลาสุดใน พ.ศ. 2560 อยางไรก็ตามในปจจุบันมีแนวโนมที่จะยกเลิกหรือปรับหลักสูตรฉบับนี้ โดยกระทรวงศึกษาธิการไดตั้งเปาหมายจะนำรองหลักสูตรฉบับใหมใน พ.ศ. 2565 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุงพัฒนาผูเรียนทุกคน ซึ่งเปนกำลัง ของชาติให เปนมนุษยที่มีความสมดุลทั้งดานรางกาย ความรู คุณธรรม มีจิตสำนึกใน ความเปนพลเมืองไทยและ เปนพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มี ความรูและทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเปนตอ การศึกษาตอ การประกอบอาชีพและ การศึกษาตลอดชีวิต โดยมุงเนนผูเรียนเปนสำคัญ บนพื้นฐานความเชื่อวา ทุกคนสามารถเรียนรูและ พัฒนาตนเองไดเต็มตามศักยภาพ หลักการ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่สำคัญ ดังนี้


7 1. เปนหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเปนเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐาน การ เรียนรูเปนเปาหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนใหมีความรู ทักษะ เจตคติ และ คุณธรรมบน พื้นฐานของความเปนไทยควบคูกับความเปนสากล 2. เปนหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสไดรับการศึกษา อยางเสมอ ภาคและมีคุณภาพ 3. เปนหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ใหสังคมมีสวนรวมในการ จัด การศึกษาใหสอดคลองกับสภาพและความตองการของทองถิ่น 4. เปนหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสรางยึดหยุนทั้งดานสาระการเรียนรู เวลาและ การ จัดการเรียนรู 5. เปนหลักสูตรการศึกษาที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ 6. เปนหลักสูตรการศึกษา สำหรับ การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุกกลุมเปาหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู และประสบการณ จุดมุงหมาย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มี ความสุข มีศักยภาพในการศึกษาตอ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเปนจุดหมายเพื่อใหเกิด กับผูเรียน เมื่อจบ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่พึงประสงค เห็นคุณคาของตนเอง มีวินัย และปฏิบัติ ตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจ พอเพียง 2. มีความรู ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกปญหา การใชเทคโนโลยี และมี ทักษะชีวิต 3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเปนพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิต และการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข 5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย การอนุรักษและพัฒนา สิ่งแวดลอม มีจิตสาธารณะที่มุงทำประโยชนและสรางสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยูรวมกันใน สังคม อยางมีความสุข สมรรถนะสำคัญของผูเรียน ในการพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุงพัฒนาผูเรียน ใหมี สมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ ดังนี้


8 1. ความสามารถในการสื่อสาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มีวัฒนธรรม ในการ ใชภาษาถายทอดความคิด ความรู ความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยน ขอมูลขาวสารและประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนา ตนเองและสังคม รวมทั้งการ เจรจาตอรองเพื่อขจัดและลดปญหาความขัดแยงตางๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลัก เหตุผลและความถูกตองตลอดจนการเลือกใช วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบ ที่มีตอตนเองและสังคม 2. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิด อยางสรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพื่อนำไปสู การสรางองคความรู หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมไดอยาง เหมาะสม 3. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรค ตางๆ ที่ เผชิญไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูล สารสนเทศ เขาใจ ความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณตางๆ ในสังคม แสวงหา ความรู ประยุกตความรูมา ใชในการปองกันและแกไขปญหา และมีการตัดสินใจที่มี ประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงผลกระทบ ที่ เกิดขึ้นตอตนเอง สังคมและสิ่งแวดลอม 4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนำกระบวนการ ตางๆ ไปใช ในการดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเนื่อง การทำงาน และการอยู รวมกันในสังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวาง บุคคล การจัดการปญหาและความ ขัดแยงตางๆ อยางเหมาะสม การปรับตัวใหทันกับ การเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรูจักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม พึงประสงคที่สงผลกระทบตอตนเองและผูอื่น 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยีดาน ตางๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การสื่อสาร การทำงาน การแกปญหา อยางสรางสรรค ถูกตอง เหมาะสมและมีคุณธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค ในการพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุงพัฒนาผูเรียน ใหมี คุณลักษณะอันพึงประสงค เพื่อใหสามารถอยูรวมกับผูอื่นในสังคมไดอยางมีความสุข ทั้งในฐานะ พลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ 1. รักชาติ ศาสนา กษัตริย 2. ซื่อสัตยสุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝเรียนรู 5. อยูอยางพอเพียง


9 6. มุงมั่นในการทำงาน 7. รักความเปนไทย 8. มีจิตสาธารณะ นอกจากนี้ สถานศึกษาสามารถกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงคเพิ่มเติมให สอดคลองตาม บริบทและจุดเนนของตนเอง โดยโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา เพิ่มเติมคุณลักษณะอันพึงประสงค คือ 1. รูจักปรับตัว 2. เปนผูนำ มาตรฐานการเรียนรู การพัฒนาผูเรียนใหเกิดความสมดุล ตองคำนึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและ พหุปญญา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกำหนดใหผูเรียนเรียนรู 8 กลุม สาระการเรียนรู ดังนี้ 1. ภาษาไทย 2. คณิตศาสตร 3. ภาษาไทย 4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 5. สุขศึกษาและพลศึกษา 6. ศิลปะ 7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี 8. ภาษาตางประเทศ ในแตละกลุมสาระการเรียนรูไดกำหนดมาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมายสำคัญ ของการ พัฒนาคุณภาพผูเรียน มาตรฐานการเรียนรูระบุสิ่งที่ผูเรียนพึงรูและปฏิบัติได และ มีคุณลักษณะอัน พึงประสงคอยางไร เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรูยังเปนกลไกสำคัญ ในการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรูจะสะทอนใหทราบวาตองการ อะไร จะสอนอยางไร และประเมินอยางไร รวมทั้งเปนเครื่องมือในการตรวจสอบเพื่อการประกัน คุณภาพการศึกษาโดยใชระบบการประเมิน คุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่ง รวมถึงการทดสอบระดับเขตพื้นที่ การศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพื่อ ประกันคุณภาพดังกลาว เปนสิ่งสำคัญที่ชวยสะทอนภาพการจัดการศึกษาวาสามารถพัฒนาผูเรียนให มีคุณภาพ ตามที่มาตรฐานการเรียนรูกำหนดเพียงใด 2. คะแนนทักษะทางการเรียน ความหมายของคะแนนทักษะทางการเรียน คะแนนทักษะทางการเรียนเปนความสามารถของนักเรียนในดานตางๆ ซึ่งเกิดจากนักเรียน ไดรับประสบการณจากกระบวนการเรียนการสอนของครู โดยครูตองศึกษาแนวทางในการวัดและ ประเมินผล การสรางเครื่องมือวัดใหมีคุณภาพนั้น ไดมีผูใหความหมายของคะแนนทักษะทางการ เรียนไวดังนี้


10 สมพร เชื้อพันธ (2557) สรุปวา คะแนนทักษะทางการเรียนวิชาภาษาไทย หมายถึง ความสามารถ ความสำเร็จและสมรรถภาพดานตางๆของผูเรียนที่ไดจากการเรียนรูอันเปนผลมาจาก การเรียนการสอน การฝกฝนหรือประสบการณของแตละบุคคลซึ่งสามารถวัดไดจากการทดสอบดวย วิธีการตางๆ พิมพันธ เดชะคุปต และพเยาว ยินดีสุข (2558) กลาววา คะแนนทักษะทางการเรียน หมายถึงขนาดของความสำเร็จที่ไดจากกระบวนการเรียนการสอน เปนการเรียนการสอนที่เปด โอกาสใหผูเรียนมีสวนรวมในกระบวนการเรียนรูสูงสุด ปราณี กองจินดา (2559) กลาวา คะแนนทักษะทางการเรียน หมายถึง ความสามารถหรือ ผลสำเร็จที่ไดรับจากกิจกรรมการเรียนการสอนเปนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและประสบการณ เรียนรูทางดานพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย และยังไดจำแนกคะแนนทักษะทางการเรียนไว ตามลักษณะของวัตถุประสงคของการเรียนการสอนที่แตกตางกัน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2560) ใหความหมายวา การวัดคะแนนทักษะทางการ เรียนเปนการวัดความสำเร็จทางการเรียน หรือวัดประสบการณทางการเรียนที่ผูเรียนไดรับจากการ เรียนการสอน โดยวัดตามจุดมุงหมายของการสอนหรือวัดผลสำเร็จจากการศึกษาอบรมในโปรแกรม ตาง ๆ ไพโรจน คะเชนทร (2560) ใหคำจำกัดความคะแนนทักษะทางการเรียนวา คือคุณลักษณะ รวมถึงความรู ความสามารถของบุคคลอันเปนผลมาจากการเรียนการสอน หรือ มวลประสบการณ ทั้งปวงที่บุคคลไดรับจากการเรียนการสอน ทำใหบุคคลเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในดานตางๆ ของสมรรถภาพทางสมอง ซึ่งมีจุดมุงหมายเพื่อเปนการตรวจสอบระดับความสามารถสมองของ บุคคลวาเรียนแลวรูอะไรบาง และมีความสามารถดานใดมากนอยเทาไร ตลอดจนผลที่เกิดขึ้นจาก การเรียนการฝกฝนหรือประสบการณตางๆ ทั้งในโรงเรียน ที่บาน และสิ่งแวดลอมอื่นๆ รวมทั้ง ความรูสึก คานิยม จริยธรรมตางๆ ก็เปนผลมาจากการฝกฝนดวย ดังนั้นจึงสรุปไดวาคะแนนทักษะทางการเรียน หมายถึง ผลที่เกิดจากกระบวนการเรียนการ สอนที่จะทำใหนักเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และสามารถวัดไดโดยการแสดงออกมาทั้ง 3 ดาน คือ ดานพุทธิพิสัย ดานจิตพิสัย และดานทักษะพิสัย การวัดคะแนนทักษะทางการเรียน การวัดคะแนนทักษะทางการเรียนมีความจำเปนตอการเรียนการสอน หรือการตัดสินผลการ เรียน เพราะเปนการวัดระดับความสามารถในการเรียนรูของบุคคลหลังจากที่ไดรับการฝกฝน โดย อาศัยเครื่องมือประเภทแบบทดสอบวัดคะแนนทักษะซึ่งเปนเครื่องมือที่นิยมมากที่สุด


11 การวัดคะแนนทักษะทางการเรียนตามแนวคิดของ Bloom (1982) ถือวาสิ่งใดก็ตาม ที่มี ปริมาณอยูจริงสิ่งนั้นสามารถวัดได คะแนนทักษะทางการเรียนก็อยูภายใตกรอบแนวคิดดังกลาว ซึ่ง ผลการวัดจะเปนประโยชนในลักษณะทราบและประเมินระดับความรู ทักษะและเจตคติของนักเรียน และระดับความรูความสามารถตามแนวคิดของ Bloom มี 6 ระดับ ดังนี้ 1) ความจำ คือ สามารถจำเรื่องตาง ๆ ได เชน คำจำกัดความสูตรตาง ๆ วิธีการ เชน นักเรียนสามารถบอกชื่อสารอาหาร 5 ชนิดได นักเรียนสามารถบอกชื่อธาตุที่เปนองคประกอบของ โปรตีนไดครบถวน 2) ความเขาใจ คือ สามารถแปลความ ขยายความ และสรุปใจความสำคัญได 3) การนำไปใช คือ สามารถนำความรู ซึ่งเปนหลักการ ทฤษฎี ฯลฯ ไปใชในสภาพการณที่ ตางออกไปได 4) การวิเคราะห คือ สามารถแยกแยะขอมูลและปญหาตาง ๆ ออกเปนสวนยอยเชน วิเคราะหองคประกอบ ความสัมพันธ หลักการดำเนินการ 5) การสังเคราะห คือ สามารถนำองคประกอบ หรือสวนตาง ๆ เขามารวมกันเปนหมวดหมู อยางมีความหมาย 6) การประเมินคา คือ สามารถพิจารณาและตัดสินจากขอมูล คุณคาของ หลักการโดยใช มาตรการที่ผูอื่นกำหนดไวหรือตัวเองกำหนดขึ้น เยาวดี วิบูลยศรี (2560) ไดกลาวถึงขอตกลงเบื้องตนที่ควรคำนึงถึงในการสรางแบบทดสอบ คะแนนทักษะไวดังนี้ 1) เนื้อหา หรือทักษะภายในขอบเขตที่ครอบคลุมในแบบทดสอบวัดคะแนนทักษะนั้น จะตองสามารถจำกัดอยูในรูปของพฤติกรรม ซึ่งมีความเฉพาะเจาะจงในลักษณะที่จะสื่อสารไปยัง บุคคลอื่นได ถาเปาหมายทางการศึกษาไมสามารถจำกัดอยูในรูปของพฤติกรรมแลว ยอมไมสามารถ ที่จะวัดไดในลักษณะของคะแนนทักษะไดอยางชัดเจน 2) ผลิตผลที่แบบทดสอบวัดคะแนนทักษะวัดนั้น จะตองเปนผลิตผลเฉพาะที่เกิดขึ้นจากการ เรียนการสอนตามวัตถุประสงคที่ตองการเทานั้น จะวัดผลผลิตผลอยางอื่นไมได 3) คะแนนทักษะหรือความรูตาง ๆ ที่แบบทดสอบคะแนนทักษะวัดไดนั้น ถาจะนำไป เปรียบเทียบกันแลว ผูเขาสอบทุกคนจะตองมีโอกาสไดเรียนรูในเรื่องนั้น ๆ เทาเทียมกัน แบบทดสอบวัดคะแนนทักษะทางการเรียน สมบูรณ ตันยะ (2559) ไดใหความหมายวา แบบทดสอบวัดคะแนนทักษะทางการ เรียนเปน แบบทดสอบที่ใชสำหรับวัดพฤติกรรมทางสมองของผูเรียนวามีความรู ความสามารถใน เรื่องที่เรียนรู


12 มาแลว หรือไดรับการฝกฝนอบรมมาแลวมากนอยเพียงใด สวน พิชิต ฤทธิ์จรูญ (2559) กลาววา แบบทดสอบวัดคะแนนทักษะทางการเรียนเปน แบบทดสอบที่ใชวัดความรู ทักษะ และ ความสามารถทางวิชาการที่ผูเรียนไดเรียนรูมาแลว วา บรรลุผลสำเร็จตามจุดประสงคที่กำหนดไว เพียงใด พิชิต ฤทธิ์จรูญ (2560) กลาววา แบบทดสอบวัดคะแนนทักษะทางการเรียน หมายถึง แบบทดสอบที่ใชวัดความรู ทักษะ และความสามารถทางวิชาการที่นักเรียนไดเรียนรูมาแลววา บรรลุผลสำเร็จตามจุดประสงคที่กำหนดไวเพียงใด สิริพร ทิพยคง (2561) กลาววา แบบทดสอบวัดคะแนนทักษะทางการเรียน หมายถึงชุด คำถามที่มุงวัดพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนวามีความรู ทักษะ และสมรรถภาพดานสมองดาน ตางๆ ในเรื่องที่เรียนรูไปแลวมากนอยเพียงใด สมพร เชื้อพันธ (2562) กลาววา แบบทดสอบวัดคะแนนทักษะทางการเรียน หมายถึง แบบทดสอบหรือชุดของขอสอบที่ใชวัดความสำเร็จหรือความสามารถในการทำกิจกรรมการเรียนรู ของนักเรียนที่เปนผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูผูสอนวาผานจุดประสงคการ เรียนรูที่ตั้งไวเพียงใด ดังนั้นสรุปไดวา แบบทดสอบวัดคะแนนทักษะทางการเรียน คือแบบทดสอบที่ใชวัดความรู และทักษะความสามารถจากการเรียนรูในอดีตหรือในสภาพปจจุบันของแตละบุคคล ประเภทของแบบทดสอบวัดคะแนนทักษะทางการเรียน ไพโรจน คะเชนทร (2558) ไดจัดประเภทของแบบทดสอบวัดคะแนนทักษะทางการเรียน แบงออกเปน 2 ประเภท คือแบบทดสอบที่ครูสรางขึ้นเอง (Teacher made tests) และ แบบทดสอบมาตรฐาน (Standardized tests) ซึ่งทั้ง 2 ประเภทจะถามเนื้อหาเหมือนกัน คือถามสิ่ง ที่ผูเรียนไดรับจากการเรียนการสอนซึ่งจัดกลุมพฤติกรรมได 6 ประเภท คือ ความรู ความจำ ความ เขาใจ การนำไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห และการประเมินผล 1. แบบทดสอบที่ครูสรางขึ้นเปนแบบทดสอบที่ครูสรางขึ้นเองเพื่อใชในการทดสอบผูเรียนใน ชั้นเรียน แบงเปน 2 ประเภท คือ 1.1 แบบทดสอบปรนัย (Objective tests) ไดแก แบบถูก – ผิด (True-false) แบบจับคู (Matching) แบบเติมคำใหสมบูรณ (Completion) หรือแบบคำตอบสั้น (Short answer) และแบบเลือกตอบ (Multiple choice) 1.2 แบบอัตนัย (Essay tests) ไดแก แบบจำกัดคำตอบ (Restricted response items) และแบบไมจำกัดความตอบ หรือ ตอบอยางเสรี (Extended response items)


13 2. แบบทดสอบมาตรฐาน (Standardized tests) เปนแบบทดสอบที่สราง โดยผูเชี่ยวชาญ ที่มีความรูในเนื้อหา และมีทักษะการสรางแบบทดสอบ มีการวิเคราะหหาคุณภาพของแบบทดสอบ มีคำชี้แจงเกี่ยวกับการดำเนินการสอบ การใหคะแนนและการแปลผล มีความเปนปรนัย (Objective) มีความเที่ยงตรง (Validity) และความเชื่อมั่น (Reliability) แบบทดสอบมาตรฐาน ไดแก California Achievement Test, Iowa Test of Basic Skills, Stanford Achievement Test และ the Metropolitan Achievement tests เปนตน สวนพวงรัตน ทวีรัตน (2559) ไดจัดประเภทแบบทดสอบไว 3 ประเภท ดังนี้ 3. แบบปากเปลา เปนการทดสอบที่อาศัยการซักถามเปนรายบุคคล ใชไดผลดีถามีผูเขาสอบ จำนวนนอย เพราะตองใชเวลามาก ถามไดละเอียด เพราะสามารถโตตอบกันได 4. แบบเขียนตอบ เปนการทดสอบที่เปลี่ยนแปลงมาจากการสอบแบบปากเปลา เนื่องจาก จำนวนผูเขาสอบมากและมีจำนวนจำกัด แบงไดเปน 2 แบบ คือ 1) แบบความเรียง หรืออัตนัย เปนการสอบที่ใหผูตอบไดรวบรวมเรียบเรียงคำพูด ของตนเองในการแสดงทัศนคติ ความรูสึก และความคิดไดอยางอิสระภายใตหัวเรื่องที่ กำหนดให เปนขอสอบที่สามารถ วัดพฤติกรรมดานการสังเคราะหไดอยางดี แตมีขอเสียที่ การใหคะแนน ซึ่งอาจไมเที่ยงตรง ทำใหมีความเปนปรนัยไดยาก 2) แบบจำกัดคำตอบ เปนขอสอบ ที่มีคำตอบถูกใตเงื่อนไขที่กำหนดใหอยางจำกัด ขอสอบแบบนี้แบงออกเปน 4 แบบ คือ แบบถูกผิด แบบเติมคำ แบบจับคู และแบบ เลือกตอบ 5. แบบปฏิบัติ เปนการทดสอบที่ผูสอบไดแสดงพฤติกรรมออกมาโดยการกระทำหรือลงมือ ปฏิบัติจริงๆ เชน การทดสอบทางดนตรี ชางกล พลศึกษา คณิตศาสตร ภาษาไทย เปนตน รูปภาพ 1 แบบปฏิบัติ


14 3. การพัฒนาชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน 3.1 ความหมายและความสำคัญของชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน สุวิทยมูลคำ และสุนันทา สุนทรประเสริฐ (2557 : 53) ไดสรุปความสำคัญของชุดกิจกรรม ฝกทักษะการเขียนวาชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนมีความสำคัญตอผูเรียนไมนอย ในการที่จะชวย สงเสริมสรางทักษะใหกับผูเรียนไดเกิดการเรียนรูและเขาใจไดเร็วขึ้น ชัดเจนขึ้น กวางขวางขึ้นทำให การสอนของครูและการเรียนของนักเรียนประสบผลสำเร็จอยางมีประสิทธิภาพ ไพทูลยมูลดี (2557 :48) ไดสรุปความหมายของชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน คือชุดฝก การเรียนรูที่ครูสรางขึ้นใหนักเรียนไดทบทวนเนื้อหาที่เรียนรูมาแลวเพื่อสรางความรูความเขาใจ และ ชวยเพิ่มทักษะความชำนาญและฝกกระบวนการคิดใหมากขึ้น ทั้งยังมีประโยชนในการลดภาระการ สอนใหกับครู อีกทั้งพัฒนาความสามารถของผูเรียน และทำใหผูเรียนสามารถมองเห็นความกาวหนา จากผลการเรียนรูของตนเองได คมขำ แสนกลา (2557 : 32) ไดสรุปความสำคัญของแบบฝกวา ชุดกิจกรรมฝกทักษะการ เขียนเปนสวนสำคัญในการเรียนการสอน เพราะถาขาดชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนเพื่อใชในการ ฝกฝนทักษะความรูตางๆ หลังจากเรียนไปแลว เด็กก็อาจจะลืมเลือนความรูที่เรียนไปได ซึ่งอาจสงผล ใหนักเรียนไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควร ฐานิยา อมรพลัง (2558 : 75) ไดสรุปถึงความหมายของชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน คือ งานกิจกรรมหรือประสบการณที่ครูจัดใหนักเรียนไดฝกหัดกระทำ เพื่อทบทวนฝกฝนเนื้อหาความรู ตางๆ ที่ไดเรียนไปแลวใหเกิดความจำ จนสามารถปฏิบัติไดดวยความชำนาญ และใหผูเรียนสามารถ นำไปใชในชีวิตประจำวันได วรรณภา ไชยวรรณ (2559 : 40) ไดสรุปความหมายและความสำคัญของแบบฝกไดวา แบบฝก คือ แบบฝกหัด หรือชุดฝกที่ครูจัดใหนักเรียน เพื่อใหมีทักษะเพิ่มขึ้นหลังจากที่ไดเรียนรูเรื่อง นั้นๆ มาบางแลว โดยแบบฝกตองมีทิศทางตรงตามจุดประสงค ประกอบกิจกรรมที่นาสนใจและ สนุกสนาน อกนิษฐกรไกร (2559 : 18) ไดสรุปความหมายของชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนไววา แบบฝก-ทักษะหมายถึง สื่อที่สรางขึ้นเพื่อเสริมสรางทักษะใหแกนักเรียน มีลักษณะเปนแบบฝกหัดที่ มีกิจกรรมใหนักเรียนทำโดยมีการทบทวนสิ่งที่เรียนผานมาแลวจากบทเรียน ใหเกิดความเขาใจและ เปนการฝกทักษะ และแกไขในจุดบกพรองเพื่อใหนักเรียนไดมีความสามารถและศักยภาพยิ่งขึ้นเขาใจ บทเรียนดีขึ้น


15 พินิจ จันทรซ้ำย (2559 : 90) กลาวถึงชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนวา หมายถึง งาน กิจกรรม หรือประสบการณที่ครูผูสอนจัดใหนักเรียนไดฝกปฏิบัติเพื่อทบทวนความรูที่เรียนมาแลว นำมาปรับประยุกตใชในชีวิตประจำวัน สามารถฝกฝนดวยตนเองได ผูวิจัยไดศึกษาความหมายและความสำคัญของชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนแลวพอสรุปได วา ชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน หมายถึง ชุดฝกทักษะที่ครูสรางขึ้นใหนักเรียนไดทบทวนเนื้อหาที่ เรียนรูมาแลวเพื่อสรางความเขาใจ และชวยเพิ่มทักษะความชำนาญและฝกกระบวนการคิดใหมาก ขึ้น ทำใหครูทราบความเขาใจของนักเรียนที่มีตอบทเรียน ฝกใหเด็กมีความเชื่อมั่นและสามารถ ประเมินผลของตนเองได ทั้งยังมีประโยชนชวยลดภาระการสอนของครู และยังชวยพัฒนาตามความ แตกตาง 3.2 ลักษณะของแบบฝกที่ดี แบบฝกเปนเครื่องมือที่สำคัญที่จะชวยเสริมสรางทักษะใหแกผูเรียน การสรางแบบฝกใหมี ประสิทธิภาพจึงจำเปนจะตองศึกษาองคประกอบและลักษณะของแบบฝก เพื่อใชใหเหมาะสมกับ ระดับความสามารถของนักเรียน สุวิทยมูลคำ และสุนันทา สุนทรประเสริฐ (2560 : 60 - 61) ไดสรุปลักษณะของแบบฝกที่ ดีควรคำนึงถึงหลักจิตวิทยาการเรียนรูผูเรียนไดศึกษาดวยตนเอง ความครอบคลุม ความสอดคลอง กับเนื้อหา รูปแบบนาสนใจ และคำสั่งชัดเจน และไดสรุปลักษณะของแบบฝกไวดังนี้ 1. ใชหลักจิตวิทยา 2. สำนวนภาษาไทย 3. ใหความหมายตอชีวิต 4. คิดไดเร็วและสนุก 5. ปลุกความนาสนใจ 6. เหมาะสมกับวัยและความสามารถ 7. อาจศึกษาไดดวยตนเอง และไดแนะนำใหผูสรางแบบฝกใหยึดลักษณะของแบบฝกไวดังนี้ 1. แบบฝกหัดที่ดีควรมีความชัดเจนทั้งคำสั่งและวิธีทำคำสั่งหรือตัวอยางวิธีทำที่ใชไมควร ยาวเกินไป เพราะจะทำใหเขาใจยาก ควรปรับใหงายเหมาะสมกับผูใชทั้งนี้เพื่อใหนักเรียนสามารถ ศึกษาดวยตนเองไดถาตองการ 2. แบบฝกหัดที่ดีควรมีความหมายตอผูเรียนและตรงตามจุดมุงหมายของการฝกลงทุนนอย ใชไดนานๆ และทันสมัยอยูเสมอ


16 3. ภาษาและภาพที่ใชในแบบฝกหัดควรเหมาะสมกับวัยและพื้นฐานความรูของผูเรียน 4. แบบฝกหัดที่ดีควรแยกฝกเปนเรื่องๆ แตละเรื่องไมควรยาวเกินไปแตควรมีกิจกรรมหลาย รูปแบบ เพื่อเราใหนักเรียนเกิดความสนใจและไมนาเบื่อหนายในการทำ และเพื่อฝกทักษะใดทักษะ หนึ่งจนเกิดความชำนาญ 5. แบบฝกหัดที่ดีควรมีทั้งแบบกำหนดใหโดยเสรี การเลือกใชคำ ขอความหรือรูปภาพใน แบบฝกหัด ควรเปนสิ่งที่นักเรียนคุนเคยและตรงกับความในใจของนักเรียนเพื่อวาแบบฝกหัดที่สราง ขึ้นจะไดกอใหเกิดความเพลิดเพลินและพอใจแกผูใช ซึ่งตรงกับหลักการเรียนรูไดเร็วในการกระทำที่ กอใหเกิดความพึงพอใจ 6. แบบฝกหัดที่ดีควรเปดโอกาสใหผูเรียน ไดศึกษาดวยตนเองใหรูจักคนควารวบรวมสิ่งที่พบ เห็นบอยๆ หรือที่ตนเองเคยใชจะทำใหนักเรียนสนใจเรื่องนั้นๆ มากยิ่งขึ้นและจะรูจักความรูใน ชีวิตประจำวันอยางถูกตอง มีหลักเกณฑและมองเห็นวาสิ่งที่เขาไดฝกฝนนั้นมีความหมายตอเขา ตลอดไป 7. แบบฝกหัดที่ดีควรจะสนองความแตกตางระหวางบุคคล ผูเรียนแตละคนจะมีความ แตกตางกันหลายๆดาน เชน ความตองการ ความสนใจ ความพรอม ระดับสติปญญาและ ประสบการณ ฯลฯ ฉะนั้นการทำแบบฝกหัดแตละเรื่อง ควรจัดทำใหมากพอและมีทุกระดับ ตั้งแต งาย ปานกลาง จนถึงระดับคอนขางยาก เพื่อวาทั้งเด็กเกง กลาง และออนจะไดเลือกทำไดตาม ความสามารถ ทั้งนี้เพื่อใหเด็กทุกคนประสบความสำเร็จ ในการทำแบบฝกหัด 8. แบบฝกหัดที่ดีควรสามารถเราความสนใจของนักเรียนไดตั้งแตหนาปกไปจนถึงหนา สุดทาย 9. แบบฝกหัดที่ดีควรไดรับการปรับปรุงไปคูกับหนังสือแบบเรียนอยูเสมอและควรใชไดดีทั้ง ในและนอกบทเรียน 10. แบบฝกหัดที่ดีควรเปนแบบที่สามารถประเมิน และจำแนกความเจริญงอกงามของเด็ก ไดดวย ฐานิยา อมรพลัง (2558 : 78) ไดเสนอลักษณะที่ดีของแบบฝก คือ แบบฝกที่เรียงลำดับ จากงายไปหายาก มีรูปภาพประกอบ มีรูปแบบนาสนใจ หลากหลายรูปแบบ โดยอาศัยหลักจิตวิทยา ในการจัดกิจกรรมหรือจัดแบบฝกใหสนุก ใชภาษาเหมาะสมกับวัย และ ระดับชั้นของนักเรียน มี คำสั่ง คำชี้แจงสั้น ชัดเจน เขาใจงาย มีตัวอยางประกอบ มีการจัดกิจกรรม การฝกที่เราความสนใจ และแบบฝกนั้นควรทันสมัยอยูเสมอ


17 วรรณภา ไชยวรรณ (2558 : 43) ไดอธิบายถึงลักษณะของแบบฝกที่ดี คือ ควรมีความ หลากหลายรูปแบบ เพื่อไมใหเกิดความเบื่อหนาย และตองมีลักษณะที่เรา ยั่วยุ จูงใจ ไดใหคิด พิจารณา ไดศึกษาคนควาจนเกิดความรู ความเขาใจทักษะ แบบฝกควรมีภาพดึงดูดความสนใจ เหมาะสมกับวัยของผูเรียนตรงกับจุดประสงคการเรียนรู มีเนื้อหาพอเหมาะ ถวัลยมาศจรัส และคณะ (2558 : 20) ไดอธิบายถึงลักษณะของแบบฝกหัดและชุดกิจกรรม ฝกทักษะการเขียนที่ดีไววา ดังนี้ 1. จุดประสงค 1.1 จุดประสงคชัดเจน 1.2 สอดคลองกับการพัฒนาทักษะตามสาระการเรียนรู และกระบวนการเรียนรู ของกลุมสาระการเรียนรู 2. เนื้อหา 2.1 ถูกตองตามหลักวิชา 2.2 ใชภาษาเหมาะสม 2.3 มีคำอธิบายและคำสั่งที่ชัดเจน งายตอการปฏิบัติตาม 2.4 สามารถพัฒนาทักษะการเรียนรู นำผูเรียนสูการสรุปความคิดรวบยอดและ หลักการสำคัญของกลุมสาระการเรียนรู 2.5 เปนไปตามลำดับขั้นตอนการเรียนรูสอดคลองกับวิธีการเรียนรู และความ แตกตางระหวางบุคคล 2.6 มีคำถามและกิจกรรมที่ทาทายสงเสริมทักษะกระบวนการเรียนรูของ ธรรมชาติ วิชา 2.7 มีกลยุทธการนำเสนอและการตั้งคำถามที่ชัดเจน นาสนใจปฏิบัติไดสามารถให ขอมูลยอนกลับเพื่อปรับปรุงการเรียนไดอยางตอเนื่อง ผูวิจัยพอสรุปลักษณะของแบบฝกที่ดีไดวา แบบฝกที่ดีและมีประสิทธิภาพ ชวยทำให นักเรียนประสบความสำเร็จในการฝกทักษะไดเปนอยางดี และแบบฝกที่ดีเปรียบเสมือนผูชวยที่ สำคัญของครู ทำใหครูลดภาระการสอนลงได ทำใหผูเรียนพัฒนาความสามารถของตนเพื่อความ มั่นใจในการเรียนไดเปนอยางดี ดังนั้นครูยังจำเปนตองศึกษาเทคนิควิธีการ ขั้นตอนในการฝกทักษะ ตางๆ มีประสิทธิภาพที่สุด อันสงผลใหผูเรียนมีการพัฒนาทักษะตางๆ ไดอยางเต็มที่และแบบฝกที่ดี นั้นจะตองคำนึงถึงองคประกอบหลายๆดาน ตรงตามเนื้อหา เหมาะสมกับวัย เวลา ความสามารถ ความสนใจ และสภาพปญหาของผูเรียน


18 3.3 ประโยชนของชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน ยุพา ยิ้มพงษ (อางใน สุนันทา สุนทรประเสริฐ, 2558, หนา 3) ไดกลาวถึงประโยชนของแบบ ฝกไวหลายขอดวยกัน ดังตอไปนี้ 1. เปนสวนที่เพิ่มเติมหรือเสริมหนังสือเรียนในการเรียนทักษะ เปนอุปกรณการสอนที่ชวย ลดภาระครูไดมาก เพราะแบบฝกเปนสิ่งที่จัดทำขึ้นอยางเปนระบบและมีระเบียบ 2. ชวยเสริมทักษะแบบฝกหัดเปนเครื่องมือที่ชวยเด็กในการฝกทักษะ แตทั้งนี้จะตองอาศัย การสงเสริมและความเอาใจใสจากครูผูสอนดวย 3. ชวยในเรื่องความแตกตางระหวางบุคคล เนื่องจากเด็กมีความสามารถทางภาษาแตกตาง กัน การใหเด็กทำแบบฝกหัดที่เหมาะสมกับความสามารถของเขา จะชวยใหเด็กประสบผลสำเร็จใน ดานจิตใจมากขึ้น ดังนั้นแบบฝกหัดจึงไมใชสมุดฝกที่ครูจะใหเด็กลงมือทำตอหนา แตเปนแหลง ประสบการณเฉพาะสำหรับเด็กที่ตองการความชวยเหลือพิเศษ และเปนเครื่องมือชวยที่มีคาของครูที่ สนองความตองการเปนรายบุคคลในชั้นเรียน 4. แบบฝกชวยทักษะใหคงทน ลักษณะการฝกเพื่อชวยใหเกิดผลดังกลาวนั้น ไดแก ฝกทันที หลังจากที่เด็กไดเรียนรูในเรื่องนั้น ๆ ฝกซ้ำหลาย ๆ ครั้ง เนนเฉพาะในเรื่องที่ผิด โดยสรุป แบบฝกที่ดีและมีประสิทธิภาพ จะชวยใหนักเรียนประสบผลสำเร็จในการฝกทักษะ ไดเปนอยางดี แบบฝกที่ดีเปรียบเสมือนผูชวยที่ดีของครู ทำใหครูลดภาระการสอนลงทำใหผูเรียน สามารถพัฒนาตนเองไดอยางเต็มที่และเพิ่มความมั่นใจในการเรียนไดเปนอยางดี อีกทั้งแบบฝกจะ ชวยในเรื่องของความแตกตางระหวางบุคคล โดยเฉพาะเด็กที่มีปญหาในการเรียนรูนั้น จำเปนตองมี การสอนตางจากกลุมเด็กปกติทั่วไป หรือเสริมเพิ่มเติมใหเปนพิเศษ ฉะนั้นแบบฝกจึงมีประโยชนมาก สำหรับเด็กที่มีปญหาในการเรียนรูที่จะชวยใหเด็กไดฝกปฏิบัติเพื่อใหเกิดทักษะทางภาษาไดมากขึ้น ไพทูลยมูลดี(2559 : 52) ไดอธิบายประโยชนของแบบฝกไวดังนี้ คือ แบบฝกมีความสำคัญ และจำเปนตอการเรียนทักษะทางภาษามาก เพราะจะชวยใหผูเรียนเขาใจในบทเรียนไดดีขึ้นสามารถ จดจำเนื้อหาในบทเรียนและคำศัพทตางๆ ไดคงทน ทำใหเกิดความสนุกสนานในขณะเรียนทราบ ความกาวหนาของตนเอง สามารถนำแบบฝกมาทบทวนเนื้อหาเดิมดวยตนเองได นำมาวัดผลการ เรียนหลังจากที่เรียนแลว ตลอดจนสามารถทราบขอบกพรองของนักเรียนและนำไปปรับปรุงแกไขได ทันทวงที ซึ่งจะมีผลทำใหครูประหยัดเวลา คาใชจายและลดภาระไดมาก และยังใหนักเรียนนำภาษา ไปใชสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพดวย วรรณภา ไชยวรรณ (2559 : 41) ไดอธิบายถึงประโยชนของชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน ไววา แบบฝกชวยในการฝกหรือเสริมทักษะทางภาษา การใชภาษาของนักเรียนสามารถนำมาฝกซ้ำ


19 ทบทวนบทเรียน และผูเรียนสามารถนำไปทบทวนดวยตนเอง จดจำเนื้อหาไดคงทน มีเจตคติที่ดีตอ การเรียนภาษาไทย แบบฝกถือเปนอุปกรณการสอนอยางหนึ่งซึ่งสามารถทดสอบความรู วัดผลการ เรียนหรือประเมินผลการเรียนกอนและหลังเรียนไดเปนอยางดีทำใหครูทราบปญหาขอบกพรองของ ผูเรียนเฉพาะจุดได นักเรียนทราบความกาวหนาของตนเอง ครูประหยัดเวลา คาใชจายและลดภาระ ไดมาก ถวัลยมาศจรัส และคณะ (2560 : 21) ไดอธิบายถึงประโยชนของแบบฝกหัดและชุด กิจกรรมฝกทักษะการเขียนเปนสื่อการเรียนรู ที่มุงเนนในเรื่องของการแกปญหา และการพัฒนาใน การจัดการเรียนรูในหนวยการเรียนรูและสามารถเรียนรูได โดยสรุปไดดังนี้ 1. เปนสื่อการเรียนรู เพื่อพัฒนาการเรียนรูใหแกผูเรียน 2. ผูเรียนมีสื่อสำหรับฝกทักษะดานการอาน การคิด การคิดวิเคราะห และการเขียน 3. เปนสื่อการเรียนรูสำหรับการแกปญหาในการเรียนรูของผูเรียน 4. พัฒนาความรู ทักษะ และเจตคติดานตางๆ ของผูเรียน จากประโยชนของแบบฝกที่กลาวมา สรุปไดวา แบบฝกที่ดีและมีประสิทธิภาพชวยทำให นักเรียนประสบผลสำเร็จ ในการฝกทักษะไดเปนอยางดี สุวิทย มูลคำ และสุนันทา สุนทรประเสริฐ (2560 : 53 - 54) ไดสรุปประโยชนของชุด กิจกรรมฝกทักษะการเขียนไดดังนี้ 1. ทำใหเขาใจบทเรียนดีขึ้น เพราะเปนเครื่องอำนวยประโยชนในการเรียนรู 2. ทำใหครูทราบความเขาใจของนักเรียนที่มีตอบทเรียน 3. ฝกใหเด็กมีความเชื่อมั่นและสามารถประเมินผลของตนเองได 4. ฝกใหเด็กทำงานตามลำพัง โดยมีความรับผิดชอบในงานที่ไดรับมอบหมาย 5. ชวยลดภาระครู 6. ชวยใหเด็กฝกฝนไดอยางเต็มที่ 7. ชวยพัฒนาตามความแตกตางระหวางบุคคล 8. ชวยเสริมใหทักษะคงทน ซึ่งลักษณะการฝกเพื่อชวยใหเกิดผลดังกลาวนั้นไดแก 8.1 ฝกทันทีหลังจากที่เด็กไดเรียนรูในเรื่องนั้นๆ 8.2 ฝกซ้ำหลายๆครั้ง 8.3 เนนเฉพาะในเรื่องที่ผิด 9. เปนเครื่องมือวัดผลการเรียนหลังจากจบบทเรียนในแตละครั้ง 10. ใชเปนแนวทางเพื่อทบทวนดวยตนเอง


20 11. ชวยใหครูมองเห็นจุดเดนหรือปญหาตางๆของเด็กไดชัดเจน 12. ประหยัดคาใชจายแรงงานและเวลาของครู ผูวิจัยไดศึกษาคนควาเกี่ยวกับประโยชนของชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนแลว พอสรุปได วาแบบฝกมีความสำคัญ และจำเปนตอการเรียนทักษะทางภาษามาก เพราะจะชวยใหผูเรียนเขาใจ บทเรียนไดดีขึ้น สามารถจดจำเนื้อหาในบทเรียนและคำศัพทตางๆ ไดคงทน ทำใหเกิดความ สนุกสนาน ในขณะเรียนทราบความกาวหนาของตนเอง และครูมองเห็นจุดเดนหรือปญหาตางๆ ของ เด็กไดชัดเจน สามารถนำชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนมาทบทวนเนื้อหาเดิมดวยตนเอง ตลอดจน สามารถทราบขอบกพรองของนักเรียนและนำไปปรับปรุงไดทันทวงที ซึ่งจะมีผลทำใหครู ประหยัดเวลา ประหยัดคาใชจาย 3.4 หลักการสรางแบบฝก วรรณภา ไชยวรรณ (2559 : 45) ไดสรุปหลักการสรางชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนดังนี้ 1. ความใกลชิด คือ ถาใชสิ่งเราและการตอบสนองเกิดขึ้นในเวลาใกลเคียงกันจะสรางความ พอใจใหกับผูเรียน 2. การฝก คือ การใหนักเรียนไดทำซ้ำ ๆ เพื่อชวยสรางความรู ความเขาใจที่แมนยำ 3. กฎแหงผล คือ การที่ผูเรียนไดทราบผลการทำงานของตนดวยการเฉลยคำตอบจะชวยให ผูเรียนทราบขอบกพรองเพื่อปรับปรุงแกไขและเปนการสรางความพอใจแกผูเรียน 4. การจูงใจ คือ การสรางแบบฝกเรียงลำดับ จากแบบฝกงายและสั้นไปสูแบบฝกเรื่องที่ยาก และยาวขึ้น ควรมีภาพประกอบและมีหลายรส หลายรูปแบบ สุวิทย มูลคำ และสุนันทา สุนทรประเสริฐ (2560 : 54 - 55) ไดสรุปหลักในการสราง แบบฝกวาตองมีการกำหนดเงื่อนไขที่จะชวยใหผูเรียนทุกคนสามารถผานลำดับขั้นตอนของทุกหนวย การเรียนได ถานักเรียนไดเรียนตามอัตราการเรียนของตนก็จะทำใหนักเรียนประสบความสำเร็จมาก ขึ้น 3.5 สวนประกอบของแบบฝก สุวิทย มูลคำ และสุนันทา สุนทรประเสริฐ (2560 : 61 - 62) ไดกำหนดสวนประกอบของ ชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนไดดังนี้ 1. คูมือการใชแบบฝก เปนเอกสารสำคัญประกอบการใชแบบฝก วาใชเพื่ออะไรและมีวิธีใช อยางไร เชน ใชเปนงานฝกทายบทเรียน ใชเปนการบาน หรือใชสอนซอมเสริมประกอบดวย - สวนประกอบของแบบฝก จะระบุวาในแบบฝกชุดนี้ มีแบบฝกทั้งหมดกี่ชุด อะไรบาง และมีสวนประกอบอื่นๆ หรือไม เชน แบบทดสอบ หรือแบบบันทึกผลการประเมิน


21 - สิ่งที่ครูหรือนักเรียนตองเตรียม (ถามี) จะเปนการบอกใหครูหรือนักเรียนเตรียม ตัวใหพรอมลวงหนากอนเรียน - จุดประสงคในการใชแบบฝก - ขั้นตอนในการใช บอกขอตามลำดับการใช และอาจเขียน ในรูปแบบของแนวการสอนหรือแผนการสอนจะชัดเจนยิ่งขึ้น - เฉลยแบบฝกในแตละชุด 2. แบบฝก เปนสื่อที่สรางขึ้นเพื่อใหผูเรียนฝกทักษะ เพื่อใหเกิดการเรียนรู ที่ถาวรควรมีองคประกอบ ดังนี้ - ชื่อชุดฝกในแตละชุดยอย - จุดประสงค - คำสั่ง - ตัวอยาง - ชุดฝก - ภาพประกอบ - ขอทดสอบกอนและหลังเรียน - แบบประเมินบันทึกผลการใช 3.6 รูปแบบการสรางแบบฝก สุวิทย มูลคำ และสุนันทา สุนทรประเสริฐ (2560 : 62 - 64) ไดเสนอแนะรูปแบบการ สรางแบบฝก โดยอธิบายวาการสรางแบบฝกรูปแบบก็เปนสิ่งสำคัญในการที่จะจูงใจใหผูเรียนได ทดลองปฏิบัติแบบฝกจึงควรมีรูปแบบที่หลากหลาย มิใชใชแบบเดียวจะเกิดความจำเจนาเบื่อหนาย ไมทาทายใหอยากรูอยากลองจึงขอเสนอรูปแบบที่เปนหลักใหญไวกอน สวนผูสรางจะนำไป ประยุกตใช ปรับเปลี่ยนรูปแบบอื่นๆ ก็แลวแตเทคนิคของแตละคน ซึ่งจะเรียงลำดับจากงายไปหา ยาก ดังนี้ 1. แบบถูกผิด เปนแบบฝกที่เปนประโยคบอกเลา ใหผูเรียนอานแลวใสเครื่องหมายถูกหรือ ผิดตามดุลยพินิจของผูเรียน 2. แบบจับคู เปนแบบฝกที่ประกอบดวยตัวคำถามหรือตัวปญหา ซึ่งเปนตัวยืนไวในสดมภ ซ้ำยมือ โดยมีที่วางไวหนาขอเพื่อใหผูเรียนเลือกหาคำตอบที่กำหนดไวในสดมภขวามือมาจับคูกับ คำถามใหสอดคลองกัน โดยใชหมายเลขหรือรหัสคำตอบไปวางไวที่วางหนาขอความหรือจะใชการ โยงเสนก็ได


22 3. แบบเติมคำหรือเติมขอความ เปนแบบฝกที่มีขอความไวให แตจะเวนชองวางไวใหผูเรียน เติมคำหรือขอความที่ขาดหายไป ซึ่งคำหรือขอความที่นำมาเติมอาจใหเติมอยางอิสระหรือกำหนด ตัวเลือกใหเติมก็ได 4. แบบหมายตัวเลือก เปนแบบฝกเชิงแบบทดสอบ โดยจะมี 2 สวน คือ สวนที่เปนคำถาม ซึ่งจะตองเปนประโยคคำถามที่สมบูรณ ชัดเจนไมคลุมเครือ สวนที่ 2 เปนตัวเลือก คือคำตอบซึ่ง อาจจะมี 3-5 ตัวเลือกก็ได ตัวเลือกทั้งหมดจะมีตัวเลือกที่ถูกที่สุดเพียงตัวเลือกเดียวสวนที่เหลือเปน ตัวลวง 5. แบบอัตนัย คือความเรียงเปนแบบฝกที่ตัวคำถาม ผูเรียนตองเขียนบรรยายตอบอยางเสรี ตามความรูความสามารถ โดยไมจำกัดคำตอบ แตกำจัดคำตอบ แตจำกัดในเรื่องเวลา อาจใชคำถาม ในรูปทั่ว ๆ ไป หรือเปนคำสั่งใหเขียนเรื่องราวตางๆ ก็ได 3.7 ขั้นตอนการสรางแบบฝก สุวิทย มูลคำ และสุนันทา สุนทรประเสริฐ (2560 : 65) ไดเสนอแนะ การสรางแบบฝกวา ขั้นตอนการสรางแบบฝก จะคลายคลึงกับการสรางนวัตกรรมทางการศึกษา ประเภทอื่นๆ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1. วิเคราะหปญหาและสาเหตุจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เชน - ปญหาที่เกิดขึ้นในขณะทำการสอน - ปญหาการผานจุดประสงคของนักเรียน - ผลจากการสังเกตพฤติกรรมที่ไมพึงประสงค - คะแนนทักษะทางการเรียน 2. ศึกษารายละเอียดในหลักสูตร เพื่อวิเคราะหเนื้อหา จุดประสงคและกิจกรรม 3. พิจารณาแนวทางแกปญหาที่เกิดขึ้นจากขอ 1 โดยการสรางแบบฝก และเลือกเนื้อหาใน สวนที่จะสรางแบบฝกนั้น วาจะทำเรื่องใดบาง กำหนดเปนโครงเรื่องไว 4. ศึกษารูปแบบของการสรางแบบฝกจากเอกสารตัวอยาง 5. ออกแบบชุดฝกแตละชุดใหมีรูปแบบที่หลากหลายนาสนใจ 6. ลงมือสรางแบบฝกในแตละชุด พรอมทั้งขอทดสอบกอนและหลังเรียนใหสอดคลองกับ เนื้อหาและจุดประสงคการเรียนรู 7. สงใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบ 8. นำไปทดลองใช แลวบันทึกผลเพื่อนำมาปรับปรุงแกไขสวนที่บกพรอง 9. ปรับปรุงจนมีประสิทธิภาพตามเกณฑที่ตั้งไว


23 10. นำไปใชจริงและเผยแพรตอไป ถวัลย มาศจรัส และคณะ (2561 : 21) ไดอธิบายขั้นตอนการสรางชุดกิจกรรมฝกทักษะ การเขียน ดังนี้ 1. ศึกษาเนื้อหาสาระสำหรับการจัดทำแบบฝกหัด ชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน 2. วิเคราะหเนื้อหาสาระโดยละเอียดเพื่อกำหนดจุดประสงคในการจัดทำ 3. ออกแบบการจัดทำแบบฝกหัด ชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนตามจุดประสงค 4. สรางแบบฝกหัด และชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนและสวนประกอบอื่นๆ เชน 4.1 แบบทดสอบกอนฝก 4.2 บัตรคำสั่ง 4.3 ขั้นตอนกิจกรรมที่ผูเรียนตองปฏิบัติ 4.4 แบบทดสอบหลังฝก 5. นำแบบฝกหัด ชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนไปใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู 6. ปรับปรุงพัฒนาใหสมบูรณ 3.8 แนวคิดหลักการที่เกี่ยวของกับชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน อกนิษฐ กรไกร (2559 : 17) ไดดำเนินการสรางชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน ยึดหลักให นักเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตามศักยภาพของแตละบุคคล ในความคาดหวัง ตองการใหเด็กที่ใชชุด กิจกรรมฝกทักษะการเขียนมีพฤติกรรม ดังนี้ 1. Active Responding ใหนักเรียนมีสวนรวมในการเรียนอยางกระฉับกระเฉง ไมวาจะเปนคิดในใจหรือแสดงออกมาดวยการพูดหรือเขียน นักเรียนอาจเขียนรูปภาพเติมคำ แตงประโยคหรือหาคำตอบในใจ 2. Minimal Error ในการเรียนแตละครั้งเราหวังวา นักเรียนจะตอบคำถามไดถูกตองเสมอ แตในกรณีที่นักเรียนตอบคำถามผิด นักเรียนควรมีโอกาสฝกฝนและเรียนรูในสิ่งที่เขาทำผิดเพื่อไปสู คำตอบที่ถูกตองตอไป 3. Knowledge of Results เมื่อนักเรียนสามารถตอบถูกตองเขาควรไดรับเสริมแรง ถา นักเรียนตอบผิดเขาควรไดรับการชี้แจง และใหโอกาสที่จะแกไขใหถูกตองเชนเดียวกับประสบการณที่ เปนความสำเร็จสำหรับมนุษยแลว เพียงไดรูวาทำอะไรสำเร็จก็ถือเปนการเสริมแรงในตัวเอง 4. Small Step การเรียนจะตองเปดโอกาสใหนักเรียนไดเรียนรูไปทีละนอยดวยตนเอง โดย ใหความรูตามลำดับขั้นและเปดโอกาสใหผูเรียนใครครวญตามซึ่งจะเปนผลดีตอการเรียนรูของเด็ก อยางมาก แมที่เรียนออนก็จะสามารถเรียนได


24 สุวิทย มูลคำ และสุนันทา สุนทรประเสริฐ (2558 : 54 - 55) ไดอธิบายแนวคิดและหลักการ สรางแบบฝกวา การศึกษาในเรื่องจิตวิทยาการเรียนรู เปนสิ่งที่ผูสรางแบบฝกมิควรละเลยเพราะการ เรียนรูจะเกิดขึ้นไดตองขึ้นอยูกับปรากฏการณของจิตและพฤติกรรมที่ตอบสนองนานาประการ โดย อาศัยกระบวนการที่เหมาะสมและเปนวิธีที่ดีที่สุด การศึกษาทฤษฎีการเรียนรูจากขอมูลที่ นักจิตวิทยาไดทำการคนพบ และทดลองไวแลว สำหรับการสรางแบบฝกในสวนที่มีความสัมพันธกัน ดังนี้ 1. ทฤษฎีการลองถูกลองผิดของธอรนไดค ซึ่งไดสรุปเปนกฎเกณฑการเรียนรู 3 ประการ คือ 1.1 กฎความพรอม หมายถึง การเรียนรูจะเกิดขึ้นเมื่อบุคคลพรอมที่จะกระทำ 1.2 กฎผลที่ไดรับ หมายถึง การเรียนรูที่เกิดขึ้นเพราะบุคคลกระทำซ้ำงาย 1.3 กฎการฝกหัด หมายถึง การฝกหัดใหบุคคลทำกิจกรรมตางๆ นั้น ผูฝกจะตอง ควบคุมและจัดสภาพการใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของตนเอง บุคคลจะถูกกำหนดลักษณะ พฤติกรรมที่แสดงออก ดังนั้น ผูสรางแบบฝกจึงจะตองกำหนดกิจกรรมตลอดจนคำสั่งตางๆ ใบแบบฝกใหผูฝกได แสดงพฤติกรรมสอดคลองกับจุดประสงคที่ผูสรางตองการ 2. ทฤษฎีพฤติกรรมนิยมของสกินเนอร ซึ่งมีความเชื่อวา สามารถควบคุมบุคคลใหทำตาม ความประสงคหรือแนวทางที่กำหนดโดยไมตองคำนึงถึงความรูสึกทางดานจิตใจของบุคคลผูนั้นวาจะ รูสึกนึกคิดอยางไร เขาจึงไดทดลองและสรุปวาบุคคลสามารถเรียนรูดวยการกระทำโดยมีการ เสริมแรงเปนตัวการ เปนบุคคลตอบสนองการเราของสิ่งเราควบคูกันในชวงเวลาที่เหมาะสม สิ่งเรา นั้นจะรักษาระดับหรือเพิ่มการตอบสนองใหเขมขึ้น 3. วิธีการสอนของกาเย ซึ่งมีความเห็นวาการเรียนรูมีลำดับขั้น และผูเรียนจะตองเรียนรู เนื้อหาที่งายไปหายาก การสรางแบบฝก จึงควรคำนึงถึงการฝกตามลำดับจากงายไปหายาก 4. แนวคิดของบลูม ซึ่งกลาวถึงธรรมชาติของผูเรียนแตละคนวามีความแตกตางกันผูเรียน สามารถเรียนรูเนื้อหาในหนวยยอยตางๆ ไดโดยใชเวลาเรียนที่แตกตางกัน 4. การสอนวิชาการ การสอนวิชาการ เปนภาวะอันหนักแกผูสอนอยางยิ่ง เพราะนักเรียนในชั้นมีทั้งเรียนเกง และนักเรียนที่เรียนออน ถาครูภาษาไทยสอนโดยวิธีเดียวกันนักเรียนที่เรียนเกงก็สามารถ เขาใจได รวดเร็วและไมมีปญหามากนัก แตนักเรียนที่เรียนออนอาจไมเขาใจมากนัก จึงทำใหเกิดความเบื่อ


25 หนาย ไมอยากเรียน จึงมีความจำเปนที่จะตองหาวิธีการสอนที่จะใหนักเรียนทุกคนสามารถเขาใจได และสนองตอบตอความแตกตางทางสติปญญา (ยุพิน พิพิธกุล. 2557 : 276) ดังนั้น การสอนวิชา ภาษาไทยเพื่อใหไดผลดีและเปนไปตามความสามารถหรือความแตกตางระหวางบุคคล ยุพิน พิพิธ กุล (2557 : 174) ไดเสนอวิธีการสอนภาษาไทยไวหลายวิธีคือ 1. วิธีสอนแบบบอกใหรูเปนวิธีสอนที่ครูเปนผูบอกใหนักเรียนเปนผูตีความ เมื่อครูปรารถนา ที่จะใหนักเรียนรูเรื่องใด ครูก็จะอธิบายและมักจะสรุปเสียเอง ในขณะที่ครูอธิบายนั้น ครูจะวิเคราะห แยกแยะใหเห็น และตีความใหนักเรียนเขาใจ ครูอาจจะมีวัสดุการสอนมาแสดงใหดูแตครูใช ประกอบการอธิบายหรือการบอกของครูเพื่อใหนักเรียนติดตามในการสอนกฎหรือสูตร ครูมักจะ บอกสูตรนั้นและบอกวานำไปใชอยางไร โดยยกตัวอยางประกอบ เสร็จแลวครูก็ใหนักเรียนลองทำ แบบฝกหัดโดยใชสูตรนั้น ถานักเรียนทำไดก็แสดงวานักเรียนเขาใจ 2. วิธีสอนแบบบรรยาย เปนการสอนแบบบอกใหรูเชนเดียวกัน การสอนแบบนี้ครูจะเปน ฝายพูดเปนสวนมาก โดยมุงจะปอนเนื้อหาวิชาใหแกนักเรียนเพียงฝายเดียว นักเรียนจะเปนผูฟงครู อาจจะใชสื่อการสอนประกอบการบรรยายก็ได 3. วิธีสอนแบบสาธิตเปนการแสดงใหนักเรียนดูซึ่งผูแสดงจะใชวัสดุประกอบการสอนหรือ จะแสดงโดยวิธีใดก็ตาม ใหนักเรียนสามารถสรุปบทเรียนไดจากการแสดงนั้น ๆ การแสดงนั้นอาจจะ แสดงโดยครูหรือโดยนักเรียนก็ไดและในบางครั้งครูและนักเรียนอาจจะรวมกันแสดงกิจกรรม นั้น ๆ 4. วิธีสอนแบบทดลอง เปนการสอนที่ใหนักเรียนไดกระทำดวยตนเอง เพื่อคนหาขอสรุปการ ทดลองนั้น อาจทดลองเปนรายบุคคลหรือเปนกลุมก็ได 5. วิธีสอนแบบถาม – ตอบ เปนกลวิธีสอนที่ใชแทรกกับวิธีสอนอื่น ๆ ซึ่งนับวา เปนวิธีที่ สำคัญวิธีหนึ่ง ครูบางคนคิดวา วิธีสอนที่ดีนั้นจะตองมีสื่อการสอนเสมอ ความจริงแลว ยังมีวิธีสอนที่ดี อีกคือ “วิธีสอนแบบถาม – ตอบ” ถาครูสามารถใชคำถามที่ดีนักเรียนสามารถเขาใจก็ยอมใชได 6. วิธีสอนแบบฮิวริสติค ไดรับมาจากภาษากรีก ซึ่งหมายความวา “ฉันพบ” นักเรียนจะตอง เปนผูคนพบ นักเรียนจะเปนผูคนหาคำตอบดวยตนเองแทนการบอกครูวิธีนี้ตองการใหนักเรียนได กระทำดวยตนเอง เปนวิธีการที่นักเรียนจะไดใหเหตุผลดวยตัวของเขาเอง 7. วิธีสอนแบบวิเคราะห– สังเคราะหวิธีสอนแบบวิเคราะหเปนการแยกแยะปญหานั้น ออกมาจากสิ่งที่ไมรูไปสูสิ่งที่รูหรือการแยกสิ่งตาง ๆ อยูรวมกันออกจากกัน ผูที่วิเคราะหนั้น จะตอง พยายามคิดอยูเสมอวาตองการคนพบอะไรเปนอันดับแรก และคิดตอไปวาอะไรที่จะคนพบตอไปวิธี สอนแบบสังเคราะหเปนขบวนการตรงกันขามกับการวิเคราะหการสังเคราะหประกอบดวย การนำ


26 ขอสรุปยอยที่จำเปนตาง ๆ มารวมกัน จนกระทั่งไดขอสรุปรวมที่ตองการ หรืออีกนัยหนึ่ง การ วิเคราะหจะตองเริ่มจากสิ่งที่รูแลว เพื่อจะนำมาชวยในการหาสิ่งที่ยังไมรูมาชวยในการพิสูจนเนื้อหา ใหม เรียกวา เปนการสังเคราะห 8. วิธีสอนแบบนิรนัย - อุปนัยอุปนัย หมายถึง การนำไปสู ในระหวางกระบวนการสอน ครู จะชวยนักเรียนใหตีวงแคบเขา จนสามารถกำหนดนัยทั่วไปไดนิรนัย วิธีนิรนัยนี้สัมพันธกับวิธีบอกใหรู ครูที่ใชวิธีนี้จะบอกกฎ หลักเกณฑหรือนัยทั่วไป ซึ่งเปนเรื่องที่จะนำมาใชประโยชนแลวนักเรียนก็ ถูกถาม เพื่อใชคำบอกนั้นมาแกปญหา 9. วิธีสอนแบบแกปญหา หมายถึง วิธีสอนที่จะใหนักเรียนไดใชเหตุผลในการแกปญหา วิธีการแกปญหานั้นขึ้นอยูกับเนื้อหา หรือโจทยปญหาที่จะใหนักเรียนคิด วิธีการแกปญหาทาง ภาษาไทย ยอมมีกลวิธีแตกตางกันตามลักษณะปญหานั้น ๆ 10. วิธีสอนแบบคนพบ มีความหมายเปน 2 ประการ คือ 10.1 เปนกระบวนการคนพบ ครูจะมอบปญหาใหแกนักเรียน แลวใหนักเรียนเสาะ แสวงหาวิธีการที่จะแกปญหานั้น โดยครูจะใหปญหาที่งายกอนแลวก็ใหนักเรียนทำปญหาที่ คลายกัน ซึ่งเชื่อวานักเรียนจะคนพบไดแตครูก็ไมคาดหวังวานักเรียนจะคนพบอะไร 10.2 เปนการเนนไปที่นักเรียนจะคนพบอะไร เชน คนพบสูตรคูณ นิยาม ฯลฯ นักเรียนจะเกิดมโนมติและกำหนดนัยทั่วไปไดการคนพบนี้จะเปนการคนพบโดยวิธีใดก็ได เชน การถามตอบ สาธิตการทดลอง การอภิปราย โดยเฉพาะอยางยิ่งการสอนโดยวิธีอุปนัย หรือนิรนัย


27 รูปภาพ 2 รูปแบบวิธีการสอนโดยใชชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน 5. การเรียนการสอนแบบใชเทคนิค 5W1H คำยอของขอคำถาม What? Who? Where? When? Why? How? ซึ่งเปนระบบชุด คำถามเพื่อรวบรวมขอมูลทั้งหมดที่จำเปนในการทำการสอนเพื่อระบุลักษณะที่แทจริงของปญหาและ พฤติกรรม การตัดสินใจอยางแมนยำ สามารถวิเคราะหไดอยางเปนระบบในการถามคำถาม 5W1H ทุกครั้ง 5W1H คือ เทคนิคการวิเคราะหปญหาที่ใชมากที่สุดในระดับสากล โดยเปนการคิด วิเคราะห ที่ใชความสามารถในการจำแนก แยกแยะ องคประกอบตาง ๆ ของปญหา เพื่อนำมาหา ความสัมพันธเชิงเหตุผลระหวางองคประกอบตาง ๆ เหลานั้น เพื่อคนหาคำตอบที่ตองการ หรือเปน สิ่งที่สำคัญ จากนั้นจึงรวบรวมขอมูลทั้งหมดมาเรียบเรียงใหมใหงายแกการทำความเขาใจ โดยเราจะ ตั้งคำถาม 6 ขอคำถาม โดยการตั้ง คำถามอาจไมจำเปนตองเรียงขอของคำถาม แตพิจารณาจาก ความเหมาะสม สวนประกอบของชุดคำถาม 5W1H มีดังนี้ What (อะไร) : เปนการตั้งคำถามวาปญหาของเราคืออะไร หรือ เราตองการจะทำอะไร กอนหลัง ก็คือวัตถุประสงคของเรานั้นเอง Who (ใคร) : เปนการหาวาใครที่มีสวนเกี่ยวของหรือ ใครที่ไดรับผลกระทบจากปญหา นั้นๆ


28 Where (ที่ไหน) : เปนการหาสถานที่วาปญหานั้นเกิดขึ้นที่ไหน หรือ การแกปญหาของเรา จะเกิดขึ้นในที่ไหน When (เมื่อไหร) : เปนการหาระยะเวลาวาเมื่อไหรที่เหมาะสมที่จะตองดำเนินการ หรือ หาวาปญหาเกิดขึ้นเมื่อไหร Why (ทำไม) : เปนการหาเหตุผลวาทำไมเราถึงทำสิ่งนั้น หรือวาทำไมเราถึงจะตองการ แกไขปญหานั้นๆ How (อยางไร) : ปญหาที่เกิดขึ้น เราจะมีวิธีการแกไขปญหานั้น ๆ ไดอยางไรบาง มีวิธีการ ทำอยางไร ขั้นตอนเปนยังไง ในสวนนี้ถือเปนสวนที่สำคัญที่สุด เมื่อเราวิเคราะหปญหานั้น ๆ ดวยเทคนิค 5W1H แลว ทำใหเรารูขอเท็จจริง รูเหตุผล เบื้องหลังของปญหาที่เกิดขึ้น เขาใจความเปนมาเปนมาเหตุการณของปญหานั้น ๆ ไดโดยงาย สามารถใชเปนพื้นฐานความรูในการนำไปใชตัดสินใจแกปญหาไดงายขึ้น สามารถหาเหตุผลที่ไดวา ทำไมเราถึงเลือกแกไขปญหาดวยวิธีนี้ สามารถนำไปใชในหัวขอใด ๆ เพื่อรวบรวมวิเคราะหและ นำเสนอขอมูลจากขอมูลที่ซับซอนทำใหเปนขอมูลงาย ประโยชนของการคิดวิเคราะห 5W1H - ทำใหเรารูขอเท็จจริง รูเหตุผลเบื้องหลังของสิ่งที่เกิดขึ้น เขาใจความเปนมาเปนไปของ เหตุการณนั้น - ใชเปนฐานความรูในการนำไปใชในการตัดสินใจแกปญหา - ทำใหเราหาเหตุผลที่สมเหตุสมผลใหกับสิ่งที่เกิดขึ้นจริง - ทำใหเราสามารถประมาณความนาจะเปนได ตัวอยางการใช 5W1H ในการวิเคราะหขอมูล เริ่มตนก็คือ เราตองตั้งคำถามและพยายามหาคำตอบในแตละหัวขอคำถาม โดยการตั้ง คำถามอาจไมจำเปนตองเรียงขอของคำถาม แตพิจารณาจากความเหมาะสม การยกตัวอยางอาจจะ ยังไมสมบูรณเทาไร แตจุดประสงคคือตองการใหเห็นหรือเขาใจแนวความคิดในการตั้งคำถามเทานั้น เราจะยกตัวอยางการเริ่มตนทำธุรกิจ คำถามแรก W - Who ตัวแรก – ใครคือลูกคาของเรา? ใครคือกลุมเปาหมายที่เปนลูกคา ของเรา? เราควรระบุกลุมเปาหมายที่เปนลูกคาของเราได เชน อายุ, เพศ, การศึกษา, ศาสนา, อาชีพ, เงินเดือน, ที่อยูอาศัย, ขนาดครัวเรือน พฤติกรรมการบริโภค ขอมูลเหลานี้ จะชวยทำใหเราสามารถ ระบุกลุมเปาหมายลูกคาของเราไดชัดเจน เพื่อที่เราจะสามารถวางแผนการผลิต แผนการตลาด หรือ แผนการสรางสินคาและบริการที่สามารถตอบสนองกลุมเปาหมายที่เปนลูกคาของเราไดอยางถูกตอง.


29 คำถามที่สอง W – What – เราตองรูวาอะไรคือสิ่งที่ลูกคาของเราตองการ? เราควรระบุ รูปแบบของสินคาหรือบริการของเราไดวา รูปแบบไหนที่ลูกคาของเราตองการ และเราสามารถ ตอบสนองความตองการของลูกคาของเราได และอะไรที่จะทำใหเราสามารถสรางความแตกตาง ใหกับสินคาหรือบริการของเราจากคูแขงของเราได คำถามที่สาม W – Where – ลูกคาของเราอยูที่ไหน? เราควรระบุไดวาลูกคาของเราอยูที่ ไหนบาง และที่ไหนคือที่ที่เราจะสามารถนำเสนอสินคาของเราใหกับลูกคากลุมเปาหมาย คำถามที่สี่ W – When – เมื่อไรที่ลูกคาของเรามีความตองการสินคา? เราควรระบุไดวา ลูกคากลุมเปาหมายของเราตองการสินคาหรือบริการของเราเมื่อไร ในชวงเวลาไหน และตองการ บอยแคไหน ซึ่งจะชวยทำใหเราสามารถกำหนดและวางแผนตางๆ ใหตรงกับความตองการของลูกคา ของเราไดอยางถูกตอง คำถามที่หา W – Why – ทำไมลูกคากลุมเปาหมายของเราตองซื้อหรือใชบริการของเรา? เราควรระบุไดวาทำไมลูกคากลุมเปาหมายของเราจะเลือกซื้อสินคาหรือบริการของเรา แทนที่จะซื้อ จากคูแขงของเรา หรือทำไมเราตองเขามาทำธุรกิจนี้ คำถามสุดทาย H – How – เราจะเขาถึงลูกคากลุมเปาหมายของเราไดอยางไร? เราควร ระบุไดวา เราจะสามารถเขาถึงลูกคาของเราไดดวยวิธีไหน อยางไร ซึ่งเราควรมีการวางแผนและ กำหนดวิธีการที่เราสามารถเขาถึงลูกคาของเราไดอยางถูกตอง และมีประสิทธิภาพมากที่สุด รูปภาพ 3 5W1H การวิเคราะหขอมูล ดวย 5W1H Analytical thinking with 5W1H การแกปญหาเชิงสรางสรรคเปนทักษะการหาคำตอบที่หลากหลาย แปลกใหม ในการแกไข ปญหาในสถานการณที่จำกัด สามารถเลือกวิธีการแกปญหาอยางเหมาะสม มีเหตุมีผลสามารถ อธิบาย กระบวนการแกปญหาในแตละขั้นตอนได และสามารถอธิบายถึงผลกระทบจากการเลือก


30 วิธีการแกไขปญหา นั้นๆ ได ความสามารถในการแกปญหาเชิงสรางสรรคเปนทักษะที่สามารถฝกฝน และพัฒนาใหเกิดขึ้นได โดยแบงทักษะกระบวนการแกไขปญหาอยางสรางสรรคใหมเปน 4 ขั้นตอนใหญ คือ - Clarify วิเคราะหขอมูลและสาเหตุของปญหา - Ideate การหาไอเดียใหมๆในการแกไขปญหาอยางสรางสรรค - Develop การนำไอเดียตางมาประเมินและเลือกไอเดียที่แกไขปญหาไดดีที่สุดมาพัฒนา แกไขปญหา - Implement กำหนดแผนงาน และแนวทางในการแกไขปญหาใหปฏิบัติไดจริง การแกไขปญหาอยางสรางสรรคใน ขั้นตอนแรก เราตองวิเคราะหปญหาหรือขอมูลที่ ตองการวิเคราะหใหชัดเจน (Analytical the problem/data) โดยใชเครื่องมือ/วิธีการตางๆ ในการ วิเคราะหปญหาหรือขอมูลนี้มีขั้นตอนที่สำคัญ 3 ขั้นตอนคือ - ขั้นที่ 1 เขาใจปญหาและตั้งเปาหมาย เปนขั้นตอนการระบุและอธิบายความสำคัญของ สถานการณที่เปนปญหาในมุมมองของตนเองและผูอื่น การสรางความคิดที่เหมาะสมตอปญหา โดยเขาใจกอนวา Gap หรือ ชองวางระหวาง สถานการณปจจุบัน หรือสิ่งที่เกิดขึ้นใน ปจจุบันนั้น กับเปาหมายที่เราตองการเปนอยางไรและสิ่งที่ตองการคืออะไร เขาใจประเด็นปญหา/ เปาหมายของการแกปญหาอยางแทจริง (Problem Concept , Challenges , Goals, Opportunities) - ขั้นที่ 2 คือ การรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของกับปญหา (Analytical the problem/data) ศึกษารายละเอียดของสถานการณหรือสาเหตุของปญหาที่ตองการวิเคราะหใหเขาใจอยางชัดเจน - ขั้นที่ 3 คือการระบุปญหา ขั้นนี้เปนการพิจารณาเปรียบเทียบเหตุทั้งหลาย ของปญหาแลว จัดลำดับความสำคัญเพื่อเลือกสาเหตุที่สำคัญที่สุดเปนประเด็นสำหรับคนหาวิธีแกไขตอไป เปนการ ตัดสินวาสถานการณที่ตองแกไขนั้นปญหาใดเปน “ปญหาที่แทจริง” ที่มีผลกระทบสูง หากไมรีบ แกไข พรอมกับวางเปาหมายในการแกปญหา ในขั้นตอนของการ Clarify หรือวิเคราะหปญหาที่แทจริง ของการแกไขปญหาอยาง สรางสรรคนี้ เราจะมุงความสนใจทั้งหมดไปที่สาเหตุและสถานการณที่ทำใหเกิดปญหาคะ ในการวิเคราะหปญหา หรือ Clarify ซึ่งตอง เขาใจปญหาเปนขั้นตอนการระบุและอธิบาย ความสำคัญของสถานการณที่เปนปญหาในมุมมองของตนเองและผูอื่น การสรางความคิดที่เหมาะสม ตอปญหา เทคนิคที่ใช เพื่อเขาใจปญหากอนคือ เทคนิคการตั้งคำถามที่ขึ้นตนหรือลงทายดวยใคร 5Ws,1H


31 ตัวอยางคำถามบางสวน เพื่อวิเคราะหขอมูลที่มีอยูในดานตางๆเพื่อประมวลผลขอมูลเบื้องตน ดวย 5W1H Who • ใครคือตนเหตุของปญหา? • ใครเปนคนพูดหรือระบุปญหานี้? • ใครไดรับผลกระทบจากปญหานี้? What • อะไรจะเกิดขึ้นถาปญหานี้ไมไดรับการแกไข? • มีอะไรเกิดขึ้นบาง? • ผลที่กระทบคืออะไร? Where • ปญหานี้เกิดขึ้นที่ไหน? • ปญหานี้เกิดผลกระทบที่ไหน? เปนตน When • ปญหานี้เกิดขึ้นเมื่อไร? • เมื่อไรที่ปญหาเริ่มเกิดขึ้น? เปนตน Why • ทำไมปญหานี้จึงเกิดขึ้น? • ทำไม? • ทำไม? เปนตน How • คนที่อยูกับปญหานี้รับมืออยางไร? • มีกระบวนการหรือวิธีการแกไขอยางไร? เปนตน สรุป สำหรับการวิเคราะหปญหา 5W1H คือ หนึ่งในเครื่องมือที่นิยมอยางมากโดยเฉพาะในหมู นักวิชาการ แตสำหรับการจัดการปญหาเครื่องมือนี้ก็สามารถชวยใหคุณสามารถจัดโครงความคิดของ คุณไดอยางเปนระบบ ไดขอมูลครบถวนเพียงพอที่จะถอดรหัสสถานการณเพื่อที่จะสามารถกำหนด แผนรับมือไดอยางถูกตอง ผูคนสามารถเขาใจแนวทางตามที่เห็นไดชัดตามคำศัพทและคำจำกัดความ และตั้งคำถามเพื่อหาคำตอบ รูปภาพ 4 5W1H


32 6. งานวิจัยที่เกี่ยวของ การเรียนรูแบบใชเทคนิค 5W1H ความหมายการเรียนแบบใชเทคนิค 5W1H อารีรัตนสัณหฉวี (2558 : 33) กลาววา การเรียนรูในชั้นเรียนเชิงรุก หมายถึงเปนวิธีการ เรียนที่ใหนักเรียนทำงานดวยกันเปนกลุมเล็กๆ เพื่อใหเกิดผลการเรียนรูทั้งทางดานความรูและ ทางดานจิตใจชวยใหนักเรียนเห็น ดานจิตใจคุณคาในความแตกตางระหวางบุคคลของเพื่อนๆเคารพ ความคิดเห็นและความสามารถของผูอื่นที่แตกตางจากตนตลอดจนรูจักชวยเหลือและสนับสนุน เพื่อนๆ สลาวิน (พิมพพันธ เดชะคุปต: 2558) กลาววา การเรียนรูในชั้นเรียนเชิงรุก หมายถึง วิธีการสอนอีก แบบหนึ่ง ซึ่งกำหนดใหนักเรียนที่มีความสามารถแตกตางกัน ทำงานรวมกันเปนกลุม เล็กๆ โดยปกติจะมี4 คน เปนนักเรียนที่เรียนเกง 1 คน เรียนปานกลาง 2 คน และเรียนออน 1 คน การทดสอบของนักเรียนจะแบง ออกเปน 2 ตอน ตอนแรกจะพิจารณาคาเฉลี่ยของทั้งกลุมตอนที่ 2 จะพิจารณาคะแนนทดสอบเปนรายบุคคล โดยการทดสอบนักเรียนตางคนตางทำแตเวลาเรียนตอง เรียนรวมกัน รับผิดชอบงานของกลุมรวมกัน โดยที่กลุม จะประสบผลสำเร็จได เมื่อสมาชิกทุกคนได เรียนรู บรรลุตามจุดมุงหมาย เชนเดียวกันทั้งหมด มานพ ประธรรมสาร (2559) กลาววา การเรียนรูในชั้นเรียนเชิงรุก คือการทำงานรวมกัน เพื่อบรรลุเปาหมายที่มีอยูดวยกัน ภายในกิจกรรมที่รวมทำนี้ แตละคนจะแสวงหาผลลัพธที่เปน ประโยชนตอตนเองและ เปนประโยชนตอสมาชิกคนอื่น ๆในกลุมการเรียนรูแบบรวมมือ ใชในการ สอนกลุมเล็ก ๆ ใหทำงานรวมกันตามที่ไดรับมอบหมายจนกระทั่งสมาชิกในกลุมทุกคนมีความเขาใจ ถูกตองและทำงานจนเสร็จสมบูรณสมาชิก ทุกคนในกลุมไดรับประโยชนจากความพยายามรวมกัน สมบัติ กาญจนารักพงค (2560) กลาววา การเรียนรูในชั้นเรียนเชิงรุกเปนการจัดกิจกรรม การเรียนรูที่ เนนใหผูเรียนรวมมือและชวยเหลือกันในการเรียนรู โดยแบงนักเรียนออกเปนกลุมเล็กๆ 4 - 5 คน ที่มีความสามารถแตกตางกันทำงานรวมกันเพื่อเปาหมายกลุมสมาชิกมีปฏิสัมพันธสงเสริม ซึ่งกันและกันรับผิดชอบ รวมกันทั้งในสวนตนและสวนรวม ผลงานของกลุมขึ้นอยูกับผลงานของ สมาชิกแตละคนในกลุม ความสำเร็จ ของแตละคนคือความสำเร็จของกลุม จากการศึกษาความหมายการเรียนรูในชั้นเรียนเชิงรุก สามารถสรุปไดวาการจัดการเรียนรู ดวยกลุมรวมมือ กันเรียนรู หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ชวยใหผูเรียนใช ความสามารถเฉพาะตัวในการรวมมือ กันแกปญหาตาง ๆ นักเรียนรูจักวิธีการทำงานกลุมการ


33 ชวยเหลือซึ่งกันและกันตลอดจนมีปฏิสัมพันธที่ดีตอกัน เพื่อใหบรรลุผลสำเร็จตามเปาหมายโดย สมาชิกในกลุมตระหนักวาแตละคนเปนสวนหนึ่งของกลุม หลักการเรียนรูในชั้นเรียนแบบใชเทคนิค 5W1H 1. การทำงานเปนชีวิตจริงเปนการทำงานรวมกับผูอื่น ผูเรียนจึงควรไดฝกการทำงานแบบ รวมมือเพื่อเปนการเตรียมผูเรียนไดรูจักการทำงานรวมกับผูอื่น 2. การทำงานเปนทีมเปนลักษณะหนึ่งของการทำงานของนักสังคมศาสตร 3. การเรียนรูดวยกลุมรวมมือเปดโอกาสใหผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนสอนทุกคน และตอง ลงมือทำงานกับเพื่อนสมาชิกอยางจริงจัง จึงเปนการสนับสนุนใหผูเรียนเปนศูนยกลางวิธี หนึ่ง 4. การเรียนรูดวยกลุมรวมมืออาจจัดเปนกิจกรรมการเรียนการสอนประกอบหรือเปน กิจกรรมยอย ของวิธีสอนสังคมศึกษาแบบตาง ๆ ไดอยางดี หนาที่ครูของผูสอน 1. จัดผูเรียนใหมีสมาชิกแตกตางกัน กลุมละประมาณ 3 – 5 คน 2. ทบทวนบทบาทการทำงานกลุม หนาที่ของสมาชิก การชวยเหลือซึ่งกันและกัน 3. ชี้แจงวัตถุประสงคในการเรียนใหเขาใจชัดเจนเกี่ยวกับเนื้อหาในบทเรียนที่ตองศึกษา 4. ใหความรวมมือกลุมในการทำงาน 5. ประเมินผล ขั้นตอนการเรียนรูในชั้นเรียนเชิงรุก 1. ขั้นนำเขาสูบทเรียน ใชเวลาประมาณ 8 – 15 นาที เพื่อทบทวนเรื่องที่มาเรียนแลวและ ทบทวน บทบาทสมาชิกภายในกลุม 2. ขั้นการทำงานกลุม ใชเวลา 25 – 30 นาที เปนขั้นที่ครูแจกอุปกรณหรือสื่อการเรียน ผูเรียน ปฏิบัติตามบทบาทที่ไดรับมอบหมาย ใชเวลา 25 – 30 นาที เปนขั้นที่ครู แจกอุปกรณหรือ สื่อการเรียน ผูเรียน ปฏิบัติตามบทบาทที่ไดรับมอบหมาย 3. ขั้นระดมสมอง ใชเวลา 10 – 15 นาที เปนการเสนอผลงาน เสนอแนะรวมกันทั้งหอง ให แตละกลุมไดมีโอกาสแสดงความคิดเห็น โดยครูคอยถามใหผูเรียนเสนอความคิดเห็นไดอยางเต็มที่ และทั่วถึง การประเมิน 1. การเสนอผลงานของผูเรียนดวยวิธีตาง ๆ 2. การทดสอบ


34 3. การสังเกตการณทำงานของผูเรียนแตละกลุม 4. การแสดงความคิดเห็นของผูเรียนในชั้นระดมสมอง แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและประเมินผล ความหมายของการวัดผล นักการศึกษาหลายทานใหความหมายของการวัดผลไวดังนี้ Guilford (2018: 138) ไดใหความหมายของการวัดผลไววา “การวัดผล หมายถึง กระบวนการที่กำหนดจำนวน ตัวเลขใหกับวัตถุสิ่งของ หรือบุคคลตามความหมายที่จะวัดสอบและ เปรียบเทียบลักษณะความแตกตางที่ปรากฏอยูในสิ่งที่จะวัดนั้น ๆ” ภัทรา นิคมานนท (2557: 17) ไดใหความหมายของการวัดผลไววา “การวัดผล หมายถึง การใชเครื่องมืออยางใดอยางหนึ่ง ที่จะคนหา หรือการตรวจสอบเพื่อใหไดปริมาณจำนวนหรือ คุณภาพ ที่มีความหมายแทนพฤติกรรม หรือผลงานที่แตละคนแสดงออกมา” วิเชียร เกตุสิงห (2558: 5) ไดใหความหมายของการวัดผลไววา “การวัดผล หมายถึง ขบวนการที่จะนำมาซึ่งตัวเลข จำนวนปริมาณ โดยจำนวนหรือปริมาณนั้นมีความหมายแทน พฤติกรรมอยางหนึ่งหรือแทนผลงานที่แตละคนแสดงปฏิกิริยาโตตอบสิ่งเราออกมา” จากที่กลาวมาพอสรุปไดวา การวัดผล หมายถึงวิธีการที่จะทำใหทราบปริมาณและคุณภาพ โดยอาศัยเครื่องมือหรือวิธีการตาง ๆ เชน การสังเกต การตรวจผลงาน การสอบถาม หรือสัมภาษณ และการใชแบบทดสอบ ความหมายของการประเมินผล มีนักวิชาการหลายทานไดใหความหมายของการประเมินผลไวดังนี้ วิทยา ประชากุล (2557: 30 อางอิงใน พระนิมิตร กลิ่นดอกแกว. 2557: 113) กลาววา “การประเมินผล หมายถึง การะบวนการที่ผูสอนใชพัฒนาคุณภาพผูเรียน สถานศึกษาและ ดำเนินการประเมินผลโดยแบงออกเปน 2 ลักษณะ ไดแก การประเมินผลระดับชั้นเรียน เปนการวัด ความกาวหนาของผูเรียน และการประเมินผลระดับสถานศึกษาเปนการประเมินเพื่อตรวจสอบ ความกาวหนาดานการเรียนรูเปนรายชั้นปและชวงชั้นของสถานศึกษา” กรมวิชาการ (2558: 24) กลาววา “การประเมินผลการเรียนรู หมายถึงกระบวนการที่ให ครูผูสอนใหพัฒนาคุณภาพผูเรียนเพราะจะชวยใหไดขอมูลสารสนเทศที่แสดงถึงพัฒนาการ ความกาวหนาและความสำเร็จทางการเรียนของผูเรียน รวมทั้งขอมูลที่เปนประโยชนตอการสงเสริม ใหผูเรียนเกิดการพัฒนาและเรียนรูอยางเต็มศักยภาพ”


35 สุวิมล วองวาณิช (2558: 171) กลาววา “การประเมินผล หมายถึงกระบวนการตีความหรือ ตัดสินคุณคาของสารสนเทศที่รวบรวมมาไดโดยสารสนเทศที่รวบรวมมาไดจากกระบวนการประเมิน นั้น เปนเสมือนภาพจากกกระจกเงาที่สะทอนใหเห็นภาพผูเรียนในหองเรียนเทานั้น สารสนเทศ เหลานั้นไดสะทอนคุณคาในตัวผูเรียนที่เราตั้งไวหรือไม กลาวคือนักเรียนไดเรียนรูในสิ่งที่เรามุงมั่นให เขาเรียนรูหรือไม มากนอยเพียงใด” ประเสริฐ ธรรมโวรหาร (2559: 107) กลาววา “การประเมินผล หมายถึง การประเมินเพื่อ ปรับปรุงการเรียนรูและเพื่อการตัดสินผลการเรียนรูของนักเรียน จัดเปนเครื่องมือสำคัญยิ่งจะชวยให ครูไดทราบระดับความเจริญงอกงามของเด็กแตละคนวามีการเปลี่ยนเพิ่มขึ้น หรือลดลงอยางไร ผูเรียนไดเกิดความรูความเขาใจ มีทักษะ เจตคติและการปฏิบัติตามจุดประสงคของการเรียนรู เพียงใดหรือไม” มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2560: 207) กลาววา “การประเมิน หมายถึง การ ตรวจสอบดูวาผูเรียนไดเกิดการเปลี่ยนแปลงความรู เจตคติ และทักษะไปตามจุดมุงหมายของ หลักสูตรหรือไมเพียงใดภายหลังจากที่ไดผานประสบการณที่หลักสูตรจัดใหแลว” ดังนั้นจึงอาจกลาวโดยสรุปไดวา การประเมินผล หมายถึง กระบวนการที่ผูสอนใชวัดความรู ความสามารถ การพัฒนาการ การเปลี่ยนแปลงทางเจตคติทักษะ รวมทั้งผลสำเร็จทางการเรียนรูของ ผูเรียน เพื่อนำมาสูการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ใชเปนฐานความรูใน การนำไปใชในการตัดสินใจแกปญหา ทำใหผูสอนหาเหตุผลที่สมเหตุสมผลใหกับสิ่งที่เกิดขึ้นจริง องคประกอบดานการประเมินผล วศิน กาญจนวณิชยกุล (2557: 26-27) ไดกลาววา การประเมินผลเปนกระบวนการตอเนื่อง ของการเรียนการสอน แบงเปน 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การประเมินผลกอนเรียน เพื่อชวยใหผูสอนไดทราบความสามารถของแตละคน เพื่อเปน ขอมูลในการพิจารณาตัดสินวา จะมีความสามารถเพียงพอในการศึกษาตอหรือไม ถาไมดีพอจะไดทำ การปรับปรุงแกไขใหดีขึ้นได 2. การประเมินผลระหวางเรียนเมื่อมีการสอนไประยะหนึ่งๆ ควรจะไดมีการ ประเมินผล ผูเรียนตามจุดประสงคของรายวิชานั้นๆ เพื่อจะไดทราบวามีความรูเพียงพอหรือควรจะ กาวไป ขางหนาไดหรือยัง 3. การประเมินผลหลังเรียน เปนการประเมินผลรวม ครอบคลุมจุดประสงคตางๆ หลาย จุดประสงค เปนการประเมินเพื่อตัดสินความสามารถ เพื่อดูวาตั้งแตตนจนบัดนี้ ผูเรียนมี ความสามารถตามจุดประสงคเชิงพฤติกรรมตางๆ มากนอยเพียงใด


36 ขั้นตอนของการประเมินผล สมคิด (2562) ไดกลาวถึงขั้นตอนและลำดับขั้นของการประเมินผลการเรียน สรุปไดดังนี้ ขั้นที่ 1 ทำความเขาใจ พฤติกรรมที่ตองประเมิน โดยแปลความหรือตีความในรูป ของการ แสดงออกของเด็ก ซึ่งเปนขั้นทำความเขาใจจุดประสงคในการสอน ขั้นที่ 2 ตั้งเกณฑโดยการกำหนดวา การแสดงออกของนักเรียนตองอยูในระดับใดครูจึง ยอมรับวานักเรียนมีพฤติกรรมนั้นจริง ขั้นที่ 3 วัดผลนักเรียนโดยเลือกใชวิธีการ และเครื่องมือที่เหมาะสมเพื่อใหไดขอมูลที่บอกให ทราบวาผลพฤติกรรมของนักเรียนอยูในระดับใด สถานศึกษาจะตองสนใจศึกษาหาความรูและจัด ดำเนินการภายในสถานศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ ขั้นที่ 4 ลงความเห็นวานักเรียนมีพฤติกรรมนั้นจริงหรือไม โดยการนำขอมูลในขั้นที่ 3 เปรียบเทียบกับเกณฑในขั้นที่ 2 ถาพฤติกรรมของนักเรียนถึงระดับที่เปนเกณฑก็ยอมรับวานักเรียน มีพฤติกรรมนั้นจริงโดยสมบูรณ ถาพฤติกรรมของนักเรียนไมถึงระดับที่เปนเกณฑ ก็วินิจฉัยหา ขอบกพรองของการเรียนการสอน จากการที่ไดศึกษาแนวคิดที่เกี่ยวกับการวัดและประเมินผลในเบื้องตนนั้น ผูทำการวิจัยไดทำ การสรุปความหมายของการวัดและประเมินผลไววาการวัดและประเมินผล หมายถึง กระบวนการ ตรวจสอบเพื่อใหไดมาซึ่งตัวเลข หรือสัญลักษณที่มีความหมายแทนคุณลักษณะ หรือคุณภาพของสิ่ง ที่วัด โดยใชเครื่องมือวัดผลที่มีประสิทธิภาพ และวินิจฉัยตัดสินลงสรุปคุณคาเพื่อพิจารณาตัดสินใจที่ ไดจากการวัดผลอยางมีกฎเกณฑ และมีคุณธรรม ซึ่งผูทำการวิจัยไดแบงการประเมินผลไวดังนี้ 1. การประเมินระหวางเรียน (Formative Evaluation) เปนการประเมินเพื่อใชผลการ ประเมินในการปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนการสอน การประเมินประเภทนี้ใชระหวางการ จัดการเรียนการสอน เพื่อตรวจสอบวาผูเรียนมีความรูความสามารถตามจุดประสงคที่กำหนดไวใน ระหวางการจัดการเรียนการสอนหรือไม หากผูเรียนไมผานจุดประสงคที่ตั้งไวผูสอนก็จะหาวิธีการที่ จะชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูตามเกณฑที่ตั้งไว ผลการประเมินยังเปนการตรวจสอบผูสอนเองวา เปนอยางไร แผนการสอนรายครั้งที่เตรียมมาดีหรือไม ควรปรับปรุงอยางไร กระบวนการจัดการเรียน การสอนเปนอยางไร มีจุดใดบกพรองที่ตองปรับปรุงแกไขตอไป


37 2. การประเมินเพื่อตัดสิน (Summative Evaluation) เปนการประเมินเพื่อตัดสินผลการ จัดการสอน เปนการประเมินหลังจากผูเรียนไดเรียนไปแลว อาจเปนการประเมินหลังจบเรื่องใดเรื่อง หนึ่งหรือหลายเรื่อง รวมทั้งการประเมินปลายภาคเรียนหรือปลายป ผลจากการประเมินประเภทนี้ใช ในการตัดสินผลการจัดการเรียนการสอน หรือตัดสินใจวาผูเรียนคนใดผาน จากนั้นเปดโอกาสให ผูเรียนคนอื่นไดซักถามและแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม


บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย การวิจัยเรื่องการพัฒนาคะแนนทักษะทางการเรียนโดยใชวิธีการเรียนการสอนแบบใช เทคนิค 5W1H ผูวิจัยไดดำเนินการวิจัย ตามขั้นตอนดังนี้ แบบแผนการทดลอง ตารางที่1 แบบแผนการทดลอง ประชากร กอนการทำกิจกรรม ทดลอง หลังการทำกิจกรรม E T1 X T2 E = ประชากร T1 = ผลการทดสอบกอนการใชกิจกรรม X = การสอนโดยใชชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน เรื่องการเขียนเรื่องจากภาพ ตามจินตนาการและความคิดสรางสรรคประกอบการจัดการเรียนรูแบบใชเทคนิค 5W1H T2 = ผลการทดสอบหลังการใชกิจกรรม กลุมเปาหมาย กลุมเปาหมาย คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2/1 จำนวน 25 คน ประชากร คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2 จำนวน 49 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 1. การพัฒนาชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน เรื่องการเขียนเรื่องจากภาพตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรคประกอบการจัดการเรียนรูแบบใชเทคนิค 5W1H 2. แบบบันทึกคะแนนเรื่องการเขียนเรื่องจากภาพตามจินตนาการและความคิดสรางสรรค 3. สมุดแบบฝกหัดและใบกิจกรรมของนักเรียน 4. แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนและแบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคของนักเรียน วิธีสรางเครื่องมือการวิจัย 1. วิเคราะหวัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อพิจารณาตัวแปรที่ตองศึกษา 2. ศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวของกับตัวแปรที่ตองศึกษา โดยเฉพาะตัวแปรตาม


39 3. ใหคำจำกัดความของตัวแปรโดยเฉพาะตัวแปรตาม ในรูปของนิยามปฏิบัติการ (Operation definition) 4. เขียนขอคำถามใหสอดคลองกับนิยามปฏิบัติการเลือกวิธีการเก็บรวบรวมขอมูล 5. หาคุณภาพดานความเที่ยงตรง โดยอาศัยผูเชี่ยวชาญ 6. ทดลองใช (Try-out ครั้งที่ 1) เพื่อหาคุณภาพรายขอ เชนอำนาจจำแนก 7. ทดลองใชครั้งที่ 2 เพื่อหาคุณภาพทั้งฉบับ ไดแก ความเชื่อมั่น 8. ปรับปรุงครั้งสุดทายใหสมบูรณใหมีคุณภาพอยูในระดับที่นาพอใจกอนนำไปใชจริง เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลสำหรับการวิจัยครั้งนี้ เปนแบบสอบถาม (Questionnaire) โดยผูวิจัยสรางจากแนวคิดที่ไดจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ มี เนื้อหาเกี่ยวกับการวิจัยของครู ในดานความเชื่อ ทัศนคติ และคานิยมในการทำวิจัยของครู เพื่อ ศึกษาสภาพปจจุบันดานนโยบาย การบริหารงานวิจัย ปจจัยที่เอื้อตอการทำวิจัยของครู และพัฒนา จากเครื่องมือการวิจัยของ ภัทรวดี เทพพิทักษ (2550 : 103 - 112) พงศพัชรินทร พุธวัฒนะ (2545 : 258 - 266) พฤกษวรรณ ทองมาก (2549 : 105) โดยแบงเปน 5 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ปจจัยสวนบุคคลของครูแบบตรวจสอบรายการ (Check List) และแบบใหเติมคำ ในชองวาง รวม 7 ขอ ตอนที่ 2 สภาพการทำวิจัยของครูแบบตรวจสอบรายการ (Check List) และแบบใหเติมคำ ในชองวาง รวม 22 ขอ ตอนที่ 3 ความเชื่อ ทัศนคติ และคานิยมดานการทำวิจัยของครู จำนวน 34 ขอ แบบมาตรา สวนประมาณคา (Rating Scale) มี 5 ระดับ โดยมีหลักเกณฑการใหคะแนน ดังนี้ 1. กรณีที่ขอความมีลักษณะในทางบวก (Positive) ซึ่งไดแกคำถามขอที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12, 15, 16, 17, 18, 20, 22, 26, 28, 30, 31, 32,34 มีหลักเกณฑการใหคะแนน ดังนี้ ครูมีทัศนะตอความเชื่อ ทัศนคติ และคานิยมการทำวิจัย ในระดับมากที่สุด เทากับ 5 คะแนน ครูมีทัศนะตอความเชื่อ ทัศนคติ และคานิยมการทำวิจัย ในระดับมาก เทากับ 4 คะแนน ครูมีทัศนะตอความเชื่อ ทัศนคติ และคานิยมการทำวิจัย ในระดับปานกลาง เทากับ 3 คะแนน


40 ครูมีทัศนะตอความเชื่อ ทัศนคติ และคานิยมการทำวิจัย ในระดับนอย เทากับ 2 คะแนน ครูมีทัศนะตอความเชื่อ ทัศนคติ และคานิยมการทำวิจัย ในระดับนอยที่สุด เทากับ 1 คะแนน 2. กรณีที่ขอความมีลักษณะในทางลบ (Negative) ซึ่งไดแกคำถามขอที่ 13, 14, 19, 21, 23, 24, 27, 29, 33 มีหลักเกณฑการใหคะแนน ดังนี้ ครูมีทัศนะตอความเชื่อ ทัศนคติ และคานิยมการทำวิจัย ในระดับมากที่สุด เทากับ 1 คะแนน ครูมีทัศนะตอความเชื่อ ทัศนคติ และคานิยมการทำวิจัย ในระดับมาก เทากับ 2 คะแนน ครูมีทัศนะตอความเชื่อ ทัศนคติ และคานิยมการทำวิจัย ในระดับปานกลาง เทากับ 3 คะแนน ครูมีทัศนะตอความเชื่อ ทัศนคติ และคานิยมการทำวิจัย ในระดับนอย เทากับ 4 คะแนน ครูมีทัศนะตอความเชื่อ ทัศนคติ และคานิยมการทำวิจัย ในระดับนอยที่สุด เทากับ 5 คะแนน ตอนที่ 4 ความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยที่เอื้อตอการทำวิจัยเปนแบบสอบถามมาตราสวน ประมาณคา (Rating Scale) ตามแบบของลิคเอิรท (Likert, อางถึงในผองศรี วาณิชยศุภวงศ, 2557 : 132) แบงเปน 5 ระดับโดยใชเกณฑการใหคะแนนดังนี้ ระดับ 5 หมายถึง ครูมีทัศนะตอปจจัยที่เอื้อตอการทำวิจัยในระดับมากที่สุด ระดับ 4 หมายถึง ครูมีทัศนะตอปจจัยที่เอื้อตอการทำวิจัยในระดับมาก ระดับ 3 หมายถึง ครูมีทัศนะตอปจจัยที่เอื้อตอการทำวิจัยในระดับปานกลาง ระดับ 2 หมายถึง ครูมีทัศนะตอปจจัยที่เอื้อตอการทำวิจัยในระดับนอย ระดับ 1 หมายถึง ครูมีทัศนะตอปจจัยที่เอื้อตอการทำวิจัยในระดับนอยที่สุด ตอนที่ 5 เปนแบบสอบถาม มีลักษณะเปนแบบสอบถามปลายเปดเกี่ยวกับขอเสนอแนะใน การพัฒนาวัฒนธรรมวิจัยของครู


41 ขั้นตอนการดำเนินการทดลอง 1. ทำการทดลองแบบกลุมทดสอบกอนทดสอบหลัง (One-Group Pretest - Posttest Design) กับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2/1 จำนวนนักเรียน 25 คน ที่มีคะแนนทักษะ ทางการเรียนต่ำกวาเกณฑที่กำหนดไวโดยการใชแผนภูมิความคิดที่สรางขึ้น 2. ทำการเปรียบเทียบความกาวหนาของผูเรียน เปรียบเทียบจากคะแนนกอนการสอบกอน และหลังการใชชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน วิชาภาษาไทย เรื่องการเขียนเรื่องจากภาพตาม จินตนาการและความคิดสรางสรรค 3. ครูตรวจใหคะแนนแบบทดสอบแลวบันทึกไวโดยใชเกณฑการใหคะแนนตอบถูกให คะแนน ขอละ 1 คะแนน ตอบผิดหรือไมตอบให 0 คะแนน 4. ทำการเปรียบเทียบคะแนนที่ไดแลวนำมาวิเคราะหเพื่อทดสอบสมมติฐาน 5. ทำการหาประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมการเรียนรู โดยหาความสัมพันธระหวางรอย ละของคะแนนเฉลี่ยเมื่อเทียบกับคะแนนเต็มของการทำแบบทดสอบระหวางเรียนกับรอยละของ คะแนน 6. ทำการเฉลี่ยผลคะแนนเมื่อเทียบกับคะแนนรวมของแบบทดสอบหลังเรียนของผูเรียน ทั้งหมด นำผลที่ไดมาเทียบรอยละของคะแนนเฉลี่ยที่ไดจากการใชแผนภูมิความคิดระหวางเรียนกับ รอยละของคะแนนเฉลี่ยที่ไดจากการทำแบบทดสอบหลังเรียน การเก็บรวบรวมขอมูล 1. แบงกลุมนักเรียนออกเปนกลุม ในแตละกลุมจะเฟนหานักเรียนที่เกง และมีความ รับผิดชอบ มีลักษณะเปนผูนำมอบหมายใหเปนหัวหนากลุมในการชวยหรือนำเพื่อนทำกิจกรรมเชิง รุก 2. ครูผูสอนชี้แจงการใชชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน เรื่องการเขียนเรื่องจากภาพตาม จินตนาการและความคิดสรางสรรคประกอบการจัดการเรียนรูแบบใชเทคนิค 5W1H โดยหลังจาก ครูสอนในแตละครั้งก็จะมอบหมายใหนักเรียนทำแบบฝกหัด โดยนักเรียนทำแบบฝกหัดและ กิจกรรมระดมสมองชวยกันคิด หากหัวขอใดสมาชิกในกลุมไมเขาใจ ผูที่เขาใจก็จะชวยกันอธิบายจน เพื่อนเขาใจ หากสมาชิกในกลุมยังไมเขาใจก็จะปรึกษาครูผูสอน 3. ครูสังเกตการทำกิจกรรมของกลุม การชวยกันแกปญหา ความสนใจ และความตั้งใจ ของสมาชิกในกลุม 4. สังเกตผลการทำแบบฝกหัดและกิจกรรมวาดีขึ้นหรือไม 5. สังเกตการประเมินตามสภาพจริงในแตละครั้ง 6. วัดผลการเรียนเมื่อสิ้นบทเรียน


42 การวิเคราะหขอมูล การเปรียบเทียบคะแนนทักษะทางการเรียน วิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 2/1 เรื่อง การเขียนเรื่องจากภาพตามจินตนาการและความคิดสรางสรรคที่เรียนดวยการจัดการเรียนรูโดยใช รูปแบบการสอนที่เนนกระบวนการแกปญหา โดยการนำคะแนนของนักเรียนทั้ง 25 คน มา คำนวณหาคารอยละ และคาเฉลี่ย และนำเสนอขอมูลโดยใชตารางประกอบคำบรรยาย ในการวางแผนผูวิจัยจะเขียนรูปแบบการวิเคราะหใหสามารถมองเห็นภาพของการ ดำเนินงานอยางชัดเจน ซึ่งจะระบุประเด็นตอไปนี้ • เครื่องมือในการวิจัย ระบุถึงเครื่องมือที่ใชในการแกปญหาหรือพัฒนาการเรียนรู ไดแก แผนการสอน แผนการแกปญหาโดยการสอน ใบความรู ใบงาน และเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูล ไดแก แบบสังเกตพฤติกรรม แบบสัมภาษณ แบบทดสอบ เปนตน สำหรับการทำวิจัยในชั้นเรียนไม จำเปนตองหาประสิทธิภาพของเครื่องมือ • การเก็บรวบรวมขอมูล จะใชเครื่องมือจากขอที่ 2 เก็บรวบรวมขอมูลในชวงเวลาสอนและ ทดสอบ • ลงมือปฏิบัติตามแผน เก็บรวบรวมขอมูล และวิเคราะหขอมูลสำหรับคา t-test ใชกับการ ทำวิจัยกับกลุมตัวอยางแลวอางอิงไปถึงประชากร ดังนั้นการวิจัยในชั้นเรียนซึ่งเปนการกระทำกับ ประชากรอยูแลวจึงไมควรนำ t-test มาใช • สรุปผลการวิจัยจะสรุปตามวัตถุประสงคที่กำหนดไว และนำเสนอขอมูลอยางเปนระบบ ในรูปตาราง และการเขียนบรรยาย สวนการอภิปรายผลเปนการกลาววาผลจากการวิจัยเปนไปตามที่ คาดการณไวหรือไม เพราะเหตุใด สอดคลองกับสิ่งที่ผูอื่นทำไวหรือไม หรือผูวิจัยมีแนวคิดอะไร เพิ่มเติมจากการทำวิจัยในครั้งนี้บาง สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล เปรียบเทียบคะแนนทักษะทางการเรียน วิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 2/1 ที่เรียนโดย ใชรูปแบบการสอนที่เนนกระบวนการแกปญหาแบบใชเทคนิค 5W1H กอนเรียนและหลังเรียน โดย นำคะแนนทดสอบของนักเรียนมาหาคารอยละ คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 1.1 คารอยละ การศึกษาผลการทดสอบของรอยละคะแนนที่เพิ่มขึ้นโดยใชสูตร ดังนี้ เมื่อ % คือ คะแนนเฉลี่ยรอยละ คือ คะแนนผลการทดสอบของนักเรียนทุกคนรวมกัน % ×100 Σ = n x X Χ Σx


Click to View FlipBook Version