The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาชุดกิจกรรมฝึกทักษะการเขียน
เพื่อส่งเสริมทักษะการเขียนเรื่องจากภาพตามจินตนาการ
และความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้เทคนิค 5W1H

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KUNG MEMO, 2023-04-03 09:36:41

วิจัยในชั้นเรียน.ไทยป.2-เขียนเรื่องจากภาพ-RD5 (R)

การพัฒนาชุดกิจกรรมฝึกทักษะการเขียน
เพื่อส่งเสริมทักษะการเขียนเรื่องจากภาพตามจินตนาการ
และความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้เทคนิค 5W1H

Keywords: 5W1H ภาษาไทย ป.2

43 n คือ จำนวนนักเรียนกลุมประชากร 1.2 คาเฉลี่ยของคะแนนทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน ( x ) ใชสูตรของลวน ยศ สาย และอังคณา ยศสาย (2557 : 59) x x N = ∑ เมื่อกำหนดให x คือ คาเฉลี่ย x N ∑ คือ ผลรวมของคะแนน N คือ จำนวนนักเรียนทั้งหมด 1.3 สถิติพื้นฐานที่ใชในการหาคุณภาพเครื่องมือ = ∑ แทนคา คือ ดัชนีความสอดคลองระหวาง -1 ถึง +1 ∑ คือ ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญทั้งหมด คือ จำนวนผูเชี่ยวชาญทั้งหมด 1.4 สถิติที่ใชในการทดสอบสมมติฐาน ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐานทางสถิติมีดังนี้ 1. ตั้งสมมติฐานหลัก (H0) และสมมติฐานทางเลือก (H1) ใหมีความหมายตรง ขามกันเสมอ 2. กำหนดระดับนัยสำคัญ รูปภาพ 5 ขอบเขตการปฏิเสธ H0


44 3. เลือกตัวสถิติทดสอบที่เหมาะสม แลวหาจุดวิกฤตเพื่อกำหนดบริเวณปฏิเสธ H0 ให สอดคลองกับ H0 และ 4. คำนวณคาสถิติที่ใชทดสอบจากตัวอยางขนาด n ที่สุมมา 5. ตัดสินใจยอมรับหรือปฏิเสธ H0 โดยพิจารณาจากเงื่อนไขนี้ ถาคาสถิติ ทดสอบที่คำนวณไดจากขั้นตอนที่ 4 ตกอยูในบริเวณยอมรับ เราจะตัดสินใจยอมรับ H0 แตหากตกอยูบริเวณปฏิเสธ จะตัดสินใจปฏิเสธ H0 6. สรุปผล 1.5 คารอยละ (Percentage) ใชสูตรดังนี้ = ×100 แทนคา คือ รอยละ คือ ความถี่ที่ตองการแปลงใหเปนรอยละ คือ จำนวนความถี่ทั้งหมด 1.6 การหาคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) มีสูตร ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2558 : 106) N(N 1) N X ( X) S.D. 2 2 − − = ∑ ∑ เมื่อ S.D. แทน คาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน X แทน คะแนนแตละตัว N แทน จำนวนคนในกลุม ∑ แทน ผลรวมของคะแนน 1.7 การหาคาอำนาจจำแนก (Discrimination) ของแบบทดสอบวัดคะแนนทักษะ ทางการเรียน โดยใชสูตร B (Discrimination Index B) (นิรชา ไชยชนะ. 2557 : 52 ) B = U n1 − U n1 เมื่อ B แทน คาอำนาจจำแนก U แทน จำนวนผูรอบรูหรือสอบผานเกณฑที่ตอบถูก L แทน จำนวนผูไมรอบรูหรือสอบไมผานเกณฑที่ตอบถูก


45 n1 แทน จำนวนผูรอบรูหรือสอบผานเกณฑ n2 แทน จำนวนผูไมรอบรูหรือสอบไมผานเกณฑ นำขอมูลที่ไดจากการทำแบบทดสอบกอนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียนของนักเรียนมา สรางตารางเปรียบเทียบคะแนนสอบกอนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนของนักเรียนรายบุคคลมา เพื่อดูพัฒนาการของนักเรียนและจุดบกพรอง ขอมูลที่รวบรวมไดจากแบบทดสอบ นำมาวิเคราะหหา คาเฉลี่ย ( Χ ) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) แลวเปรียบเทียบคะแนนความกาวหนาของ นักเรียนแตละคน คาความยากงายของขอสอบ เปนการตรวจสอบคุณภาพของขอสอบเปนรายขอ เพื่อพิจารณาวาขอสอบแตละขอนั้น มี ระดับความยากหรือคาความงาย ( Difficulty index or Easiness ) และคาอำนาจจำแนกของ ขอสอบ ( Discriminant index ) เพียงใด รวมทั้งพิจารณาถึงประสิทธิภาพของตัวลวงในขอ เลือกตอบของขอสอบขอนั้นดวย ผลการวิเคราะหจะทำใหทราบวาขอสอบแตละขอมีความเหมาะสม มากนอยเพียงใด ซึ่งขอสอบที่มีคุณภาพจะสามารถนำไปวัดและประเมินผลไดอยางเที่ยงตรงและ เชื่อมั่นได แบบทดสอบที่ดีตองมีความยากงายพอเหมาะ คือ ไมยากเกินไปและไมงายเกินไป ความ ยากงายของ แบบทดสอบพิจารณาไดจากผลการสอบของแบบทดสอบฉบับนั้นเปนสำคัญ การ พิจารณาความยากงาย พิจารณาดังนี้ 1. การพิจารณาความยากงายของแบบทดสอบทั้งฉบับ 1.1 พิจารณาจากคะแนนรวมของแบบทดสอบทั้งฉบับ โดยพิจารณาจากคะแนน เฉลี่ยของ คะแนนรวมทั้งฉบับ - หากคะแนนเฉลี่ยสูงกวาครึ่งหนึ่งของคะแนนเต็ม แสดงวาแบบทดสอบฉบับนั้น งายหรือ คอนขางงาย - หากคะแนนเฉลี่ยต่ำกวาครึ่งหนึ่งของคะแนนเต็ม แสดงวาแบบทดสอบฉบับนั้น ยากหรือ คอนขางยาก 1.2 พิจารณาจากคาความยากงายของขอคำถามรายขอ โดยพิจารณาคาเฉลี่ยของ ความยากรายขอทั้งฉบับ ความยากงายของขอสอบรายขอมีคาอยูระหวาง 0 – 1.00 - หากคาเฉลี่ยคาความยากงายรายขอทั้งฉบับสูงกวา .50 แสดงวาแบบทดสอบฉบับ นั้นงาย หรือคอนขางงาย


46 - ถาคาเฉลี่ยของคาความยากงายรายขอทั้งฉบับต่ำกวา .50 แสดงวาแบบทดสอบ ฉบับนั้น ยากหรือคอนขางยาก การพิจารณาความยากงายของแบบทดสอบรายขอ พิจารณาจำนวนผูตอบถูกในแตละขอ - ถาขอใดที่มีผูตอบถูกมากกวาครึ่งหนึ่งของผูสอบ แสดงวาเปนผูสอบที่งายหรือ คอนขางงาย - ถามีจำนวนผูตอบถูกนอยกวาครึ่งหนึ่งของผูสอบทั้งหมด แสดงวายากหรือ คอนขางยาก คาความยากงายของขอสอบ หมายถึง สัดสวนของผูที่ตอบขอคำถามนั้นถูก ซึ่ง นิยมใหแทนคา “ P ” มีคาตั้งแต 0 ถึง 1.00 สูตร =จำนวนผูตอบถูก จำนวนผูเขาสอบ การแปลความหมายคา P : อาจแบงไดเปน 5 ชวง ดังนี้ คา P ระดับความยาก ความหมายเทียบสอบ จากผูสอบ 100 คน การพิจารณา 0 - .19 ยากมาก มีผูตอบถูกไมถึง 20 คน ควรปรับปรุงหรือ ตัดทิ้ง .20 - .39 คอนขางยาก มีผูตอบถูก 20 - 39 พอใชได .40 - .59 ยากพอเหมาะ มีผูตอบถูก 40 - 59 ใชได .60 - .80 คอนขางงาย มีผูตอบถูก 60 - 80 พอใชได .81 - 1.00 งายมาก มีผูตอบถูก 81 - 100 ควรปรับปรุงหรือ ตัดทิ้ง ดังนั้น คา ความยากงาย ( p ) ของขอสอบที่ควรนามาใชควรมาคาระหวาง .20 - .80


บทที่ 4 ผลการศึกษาคนควา วิเคราะหขอมูล การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาวิธีการเรียนของนักเรียนใหเอื้อตอการเรียนรูของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2/1 โดยมีเปาหมายใหนักเรียนทุกคนมีผลการเรียนผานเกณฑที่ กำหนด โดยเสนอผลการวิเคราะหขอมูลเปนลำดับ ในลักษณะตารางประกอบคำบรรยายดังนี้ ตารางที่ 2 แสดงคารอยละและคาเฉลี่ยของคะแนนสอบความสามารถในการแกปญหาทาง ภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2/1 ที่ไดรับการจัดการเรียนรูโดยใชชุดฝกกระบวนการ กลุม เรื่องการเขียนเรื่องจากภาพตามจินตนาการและความคิดสรางสรรคของแบบทดสอบกอนและ หลังเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2/1 จำนวน 25 คน การทดสอบ คะแนนเต็ม คะแนนเฉลี่ย (̅) รอยละของ คะแนนที่เพิ่มขึ้น สวนเบี่ยงเบน คา S.D. กอนเรียนแบบ โดยใชเทคนิค 5W1H 10 4.72 126.8 1.34 หลังเรียนแบบ โดยใชเทคนิค 5W1H 10 7.96 1.46 จากตารางพบวา คะแนนเฉลี่ยของการทดสอบกอนเรียนเทากับ 4.72 คะแนน และคะแนน เฉลี่ยหลังเรียนเทากับ 7.96 คะแนน ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกวากอนเรียน เทากับ 3.28 คะแนน และนักเรียนทุกคนมีคะแนนสูงขึ้นกวาเดิมโดยมีคะแนนความกาวหนาเมื่อเทียบระหวาง คะแนนกอนเรียนกับคะแนนหลังเรียนคิดเปนรอยละ 126.8


48 ตารางที่3 แสดงผลการทดสอบกอนและหลังเรียนโดยใชวิธีการสอนแบบใชเทคนิค 5W1H ที่ ชื่อ-สกุล ทดสอบกอนเรียน (10 คะแนน) ทดสอบหลังเรียน (10 คะแนน) ความ แตกตางคา คะแนน 1 ด.ช.เฉลิมพล คลองแคลว 6 9 3 2 ด.ช.ชยพล เรืองไพศาล 5 10 5 3 ด.ช.ณัฐภูมิ พันธุรัตน 5 8 3 4 ด.ช.ศุภกร นิโรรัมย 5 10 5 5 ด.ช.ศิวัช ลิ้มวชิรอาทร 5 7 2 6 ด.ญ.เกวริน นามไพร 7 10 3 7 ด.ญ.ชลธิชา ลูนนู 3 6 3 8 ด.ญ.นิชาพัฒน ทองสะอาด 2 7 5 9 ด.ญ.ศิริลักษณ ตะกรุดเพ็ชร 5 9 4 10 ด.ญ.กัญญาพร แหลมไธสง 6 9 3 11 ด.ช.ชยพล หาสูง 5 7 2 12 ด.ช.ปราญชล มีแกว 3 6 3 13 ด.ช.ปญญากร ชุมตรีนอก 4 8 4 14 ด.ช.พีรภัทร ดวงใหญ 4 8 4 15 ด.ช.พุฒิภัทร สกุลทอง 4 9 5 16 ด.ญ.ปณณพร สุขสอน 6 10 4 17 ด.ช.อาทิตย อริยพงศสวัสดิ์ 5 7 3 18 ด.ช.ณภัทร มาสีปา 4 7 3 19 ด.ญ.กชพรรณ ละดาพัน 4 6 2 20 ด.ญ.สุพรรษา ลาภเจริญ 6 9 3 21 ด.ญ.สิฎฐิณิชา บุษบงค 5 7 2 22 ด.ช.ศิรวิชย แผวพลสง 3 5 2 23 ด.ญ.ศิรินภา หงษรุจิโก 8 10 2 24 ด.ช.แสงบูรณ หันจางสิทธิ์ 5 7 2 25 ด.ญ.คณิสสร เสนีโสด 3 8 5 คะแนนรวม 118 199


49 คาเฉลี่ย 4.72 7.96 3.28 คิดเปนรอยละ 47.2 79.6 จากตารางที่ 3 แสดงใหเห็นวาผลการทดสอบกอนและหลังเรียนนักเรียนประถมศึกษาปที่ 2/1 นั้น โดยใชวิธีการสอนแบบใชเทคนิค 5W1H นั้น นักเรียนทดสอบกอนเรียนมีคาคะแนนเฉลี่ย เทากับ 4.72 คะแนน จากนั้นทดสอบหลังเรียนมีคาคะแนนเฉลี่ยเทากับ 7.96 คะแนน โดยนักเรียนมี คาคะแนนเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้น 3.28 คะแนน ซึ่งเปนพัฒนาการของคะแนนเพิ่มขึ้นเกือบเทาตัว ตารางที่ 3 การวิเคราะหความคิดเห็นของผูทรงคุณวุฒิตอแบบทดสอบที่ใชในการเรียนการสอน รายการขอความคิดเห็น ประมาณคาความ คิดเห็นของ ผูทรงคุณวุฒิคนที่ คา IOC แปลผล 1 2 3 1. ความสอดคลองเหมาะสมกับหลักสูตร +1 +1 0 0.7 ใชได 2. ความสอดคลองเหมาะสมกับธรรมชาติวิชา +1 +1 +1 1.0 ใชได 3. ความสอดคลองเหมาะสมกับวัยของผูเรียน +1 +1 +1 1.0 ใชได 4. ความสอดคลองเหมาะสมกับสภาพปจจุบัน และปญหา +1 +1 +1 1.0 ใชได 5. ความเหมาะสมตอกระบวนการพัฒนาผูเรียน +1 0 +1 0.7 ใชได 6. ความเหมาะสมของเนื้อหา +1 +1 +1 1.0 ใชได 7. ความเหมาะสมของขนาดตัวอักษร +1 +1 +1 1.0 ใชได 8. ความเหมาะสมของการใชภาษา 0 +1 +1 0.7 ใชได 9. ความเหมาะสมกับความสนใจของนักเรียน 0 0 +1 0.3 ใชได 10.ความเหมาะสมของรูปแบบ +1 +1 0 0.7 ใชได คา IOC = 0.7+1.0+1.0+1.0+0.7+1.0+1.0+0.7+0.3+0.7 10 = 8.1/10 = 0.81 สรุปวา แบบทดสอบการเรียนการสอนดังกลาวนั้นใชไดเนื่องจากมีคามากกวา 0.50 ขึ้นไป


บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและขอเสนอแนะ สรุปผลการศึกษา การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาวิธีการเรียนของนักเรียนใหเอื้อตอการเรียนรูของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2/1 โดยมีเปาหมายใหนักเรียนทุกคนมีผลการเรียนผานเกณฑที่กำหนด วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาวิธีการเรียนรูแบบใชเทคนิค 5W1H ของนักเรียนใหเอื้อตอการเรียนรูของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 2/1 โดยมีเปาหมายใหนักเรียนทุกคนมีผลการเรียนผานเกณฑที่ กำหนด เรื่องการเขียนเรื่องจากภาพตามจินตนาการและความคิดสรางสรรค 2. เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน เรื่องการเขียนเรื่องจากภาพตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรคประกอบการจัดการเรียนรูแบบใชเทคนิค 5W1H กลุมเปาหมาย กลุมเปาหมาย คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2/1 จำนวน 25 คน ประชากร คือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 2 จำนวน 49 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 1. การพัฒนาชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน เรื่องการเขียนเรื่องจากภาพตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรคประกอบการจัดการเรียนรูแบบใชเทคนิค 5W1H 2. แบบบันทึกคะแนนเรื่องการเขียนเรื่องจากภาพตามจินตนาการและความคิดสรางสรรค 3. สมุดแบบฝกหัดและใบกิจกรรมของนักเรียน 4. แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนและแบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคของนักเรียน การเก็บรวบรวมขอมูล 1. แบงกลุมนักเรียนออกเปนกลุม ในแตละกลุมจะเฟนหานักเรียนที่เกง และมีความ รับผิดชอบ มีลักษณะเปนผูนำมอบหมายใหเปนหัวหนากลุมในการชวยหรือนำเพื่อนทำกิจกรรมเชิง รุก


51 2. ครูผูสอนชี้แจงการใชชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน เรื่องการเขียนเรื่องจากภาพตาม จินตนาการและความคิดสรางสรรคประกอบการจัดการเรียนรูแบบใชเทคนิค 5W1H โดยหลังจาก ครูสอนในแตละครั้งก็จะมอบหมายใหนักเรียนทำแบบฝกหัด โดยนักเรียนทำแบบฝกหัดและ กิจกรรมระดมสมองชวยกันคิด หากหัวขอใดสมาชิกในกลุมไมเขาใจ ผูที่เขาใจก็จะชวยกันอธิบายจน เพื่อนเขาใจ หากสมาชิกในกลุมยังไมเขาใจก็จะปรึกษาครูผูสอน 3. ครูสังเกตการทำกิจกรรมของกลุม การชวยกันแกปญหา ความสนใจ และความตั้งใจ ของสมาชิกในกลุม 4. สังเกตผลการทำแบบฝกหัดและกิจกรรมวาดีขึ้นหรือไม 5. สังเกตการประเมินตามสภาพจริงในแตละครั้ง 6. วัดผลการเรียนเมื่อสิ้นบทเรียน สรุปผลการวิจัย ผลจากการจัดการเรียนการสอนแบบใชเทคนิค 5W1H รวมกับการพัฒนาชุดกิจกรรมฝก ทักษะการเขียน มาใชในการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย ผลปรากฎวา คะแนนเฉลี่ยของการทดสอบ กอนเรียนเทากับ 4.72 คะแนน และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเทากับ 7.96 คะแนน ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ย หลังเรียนสูงกวากอนเรียน เทากับ 3.28 คะแนน และนักเรียนทุกคนมีคะแนนสูงขึ้นกวาเดิมโดยมี คะแนนความกาวหนาเมื่อเทียบระหวางคะแนนกอนเรียนกับคะแนนหลังเรียนคิดเปนรอยละ 126.8 และมีคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ลดลง นักเรียนมีคะแนนทักษะทางการเรียนในรายวิชาเพิ่มขึ้น อยางเห็นไดชัด และกิจกรรมกลุมเชิงรุกของนักเรียนทำใหเกิดบรรยากาศที่ดีและเอื้อตอการเรียนการ สอน ชวยใหนักเรียนมีความกระตือรือรนสนใจ ตั้งใจ และมีความรับผิดชอบตอการเรียนมากขึ้น อีก ทั้งยังชวยกระตุนใหนักเรียนมีความกระตือรือรนอยูตลอดเวลา ชวยสรางความสามัคคีใหเกิดขึ้นใน กลุม รูจักแกปญหารวมกัน ผูสอนจะเปนผูอำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู เพื่อใหผูเรียนเปน ผูปฏิบัติดวยตนเอง ซึ่งแนวทางนี้เหมาะสมในการแกปญหาในชั้นเรียนไดเปนอยางดี รวมถึงสามารถ สรางทัศนคติที่ดีตอการเรียนวิชาภาษาไทยเปนอยางมาก อภิปรายผลการวิจัย จากการศึกษาวิจัยพบวาการสอนโดยวิธีพัฒนาชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน เรื่องการเขียน เรื่องจากภาพตามจินตนาการและความคิดสรางสรรคประกอบการจัดการเรียนรูแบบใชเทคนิค 5W1H ระหวางนักเรียนในรายวิชาภาษาไทย ทำใหคะแนนทักษะทางการเรียนของผูเรียนมี พัฒนาการที่ดีขึ้นอยางเห็นไดชัดนักเรียนมีความเขาใจมากขึ้น


52 จากลักษณะของชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนที่ดีที่มีนักการศึกษาหลายทานไดอธิบายไว เปนลักษณะของชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนซึ่งใชไดกับทุกรายวิชา ในสวนของชุดกิจกรรมฝก ทักษะการเขียนที่ผูศึกษาสรางเปนชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนวิชาภาษาไทย ซึ่งชุดกิจกรรมฝก ทักษะการเขียนของผูศึกษาจะมีลักษณะที่ดีดังนี้ 1. คำสั่ง ขอแนะนำและคำชี้แจงใชคำที่เขาใจงายและไมยาวเกินไป เพื่อใหเด็กเขาใจและศึกษา ดวยตนเองไดตามตองการ 2. เนนการฝกฝนแบบซ้ำๆ และสังเกตการปฏิบัติ 3. ใชภาษาที่เขาใจงายในการสอน 4. ระดับเนื้อหาเหมาะกับระดับพื้นฐานความสามารถของผูเรียน 5. กำหนดเวลาที่ใชในชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนใหเหมาะสม 6. สรางแรงจูงใจใหกับเด็กเกิดความอยากรูอยากเห็น และกระตือรือรนที่อยากกระทำกิจกรรม โดยทุกครั้ง เมื่อจบการฝกใหการเสริมแรงเด็กโดยชมเชยดวยคำพูดหรือเขียนใหกำลังใจ ใน ชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน เพื่อที่เด็กจะไดอยากทำกิจกรรมตอไป 7. มีการวัดและประเมินผลหรือสังเกตพฤติกรรมนักเรียนอยางสม่ำเสมอเพื่อประเมินวา นักเรียนมีทักษะแลว การจัดการเรียนรูการเขียนภาษาไทยโดยใชวิธีการสอนรูปแบบการเรียนเทคนิค 5W1H จำเปนตองใชเวลาในการจัดการเรียนการสอนมาก เพื่อใหผูเรียนทุกคนไดมีสวนรวมกับกิจกรรม ลง มือปฏิบัติอยางตื่นเตน ทาทาย และการเรียนการสอนตามรูปแบบการเรียนโดยใชเทคนิค 5W1H อาจไมเหมาะกับผูเรียนชอบอยูเฉยๆ (Passive Student) ผูสอนจำเปนตองจัดสรรเวลาในการจัดการ เรียนการสอนใหเหมาะสม คอยกระตุนและคอยแนะนำใหนักเรียนเกิดความอยากรู อยากเรียน อยากรวมทำกิจกรรมในชั้นเรียน ดังนั้นการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสำคัญก็คือการที่ผูสอนสามารถจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน เพื่อเปดโอกาสใหนักเรียนไดใชประสบการณ ความรูรอบตัว ความชำนาญและความ สนใจของผูเรียนแตละคนมารวมกันทำกิจกรรม มีปฏิสัมพันธตอกันมีโอกาสคิดพิจารณา แสดง ความคิดเห็นรวมกัน โดยมีผูสอนเปนผูใหคำแนะนำ ชวยเหลือ เมื่อผูเรียนมีความตองการ ผูสอนจะ ใหความสำคัญตอกระบวนการคิด กระบวนการทำงานของผูเรียนมากกวาที่ผูเรียนคิดหรือสิ่งที่ ผูเรียนผลิตขึ้นมา ซึ่งนักการศึกษากลุมหนึ่งมีความเชื่อวา การจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปน สำคัญเปนวิธีหนึ่งที่จะชวยพัฒนาคุณภาพและศักยภาพของทรัพยากรมนุษยใหดีขึ้นและบรรลุ เปาหมายของการศึกษาแหงชาติดวย ดังนั้นการพัฒนาศักยภาพของผูเรียนจึงเขามามีบทบาทอยาง ยิ่งตอการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียน


53 ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะในการนำไปใช 1. ครูผูสอนจะตองคอยติดตามดูแล การปฏิบัติงานของนักเรียนอยางตอเนื่อง 2. ควรเนนกิจกรรมการเรียนรูที่เนนใหผูเรียนไดปฏิบัติมากขึ้นกวาเดิม 3. ครูผูสอนจะตองคอยใหแรงเสริมแกนักเรียนอยางตอเนื่อง 4. ครูผูสอนควรแจงผลการประเมินทุกครั้งเพื่อกลุมจะไดปรับปรุงและพัฒนาตัวเองในจุดที่ ยังดอยอยู ขอเสนอแนะในการศึกษาคนควาครั้งตอไป 1. ครูควรพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรูภาษาไทย โดยใชชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน ในกลุมประสบการณอื่นๆ และในระดับชั้นอื่นๆ 2. ควรพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรูภาษาไทย โดยใชชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน รูปแบบอื่นๆ เพื่อที่นักเรียนจะไดเรียนดวยวิธีการที่หลากหลาย 3. ควรพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรูภาษาไทย โดยใชชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน ประกอบการจัดการเรียนรูแบบใชเทคนิค 5W1H ในเนื้อหาหรือเรื่องราวอื่นๆ ที่นักเรียนสนใจ


บรรณานุกรม


55 บรรณานุกรม ทรงศรี ตุนทอง. (2557). การพัฒนารูปแบบการประเมินผลการเรียนตามสภาพจริงของผูเรียน. วิทยานิพนธปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาทดสอบและวัดผลการศึกษา. มหาวิทยาลัยศรีนคริ นทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2557. ทวีวัฒน วัฒนกุลเจริญ. (2557). การพัฒนารูปแบบการวัดประเมินตามสภาพจริง จากการเรียน อิเล็กทรอนิกสที่ใชวิธีการเรียนตามสถานการณ ที่สงผลตอการรับรูความสามารถของ ตนเองของผูเรียน ในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. บัญญัติ ชำนาญกิจ. (2557). เอกสารประกอบการอบรมเรื่องใชเทคนิค 5W1H. นครสวรรค : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค. สถาบันนวัตกรรมและพัฒนากระบวนการเรียนรู. (2558). เอกสารประกอบการสัมมนาเชิง ปฏิบัติการเรื่องการเรียนการสอนแบบใชเทคนิค 5W1H สำหรับอาจารย ระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพมหานคร. มหาวิทยามหิดล. สิริพร ปาณาวงษ. (2559).ใชเทคนิค 5W1H เทคนิคการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21. สืบคนเมื่อ วันที่ 9 กันยายน พ.ศ.2558 จาก http://edu.nsru.ac.th/2011/qass/?view=research.php กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). ภาษาไทย เลม 1 ชั้นประถมศึกษาปที่ 2. พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ สกสค. ลาดพราว. ผูชวยศาสตราจารย เลิศ สิทธิโกศล. (2559). ภาษาไทย เลม 4 ชั้นประถมศึกษาปที่ 2. พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : เจริญดีมั่นคงการพิมพ. สถาพร พฤฑฒิกุล. (2560). การจัดการเรียนการสอนแบบใชเทคนิค 5W1H. สืบคนเมื่อ 15 มีนาคม 2560. จาก https://km.buu.ac.th/article/frontend/article_detail/141 จิรายุทธิ์ ออนศรี. (2560).ใชเทคนิค 5W1H การเรียนรูแบบลงมือ(ปฏิบัติ). สืบคนเมื่อ 15 มีนาคม 2560. ชูชีพ ออนโคกสูง. (2561). การพัฒนาทฤษฎีการเรียนรูโดยใชชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน (Theory of Learning) Gilgerdson Lanfon 10th Editions. วิทยานิพนธปริญญา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาไทยเพื่อการสอน. บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน.


56 ประภาศรี ชมมีชัย. (2561). การจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง : ผลการพัฒนา และใชชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน. วารสารครุศาสตร. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. (มีนาคม – มิถุนายน) บุญชม ศรีสะอาด. (2562). วิธีการศึกษาสถิติเพื่อการวิจัยชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียนเลม 2. มหาสารคาม : ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ โรฒ มหาสารคาม. พิมพพันธ เดชะคุปต. (2562). วิธีปฏิบัติการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ แนวคิดวิธีและ เทคนิคการสอนของครู. กรุงเทพมหานคร : พิมพที่บริษัทเดอะมาสเตอรกรุปแมเนจเมนท จำกัด. อดิศร ศิริสันต. (2563). การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลางโดยใช ชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน สำหรับวิชาภาษาไทยในระดับมัธยมศึกษาปที่ 4. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน. ขวัญชนก เจริญวงค. (2563). วัฒนธรรมการวิจัย: จากแนวคิดสูการปฏิบัติการสอนเชิงรุก. พิมพครั้งที่ 2. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพหจก.ศรีบูรณคอมพิวเตอรการพิมพ. ศรวนา อินทราชดำรง. (2564). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน ทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพมหานคร : ดานสุทธาการพิมพ. Meyers, Chet and Jones, Thomas B. (2015). Promoting ใชเทคนิค 5W1H: Strategies for the Collage Classroom. San Francisco : Jossey-Bass. Joyce, B.,Weil,M. and Calhoun,E. (2017). Model of Teaching. 7th ed. Boston : Allyn and Bacon. Bonwell C.C, & Eison, J.A. (2019).ใชเทคนิค 5W1H: Creating Excitement in the Classroom AEHE-ERIC Higher Education Reports. Washington. Nunnally, J. (2020). Psychometric Theory of Teaching. New York : McGraw-Hill. Slavin, R. E. (2020). Cooperative-5W1H learning: Theory, research, and practice. Englewood Cliffs, NJ: Prentice Hall. Patton, M. Q. (2021). Qualitative evaluation and research methods. (2nd ed.). Newbury Park, CA: Sage.


ภาคผนวก


58 แผนการจัดการเรียนรูที่ 1 วิชาภาษาไทยพื้นฐาน ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 เรื่อง การเขียนเรื่องจากภาพตามจินตนาการและความคิดสรางสรรค เวลา 4 ชั่วโมง สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การเขียนเรื่องตามจินตนาการ จะตองฝกฝนการใชความคิดริเริ่มสรางสรรค และรวบรวม ความรูความคิดอยางเปนระบบ และตองมีมารยาทในการเขียน ตัวชี้วัด/จุดประสงคการเรียนรู 2.1 ตัวชี้วัด ท 2.1 ป.2/5 เขียนเรื่องตามจินตนาการ ป.2/6 มีมารยาทในการเขียน 2.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) อธิบายหลักการเขียนเรื่องตามจินตนาการได 2) บอกมารยาทในการเขียนได สาระการเรียนรู 3.1 สาระการเรียนรูแกนกลาง 1) การเขียนเรื่องตามจินตนาการ 2) มารยาทในการเขียน เชน - เขียนใหอานงาย สะอาด ไมขีดฆา - ไมขีดเขียนในที่สาธารณะ - ใชภาษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และบุคคล - ไมเขียนลอเลียนผูอื่นหรือทำใหผูอื่นเสียหาย 3.2 สาระการเรียนรูทองถิ่น - สมรรถนะสำคัญของผูเรียน 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 1) ทักษะการเขียน 2) ทักษะการสังเกต 3) ทักษะการเปรียบเทียบ 4) ทักษะกระบวนการคิดสรางสรรค 5) ทักษะการนำความรูไปใช


59 4.3 ความสามารถในการใชทักษะชีวิต คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. มีวินัย 2. มีความรับผิดชอบ 3. ใฝเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู วิธีสอนโดยใชเทคนิค 5W1H รวมกับชุดกิจกรรมฝกทักษะการเขียน ขั้นที่ 1 กระตุนความสนใจ 1. นักเรียนตอบคำถามกระตุนความคิด 2. ครูนำซีดีการตูนเรื่อง คาร 2 (Cars 2) มาเปดใหนักเรียนดู 3. นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับตัวละคร พฤติกรรมของตัวละครวา ชวยเสริม จินตนาการของคนดูการตูนเรื่องนี้ไดอยางไร 4. ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจวา การตูนเรื่อง คาร 2 (Cars 2) เปนการสรางการตูนจาก จินตนาการใหรถยนตมีชีวิตเหมือนมนุษย ขั้นที่ 2 สำรวจคนหา 1. นักเรียนแตละกลุม (กลุมเดิมจากแผนการจัดการเรียนรูที่ 1) รวมกันศึกษาความรูเรื่อง การ เขียนเรื่องตามจินตนาการ จากหนังสือเรียน แลวบันทึกความรูที่ไดลงในแบบบันทึกการอาน 2. นักเรียนแตละกลุมรวมกันศึกษาตัวอยางการเขียนเรื่องตามจินตนาการ เรื่อง ลูกโปงสวรรค จากหนังสือเรียน ขั้นที่ 3 อธิบายความรู 1. ครูกำหนดประเด็นใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันอธิบายเกี่ยวกับหลักการเขียนเรื่องตาม จินตนาการ ดังนี้ 1) การวางเคาโครงเรื่องที่จะเขียน 2) การกำหนดเหตุการณ และเรียงลำดับเหตุการณในเรื่อง 3) การตั้งชื่อเรื่อง 4) การเขียนตามเคาโครงเรื่อง และเหตุการณที่กำหนด 5) มารยาทในการเขียน 2. นักเรียนแตละกลุมพิจารณาเรื่อง ลูกโปงสวรรค ตามหลัก การเขียนเรื่องตามจินตนาการ และสรุปผล ขั้นที่ 4 ขยายความเขาใจ


60 1. นักเรียนแตละกลุมรวมกันทำใบงานที่ 7.10 เรื่อง เคาโครงเรื่อง ลูกโปงสวรรคโดยใหสมาชิก แตละคนในกลุมเขียนเคาโครงเรื่อง ลูกโปงสวรรค ดวยตนเอง เมื่อทำเสร็จแลวใหนักเรียนจับคู กับเพื่อนในกลุมผลัดกันอธิบายเคาโครงเรื่อง ลูกโปงสวรรค ใหคูของตนเองฟง (สมาชิกกลุมอีก คูหนึ่งก็ปฏิบัติกิจกรรมเชนเดียวกัน) 2. นักเรียนรวมกลุม 4 คน ใหแตละคูผลัดกันอธิบายเคาโครงเรื่องลูกโปงสวรรคใหเพื่อนอีกคู หนึ่งในกลุมฟง แลวชวยกันตรวจสอบความถูกตอง และสรุปเปนเคาโครงเรื่องของกลุม ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล 1. ตัวแทนนักเรียนแตละกลุมนำเสนอเคาโครงเรื่อง ลูกโปงสวรรค ในใบงานที่ 7.10 หนาชั้นเรียน 2. นักเรียนตอบคำถามกระตุนความคิด 3. นักเรียนและครูรวมกันสรุปความรูเรื่อง หลักการเขียนเรื่องตามจินตนาการ การวัดและประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ ตรวจใบงานที่ 7.10 ใบงานที่ 7.10 รอยละ 60 ผาน เกณฑ ตรวจแบบบันทึกการอาน แบบบันทึกการอาน ระดับคุณภาพ 2 ผาน เกณฑ ประเมินการนำเสนอผลงาน แบบประเมินการนำเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผาน เกณฑ สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน กลุม ระดับคุณภาพ 2 ผาน เกณฑ สังเกตความมีวินัย มีความรับผิดชอบ และใฝเรียนรู แบบประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค ระดับคุณภาพ 2 ผาน เกณฑ สื่อ/แหลงการเรียนรู 8.1 สื่อการเรียนรู 1) หนังสือเรียน ภาษาไทย : หลักภาษาและการใชภาษา ป.2 2) ซีดีการตูนเรื่อง คาร 2 (Cars 2) 3) ใบงานที่ 7.10 เรื่อง เคาโครงเรื่อง ลูกโปงสวรรค 8.2 แหลงการเรียนรู


61 หองสมุด PowerPoint


62


63


64


65


66


ใบงานที่ 1 การเขียนคำศัพทกับความหมาย ชื่อ ชั้น เลขที่ คำชี้แจง ใหนักเรียนวง รอบคำในตารางอักษรปริศนา จากนั้นเขียนคำลงในชองวางใหตรงกับความหมายที่ กำหนด ด ข พ ร ะ ทั ย จ บ ะ ย จ พ ำ ล ร ฟ ก า เ า บ ทิ พ ย เ น ต ร พ อ อ ป แ ใ ห สั ไ มี ผ า ฝ ฏิ ถ อั บ ป า ง า นุ ร ส ป ะ ำ ปุ ส ฉ ง ภ แ น โ จุ ติ รุ ด วี ม า เ ธิ ท ไ ภ ษ า ช ว พ ฟ น ำ ป ร ะ สู ติ ใ 1. ผิวกาย 2. เกิดในทอง, ถือกำเนิด 3. ใจ (เปนคำราชาศัพท) 4. อำนาจ, ฤทธิ์เดช, ความยิ่งใหญ 5. ลม, จม, แตก (ใชแกเรือเดินทะเล) 6. ตาทิพย คือ จะดูอะไรเห็นไดทั้งหมด 7. การเกิด การคลอด เกิด คลอด (เปนคำราชาศัพท) 8. คุณความดีที่ไดบำเพ็ญมา, คุณสมบัติที่ทำใหยิ่งใหญ 9. คนที่เปนสัมมาทิฐิ, คนที่มีความเห็นชอบตามทำนองคลองธรรม 10. เคลื่อน, เปลี่ยนสภาพจากกำเนิดหนึ่งไปเปนอีกกำเนิดหนึ่ง (มักใชแกเทวดา)


68 เฉลย ใบงานที่ 1 การเขียนคำศัพทกับความหมาย ชื่อ ชั้น เลขที่ คำชี้แจง ใหนักเรียนวง รอบคำในตารางอักษรปริศนา จากนั้นเขียนคำลงในชองวางใหตรงกับความหมายที่ กำหนด ด ข พ ร ะ ทั ย จ บ ะ ย จ พ ำ ล ร ฟ ก า เ า บ ทิ พ ย เ น ต ร พ อ อ ป แ ใ ห สั ไ มี ผ า ฝ ฏิ ถ อั บ ป า ง า นุ ร ส ป ะ ำ ปุ ส ฉ ง ภ แ น โ จุ ติ รุ ด วี ม า เ ธิ ท ไ ภ ษ า ช ว พ ฟ น ำ ป ร ะ สู ติ ใ 1. ผิวกาย ฉวี 2. เกิดในทอง, ถือกำเนิด ปฏิสนธิ 3. ใจ (เปนคำราชาศัพท) พระทัย 4. อำนาจ, ฤทธิ์เดช, ความยิ่งใหญ อานุภาพ 5. ลม, จม, แตก (ใชแกเรือเดินทะเล) อับปาง 6. ตาทิพย คือ จะดูอะไรเห็นไดทั้งหมด ทิพยเนตร 7. การเกิด การคลอด เกิด คลอด (เปนคำราชาศัพท) ประสูติ 8. คุณความดีที่ไดบำเพ็ญมา, คุณสมบัติที่ทำใหยิ่งใหญ บารมี 9. คนที่เปนสัมมาทิฐิ, คนที่มีความเห็นชอบตามทำนองคลองธรรม สัปปุรุษ 10. เคลื่อน, เปลี่ยนสภาพจากกำเนิดหนึ่งไปเปนอีกกำเนิดหนึ่ง (มักใชแกเทวดา) จุติ


69 ใบงานที่ 2 การแตงประโยค ชื่อ ชั้น เลขที่ คำชี้แจง ใหนักเรียนแตงประโยค และจำแนกสวนประกอบของประโยคตามหัวขอที่กำหนด เฉลย ใบงานที่ 2 การแตงประโยค 1. ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อใด 2. ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อใด 3. ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อใด ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อใด 1. ใคร ทำอะไร อยางไร 2. ใคร ทำอะไร อยางไร 3. ใคร ทำอะไร อยางไร ใคร ทำอะไร อยางไร


70 ชื่อ ชั้น เลขที่ คำชี้แจง ใหนักเรียนแตงประโยค และจำแนกสวนประกอบของประโยคตามหัวขอที่กำหนด 1. นักเรียนนั่งเลนใตตนไมตอนสี่โมงเย็น ใคร นักเรียน ทำอะไร นั่งเลน ที่ไหน ใตตนไม เมื่อใด ตอนสี่โมงเย็น 2. ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อใด 3. ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อใด ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อใด 1. ปานอยทำกับขาวมื้อละ 3 อยาง ใคร ปานอย ทำอะไร ทำกับขาว อยางไร ทำกับขาวมื้อละ 3 อยาง 2. ใคร ทำอะไร อยางไร 3. ใคร ทำอะไร อยางไร ใคร ทำอะไร อยางไร


71 ใบงานที่ 3 การเขียนเรื่องจากภาพ ชื่อ ชั้น เลขที่ คำชี้แจง : ใหเขียนเรื่องตามจินตนาการของนักเรียน เรื่อง คะแนนที่ได........................./10 คะแนน


72 ใบงานที่ 4 การเขียนเรื่องจากภาพ ชื่อ ชั้น เลขที่ คำชี้แจง : ใหเขียนเรื่องตามจินตนาการของนักเรียน เรื่อง คะแนนที่ได........................./10 คะแนน


73 ใบงานที่ 5 การเขียนเรื่องจากภาพ ชื่อ ชั้น เลขที่ คำชี้แจง : ใหเขียนเรื่องตามจินตนาการของนักเรียน เรื่อง คะแนนที่ได........................./10 คะแนน


74 ใบงานที่ 6 การเขียนเรื่องจากภาพ ชื่อ ชั้น เลขที่ คำชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคำถามตอไปนี้


75 ใบงานที่ 7 การเขียนเรื่องจากภาพ ชื่อ ชั้น เลขที่ คำชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคำถามตอไปนี้


76 ใบงานที่ 8 การเขียนเรื่องจากภาพ ชื่อ ชั้น เลขที่ คำชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคำถามตอไปนี้


77 ใบงานที่ 9 การเขียนเรื่องจากภาพ ชื่อ ชั้น เลขที่


78 เฉลย ใบงานที่ 9 การเขียนเรื่องจากภาพ ชื่อ ชั้น เลขที่


79 ใบงานที่ 10 การเขียนเรื่องจากภาพ ชื่อ ชั้น เลขที่ คำชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคำถามตอไปนี้ 1. นักเรียนคิดวา การจินตนาการเปนเรื่องเพอฝน ไรสาระหรือไม เพราะเหตุใด 2. การเขียนเรื่องจากประสบการณ กับการเขียนเรื่องตามจินตนาการมีความเหมือนกันหรือแตกตางกันอยางไร 3. นักเรียนคิดวา การเขียนลักษณะใดที่จัดเปนงานเขียนเรื่องตามจินตนาการ 4. นักเรียนคิดวา การเขียนเรื่องตาม จินตนาการมีประโยชนตอตัวผูเขียนอยางไร


80 เฉลย ใบงานที่ 10 การเขียนเรื่องจากภาพ ชื่อ ชั้น เลขที่ คำชี้แจง : ใหนักเรียนตอบคำถามตอไปนี้ 1. นักเรียนคิดวา การจินตนาการเปนเรื่องเพอฝน ไรสาระหรือไม เพราะเหตุใด (พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน) 2. การเขียนเรื่องจากประสบการณ กับการเขียนเรื่องตามจินตนาการมีความเหมือนกันหรือแตกตางกันอยางไร (แตกตางกัน เพราะการเขียนจากประสบการณจะเขียนจากเรื่องราวที่เกิดขึ้นจริง สวนการเขียนเรื่องตาม จินตนาการจะเกิดจากการสรางจินตนาการเปนเรื่องราวตางๆ ของผูเขียน) 3. นักเรียนคิดวา การเขียนลักษณะใดที่จัดเปนงานเขียนเรื่องตามจินตนาการ (พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน) 4. นักเรียนคิดวา การเขียนเรื่องตาม จินตนาการมีประโยชนตอตัวผูเขียนอยางไร (พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)


81 แบบทดสอบ ชื่อ ชั้น เลขที่ คำชี้แจง : ใหนักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว 1. การเขียนเรื่องตามจินตนาการ จะตองปฏิบัติในขอใด เปนอันดับแรก ก. ตั้งชื่อเรื่อง ข. ลำดับเหตุการณ ค. วางเคาโครงเรื่อง ง. กำหนดชื่อตัวละคร 2. ขอใดไมใชการเขียนเรื่องตามจินตนาการ ก. การเขียนนิทาน ข. การเขียนเรื่องสั้น ค. การเขียนนวนิยาย ง. การเขียนขาวอาชญากรรม 3. ขอใดคือการคาดคะเนเรื่องราว และเหตุการณ ก. การกลาวถึงเรื่องในอดีตที่ผานมาแลว ข. การกลาวถึงสถานการณปจจุบัน ค. การคาดเดาเหตุการณลวงหนา โดยใชหลักการและ เหตุผล ง. การทำนายเหตุการณในอนาคต โดยใชหลักไสยศาสตร 4. ขั้นตอนใด ไมใชการเขียนเรื่องตามจินตนาการ ก. คิดเรื่องที่ตองการ ข. คัดลอกเรื่องที่ตองการ ค. เรียบเรียงเรื่องใหไดใจความ ง. เขียนโครงเรื่องที่ตองการเขียน 5. ขอใดเปนประโยคคำถามที่ไมตองการใหตอบ แตมีเจตนา ใหปฏิบัติตาม ก. หามเดินลัดสนาม ข. อยาลอกการบานกัน ค. เธอเลี้ยงแมวอยางไร ง. คุณขับรถชาๆ ไดไหม 6. การเขียนเรื่องตามจินตนาการ ควรปฏิบัติขอใดเปนสิ่ง แรก ก. คิดเรื่องที่จะเขียน ข. ศึกษา รวบรวมขอมูล ค. เขียนแผนภาพโครงเรื่อง ง. ปรับปรุงแกไขงานเขียน 7. การเขียนเรื่องจากคำที่ดี ควรมีลักษณะอยางไร ก. มีเอกภาพ และมีสารัตถภาพ ข. มีเอกภาพ และมีสัมพันธภาพ ค. มีสารัตถภาพ และมีสัมพันธภาพ ง. มีสารัตถภาพ มีเอกภาพ และมีสัมพันธภาพ 8.องคประกอบใดของเรียงความที่สามารถดึงดูดความ สนใจของผูอานไดมากที่สุด ก. คำนำ ข. เนื้อเรื่อง ค. สรุป ง. คำนำ และสรุป 9.การเขียนเรียงความในสวนสรุป ไมควรมีลักษณะใด ก. ใชภาษากระชับ ข. สรุปความคิดและความตองการ ค. เสนอขอคิดเห็นหรือแนวทางการปฏิบัติ ง. นำเสนอประเด็นใหมๆ ที่นาสนใจเพิ่มเติม 10. ขอใดเปนขั้นตอนสุดทายในการเขียนกรอกแบบรายการ ก. อานรายละเอียดใหเขาใจ ข. กรอกขอมูลตางๆ ใหชัดเจน ค. เขียนลายมือชื่อ หรือลายเซ็น ง. ตรวจสอบความถูกตองตัวสะกด เฉลย 1. ค 2. ง 3. ค 4. ข 5. ง 6. ก 7. ง 8. ก 9. ง 10. ค


82 แบบประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงคของนักเรียน ประกอบหนวยการเรียนรูที่ 1 แผนการเรียนรูที่ 1 คำชี้แจง ครูสังเกตพฤติกรรมการเรียน และการปฏิบัติงานของนักเรียน แลวขีด ใหคะแนนลงในชอง ที่ ตรงกับพฤติกรรมของนักเรียน เลข ที่ คุณลักษณะที่ประเมิน ความสนใจ และ ใฝรู ใฝเรียน ความซื่อสัตย ความมี ระเบียบ ความรับผิด ชอบ ตองาน การตรงตอเวลา ในการทำงาน สรุปผล การ ประเมิน 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 1 5 ผาน /ไม ผาน 1 1 5 ผาน 2 1 3 ผาน 3 1 3 ผาน 4 1 4 ผาน 5 1 3 ผาน 6 1 4 ผาน 7 1 4 ผาน 8 1 4 ผาน 9 1 5 ผาน 10 1 4 ผาน


83 เลข ที่ คุณลักษณะที่ประเมิน ความสนใจ และ ใฝรู ใฝเรียน ความซื่อสัตย ความมี ระเบียบ ความรับผิด ชอบ ตองาน การตรงตอเวลา ในการทำงาน สรุปผล การ ประเมิน 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 1 5 ผาน /ไม ผาน 11 1 5 ผาน 12 1 4 ผาน 13 1 4 ผาน 14 1 4 ผาน 15 1 4 ผาน 16 1 5 ผาน 17 1 3 ผาน 18 1 4 ผาน 19 1 5 ผาน 20 1 4 ผาน 21 1 4 ผาน 22 1 4 ผาน


84 เลข ที่ คุณลักษณะที่ประเมิน ความสนใจ และ ใฝรู ใฝเรียน ความซื่อสัตย ความมี ระเบียบ ความรับผิด ชอบ ตองาน การตรงตอเวลา ในการทำงาน สรุปผล การ ประเมิน 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 1 5 ผาน /ไม ผาน 23 1 5 ผาน 24 1 5 ผาน 25 1 4 ผาน เกณฑการประเมิน ผูที่ผานเกณฑประเมินตองไดคะแนน 12 คะแนนขึ้นไป ถือวาผาน ลงชื่อ ผูประเมิน (นางสาวพรสวรรค โกศล)


85 แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล ชื่อ ชั้น เลขที่ คำชี้แจง : ใหผูสอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวางเรียนและนอกเวลาเรียน แลวขีด ลงในชองที่ ตรงกับระดับคะแนนที่กำหนด ลงชื่อ...................................................ผูประเมิน เกณฑการใหคะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอยางสม่ำเสมอ ให 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบอยครั้ง ให 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให 1 คะแนน เกณฑการตัดสินคุณภาพ ชวงคะแนน ระดับคุณภาพ 12 - 15 ดี 8 - 11 พอใช ต่ำกวา 8 ปรับปรุง ลำดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 1 การแสดงความคิดเห็น 2 การยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น 3 การทำงานตามหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย 4 ความมีน้ำใจ 5 การตรงตอเวลา รวม


86 คำชี้แจง : ใหผูสอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวางเรียนและนอกเวลาเรียน แลวขีด ลงในชองที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดับ ที่ ชื่อ–สกุล ของนักเรียน การแสดง ความ คิดเห็น การ ยอมรับ ฟงคนอื่น การ ทำงาน ตามที่ ไดรับ มอบหมาย ความมี น้ำใจ การมี สวนรวม ในการ ปรับปรุง ผลงาน กลุม รวม 15 คะแนน 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 1 ด.ช.เฉลิมพล คลองแคลว 2 ด.ช.ชยพล เรือง ไพศาล 3 ด.ช.ณัฐภูมิ พันธุ รัตน 4 ด.ช.ศุภกร นิโรรัมย 5 ด.ช.ศิวัช ลิ้มวชิร อาทร 6 ด.ญ.เกวริน นามไพร 7 ด.ญ.ชลธิชา ลูนนู 8 ด.ญ.นิชาพัฒน ทอง สะอาด 9 ด.ญ.ศิริลักษณ ตะกรุดเพ็ชร 10 ด.ญ.กัญญาพร แห ลมไธสง 11 ด.ช.ชยพล หาสูง 12 ด.ช.ปราญชล มีแกว 13 ด.ช.ปญญากร ชุมตรี นอก


87 14 ด.ช.พีรภัทร ดวง ใหญ 15 ด.ช.พุฒิภัทร สกุล ทอง 16 ด.ญ.ปณณพร สุข สอน 17 ด.ช.อาทิตย อริย พงศสวัสดิ์ 18 ด.ช.ณภัทร มาสีปา 19 ด.ญ.กชพรรณ ละดา พัน 20 ด.ญ.สุพรรษา ลาภ เจริญ 21 ด.ญ.สิฎฐิณิชา บุษบงค 22 ด.ช.ศิรวิชย แผวพล สง 23 ด.ญ.ศิรินภา หงษรุจิ โก 25 ด.ช.แสงบูรณ หัน จางสิทธิ์ ลงชื่อ...................................................ผูประเมิน เกณฑการใหคะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอยางสม่ำเสมอ ให 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบอยครั้ง ให 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให 1 คะแนน เกณฑการตัดสินคุณภาพ ชวงคะแนน ระดับคุณภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช ต่ำกวา 8 ปรับปรุง


88 แบบแสดงความคิดเห็นของผูทรงคุณวุฒิที่มีตอแบบทดสอบการประเมินผลตามจุดประสงค คำชี้แจง ขอใหทานผูเชี่ยวชาญไดกรุณาแสดงความคิดเห็นของทานที่มีตอแบบทดสอบการประเมินผลตาม จุดประสงคโดยใสเครื่องหมาย ( ) ลงในชองความคิดเห็นของทานพรอมเขียนขอเสนอแนะที่เปนประโยชน ในการนำไปพิจารณาปรับปรุงตอไป รายการขอความคิดเห็น ความคิดเห็น เหมาะสม ขอเสนอแนะ 1 ไมแนใจ 0 ไม เหมาะสม -1 1. ความสอดคลองเหมาะสมกับหลักสูตร 2. ความสอดคลองเหมาะสมกับธรรมชาติวิชา 3. ความสอดคลองเหมาะสมกับวัยของผูเรียน 4. ความสอดคลองเหมาะสมกับสภาพปจจุบันและ ปญหา 5. ความเหมาะสมตอกระบวนการพัฒนาผูเรียน 6. ความเหมาะสมของเนื้อหา 7. ความเหมาะสมของขนาดตัวอักษร 8. ความเหมาะสมของการใชภาษา 9. ความเหมาะสมกับความสนใจของนักเรียน 10.ความเหมาะสมของรูปแบบ ขอแสดงความขอบคุณอยางยิ่ง ............................................ (..............................................)


89 9.บันทึกหลังจัดการเรียนรู 9.1 ผลความรูที่เกิดขึ้นกับนักเรียน (K) นักเรียนรอยละ 84 มีความเขาใจในบทเรียนและ สามารถอธิบายเนื้อหาไดอยางถูกตอง และสามารถสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งปฏิบัติกิจกรรมตาม เนื้อหาการเรียนรูที่กำหนดใหไดอยางถูกตอง เกิดความรูความเขาใจที่คงทนคิดวิเคราะหได 9.2 กระบวนการ/สมรรถนะ (P) นักเรียนรอยละ 89 มีความสามารถในการเรียนรู บทเรียนและสามาถสรางแนวคิดจากกระบวนการสอนมาเปนความเขาใจของตนเองไดอยางดีมีทักษะการคิด วิเคราะหที่ดี และสังเคราะหความคิดจากความเขาใจของตนเองได 9.3 คุณลักษณะที่พึงประสงคของนักเรียน (A) นักเรียนรอยละ 92 มีวินัยในการเรียนรู มีความรับผิดชอบในการทำงานรวมกันและงานสวนตัวที่ไดรับมอบหมายจากครูผูสอน มีมารยาทใหหองเรียน ตั้งใจเรียน และใหความเคารพครูผูสอนขณะทำการเรียนการสอน ลงชื่อ............................................. (นางสาวพรสวรรค โกศล) ครูผูสอน ลงชื่อ............................................. (...................................................) หัวหนากลุมสาระฯ


Click to View FlipBook Version