The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชา-ความปลอดภัยในโรงแรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Narongdet Pinan, 2021-05-25 06:06:58

วิชา-ความปลอดภัยในโรงแรม

วิชา-ความปลอดภัยในโรงแรม

วิชา ความปลอดภัยในโรงแรม รหัสวิชา 20701-2001

........................................................................................................................................................................

เรยี บเรยี ง โดย ณรงคเดช ปนันท
ศศ.บ.การทองเทย่ี วและการโรงแรม

สารบัญ หนา
เรื่อง
1
ความปลอดภยั ในโรงแรม 4
อบุ ตั เิ หตใุ นโรงแรม-สาเหตอุ ุบัติเหตุที่เกิดข้นึ ในโรงแรม
การปองกันอนั ตรายจากการใชอ ปุ กรณไฟฟา 6
ระบบไฟฟา ในโรงแรม 11
แกส หุงตม 22
สารเคมี 30
การปองกันและการปฏบิ ัตติ นเมือ่ เกิดอัคคีภัย 35
การเขารว มการปฏบิ ตั ิงานกบั ทมี ผจญเพลงิ 44
การตรวจสอบความปลอดภยั ในโรงแรม
เครือ่ งหมายและสญั ญาลกั ษณค วามปลอดภัยทีใ่ ชในโรงแรม
การปฐมพยาบาลเบ้อื งตน
การดาํ เนินการเม่อื เกิดเหตกุ ารณฉ กุ เฉิน

ความปลอดภยั ในโรงแรม

มาตรการดานความปลอดภัยของโรงแรมและลูกคาที่มาใชบริการนับวามีความสําคัญตอการดําเนินธุรกิจ
โรงแรมในปจจุบันเปนอยางยิ่ง เพราะจะชวยปองกันความเสียหายของชีวิตและทรัพยสินของลูกคาและของ
โรงแรมเองท่ีอาจจะเกดิ ข้นึ ไดจ ากปจจัยตา งๆ ไดเ ปน อยางดี หากจะเกิดความเสียหายบางจากเหตุสุดวิสัยตางๆ
กจ็ ะไมเ สยี หายมากมายนัก

ในการดําเนินธุรกิจโรงแรมใหไดรับความนาเชื่อถือ และปองกันเหตุการณท่ีกอใหเกิดความเสียหายตอ
ธรุ กจิ โรงแรมควรจัดใหม ีมาตรการดา นความปลอดภยั ตา งๆ ของโรงแรมดังน้ี

กุญแจประตรู ะบบคยี การด

แมวาการใชกุญแจประตูหองพักแขกดวยระบบคียการดจะกลายเปนมาตรฐานใหมของธุรกิจโรงแรมไป
อยา งรวดเรว็ แตกย็ ังมโี รงแรมจาํ นวนไมน อยทีย่ ังไมไ ดน ํามาใชเพ่มิ ความปลอดภัยใหก บั ลกู คา ของตนเอง ระบบ
การปดประตูหองพักแขกในปจจุบันเปนระบบท่ีประกอบไปดวยชองสําหรับเสียบหรืออุปกรณสําหรับแตะบัตร
ทีม่ แี ถบแมเ หลก็ หรือหนวยความจาํ สาํ หรบั เก็บรหัสขอมูลอยูภายในบัตรเพ่ือใชเปนรหัสสวนตัวของลูกคาแตละ
คนท่ีใชในการเปดประตูหองพักของตนเองและเช่ือมโยงขอมูลกับระบบอ่ืนๆ ซึ่งระบบนี้สามารถท่ีจะเช่ือมโยง
ขอมูลไปสรู ะบบ PMS ไดโดยตรง

พนกั งานรกั ษาความปลอดภยั

โรงแรมควรมีพนักงานรักษาความปลอดภัยทค่ี อยสอดสองและตรวจตราโรงแรมอยูตลอดเวลา เพื่อปองกัน
เหตุรา ยตา งๆ ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ จากปจ จยั ตา งๆ ท้ังจากภายนอกและภายในโรงแรมเอง

กลอ งวงจรปด

ระบบกลองวงจรปดนับวาเปนอุปกรณสําคัญในการรักษาความปลอดภัยท่ีมีใชกันอยูโดยทั่วไป รวมทั้งการ
รักษาความปลอดภัยภายในโรงแรมท้ังหลายดวย การติดต้งั ระบบกลองวงจรปด ภายในโรงแรม นอกจากจะเปน
การปอ งกันเหตุอาชญากรรมทั้งหลายท่ีอาจจะเกิดขึ้นไดกับลูกคาท่ีมาพักภายในโรงแรมแลว ยังสามารถบันทึก
ขอ มลู ไวเพ่ือนาํ มาใชใ นภายหลังไดห ากพบวา เกดิ เหน็ การณท ่ผี ิดปกตขิ นึ้ ภายในโรงแรม โดยปกติแลวโรงแรมจะ
ตดิ ตัง้ ระบบกลองวงจรปด ไวใหครอบคลมุ พืน้ ทส่ี าธารณะที่บคุ คลท่ัวไปเขา ถงึ ได

สัญญาณเตอื นไฟไหม

โรงแรมที่ไดมาตรฐานในปจจุบันสวนใหญจะมีการติดต้ังอุปกรณตรวจจับเพลิงไหมและสัญญาณเตือนไฟ
ไหมไวใ นโรงแรมของตนเองโดยติดตั้งไวตามจุดสําคัญๆ ตางๆ ในขณะท่ีบางโรงแรมใชเทคโนโลยีที่ทันสมัยและ
ตดิ ต้ังอปุ กรณตรวจจับเพลิงไหมไวในหองพักแขกทกุ หอง และทุกพื้นท่ีของโรงแรมพรอมกับระบบน้ําดับเพลิงท่ี
จะทํางานไดโดยอัตโนมัติ และจะมีพนักงานคอยเฝาสังเกตุเหตุเพลิงไหมตลอด 24 ชั่วโมงเปนประจําทุกวัน
เพื่อใหส ามารถตอบสนองตอเหตเุ พลงิ ไหมทีอ่ าจจะเกดิ ขึ้นไดตลอดเวลา

อปุ กรณใ หสญั ญาณเตอื นเพลิงไหม Alarm Smoke

หัวสปริงเกอรด ับเพลงิ
ไฟสาํ รองฉกุ เฉิน

โรงแรมควรที่จะมีไฟฉุกเฉินติดตั้งไวตามจุดตางๆ ภายในบริเวณโรงแรม และสามารถใชในการใหแสง
สวางฉุกเฉินไดเ มื่อกระแสไฟฟา ดบั เพื่อปอ งกันเหตุโกลาหล หรือเหตุรายท่ีอาจจะเกิดขึ้นกับแขกท่ีมาพักภายใน
โรงแรม และของพนักงานภายในโรงแรมเอง บางโรงแรมอาจจะจัดใหมีไฟฉายท่ีมีระบบชารจไฟอัตโนมัติพรอม
ใชงานไวในหองพักแขก บางโรงแรมที่ต้ังอยูในบริเวณท่ีมีกระแสไฟฟาขัดของบอยๆ อาจจะมีเครื่องกําเนิด
ไฟฟาสํารองไวใชจ า ยกระแสไฟฟา ในบริเวณที่สาํ คัญ และอปุ กรณต า งๆ ภายในโรงแรมที่มีความสําคัญตอความ
ปลอดภัย ของลูกคาในยามฉุกเฉิน สําหรับโรงแรมที่มีขนาดใหญท่ีจัดสรางไดมาตรฐานจะจัดใหมีเครื่องกําเนิด
กระแสไฟฟาขนาดใหญไวภายในโรงแรม และสามารถเดินเคร่ืองใชงานไดโดยอัตโนมัติทันทีที่กระแสไฟฟาท่ี
จา ยมาจากภายนอกเกดิ เหตุขัดของทส่ี ามารถจา ยกระแสไฟฟาใหก ับทกุ สวนของโรงแรมเหมอื นปกติ
คูม ีอการปฏิบตั สิ าํ หรบั เหตฉุ กุ เฉิน
โรงแรมควรท่ีจะตองจัดทําแผนและคูมือการปฏิบัติของพนักงานโรงแรมสําหรับเหตุฉุกเฉินตางๆ ที่อาจจะ
เกิดขึ้นภายในโรงแรม และทําการฝกอบรมพนักงานตางๆ ภายในโรงแรมที่เก่ียวของกับแผนการปฏิบัติสําหรับ
เหตุฉุกเฉินตางๆ ใหมีความรู ความเขาใจ และสามารถปฏิบัติไดทันทวงทีโดยไมตองรอการส่ังการจากฝาย
บรหิ าร

ตนู ริ ภยั สวนตวั ในหอ งพักพกั แขก

เปน มาตรการดา นความปลอดภยั เก่ียวกับทรัพยสนิ ของแขกท่ีมาพักในโรงแรมเพม่ิ เตมิ ภายในหอ งพกั แขก
นอกเหนือไปจากการมีตูนริ ภยั สว นกลางไวใหบ รกิ ารแกลูกคา ของโรงแรมท่ีบรเิ วณ Front Office ของโรงแรม
ตูนริ ภัยสว นตวั ท่จี ัดไวภายในหอ งพักแขกควรทจ่ี ะมีขนาดทใ่ี หญเ พียงพอท่จี ะใสคอมพวิ เตอรแบบโนต บุคสไ ด
และมกี ารตง้ั ระหสั ลับสวนตัวสาํ หรับการปด และเปดไดด วยตนเอง

ระบบคยี ก ารด สําหรบั การใชง านลฟิ ทโ ดยสารของลูกคา

โรงแรมสามารถเพ่มิ มาตรการความปลอดภัยใหแ กลูกคา ท่ีมาใชบริการภายในโรงแรมโดยการติดต้ังระบบ
คยี ก ารดภายในลิฟทโ ดยสารของลกู คาท่ีใชโดยสารขึ้นไปยงั ช้ันทเี่ ปนหอ งพกั แขกที่สามารถเชื่อมโยงขอ มลู กบั
ระบบ PMS ของโรงแรม เพ่อื เปนการปอ งกันบุคคลภายนอกข้ึนไปยังบรเิ วณหองพกั ของแขกโดยไมไ ดร บั
อนญุ าต ซึง่ ลฟิ ทโดยสารทต่ี ดิ ตงั้ ระบบน้ีไวจะสามารถใชโ ดยสารขึน้ ไปยังชั้นทเ่ี ปนหองพกั แขกไดก ต็ อเมอ่ื ผใู ช
นาํ เอาคียการดที่ทางโรงแรมออกใหแ ละยังใชก ารไดอยสู าํ หรบั เปด หองพักแขกเสยี บเขาไปในชองหรอื แตะที่
อปุ กรณส ําหรบั อา นระหัสทีจ่ ัดไวแลวจงึ จะสามารถกดปมุ เลือกชนั้ ท่ีตองการขน้ึ ไปได

ทมี ผจญเพลิง

โรงแรมควรจัดตั้งทีมผจญเพลิงข้ึนภายในโรงแรมพรอมทั้งจัดเตรียมอุปกรณท่ีจําเปนตองใชในการผจญ
เพลิง โดยมีพนักงานของโรงแรมท่ีปฏิบัติหนาที่ในรอบตางๆ เขารวมทีมใหสามารถปฏิบัติหนาที่ในยามฉุกเฉิน
ไดตลอด 24 ช่ัวโมง และตองมีการฝกอบรมพนักงานเหลาน้ีในสามารถปฏิบัติหนาที่ท่ีไดรับมอบหมายได
ทันทที ันใด และควรมกี ารฝกซอ มและทดสอบความพรอมอยางสมํา่ เสมอ

เสน ทางอพยพ

โรงแรมตองจัดทําเสน ทางอพยพเม่อื เกดิ เหตฉุ ุกเฉินตา งๆ ที่มปี า ยและเคร่ืองหมายตางๆ ติดแสดงไวภายใน
โรงแรมใหเห็นไดอยางชัดเจนในยามปกติและในยามฉุกเฉินหรือเม่ือกระแสไฟฟาดับ ทั้งภาษาไทยและ

ภาษาองั กฤษ และจะตองไมมีการนาํ เอาส่ิงของใดๆ มาวางขวางไวในเสนทางอพยพท่ีทางโรงแรมกําหนดไว

ตลอดเวลา นอกจากน้ีจะตองมีแผนผังเสนทางอพยพและคําแนะนําใหลูกคาปฏิบัติในกรณีเกิดเหตุเพลิงไหม
ตดิ ตง้ั ไวภ ายในหอ งพักแขกทุกหอ งดวย

อุปกรณดับเพลิง

โรงแรมตองจัดใหมีอุปกรณดับเพลิงท่ีพรอมใชงานไดตลอดเวลาติดต้ังไวในจุดท่ีสามารถมองเห็นและนํา
ออกมาใชงานไดในทันทีที่เกิดเหตุ และควรมีอุปกรณสําหรับดับเพลิงชนิดตางๆ เตรียมไวในหองครัวท่ีใช
สําหรับประกอบอาหารท่ีใชแกสเปนเชื้อเพลิง รวมถึงผาคลุมดับไฟแบบฉุกเฉินที่อาจจะเกิดขึ้นไดจากการใช
น้าํ มันในการประกอบอาหารดว ย

นอกจากมาตรการดานความปลอดภัยท่ีกลาวมาขางตนแลว ยังมีรายละเอียดปลีกยอยอยูอีกเปนจํานวน
มากท่ีผูบริหารโรงแรมควรจะศึกษาเพ่ิมเติมอยางละเอียดถ่ีถวน เพราะหลายๆ ประการมีการบัญญัติไวใชเปน
กฎหมายในการดําเนินธุรกิจโรงแรมในบานเราที่ตองปฏิบัติตาม และหลายๆ ประการเปนกฎหมายท่ีมีการ
บังคับใชในตางประเทศ แตก ็มผี ลตอการสงลูกคามาใชบรกิ ารโรงแรมตางๆ ภายนอกประเทศเหลา น้นั ดวย

หนว ยท่ี 1
อบุ ัติเหตุในโรงแรม และ สาเหตุท่ีเกดิ อุบตั เิ หตุในโรงแรม
เราสามารถแยกประเภทของอุบตั ิเหตใุ นสาํ นักงานไดเ ปน 7 ประเภท ดังน้ี

1. การพลดั ตกหกลม
เปนอุบัติเหตุท่ีผูปฏิบัติงานในสํานักงานประสบมากที่สุด แตมักจะละเลยจนดูเปนเรื่องธรรมดาและไมคอยไดมี
การบันทึกไว ดังน้ันหากมีการสอบสวนอุบัติเหตุ สามารถบันทึกการสูญเสียอยางละเอียดแลว จะพบวาอัตรา
การเกดิ อบุ ตั เิ หตทุ ่เี กิดจากการพลดั ตกหกลมจัดไดเ ปน 3 ลกั ษณะดังนี้

1.1 การล่นื หรือการสะดุดหกลม
ลักษณะท่ีเกิดจะมีทั้งลื่นลมในพ้ืนที่ หรือพ้ืนท่ีปูพรม ตรงตําแหนงรอยตอของพรม การสะดุดหกลมมักจะเกิด
จากมีส่ิงของวางขวาง หรือมีสายไฟหอยไวระเกะระกะ เชน สายไฟจากปลั๊กตอที่พ้ืนหรือเตาเสียบ หรือสายไฟ
ที่ลากยาวไปตามพ้ืน โดยมิไดติดเทป มักทําใหมีการเตะหรือสะดุดหกลม โดยเฉพาะบันไดข้ึนลง อาจมีการลื่น
และสะดุดหกลมเสมอ ๆ ผูปฏิบัติงานที่เปนพนักงานสาว ๆ มักใสรองเทาสนสูง ซึ่งอาจเปนตนเหตุทําใหเกิด
การสะดุดและหกลมได

1.2 เกาอีล้ ม
มักจะเกิดขึ้นจากการที่ผูปฏิบัติงานนั่ง หรือเล่ือนเกาอี้ที่หมุน โดยการใชเทาดันออกใหไหลล่ืนแรงเกินไป ใน
บางกรณีเกิดจากการเอนไปขางหลังมากเกินไปจนเกิดการหงายไปขางหลัง บางครั้งผูปฏิบัติงานใชเทาพาดบน
โตะ และเกิดความไมสมดุลย จากการเอียงตัว บางคร้ังพบวาผูปฏิบัติงานใชเกาอี้โดยไมสมดุลย ทําใหเกาอ้ี
เลื่อนหนแี ละรางกายผูปฏิบตั งิ านจะลม ตกจากเกาอี้

1.3 การตกจากท่ีสงู
มักจะมสี าเหตุจากการยนื บนโตะหรือเกาอที้ ีไ่ มสมดุลย หรือไมมั่นคง เชน เกาอี้มีลอ โตะหรือกลองที่วางรองรับ
ไมแข็งแรง เมื่อผูปฏิบัติงานยืนข้ึนไปหยิบของลงมาอาจทําใหผูปฏิบัติงานหกลมตกลงมาเปนอันตรายได ใน
สถานท่บี างแหงเปด ชอ งไว แลว ไมปด ใหเ รยี บรอย ผปู ฏบิ ตั งิ านอาจพลาดตกลงไปเปน อนั ตราย

2. การยกเคลอ่ื นยายวัสดุ
ผูปฏิบัติงานอาจตองยกของซ่ึงใชทาทางการทํางานท่ีผิดวิธี โดยไมไดรับการฝกอบรมการจัดขั้นตอน

หรอื กระบวนการทํางานที่ไมเ หมาะสม ทาํ ใหผปู ฏบิ ัตงิ านตองเอ้ือมหรือเขยงจนกอใหเกิดอุบัติเหตุและอันตราย
ได การยกน้ําหนักมากเกินกวามาตรฐานท่ีกําหนดกอใหเกิดการหักงอของกระดูกสันหลัง ซ่ึงเปนตนเหตุทําให
เกิดอาการปวดหลงั ปวดไหล อาการกดทบั ของประสาท
3. การถกู ชนหรือชนกบั สิ่งของ

ในบางพื้นที่แคบหรือในมุมอับจะพบวา ผูปฏิบัติงานมักจะไมสามารถหลีกเล่ียงการชนกัน หรือชนกับ
สง่ิ ของควรจะจัดพ้นื ท่ีเพอื่ ความเหมาะสม ทั้งจัดกระจกเงาติดตําแหนง แยกทางเพือ่ ปอ งกนั การชน
4. การทวี่ ัตถตุ กลงมากระแทก

วัตถุที่ตกมักจะวางอยูในตําแหนงที่สูง และไมม่ันคง เม่ือเกิดการส่ันสะเทือนจะมีการขยับและเลื่อน
ตําแหนง เปนเหตุใหมีการตกหรือหลนลงมาถูกศีรษะของผูปฏิบัติงานท่ีอยูดานลาง การเปดลิ้นชักของตูเก็บ
เอกสาร ผูปฏิบัติงานบางคนมักจะเปดลิ้นชักคางไวและไปหาเอกสารในช้ันอื่นตอไปเร่ือย ๆ ปริมาณเอกสารที่
มากจะไหลมาอยใู นทศิ ทางเดยี วกันทําใหต ูเกบ็ เอกสารขาดการสมดลุ ยลมลงมาทับหรอื กระแทกผูปฏิบัตงิ าน
5. การถกู บาด

อุปกรณสํานักงานบางอยางจะมีความคมเชน คัตเตอรตัดกระดาษผูปฏิบัติงาน หลายคนไมทราบ
วิธีการใชอุปกรณเหลานี้อยางถูกตองทําใหเกิดการบาดเจ็บ แมกระทั่งกระดาษท่ีใชกับเครื่องถายเอกสารก็มี
ความคม ขณะที่ผูปฏบิ ัติงานกดี กระดาษบางคร้ังจะถูกกระดาษบาดจนเลือดออกได

6. การเกยี่ วและหนบี
ในบริเวณที่ปฏิบัติงาน บางคร้ังจะพบวามีการจัดวางของซ่ึงยื่นออกมาจนมีการเก่ียวผูปฏิบัติงานได

บางครั้งจะพบผูปฏิบัติงานถูกประตู หนาตาง หรือตูหนีบจนเกิดการบาดเจ็บ ตลอดจนการแตงตัวของ
ผูปฏบิ ตั งิ าน

7. อคั คีภยั
จะถือวาเปนอุบัติเหตุประเภทที่รุนแรงที่สุด และทุกคนในสํานักงานก็จะตระหนัก ตื่นเตน กับ

อคั คภี ยั ท่ีเกิดเสมอ ดังนน้ั การฝกปฏิบตั ิ การฝกซอ มการปองกนั และระงบั อคั คีภัยและการอพยพผูปฏิบัติงานใน
สาํ นักงานจงึ มีความจาํ เปน

หนว ยท่ี 2
การปองกนั อันตรายจากการใชอุปกรณไ ฟฟา

ระบบไฟฟา ในโรงแรม
เครอื่ งปรบั อากาศ
เครือ่ งดูดฝนุ
เครอื่ งทาํ นํา้ อนุ
ชกั โครกกดอันโนมัติ
ระบบคอนโทรลไฟฟา ในหองพกั

แกสหงุ ตม
การใชกาซหุงตมกาซหุงตมเปนเช้ือเพลิงท่ีไวไฟมาก ถูกเก็บไวในภาชนะ โดยการอัดใหเปนของเหลว

ภายใตความดันสูง ภาชนะและอุปกรณ จึงตองรับแรงดันของกาซไดโดยปลอดภัย ดังนั้น จึงควรมีความรู
เก่ียวกับอุปกรณ และวธิ ีการใชก า ซอยางถูกวิธี
อคั คีภยั จากกา ซเกิดข้ึนไดเ มือ่
- มีกา ซร่วั
- ผสมกบั อากาศ
- มเี ปลวไฟ หรือ ประกายไฟ
เหตกุ ารณท ้ัง 3 อยา งน้ี หากเกิดข้ึนตอ เนื่องกนั จะทาํ ใหเ กิดไฟไหม และอาจมกี ารระเบดิ
การปอ งกันกา ซรัว่
1. เลือกใชถังกา ซ อุปกรณ และทอกาซใหไดม าตรฐาน
2. ภายหลังการใช ใหป ด วาลวทถี่ ัง และทีเ่ ตากาซ
3. หมัน่ ตรวจสอบบรเิ วณขอ ตอ ของอุปกรณ และทอกา ซ โดยใชน ํ้าสบูลูบ เพือ่ ใหมั่นใจวา ไมม รี อยร่ัว

จะทําอยา งไรเมอ่ื กา ซรวั่
- เมื่อกาซร่ัวจะไดกลนิ่ เหม็นของกา ซ
- รีบปด วาลวกาซที่หวั ถังและทเ่ี ตากาซ
- หามเปด หรอื ปด อุปกรณไฟฟาทกุ ชนิดโดยเดด็ ขาด
- ดบั เปลวไฟ และหามทาํ ใหเกดิ ประกายไฟในบรเิ วณใกลเ คียง
- เปด ประตหู นาตางทุกบาน เพ่อื ระบายกาซออกโดยเร็ว หามใชพ ัดลมชว ยระบาย

อากาศโดยเดด็ ขาด ควรใชพ ัดไลก า ซออกไป
- ตรวจสอบหารอยร่วั โดยใชนาํ้ สบู

สารเคมี
Window Clean น้ํายาเชด็ กระจก
Shine Up นาํ้ ยาเชด็ ฝนุ เช็ดฟอนเิ จอร
Spectum นาํ้ ยาฆาเชื้อ
Jasmine Flesh น้ํายาลางหอ งนาํ้ ฆา เชอ้ื และดับกลิน่ (สว นใหญใ ชขัดชักโครก)
Elegance DC นํ้ายาลางหอ งนํา้ ฆา เชื้อแบคทีเรยี (สว นใหญใ ชข ดั พ้ืนหอ งนํา้ )
3M Liquid Soap and Clean Soft สบเู หลวลา งมือ
Forward Dc นา้ํ ยาลางหอ งน้ําขจัดคราบ
Aroma Sense น้ําหอมปรบั อากาศ

หนวยท่ี 3
การปองกันและการปฏิบัติตนเมอ่ื เกิดอคั คีภยั

อัคคีภัย หมายถึง ภยันตรายอันเกิดจากไฟที่ขาดการควบคุมดูแล ทําใหเกิดการติดตอลุกลามไปตาม
บริเวณ ที่มีเชื้อเพลิงเกิดการลุกไหมตอเนื่อง สภาวะของไฟจะรุนแรงมากข้ึนถาการลุกไหมท่ีมีเชื้อเพลิงหนุน
เน่อื ง หรือมี ไอของเชื้อเพลิงถกู ขบั ออกมามากความรอ นแรงก็จะมากย่ิงขึ้น สรางความสูญเสียใหทรัพยสินและ
ชวี ติ































หนว ยท่ี 5
การตรวจสอบความปลอดภยั ในโรงแรม







หลกั เกณฑการตรวจสอบอาคารโรงแรม

หลักเกณฑก ารตรวจสอบอาคาร ตามกฎหมายตรวจสอบอาคาร ป พ.ศ. 2558
ประเภทการตรวจสอบใหญ ประเภท อาคารโรงแรม (จํานวนหอ งพักต้งั แต 80 หอ งข้นึ ไปตอหลงั )
ระดับ 1 (เกณฑข น้ั ตํ่า)
****ขอบเขต****
1. เกณฑก ารตรวจสอบอาคารฉบับนี้ ออกตามความในกฎกระทรวงวาดวยหลักเกณฑการข้ึนทะเบียน เกณฑการตรวจสอบฯ
ขอ 18 (2) โดยเปนมาตรฐานทางราชการ
2. ปท่ที ําการตรวจสอบใหญใหเพิ่มสองแผน คือ แผนการบาํ รงุ รักษาระบบอปุ กรณแ ละแผนการตรวจสอบประจาํ ป
3. การตรวจสอบใชหลักการสังเกตดวยสายตาและใชประสาทสัมผัสของมนุษยที่มีความปลอดภัยตอผูตรวจสอบ อาจใช
เคร่ืองมือพื้นฐานประกอบการตรวจสอบได เชน ตลับเมตร เครื่องวัดแสง/เสียง และเครื่องวัดความเร็วลม การตรวจสอบ
อาคารนไี้ มใ ชการประกอบวิชาชพี ทางวศิ วกรรมหรือสถาปตยกรรม
4. หลักเกณฑจะตองไดรับการปรับปรุงเปนประจําใหเกิดความปลอดภัยในการใชงานดีข้ึนตามลําดับ ท้ังนี้ไมวาอาคารที่
ตรวจสอบนั้นจะตองปฏิบัติหรือไมปฏิบัติตามกฎหมายท่ีบังคับใชขณะกอสราง ซ่ึงมีเปาหมายเพียงคํานึงถึงเฉพาะความ
ปลอดภัยในการใชงานอาคารเทาน้นั
5. ผูตรวจสอบอาคารหรือผูใชเกณฑตรวจสอบฉบับน้ี ถือวาเปนผูมีความรูเรื่องขอกําหนดและเจตนารมณของมาตรฐานและ
กฎหมายดา นความปลอดภยั อยางดี และเปน ผูทมี่ เี กยี รตดิ วยการปฏิบัตวิ ิชาชพี อยา งเปนธรรม
6. ในแตละรอบปของการตรวจสอบใหญใหตรวจสอบอาคารอยางนอย 2 ครั้ง ขอเสนอแนะจากการตรวจสอบและการ
ปรับปรุงแกไขตามขอเสนอแนะ ใหผูตรวจสอบอาคารแสดงรายละเอยี ดไวใ นรายงานฉบบั สมบูรณดวย
7. ผูตรวจสอบอาคารตองตรวจสอบอาคารอยางนอยตามเกณฑในฉบับน้ี ระบบและอุปกรณที่ติดต้ังในอาคารแตไมได อยูใน
เกณฑก ารตรวจสอบฉบบั น้ีใหเ ปน การตกลงเฉพาะระหวางผูต รวจสอบอาคารกับเจาของอาคาร
8. หากเจาของอาคารไมสามารถแกไขตามขอเสนอแนะทันเวลา ใหผูตรวจสอบอาคารเขียนกําหนดการแลวเสร็จตาม
ความเหน็ รว มกับเจาของอาคาร และใหเ จา ของอาคารลงนามรบั รอง

9. ใหผ ูต รวจสอบทาํ การสํารวจภายในหองพักอยางนอ ย 1 หอง / 1 ชน้ั
***วตั ถปุ ระสงค* **
1.การตรวจสอบปน ี้จะมุงเนนเร่ืองความปลอดภยั ตอ ชวี ิตท้งั ชวี ติ ของผูใชอาคารและพนกั งานดบั เพลิงและกูภัยเปนสาํ คัญ
เพ่อื ใหอาคารมีสภาพความปลอดภัยในการใชงานตามวตั ถปุ ระสงคของกฎหมาย
2.การตรวจสอบปน้ีจะชวยลดผลกระทบตอสงิ่ แวดลอ ม
ระดบั 1 สอดคลอ งกฎหมายที่ขออนุญาตขอมูลอาคาร
1.ชื่ออาคาร...............................................................................................................................................................................
2.ที่อยู.......................................................................................................................................................................................
3.อาคารเร่ิมใชงานต้ังแต วัน/เดอื น/ป. ...................................................................................................................................
4.อาคารเขาขา ยประเภทใดทต่ี อ งตรวจสอบอาคาร
(ระบุมากกวา 1 ได) ................................................................................................................................................................
5.ขอ มูลกายภาพและการใชงานของอาคาร(ใหก รอกขอมลู เทา ทม่ี ี)
ก.จํานวนช้นั เหนือระดบั พืน้ ดิน (ไมร วมช้นั ลอย).............................ชัน้
ข.จํานวนชนั้ ใตระดับพนื้ ดนิ ...........................................................ชัน้
ค.ความสูงอาคาร .........................................................................เมตร
ง.พ้นื ที่อาคาร (ไมร วมท่จี อดรถ)....................................................ตารางเมตร
จ.พน้ื ที่จอดรถ ...............................................................................ฃตารางเมตร
มีจาํ นวน .........................................................................................ช้ัน
ฉ.จํานวนหอ งพัก/เตยี งท้ังหมด.......................................................หอง/เตยี ง
ช.จํานวนบันไดตอเน่อื งท้ังหมดทน่ี าํ คนออกสูช้ันพ้นื ดนิ ...................บนั ได
ซ.จาํ นวนลฟิ ต.................................................................................เครือ่ ง
ฌ.จาํ นวนบันไดเลอ่ื น......................................................................เครอ่ื ง
6.แบบ/เอกสารท่ใี ชตรวจ.......................................................................................................................................................
7.ลักษณะโครงสรา งอาคาร....................................................................................................................................................
8.มรี ะบบประกอบอาคาร ไดแก..............................................................................................................................................
9.มีระบบปอ งกันอคั คีภยั ไดแก. ................................................................................................................................................
10.วตั ถุอันตราย/เสย่ี งสูงที่ม(ี จํานวน/ปริมาณ/ทีเ่ ก็บ)...............................................................................................................

11.แบบขออนญุ าตกอ สรา ง..........มี .............ไมมี
12.พกิ ัดทีต่ ั้งอาคาร (ละติจดู ,ลองติจูด) ...................................................................................................................................
13.เลขทโี่ ฉนดที่ดิน .................................................................................................................................................................
14.ลกั ษณะกจิ กรรมการใชอ าคารในปจจบุ นั ...........................................................................................................................
รายละเอียดการตรวจสอบอาคาร
1.การตรวจสอบคร้ังที่แลวไดร บั ใบ ร.1 (ว/ด/ป) .................................................................................................................
โดยผตู รวจสอบหมายเลข...................................................................................................................................................
2.วันท่ตี รวจสอบครง้ั นี้ (ว/ด/ป) .......................................................................................................................................
3.ช่ือและรายละเอยี ดของผูตรวจสอบ
ก.................................................................................................................
ข.................................................................................................................
ง.................................................................................................................
หมวด 1 การตรวจสอบความม่ันคงแขง็ แรงของอาคาร
1.การตอเตมิ ดัดแปลงปรับปรุงตวั อาคาร
2.การเปลี่ยนแปลงนาํ้ หนกั บรรทกุ บนพ้นื อาคาร
3.การเปล่ียนสภาพการใชอาคาร
4.การเปลย่ี นแปลงวสั ดุกอ สรา งหรือวสั ดตุ กแตง อาคาร
5.การชํารุดสกึ หรอของอาคาร
6.การวบิ ัตขิ องโครงสรา งของอาคาร
7.การทรดุ ตัวของฐานรากอาคาร

การตรวจสอบความมนั่ คงแขง็ แรงขา งตน การสังเกต ดงั นี้
ก.ไมม ีรอ งรอยของการเสยี รูปองคอ าคาร
ก.ไมมีรอ งรอยการทรุดตัวแตกราว หรือผุกรอ น
ข.ไมมคี วามเสย่ี งของการหลุด ตกหลน ของสว นประกอบโครงการและอุปกรณอนื่ ๆ

ค.รปู ทรงอาคารอยูใ นลักษณะตั้งตรงแนวดิ่ง
หมวด 2 การตรวจสอบระบบและอปุ กรณป ระกอบของอาคาร
1.ระบบบรกิ ารและอํานวยความสะดวก

1.1 ระบบลฟิ ตร ะบบบันไดเลื่อนและทางเลอ่ื น
1.2 มปี ายคําเตอื นและแนะนําการใชง านเมื่อเกิดเหตขุ ัดขอ ง
2.มกี ารตรวจและบํารุงรกั ษาเปน ประจําทกุ ป
3.มีอุปกรณช วยเหลอื ขณะเกิดเหตุ หรือ ลฟิ ตคา ง
4.มรี ะบบเรียกลฟิ ตอัตโนมัตลิ งมาจอดในช้ันลา งหรือชั้นที่กําหนด

หนว ยท่ี 6
เครอ่ื งหมายและสัญลกั ษณความปลอดภัยท่ีใชในโรงแรม

เครือ่ งหมายและสเี พ่ือความปลอดภยั

11.1.1 เคร่อื งหมายเพอ่ื ความปลอดภัย ( Safety Signs )

มาตรฐาน กําหนดรูปเคร่ืองหมายเพ่ือความปลอดภัยเปน 3 แบบ ใหมีความหมายสัมพันกับการใชสี คือ วงกลม
หมายถงึ การหามและขอบงั คับ 3 เหลยี่ ม หมายถึง การเตือนสติ และ 4 เหล่ียม หมายถึงขอ มลู หรอื ขอ แนะนํา นอกจาก IOS
3864 ยังไดใหรายละเอียดทางวิชาการดานอื่นๆท่ีจําเปนตอการกําหนดขอปฏิบัติโดยท่ัวไป สําหรับผูปฏิบัติงานเกี่ยวของกับ
การออกแบบแลอุตสาหกรรมการผลิตสัญลักกษณเหลาน้ีเพ่ือใหเปนสากลและเปนที่ยอมรับรวมกันท่ัวโลก เครื่องหมายเพื่อ
ความปลอดภัยหรือปายเตือนความปลอดภัย ( Safety Poster ) มีไวเพื่อปองกันอุบัติเหตุ จําแนกเปนเครื่องหมายเพ่ือความ
ปลอดภัย และเครอ่ื งหมายเสริม ดังตอไปน้ี

1. การใชเครอ่ื งหมายเพือ่ ความปลอดภัย

1) เพื่อเตือนใหร ะวงั อันตรายท่จี ะเกิดขึ้นกับสุขภาพรางกาย

2) กําหนดใหใ สอปุ กรณปองกนั อนั ตรายสวนบคุ คล

3) แนะนําใหพงึ ปฏบิ ัตหิ รือละเวนการปฏิบตั ิเพ่ือวามปลอดภยั เคร่อื งหมายเสรมิ ความปลอดภยั

2. เคร่ืองหมายเสรมิ ความปลอดภัย

1) รูปแบบของเครือ่ งหมายเสรมิ เปน 4 เหลีย่ มผนื ผา หรือ 4 เหลยี่ มจตั ุรัส

2) มีพ้ืนใหใ ชสเี ดยี วกบั สีเพือ่ ความปลอดภยั และสีขอความใหใชส ีตดั หรือสพี ื้นใหใ ชสีขาวและสขี องขอความใหใ ชส ีดาํ

3) ตวั อกั ษรทใ่ี ชใ นขอความ
ก. ชอ งไฟระหวางตวั อักษรตอ งไมแ ตกตา งกนั มากกวารอ ยละ 10
ข. ลกั ษณะของตวั อกั ษรตองดเู รียบงาย ไมเ ขยี นแรเงาหรือลวดลาย
ค. ความกวางของตัวอักษรตองไมน อยกวา รอ ยละ 70 ของความสงู ของตวั อักษร

4) ใหแ สดงเคร่อื งหมายเสริมไวใ ตเครื่องหมายเพื่อความปลอดภัย

11.1.2 สเี พื่อความปลอดภยั และสตี ัด

สีเพื่อความปลอดภยั ความหมาย ตวั อยา งการใชงาน สตี ัด
1) เคร่อื งเหตุหยุด
สีแดง

หยดุ 2) เครอ่ื งหมายอุปกรณหยุดฉกุ เฉนิ สีขาว

3) เคร่ืองหมายหาม

สีนํา้ เงิน 1) บงั คบั ใหตองสวมเครือ่ งปองกัน
บังคับใหต อ งปฏบิ ัติ 2) เครื่องหมายบงั คับ

สีขาว

1) ทางหนี
สีเขียว 2) ทางออกฉุกเฉนิ

3) ฝกบวั ชําระลางฉุกเฉิน

แสดงภาวะความ 4) หนวยปฐมพยาบาล สีขาว
ปลอดภยั 5) หนว ยกูภยั

สเี หลอื ง 1) ช้ีบง วามีอันตราย เชน ไฟ วตั ถุ
ระเบดิ
ระวงั มีอนั ตราย สขี าว
2) ชบ้ี ง ถงึ เขตอันตราย ทางผา นทม่ี ี
อันตราย เคร่ืองกดี ขวาง
เครอื่ งหมายเตือน

ตวั อยา งเคร่อื งหมายท่พี บในโรงแรมบอ ย

หนว ยที่ 7
การปฐมพยาบาลเบื้องตน

“เทคนคิ การรบั มอื กบั เหตฉุ กุ เฉินจากผเ ขาพกั ภายในโรงแรมู”

(Techniques for Coping with Emergencies of the Guests in the Hotel)

จากท่ีผูจัดทํา ไดเขามามีสวนในการปฏิบัติงาน ณ บริษัทเจ นคระพัฒนาท่ีดิน จํากัดหรือในนาม โรงแรมแก
รนดฮาวเวิรด ในแผนกFront Office และไดรับหนาทีใ่ นตําแหนง พนักงานตอนรบั Guest Service
Officer ดังนการจดั ทําโครงงานเร่อื งเทคนิคการรบั มอื กบเหตฉุ ุกเฉนิ จากผเู ขาพกั ภายในโรงแรม”“ จึงมี
จุดประสงคเพ่อื เปน การศึกษาขอ มลู และข้ันตอนในการจัดการหรอื รบั มือกับสถานการณฉ ุกเฉินตางๆท่ี เกดิ ขนึ้ กบผูเ ขา
พกั ภายในโรงแรมโดยหนาที่การทาํ งานในแผนกFront Office มดี ังนี้

พนกั งานตอ นรบั (Guest Service officer) จะตองทาํ การตอนรับผเู ขาพกั ทเี่ ดินเขามาในโรงแรมซ่ึง พนักงานตอนรับ
จะเป นบุคคลแรกท่ีผูเขาพักพูดดวยโดยพนักงานตอนรับจะตองทักทายและใหการตอนรับผูเขา พักลงทะเบียนผูเขาพักและ
จัดแจงหองใหกุญแจและทําการCheck out รวมการตอบขอซักถามและจัดการ เกี่ยวกบเรื่องที่ผูเขาพักสงสัยัรวบรวมขอมูล
เกี่ยวกบค่ัาใชจายดานอาหารและเครื่องดื่มจากหองอาหารและบาร ตลอดจนคาใชจายท่ีเก่ียวกับการซักรีดเปนตนและ
นอกจากนีอาจจะตองคิดตอประสานงานกับแผนกอื่นๆ ใน เรื่องตาง ๆ ท่ีเก่ียวกับแขกดวยซึ่งผูจัดทําไดมีหนาทCี่ heckin,ทํา
การCheck out ประสานงานกับแผนกอ่ืนๆพรอมทังชวยเหลือพนักงานในการแกไขสถานการณฉุกเฉินตางๆ ที่เกิดกับผูเขา
พกั และชวยเหลือและใหข อ มูล แกผ ูเขา พกั ในเบอื งตนซ่ึงไดพ บเจอปญหาหรอื เหตุการณฉ ุกเฉนิ ดังน้ี

เหตุฉกุ เฉนิ ในกรณที ผี่ เ ขา พกั ลืมทรัพยส นิ ในเวลาเรง ดวน

วธิ ีการแกไ ขสถานการณฉุกเฉนิ

• ประสานงานกบพนกั งานรักษาความปลอดภัย (รปภ.) ใหแจงกบพนักงานขับรถและเลอ่ื นเวลา ออก
เดินทาง

• ประสานงานกบไกดห รือหัวหนา ทวั รแ จงหมายเลขหองผเู ขา พกั ทลี่ ืมของและของทีล่ ืมใหผ ู เขา พัก
ทราบอยางเรว็ ทส่ี ุด

• นาํ ของไปคืนใหถึงมอื ผูเขา พัก

วิธกี ารสอ่ื สารในสถานการณฉ กุ เฉิน
เหตฉุ ุกเฉนิ ในกรณีท่ีผเ ขา พกั ทํารา ยตัวเองู

เปน เหตุฉกุ เฉนิ ท่สี วนใหญแลว พบในหอ งพกั และแผนกHouse Keeping(แมบา นประจาํ ชัน)จะแจง เรอ่ื งมา
ใหแ ผนกFront Office และ GSO จะตองแกปญ หาใหทันทวงที

วิธีการแกไ ขสถานการณฉกุ เฉนิ
-แจง หวั หนา งานใกรณที ี่จะตอ งใช( Emergency Key ในการเปดประตู)
-ประสานงาน รปภ.ใหข ึน้ ไปชว ยหามผูเขา พักใหห ยุดพฤตกิ รรมทาํ รายตนเอง
-โทรแจง หนวยฉกุ เฉนิ 1669
-ปฐมพยาบาลเบอื งตน ใหก บผูเขา พัก(ในกรณีที่ผูเขา พักยนิ ยอม)
-พูดคยุ กบผูเขา พกั ใหใจเย็นลงและเบี่ยงเบนความสนใจจากการทาํ รายตวั เอง
-นําสงโรงพยาบาลใกลเ คียงทนั ที

เหตุฉกุ เฉนิ ในกรณีทผ่ี เ ขา พกั ทํารา ยผอู ่นื ู
เปนเหตุฉุกเฉินทส่ี วนใหญแลว พบในหองพกั และแผนกHouse Keeping(แมบา นประจําชัน)จะแจง เรอื่ งมา

ใหแผนกFront Office และ GSO จะตองแกปญ หาใหทันทวงที

วธิ ีการแกไ ขสถานการณฉ กุ เฉนิ
-แจงหัวหนา งานใกรณีทีจ่ ะตอ งใช( Emergency Key ในการเป ดประตู)
-ประสานงาน รปภ.ใหเขาไปชว ยหามผเู ขา พักใหหยดุ พฤตกิ รรมนั
-ใหความชว ยเหลอื ปฐมพยาบาลเบอื งตนแกผูทีถ่ กู ทําราย
-พูดคุยกบผเู ขา พักใหอารมณเย็นลง

เหตุฉุกเฉนิ ในกรณที ผ่ี เ ขา พกั ถูกทาํ รา ยรา งกาย
เปนเหตฉุ กุ เฉินทีพ่ บนอ ยมากใบรเิ วณโรงแรมแตจ าํ เปนจะตอ งศกึ ษาไวเพอื่ เปน แนวทางการรบั มือ และแกไ ข

ปญหาตอ ไป
วิธกี ารแกไขสถานการณฉุกเฉิน

-จะตอ งประสานงานกับแผนกรักษาความปลอดภยั ใหเ ขา ชวยเหลอื ผูเขา พกั ใหเ รว็ ท่สี ุด
-ปฐมพยาบาลเบืองตนแกผ เู ขาพกั ในกรณที ี่ไดรบั บาดเจ็บ
-พูดคุยผูเขา พักใหใหพ นจากอาการตกใจ
-แจงความดาํ เนนิ คดีกบผทู าํ รา ยรางกาย

เหตุฉกุ เฉินในกรณที ผี่ เ ขา พกั ปวย(กะทันหนั )
อาการลมชกั

วิธปี ฐมพยาบาลผปว ยเบอ้ื งตน
โดยปกติแลวการชักจะหยุดเองในเวลา1-2นาทีในระหวางการชกั การดูแลผูปวยดวยการชักคือตั้งสติอยาตกใจ
ประคองผูปวยใหนอนหรือน่ังลงสอดหมอนหรือวัสดุ ออนนุมไวใตศีรษะ ตะแคงศีรษะใหนําลายไหลออกทางมุมปาก
และอยาใสส่ิงของเขาไปในปากหรือ งัดปากผูปวยเพราะปกติผูปวย จะไมกัดลิ้นตัวเองอีกทั้งวัสดุท่ีใสเขาไปอาจจะหัก
หรือขาดหรือทําใหฟน หักหลุดไปอุดหลอดลมจนหยุดหายใจไดสวนใหญอาการชักมักจะไมเกิน 5 นาทีแตถานานกวา
นนั้ ให พาไปโรงพยาบาลทใ่ี กลทีส่ ดุ และเนือ่ งดว ยผูเขาพักเปา งชาตจิ ึงจาํ ปนท่จี ะตอ งใชภ าษาอังกฤษ ในการส่ือสารกับ
ตัวผเู ขา พักเองหรอื ญาติผเู ขา พัก

อาการอาหารตดิ หลอดลม

วิธีปฐมพยาบาลผป ว ยเบ้ืองตน(สําหรับผใ หญ) ู
การสําลักมกั เกดิ จากอาหาร หรือสิงแปลกลอมอนื่ ๆเชนฟนปลอมผทู ี่สําลักมักไมส ามารถพูด ไอ หรือ
หายใจไดและมักมีลักษณะเฉพาะคือใชมือจับไปท่ีคอของตนเองเนื่องจากหายใจไมออกหาก พบวาผูเขาพัก
สาํ ลักอาหารหรือสิ่งแปลกปลอม ส่ิงแรกที่ควรกระทําคือการประเมินความรุนแรงหากยัง มีสติดีและสามารถ
ไอไดด ว ยตวั เองบอกผูเขา พักใหพ ยายามไอออกมาดวยตัวเองระหวางนั่นเฝาสังเกต อาการ หากไมสามารถไอ
ออกมาไดหรือไมมแี รงไอออกหรอื เรมิ่ มีอาการของการขาดอากาศหายใจ
เชน สขี องใบหนา เร่มิ เปล่ยี นเปนสคี ลํ้าใหข อความชวยเหลอื ดว ยการตามรถพยาบาลและเขาชวยเหลือ ผูเขา
พักทนั ที
ในกรณีที่ไมสามารถไอไดดวยตนเองหรือไดลองใหพยายามไอแลวไมไดผลหากผูเขาพักหมด สติไป
แลว ใหโ ทรแจงสายดวน 1669 และเริ่มทาํ การกูชีวิต(CPR, ปม หวั ใจหากมีหวั ใจหยดุ เตน ) ทนั ที

หากยังไมหมดสตใิ หเรยี กรถพยาบาลและทาํ การตบแรงๆทีบ่ รเิ วณหลังของผูปว ยเพ่อื กระตุนใหเ กดิ การไอ
สามารถทาํ ซาํ ได5 คร้ังหากส่ิงแปลกปลอมยังไมอ อกใหทําHeimlichManeuver
(ใชใ นผใู หญห รอื เด็กอายุมากกว1 ขวบ) ซึง่ มวี ธิ ีการดังน้ี
ขน้ั ท1่ี ใหผูเขาพักยนื ขึ้น

ข้ันท2่ี ยนื ขา งหลังผเู ขา พักโดยใหขาขา งหนงึ่ อยูระหวางขาทั่ง 2 ขา งของผูปว ยเพอื่ พยงุ ผปู ว ยในกรณที ห่ี มดสติ
ข้นั ท3ี่ แจง ใหผ ปู ว ยทราบวาเรากาลังจะใหค วามชํ่วยเหลอื

ข้ันท4ี่ ใชแขนทงั 2 ขา งโอบรอบเอวผปู ว ยใหแ ขนอยูjบรเิ วณกระดกู ซีโ่ ครงเ นอื่ งจากอาจมผี ลทํา ใหซ ่โี ครงหกั ได

ขน้ั ท5ี่ กามือขา งหนึง่ โดยใหหัวแมม ืออยูชดิ กบตวั ผูปวย ในบรเิ วณทีเ่ หนือสะดือขนึ มาเลก็ นอย และอยใู ต
กระดูกแผงหนาอก

ขน้ั ท6่ี ใชมอื อีกขา งจับมอื ขา งทกี่ าเอาไว

ขั้นท7่ี ออกแรงดนั มือท่ีกาไวขึ้นมาทางดา นบนอยางรวดเร็ว
ขั้นท8่ี ออกแรงใหมากพอที่จะดนั สงิ แปลกปลอมออกมา
ข้นั ท9่ี ระลึกไววาการออกแรงดัน จะทําใหก ระบังลมดันใหอ ากาศออกมาจากปอดของผูปว ย ทาํ ให เกดิ ลักษณะทค่ี ลา ย

กับการไอ
ขน้ั ท1่ี 0 ออกแรงพยุงผูป วยไว เนือ่ งจากผปู ว ยอาจหมดสติหากไมไ ดผล
ขั้นท1่ี 1 ทําซ้ําสามารถทําไดถึง 5 ครัง้ หากไมไดผลตองรบี ทําการกูชีพทนั ท่ี

การปฐมพยาบาลสําหรบั เดก็ ทารก

-วางเดก็ ควาํ่ ลงบนทองแขนโดยใชมือคุณแมรองศีรษะลกู ในลักษณะท่ลี ําตวั สงู กวาศีรษะ

-ใชฝามอื เคาะหลังระหวา งกระดูกสะบกั สองขาง4ครงั้ ตดิ ตอกัน

-พลิกเด็กนอนหงายบนทองแขนและรองทองแขนดว ยตักโดยใหศีรษะอยูตาํ่ กวา ลาํ ตวั
กดกลางหนาอกดวยนิ้ว2นิ้ว (บริเวณก่ึงกลางระหวางหัวนมท้ัง2ขางลงมา)และทํา ซ้ํา 2 ขั้นตอนจนกวาของท่ีติดอยู
จะหลดุ ออกมา
ถามองไมเหน็ สิงของที่ติดคอไมค วรใชม อื ลวงเด็ดขาดเพราะจะยงิ ดนั ใหส่งิ ของลึกลงไปอีกได

สังเกตการหายใจอาการอยางใกลชิดเชน มีอาการเขียวหายใจเร็วหอบเหนื่อย บริเวณลําคอตลอดหรือน้ําลายยืดและ
หากลกู หมดสตอิ าการแบบนค้ี วรรบี พาลกู ไป พบคณุ หมอโดยทนั ที

เหตุฉกุ เฉนิ ในกรณที ผ่ี เ ขา พกั กอ เหตทะเลาะววิ าท

4
1

วธิ กี ารแกไขสถานการณฉ ุกเฉนิ


Click to View FlipBook Version