The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เครือข่ายคอมพิวเตอร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by arter9, 2019-12-09 02:09:40

เครือข่ายคอมพิวเตอร์

เครือข่ายคอมพิวเตอร์

การสื่อสารข้อมูลและ
เครือข่ายคอมพวิ เตอร์

การสื่อสารข้อมูล (Data Communication)

การส่ือสารข้อมูล คือ การแลกเปลี่ยนขอ้ มลู ระหวา่ งอุปกรณ์อยา่ งนอ้ ย
2 ตวั โดยผา่ นทางสื่อกลางชนิดใดชนิดหน่ึง ซ่ึงขอ้ มูลน้นั อาจจะอยใู่ นรูปของ
ตวั อกั ษร ตวั เลข รูปภาพ หรือเสียง เป็นตน้

การส่ือสารขอ้ มลู จะมีประโยชนม์ ากหรือนอ้ ยข้ึนอยกู่ บั องคป์ ระกอบ
พ้ืนฐาน 3 อยา่ งคือ
1. ขอ้ มลู ท่ีส่งจะตอ้ งถึงผรู้ ับหรือปลายทางไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
2. ขอ้ มลู ท่ีส่งไปน้นั เม่ือไปถึงผรู้ ับหรือปลายทางจะตอ้ งมีความถูกตอ้ ง

แน่นอน ไมผ่ ิดพลาด
3. ขอ้ มลู จะตอ้ งถกู ส่งถึงผรู้ ับหรือปลายทางไดท้ นั เวลาที่ผรู้ ับหรือปลายทาง

จะนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้

องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล

1.ผสู้ ่งหรืออปุ กรณ์ส่งขอ้ มลู (Sender) และ ผรู้ ับหรืออุปกรณ์รับขอ้ มูล (Receiver)
ผสู้ ่งหรืออปุ กรณ์ ส่งขอ้ มลู ตน้ ทาง ของ การสื่อสารขอ้ มลู มีหนา้ ที่เตรียมสร้าง
ขอ้ มูล ส่วนผรู้ ับหรืออุปกรณ์ รับขอ้ มลู เป็นปลายทางการสื่อสารขอ้ มลู มีหนา้ ที่
รับขอ้ มูล ที่ส่งมาให้

DTE แหล่งกาเนิดรับข้อมูล เทอร์มินอล คอมพวิ เตอร์ เคร่ืองพมิ พ์

อปุ กรณ์ รับ- ส่งข้อมูล

DCE อปุ กรณ์ส่ง-รับข้อมูล โมเดม็ จานไมโครเวฟ ดาวเทียม

2.โปรโตรคอล (Protocol) และ ซอฟตแ์ วร์ (Software) โปรโตรคอล คือ วิธีการ
หรือกฏระเบียบท่ีใชใ้ น การสื่อสารขอ้ มลู เพื่อใหผ้ รู้ ับและผสู้ ่งสามารถเขา้ ใจกนั
หรือคุยกนั รู้เรื่อง ส่วนซอฟตแ์ วร์มีหนา้ ที่ทาใหก้ าร ดาเนินงานในการสื่อสาร
ขอ้ มูลเป็นไปตามโปรแกรมท่ีกาหนดไว้

3.ข่าวสาร (Message) สญั ญาณอิเลคทรอนิกส์ท่ีส่งผา่ นไปในระบบสื่อสาร
เรียกวา่ ข่าวสาร หรือ Information สามารถแบ่งการสื่อสารขอ้ มูลไดเ้ ป็น
4 รูปแบบดว้ ยกนั คือ เสียง ขอ้ มูล ขอ้ ความ ภาพ

4.สื่อกลาง (Medium) สื่อกลางเป็นเสน้ ทางการสื่อสารเพื่อนาขอ้ มูลจากตน้ ทาง
ไปยงั ปลายทาง ส่ือกลาง การสื่อสารอาจจะเป็นเสน้ ลวด สายไฟ สายเคเบิล
หรือ คล่ืนทางอากาศ เช่น ไมโครเวฟ ดาวเทียม วทิ ยุ

การส่ง-รับขอ้ มลู เพื่อโอนถา่ ยหรือแลกเปลี่ยนขอ้ มูลกนั ระหวา่ งผสู้ ่งและผรู้ ับจะ
สาเร็จข้ึนไดต้ อ้ งประกอบ ดว้ ยปัจจยั สาคญั 2 ประการ คือคุณภาพของสญั ญาณ
ขอ้ มลู ท่ีส่ง-รับกนั และคุณลกั ษณะของสายสื่อสาร สาหรับส่งผา่ นขอ้ มลู
อยา่ งไรกต็ ามเทคนิคการส่ง-รับขอ้ มลู ท้งั ที่เป็นสญั ญาณอนาลอ็ กและดิจิตอล

สญั ญาณอนาลอ็ ก เป็นสญั ญาณที่เป็นคล่ืนต่อเน่ือง และเป็นค่าที่ไดจ้ ากการวดั
ไดแ้ ก่ สญั ญาณเสียง

สญั ญาณดิจิตอล เป็นสญั ญาณสญั ทญาณ่ีไดจ้ ากสองสถานะถือ เปิ ดหรือปิ ด บวกหรือลบ
ส่วนใหญแ่ ทนค่าดว้ ย 0 และ 1

รูปแบบการส่ งสัญญาณข้อมูล

1. แบบทิศทางเดียวหรือซิมเพลก็ ซ์ (One-Way หรือ Simplex )ในการส่ง
สญั ญาณขอ้ มูลแบบ simplex ขอ้ มูลจะถกู ส่งไปในทางเดียวเท่าน้นั และ
ตลอดเวลา ตวั อยา่ งเช่น การกระจายเสียงของ สถานี วทิ ยุ หรือ การแพร่ภาพ
ทางโทรทศั น์ เป็นตน้

2. แบบก่ึงทางคู่หรือคร่ึงดูเพลก็ ซ์ (Either-Way of Two Waysหรือ Half
Duplex) การสื่อสารแบบ Half Duplex เราสามารถส่งขอ้ มูลสวนทางกนั ไดแ้ ต่
ตอ้ งสลบั กนั ส่ง จะทาใน เวลาเดียว กนั ไม่ได้ ตวั อยา่ งเช่น วทิ ยสุ ื่อสารของ
ตารวจแบบ Walkly-Talkly

3.แบบทางคู่ (Full-Duplex) ในแบบน้ีเราสามารถส่งขอ้ มลู ไดพ้ ร้อมๆ
กนั ท้งั สองทาง ตวั อยา่ งเช่น การพูดคุยโทรศพั ท์ โดยสามารถส่ือสารพร้อมกนั
ไดท้ ้งั สองฝ่ าย บางคร้ังเรียกการสื่อสารแบบทางคู่วา่ Four-Wire Line

4.แบบสะทอ้ นสญั ญาณหรือ เอก๊ โคเพลก๊ ซ์ (Echo-Plex) เป็นการส่ง
สญั ญาณที่รวมท้งั Half-Duplex และ Full-Duplex ไวร้ วมกนั เช่น ความสมั พนั ธ์
ระหวา่ งคียบ์ อร์ด และจอภาพของเครื่อง Terminal ของ Main Frame หรือ Host
คอมพิวเตอร์

แบบฝึ กหัดประกอบการเรียน

1. จงบอกความหมายของการส่ือสารขอ้ มูล (data communication)
2. องคป์ ระกอบของระบบสื่อสารมีท้งั หมดกี่อยา่ ง อะไรบา้ ง
3. สัญญาณในการสื่อสารขอ้ มูลมีท้งั หมดกี่ชนิด ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง ใหอ้ ธิบาย

แต่ละชนิดพอสงั เขป
4. จงบอกความแตกตา่ งของการส่งขอ้ มูลแบบขนาน (parallel) และแบบ

อนุกรม (serial)
5. ทิศทางของการส่ือสารขอ้ มูลแบบใดท่ีขอ้ มูลสามารถส่งไดท้ ้งั สองทิศทาง

แตต่ อ้ งผลดั กนั ส่งคร้ังละทิศทางเดียวเทา่ น้นั

ระบบสายเชื่อมต่อสัญญาณข้อมูล

แบบมสี าย สายเกลยี วคู่ ( Twisted Pair Cable )
สายเกลียวคูเ่ ป็ นสายท่ีมีราคาถกู ท่ีสุด ประกอบดว้ ยทองแดง 2 เสน้
แต่ละเสน้ มีฉนวนหุม้ พนั กนั เป็ นเกลียวป้องกนั การรบกวนจากสนามแม่เหลก็ ได้ แต่ ไม่

สามารถป้องกนั การสูญเสียพลงั งานจากการแผร่ ังสีความร้อนในขณะที่มีสญั ญาณส่งผา่ น

สาย สายเกลียวคู่ 1 คู่ จะแทนการส่ือสาร ได้ 1 ช่องทาง สื่อสาร ( Channel ) ใน
การใชง้ านไดจ้ ริง เช่น สายโทรศพั ทจ์ ะเป็ นสายรวมท่ีประกอบดว้ ยสายเกลียวคู่อยภู่ ายใน

เป็ นร้อยๆ คู่ สายเกลียวคู่ 1 คู่จะมี ขนาดประมาณ 0.016 - 0.036 นิ้ว

สายโคแอกเชียล ( Coaxial Cable)

สายเคเบิลแบบโคแอกเชียลหรือเรียกส้นั ๆ วา่ " สายโคแอก " จะเป็นสายสื่อสารที่มี
คุณภาพดีกวา่ และราคาแพงกวา่ สายเกลียวคู่ ส่วนของการส่ง ขอ้ มลู จะอยตู่ รงกลางเป็น
ลวดทองแดงมีช้นั ของตวั เหนี่ยวนาหุม้ อยู่ 2 ช้นั ช้นั ในเป็นฟั่นเกลียวหรือช้นั แขง็ ช้นั นอก
เป็นฟ่ันเกลียว และคนั่ ระหวา่ ง ช้นั ดว้ ยฉนวนหนา เปลือกช้นั นอกสุดเป็นฉนวน สาย
โคแอกสามารถมว้ นโคง้ งอไดง้ ่าย มี 2 แบบ คือ 75 โอหม์ และ 50 โอห์ม ขนาดของสายมี
ต้งั แต่ 0.4-1.0 นิ้ว นอก จากน้นั สายโคแอกยงั ช่วยป้องกนั " การสะท้อนกลบั " ( Echo )
ของเสียงได้อกี แและลดการรบกวนจากภายนอกได้ดเี ช่นกนั

แบบไมจ่มะสี าเยป็ นกกาารรสส่่งงสสัญญั Mไญญมicาาโrณณคowรขขaเออv้้วeมมฟ) ูลูล(แไปบกบบัรับคลชื่น่วงไตมอ่ โๆครกเวนั ฟ
จากหอ ( สถานี ) ส่ง - รับสญั ญาณหน่ึงไปยงั อีก
หอ หน่ึง แต่ละหอจะครอบคลมุ พ้ืนที่รับสัญญาณ
ประมาณ 30- 50 กม.
การส่งสัญญาณขอ้ มูลดว้ ยไมโครเวฟมกั ใชก้ นั
ในกรณีท่ีการติดต้งั สายเคเบิลทาไดไ้ ม่สะดวก เช่น
ในเขตเมืองใหญ่ๆ หรือ ป่ าเขา แต่ละสถานี
ไมโครเวฟจะติดต้งั จานส่ง - รับสัญญาณขอ้ มูลซ่ึงมี
เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางประมาณ 10 ฟตุ

ดาวเทียม ( Satellite )

ที่จริงดาวเทียมคือสถานีไมโครเวฟลอยฟ้านน่ั เอง ซ่ึงทาหนา้ ที่ขยายและ
ทบทวนสญั ญาณขอ้ มลู รับและส่งสญั ญาณขอ้ มูลกบั สถานีดาวเทียม บนพ้ืนโลก
สถานีดาวเทียมภาคพ้ืนจะทาการส่งสญั ญาณขอ้ มลู ไปยงั ดาวเทียมซ่ึงจะหมุนไป
ตามการหมุนของโลกซ่ึงมีตาแหน่งคงที่ เม่ือเทียบ กบั ตาแหน่งบนพ้ืนโลก
ดาวเทียมจะถูกส่งข้ึนใหไ้ ปลอยอยสู่ ูงจากพ้ืนโลกประมาณ 36,000 กม.

คาศัพท์และแบบฝึ กหัด

คาศัพท์ แบบฝึ กหดั

1. Date Communication 1. สายยทู ีพี (UTP) ย่อมาจากอะไร
2. Receiver หมายถงึ อะไร
3. Protocol
4. Media 2. สายเอสทีพี (STP) ย่อมาจากอะไร
5. System หมายถงึ อะไร
6. Cable
7. Satellite System
8. Parallel
9. Transmission
10. Network

ระบบข้อมูล
และสารสนเทศ

ความหมายของข้อมูล

ขอ้ มูล (Data) คือขอ้ เทจ็ จริง หรือเหตุการณ์ท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั
ส่ิงต่าง ๆ เช่น คน สตั ว์ สิ่งของ สถานท่ี ฯลฯ ขอ้ มูลจึงเป็นเร่ืองท่ี
เกี่ยวกบั เหตุการณ์ของสิ่งต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนอยา่ งต่อเน่ือง มีการ
รวบรวมขอ้ มูลอยา่ งเป็นระบบและต่อเนื่อง

ประเภทของข้อมูล

ข้อมลู ปฐมภูมิ หมายถึง ขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการเกบ็ รวบรวมหรือบนั ทึกจาก
แหล่งขอ้ มูลโดยตรง ซ่ึงอาจจะไดจ้ ากการสอบถาม การสมั ภาษณ์ การสารวจ การ
จดบนั ทึก ตลอดจนการจดั หามาดว้ ยเครื่องจกั รอนั โนมตั ิต่าง ๆ ที่ดาเนินการ
จดั เกบ็ ขอ้ มูลให้ เช่น เคร่ืองอ่านรหสั แท่ง เคร่ืองอ่านแถบแมเ่ หลก็ ขอ้ มูลปฐมภูมิ
จึงเป็นขอ้ มูลพ้ืนฐานที่ไดม้ าจากจุดกาเนิดของขอ้ มูลน้นั ๆ

ข้อมูลทุตยิ ภูมิ หมายถึงขอ้ มลู ที่มีผอู้ ื่นรวบรวมไวใ้ หแ้ ลว้ บางคร้ัง
อาจจะมีการประมวลผลเพื่อเป็นสารสนเทศ ผใู้ ชจ้ ึงไมจ่ าเป็นตอ้ งไปสารวจเอง
ตวั อยา่ ง ขอ้ มูลสถิติต่าง ๆ ที่หน่วยงานรัฐบาลทาไวแ้ ลว้ เช่น สถติ ิจานวน
ประชากรแต่ละจงั หวดั สถิติการส่งสินคา้ ออก สถิติการนาสินคา้ เขา้ ขอ้ มูลเหลา่ น้ี
มีการตีพิมพเ์ ผยแพร่ เพื่อใหใ้ ชง้ านได้ หรือนาเอาไปประมวลผลต่อ

ความหมายของสารสนเทศ

สารสนเทศ หมายถึง สิ่งท่ีไดจ้ ากการนาเอาขอ้ มูลที่เกบ็ รวบรวมไวม้ า
ประมวลผล เพื่อนามาใชป้ ระโยชนต์ ามวตั ถปุ ระสงค์ สารสนเทศจึงหมายถึง
ขอ้ มูลที่ผา่ นมาเลือกสรรใหเ้ หมาะกบั การใชง้ านใหท้ นั เวลา และอยใู่ นรูปแบบท่ี
ใชไ้ ด้ สารสนเทศท่ีดีตอ้ งมาจากขอ้ มลู ท่ีดี การจดั เกบ็ ขอ้ มูลและสารสนเทศ
จะตอ้ งมีการควบคุมดูแลเป็นอยา่ งดี

รหัสแทนข้อมูลและเลขฐาน

คอมพิวเตอร์ทางานดว้ ยหลกั การทางอิเลก็ ทรอนิกส์ที่แทนสัญญาณทาง
ไฟฟ้าดว้ ยตวั เลขศูนยแ์ ละหน่ึงซ่ึงเป็นตวั เลขในระบบฐานสอง แต่ละหลกั เรียกวา่
บิต และเมื่อนาตวั เลขหลายๆบิตมาเรียงกนั จะใชส้ ร้างรหสั แทนความหมาย
จานวน หรือตวั อกั ษร หรือสญั ลกั ษณ์ ท้งั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษได้ และ
เพื่อใหก้ ารส่ือสารแลกเปล่ียนขอ้ ความระหวา่ งมนุษยก์ บั คอมพิวเตอร์เป็นไปใน
แนวเดียวกนั จึงมีการกาหนดมาตรฐานรหสั ตวั เลขในระบบเลขฐานสอง สาหรับ
แทนสญั ลกั ษณ์เหลา่ น้ี รหสั มาตรฐานท่ีนิยมใชก้ นั มากมีสองกลุ่มคือ รหสั แอสกี
และ รหสั เอบซิดิก

รหัสแทนข้อมูล

รหัสแอสกี (ASCII) เป็นมาตรฐานที่นิยมใชก้ นั มากในระบบคอมพิวเตอร์ส่วน
ใหญเ่ ป็นรหสั 8 บิต แทนสญั ลกั ษณ์ต่างๆได้ 256 ตวั เมื่อใชแ้ ทนตวั อกั ษร
ภาษาองั กฤษแลว้ ยงั มีเหลืออยู่ สานกั งานมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม หรือ
สมอ. ไดก้ าหนดรหสั ภาษาไทยเพ่ิมลงไปเพื่อใหใ้ ชง้ านร่วมกนั ได้

รหัสเอบซีดกิ โค๊ด พฒั นาโดยบริษทั ไอบีเอม็ ใชแ้ ทนขอ้ มลู ท่ีแตกต่างกนั ได้
ท้งั หมด 2 หรือ 256 ชนิด การเกบ็ ขอ้ มลู โดยใชร้ หสั เอบซีดิกจะแบ่งรหสั
ออกเป็นสองส่วน คือโซนบิต (Zone bits) ซ่ึงอยทู่ างดา้ นซา้ ยมีจานวน 4
บิตและนิวเมอริกบิต (Numeric bits)ในอีก 4 บิตท่ีเหลือ

รหัสยูนิโค้ด

เป็นรหสั แบบใหม่ล่าสุด ถูกสร้างข้ึนมาเน่ืองจากรหสั ขนาด 8 บิตซ่ึงมีรูปแบบ
เพียง 256 รูปแบบ ไมส่ ามารถแทนภาษาเขียนแบบต่าง ๆ ในโลกไดค้ รบหมด
โดยเฉพาะภาษาท่ีเป็นภาษาภาพ เช่น ภาษาจีนหรือภาษาญ่ีป่ ุนเพียงภาษาเดียวกม็ ี
จานวนรูปแบบเกินกวา่ 256 ตวั แลว้

ระบบเลขฐานทใ่ี ช้ในคอมพวิ เตอร์

คอมพิวเตอร์ทางานดว้ ยกระแสไฟฟ้า ดงั น้นั จึงมีการแทนที่สภาวะของ
กระแสไฟฟ้าได้ 2 สภาวะ คือ สภาวะท่ีมีกระแสไฟฟ้า และสภาวะท่ีไม่มี
กระแสไฟฟ้า และเพ่ือใหโ้ ปรแกรมเมอร์สามารถสง่ั การคอมพิวเตอร์ได้ จึงไดม้ ี
การสร้างระบบตวั เลขที่นามาแทนสภาวะของกระแสไฟฟ้า โดยตวั เลข 0 จะแทน
สภาวะไม่มีกระแสไฟฟ้า และเลข 1 แทนสภาวะมีกระแสไฟฟ้า

ระบบเลขฐานทใ่ี ช้ในคอมพวิ เตอร์

ระบบตวั เลขที่มีจานวน 2 จานวน (2 ค่า) เรียกวา่ ระบบเลขฐานสอง (Binary
Number System) ซ่ึงเป็นระบบตวั เลขท่ีสามารถนามาใชใ้ นการสงั่ งาน
คอมพิวเตอร์ โดยการแทนที่สภาวะต่างๆ ของกระแสไฟฟ้า แต่ในชีวิตประจาวนั ของ
คนเราจะคุน้ เคยกบั ตวั เลขท่ีมีจานวน 10 จานวน คือ เลข 0 - 9 ซ่ึงเรียกวา่ ระบบ
เลขฐานสิบ (Decimal Number System)

ระบบจานวนท่ีใชใ้ นทางคอมพิวเตอร์ ประกอบดว้ ย
ระบบเลขฐานสอง (Binary Number System) ประกอบดว้ ยตวั เลข 0 และ 1
ระบบเลขฐานแปด (Octal Number System) ประกอบดว้ ยตวั เลข 0 - 7
ระบบเลขฐานสิบ (Decimal Number System) ประกอบดว้ ยตวั เลข 0 - 9
ระบบเลขฐานสิบหก (Hexadecimal Number System) ประกอบดว้ ยตวั
เลข 0 - 9 และ A - F
ระบบจานวน ไดแ้ ก่จานวนหลกั (Digit)

ระบบเลขฐานทใี่ ช้ในคอมพวิ เตอร์

ฐานสอง ไดแ้ ก่ 0 1

ฐานแปด ไดแ้ ก่ 0 1 2 3 4 5 6 7 8

ฐานสิบ ไดแ้ ก่ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9

ฐานสิบหก ไดแ้ ก่ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F

ระบบเลขฐานสิบ

ระบบเลขฐานสิบ เป็นระบบเลขที่ใชก้ นั ในชีวติ ประจาวนั ไม่วา่ จะนาไปใช้
คานวณประเภทใด โดยจะมีสญั ลกั ษณ์ท่ีใชแ้ ทนตวั เลขต่างๆ ของเลขฐานสิบ
(Symbol) จานวน 10 ตวั ตวั เลขหรือท่ีเรียกวา่ Digit ท่ีใชแ้ ทนระบบ
เลขฐานสิบ ไดแ้ ก่ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9

เลขฐาน 10 ประกอบดว้ ย 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
ตวั อยา่ งเช่น 3472 สามารถขยายไดด้ งั น้ี
3472= 3000 + 400 + 70 + 2

= (3 x 103) + (4 x 102) + (7 x 101) + (2 x 100)

1257 = 1 x 103 + 2 x 102 + 5 x 101 + 7 x 100

ระบบเลขฐานสอง

ระบบเลขฐานสอง มีสญั ลกั ษณ์ท่ีใชเ้ พียงสองตวั คือ 0 และ 1 ถา้ เปรียบเทียบ
เลขฐานสอง กบั เลขฐานสิบแลว้ ค่าของหลกั ท่ีถดั จากหลกั ที่นอ้ ยท่ีสุด (LSD) ข้ึน
ไป จะมีค่าเท่ากบั ฐานสองยกกาลงั หมายเลขหลกั แทนท่ีจะเป็น 10 ยกกาลงั ดงั น้ี
ระบบเลขฐานสองเกิดจากการใชต้ วั เลขเพียง 2 ตวั คือ 0 และ 1 ดงั น้นั สมการคือ

N = ... + (d3 x 23) + (d2 x 22) + (d1 x 21) +
(d0 x 20)

การแปลงเลขฐานสองเป็ นเลขฐานสิบ
การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ มีหลายวธิ ี แต่ท่ีจะแนะนาคือ การกระจาย
ค่าประจาหลกั จากน้นั นามาบวกรวมกนั อีกคร้ัง ผลลพั ธ์ท่ีไดจ้ ะเท่ากบั ค่าใน
เลขฐานสิบ
ตวั อย่าง 10111 มีค่าเท่ากบั เท่าไรในระบบเลขฐานสิบ ตวั อยา่ งการแปลง

เลขฐาน

การสื่อสารข้อมูลและ
เครือข่ายคอมพวิ เตอร์

ระบบเครือข่าย

ระบบเครือข่าย หรือเน็ตเวริ ์ก (Network) คือ ระบบทมี่ ีคอมพวิ เตอร์ ต้ังแต่ 2 เคร่ืองขนึ้ ไป เชื่อมต่อกนั อยู่
เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ประกอบด้วยเครื่องคอมพวิ เตอร์หลายเคร่ืองมาเช่ือมต่อกนั เพื่อวตั ถุประสงค์คือ

- เพ่ือให้ผู้ใช้สามารถตดิ ต่อส่ือสารกนั
- เพื่อให้ใช้ทรัพยากรร่วมกนั
- เพื่อใช้ข้อมูลหรือแลกเปลยี่ นข้อมูลซึ่งกนั และกนั
ระบบเครือข่าย สามารถเรียกได้ หลายวธิ ี เช่น ตามรูปแบบ การเชื่อมต่อ (Topology) เช่น แบบบัส
(bus), แบบดาว (star), แบบวงแหวน (ring) หรือจะเรียกตามขนาด หรือระยะทางของระบบกไ็ ด้ เช่น
แลน (LAN), แวน (WAN), แมน (MAN) นอกจากนี้ ระบบเครือข่าย ยงั สามารถ เรียกได้ตาม เทคโนโลยี
ที่ไช้ ในการส่งผ่านข้อมูล เช่น เครือข่าย TCP/IP, เครือข่าย IPX, เครือข่าย SNA หรือเรียกตาม ชนดิ
ของข้อมูล ท่ีมกี ารส่งผ่าน เช่น เครือข่าย เสียงและวดิ โี อ เรายงั สามารถ จาแนกเครือข่ายได้ ตามกลุ่มท่ใี ช้
เครือข่าย เช่น อนิ เตอร์เนต็ (Internet), เอก็ ซ์ตร้าเนต็ (Extranet), อนิ ทราเนต็ (Intranet), เครือข่าย
เสมือน (Virtual Private Network) หรือเรียก ตามวธิ กี าร เช่ือมต่อ ทางกายภาพ เช่นเครือข่าย
เส้นใยนาแสง, เครือข่ายสาย โทรศัพท์, เครือข่าย ไร้สาย

ระบบเครือข่าย

เดมิ ทีการใช้คอมพวิ เตอร์เป็ นลกั ษณะเคร่ืองเดยี วคนเดยี วหรือท่เี รียกว่า "Stand alone" แต่จากการ
ทป่ี ัจจุบนั มีการแลกเปลย่ี นข้อมูลข่าวสารเพ่ือให้ตดิ ต่อกนั ได้มากขึน้ จาเป็นต้องมีการติดต้งั ระบบ
เครือข่ายเพื่อให้มนุษย์สามารถเข้าถงึ ข้อมูลจากหลายๆทีม่ ากขนึ้ ดงั น้ันในการใช้คอมพวิ เตอร์หนง่ึ
เครื่อง มิได้หมายความว่าใช้คนเดยี วแล้ว แต่สามารถเข้ามาใช้ได้หลายคนและแต่ละคนสามารถ
ติดต่อส่ือสารข้อมูลกนั

ทาให้ใช้ทรัพยากร ของเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ร่วมกนั ได้ (Resources Sharing) ซึ่งเป็ นการช่วย
ประหยดั ค่าใช้จ่าย และเพมิ่ ความสะดวก ในการใช้งาน เช่น การใช้พืน้ ที่ บนฮาร์ดดสิ ก์ และเคร่ืองพมิ พ์
ร่วมกนั ....

ทาให้ใช้ทรัพยากร ของเครื่องคอมพวิ เตอร์ ร่วมกนั ได้ (Resources Sharing) ซ่ึงเป็ นการช่วย
ประหยดั ค่าใช้จ่าย และเพม่ิ ความสะดวก ในการใช้งาน เช่น การใช้พืน้ ท่ี บนฮาร์ดดสิ ก์ และเครื่องพมิ พ์
ร่วมกนั ....

ระบบเครือข่าย

สามารถทาการสื่อสาร ภายในเครือข่าย (Communication) ได้หลายรูปแบบ เช่น อเี มล์, แชท
(Chat), การประชุมทางไกล (Teleconference), และ การประชุมทางไกล แบบเห็นภาพ (Video
Conference) .....

มรี ะบบรักษาความปลอดภยั ของข้อมูล บนเครือข่าย (Network Security) เช่นสามารถ ระบุผู้ท่ีมี
สิทธ์ิเข้าถงึ ข้อมูล ในระดบั ต่างๆ ป้องกนั ผู้ที่ไม่ได้รับอนุญาติ เข้าถงึ ข้อมูล และให้การคุ้มครอง ข้อมูลที่
สาคญั .....

ให้ความบนั เทิงไม่รู้จบ (Entertainment) เช่น สามารถสนุกกบั การเล่นเกมส์ แบบผ้เู ล่นหลายคน
หรือทเ่ี รียกว่า มัลติ เพลเยอร์(Multi Player) ทก่ี าลงั เป็ นท่นี ิยมกนั อยู่ในเวลานีไ้ ด้...

ใช้งานอนิ เทอร์เน็ตร่วมกนั (Internet Sharing) เพยี งต่อเข้าอนิ เทอร์เน็ต จากเครื่องหนึ่งในเครือข่าย
โดยมแี อคเคาท์เพยี งหนึง่ แอคเคาท์ กท็ าให้ผู้ใช้อกี หลายคน ในเครือข่ายเดยี วกนั สามารถใช้งาน
อนิ เทอร์เน็ตได้ เสมือนกบั มหี ลายแอคเคาท์ ....

ระบบเครือข่าย

ประมาณ 50 ปี ทผี่ ่านมา คอมพวิ เตอร์เคร่ืองแรกกาเนิดขนึ้ ท่ีมหาวทิ ยาลยั เพนซิลวาเนีย ต่อมา
คอมพวิ เตอร์มีบทบาทสร้างสรรค์สังคมมนุษย์เข้ามาช่วยเหลืองานต่าง ๆ ของมนุษย์มากมาย จุดเร่ิมต้น
ของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์เริ่มขนึ้ ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1962 Licklider แห่งมหาวทิ ยาลยั MIT ได้
บันทึกแนวคดิ เกยี่ วกบั เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ที่ช่ือ Galactic Network โดยแสดงจินตนาการให้เห็น
หลกั การของเครือข่ายทางวชิ าการ พร้อมท้งั ประโยชน์ทจ่ี ะใช้เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ในการพูดคุย
สื่อสาร อภปิ ราย ส่งข่าวระหว่างกนั และเชื่อมโยงกนั ทัว่ โลก ต่อมา Licklider ได้รับการแต่งต้ังให้เป็ น
หัวหน้าทีมงานวจิ ัยตามความต้องการของกระทรวงกลาโหมอเมริกนั ในโครงการทชี่ ื่อ DARPA ร่วมกบั
กล่มุ ผ้เู ช่ียวชาญทางด้านคอมพวิ เตอร์และเครือข่ายอีกหลายคน

ระบบเครือข่าย

PACKET SWITCHING EMERGED ความคดิ ในช่วงแรกของการเชื่อมโยงเครือข่าย
คอมพวิ เตอร์อาศัยหลกั การพืน้ ฐานทางด้านการสวติ ชิ่งของระบบโทรศัพท์ การเช่ือมโยงคอมพวิ เตอร์
ให้เช่ือมต่อกนั ในวงจรระหว่างจุดไปจุด จึงเรียกว่า "การสวติ ช์วงจร" (Circuit Switching) จุดอ่อนของ
การสวติ ช์วงจรทเ่ี ชื่อมระหว่างสองจุด ทาให้ใช้ข้อมูล ข่าวสารในเครือข่ายไม่เตม็ ประสิทธิภาพ และมีข้อ
ย่งุ ยากหากต้องการส่ือสารกนั เป็ นจานวนมาก Leonard Kleinrock มหาวทิ ยาลยั MIT ได้เสนอแนวคดิ
ในการสร้างเครือข่ายให้มีการรับส่งข้อมูลเป็ นแพก็ เกต็ (Packet)

การสื่อสารบนเครือข่ายแบบแพก็ เกต็ (Packet) เป็ นวธิ กี ารทใ่ี ห้ผ้สู ่งข่าวสารแบ่งแยกข่าวสารเป็ น
ชิ้นเลก็ ๆ บรรจุเป็ นกล่มุ ข้อมูล โดยมีการกาหนดแอดเดรสปลายทางท่จี ะส่งข่าวสาร หลงั จากน้นั ระบบ
จะนาแพก็ เกต็ น้นั ไปส่งยงั หลายทาง

ระบบเครือข่าย

ในปี ค.ศ. 1965 มกี ารทดลองการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ขนึ้ เป็ นคร้ังแรกระหว่าง
มหาวทิ ยาลยั MIT กบั มหาวทิ ยาลยั แคลฟิ อร์เนีย ผ่านทางสายโทรศัพท์และใช้หลกั การแพ็กเกต็
ความคดิ ทางด้านการรับส่งข้อมูลเป็ นชิ้นเลก็ ๆ แบบแพก็ เกต็ ได้รับการยอมรับ จนในท่ีสุดมีการพฒั นา
จากแนวความคดิ นีไ้ ปหลายแนวทาง จนได้วธิ กี ารรับส่งบนเครือข่ายคอมพวิ เตอร์หลากหลายรูปแบบ
ซึ่งเป็ นจุดกาเนดิ เครือข่ายคอมพวิ เตอร์แบบต่าง ๆ เช่น 25, TCP/IP, Frame Relay etc.

เม่ือมกี ารพฒั นาเครือข่ายคอมพวิ เตอร์เพื่อเช่ือมโยงถึงกนั กเ็ กดิ แนวคดิ ในการสร้างมาตรฐานทจ่ี ะ
ทาให้ระบบการเชื่อมโยงมลี กั ษณะเปิ ดมากขึน้ กล่าวคือ การนาผลติ ภณั ฑ์หลากหลายย่ีห้อมาเชื่อมต่อกนั
ได้ จึงมวี ธิ กี ารแบ่งระดบั การส่ือสารออกมาเป็ นช้ัน (Layer) แต่ละข้นั จะมีการวางมาตรฐานกลางเพ่ือให้
การเชื่อมเครือข่ายทแ่ี ตกต่างกนั สามารถเช่ือมโยงถงึ กนั ได้

ระบบเครือข่าย

LAN

ลกั ษณะการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ถงึ กนั ท้งั หมด จงึ มกี ารแบ่งแยกเครือข่ายเป็ นการ
เช่ือมโยงเครือข่ายภายในพืน้ ทใ่ี กล้ ๆ กนั เรียกว่า LAN (Local Area Network) และการเช่ือมโยง
ระยะไกล ทเ่ี รียกว่า WAN (Wide Area Network) เครือข่าย LAN เป็ นเครือข่ายท่เี ชื่อมโยงกนั ในพืน้ ที่
ใกล้เคยี งกนั เช่นอยู่ในอาคารเดยี วกนั สามารถ ดแู ลได้เอง การเชื่อมโยงเครือข่าย LAN

เครือข่าย LAN แบบอเี ทอร์เนต็ มกี ารรับส่งข้อมูลด้วยความเร็ว 10-100 Mbps. มพี ืน้ ฐานรูปแบบ
การเช่ือมโยงร่วมกนั แบบบัส คือ ทุกอุปกรณ์จะเชื่อมต่อกนั บนสายสัญญาณเส้นเดยี ว ดงั น้นั การรับส่ง
ต้องมกี ารจดั การไม่ให้รับส่งพร้อมกนั เกนิ กว่าหนง่ึ คู่

เครือข่าย LAN แบบโทเกน็ ริง มีความเร็ว 16 Mbps. เชื่อมต่อกนั เป็ นวงแหวนโดยแพก็ เกต็ ข้อมูลจะ
วง่ิ วนในทศิ ทางใดทางหนึง่ ถ้ามแี อดเดรสปลายทางเป็ นของใคร อุปกรณ์น้นั จะรับข้อมูลไป การจัดการ
รับส่งข้อมูลในวงแหวนจึงเป็ นไปอย่างมีระเบียบ

เครือข่าย LAN ที่อย่ใู นมาตรฐานเดยี วกนั สามารถเช่ือมโยงเข้าหากนั แต่ทุกตัวจะมีแอดเดรส
ประจา และแอดเดรสเหล่านจี้ ะซ้ากนั ไม่ได้ โดยปกตผิ ้ผู ลติ อปุ กรณ์เช่ือมโยงเครือข่ายได้กาหนด
แอดเดรสเหล่านมี้ าให้แล้ว เพื่อจะให้เช่ือมโยงเครือข่ายต่างมาตรฐานกนั ได้

WAN

เครือข่าย WAN เป็ นเครือข่ายเช่ือมโยงกนั ในระยะทางทีห่ ่างไกล อาจจะเป็ นหลาย ๆ กโิ ลเมตร
ดงั น้นั ความเร็วในการเชื่อมโยงระหว่างกนั อาจไม่สูงมากนัก เพราะระยะทางไกลทาให้มสี ัญญาณ
รบกวนได้สูง ความเร็วจงึ อย่ใู นระดบั ช่วง 9.6-64 Kbps และ 1.5-2 Mbps ขึน้ อยู่กบั แอพพลเิ คช่ันและ
ขนาดของข้อมูล

PUBLIC WAN

เครือข่ายในปัจจุบนั มกี ารเชื่อมเครือข่าย LAN หลาย ๆ เครือข่ายย่อยเข้าด้วยกนั จะเป็ นอเี ทอร์เนต็
หรือโทเกน็ ริงกไ็ ด้ แล้วยงั เชื่อมต่อออกจากองค์กรผ่านเครือข่าย WAN ทาให้เครือข่ายท้งั หมดเช่ือมโยง
ถงึ กนั จงึ มกี ารพฒั นาเทคโนโลยเี ครือข่ายให้มีความเร็วสูงในการรับส่งข้อมูล ซึ่งเครือข่าย WAN ทใี่ ช้
ตวั กลางเป็ นเส้นใยแก้วนาแสง (Fiber Optic) สามารถส่งรับข้อมูลได้เร็วไม่น้อยกว่าเครือข่าย
LAN การพฒั นาเทคโนโลยบี นถนนเครือข่าย LAN และ WAN จงึ เป็ นสิ่งท่ีจาเป็ น และเป็ นโครงสร้าง
พืน้ ฐานของการพฒั นาประเทศ ซ่ึงจะไปได้ไกลเพยี งใด ขึน้ อยู่กบั โครงสร้างพืน้ ฐานต่าง ๆ ของประเทศ
ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์กเ็ ป็ นโครงสร้างพืน้ ฐานหนึ่งท่ตี ้องพฒั นาไปด้วย

ประเภทของระบบเครือข่าย

เครือข่ายท้องถน่ิ (Local Area Network : Lan ) เป็ นเครือข่ายระยะใกล้ ใช้บริเวณเฉพาะทีเ่ ช่น
ภายในอาคารเดยี วกนั หรือภายในบริเวณ เดยี วกนั ระบบแลนจะช่วยให้มีการตดิ ต่อกนั ได้สะดวก ช่วย
ลดต้นทุน ช่วยเพมิ่ ประสิทธภิ าพในการใช้งานอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ร่วมกนั และใช้ข้อมูลร่วมกนั ได้อย่าง
ค้มุ ค่า

ระบบเครือข่ายแบบ Peer to Peer เป็ นระบบเครือข่ายขนาดเลก็ เหมาะสาหรับหน่วยงาน ท่ีมี
คอมพวิ เตอร์น้อยกว่า 10 เคร่ือง ระบบ Peer to Peer นี้ คอมพวิ เตอร์แต่ละเคร่ือง สามารถเข้าไปใช้ไฟล์
ทีเ่ กบ็ บนเคร่ืองไหนกไ็ ด้ ซอฟ์ ตแวร์ทใี่ ช้คือ Windows for Workgroups, Windows 95,98,2000 การ
ติดต้ังเพยี งแต่เพมิ่ อปุ กรณ์ท่เี รียกว่า Lan Card ในแต่ละเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ และมีต่อสายแลน เข้าไปสู่
อุปกรณ์ทีเ่ ป็ นตวั กลาง ซึ่งเรียกว่า HUB

ประเภทของระบบเครือข่าย

ข้อดขี องการต่อแบบ Peer to Peer
ประหยดั ค่าใช้จ่ายเมื่อเทียบกบั การต่อ Network แบบอ่ืน ๆ
สามารถแชร์ข้อมูล เครื่องพมิ พ์ ของแต่ละเคร่ืองได้
ง่ายในการติดต้งั และสามารถขยายต่อไปในอนาคตได้ดี
สามารถแชร์ข้อมูล เครื่องพมิ พ์ ของแต่ละเครื่องได้
มรี ะบบ Security ทีด่ มี าก
รับส่งข่าวสารในลกั ษณะของ Email ได้ดี
สามารถจัดสรร แบ่งปันการใช้ทรัพยากรได้จากจุดศูนย์กลาง

ประเภทของระบบเครือข่าย

เครือข่ายแบบ Cient / Server
ระบบเครือข่ายแบบ Client / Server มีคอมพวิ เตอร์หลกั เรียกว่า File Server (ทาหน้าท่ีเป็ นศูนย์

รวมในการเกบ็ ข้อมูล ทาให้สะดวกในการบริหารข้อมูล) File Server นจี้ ะต้องเปิ ดทิง้ ไว้ ห้ามปิ ดใน
ระหว่างการใช้งาน ส่วนคอมพวิ เตอร์ของผู้ใช้งานทว่ั ๆ ไปเราเรียกว่า Work Station สาหรับอุปกรณ์ท่ี
จาเป็ นในการตดิ ต่อระบบเครือข่าย คือ สายเคเบลิ และการ์ดเครือข่าย (LAN Card) ซ่ึงทาหน้าที่
ควบคมุ การไหล ของข้อมูล นอกจากนยี้ งั ต้องมี HUB ซ่ึงเป็ นอปุ กรณ์ในการกระจายสัญญาณไปตาม
Work Station ต่าง ๆ ซอฟแวร์ท่เี ป็ นท่ีนิยมในระบบเครือข่ายคือ Netware, Windows NT, Unix

ประเภทของระบบเครือข่าย

เครือข่ายระดบั เมือง (Metropolis) เป็ นระบบเครือข่ายขนาดเลก็ ที่ใช้ในการ เชื่อมโยง
คอมพวิ เตอร์ ในบริเวณใกล้เคยี ง เข้าด้วยกนั เช่นในภายในห้องเดยี วกนั หรือในสานกั งานเดยี วกนั
โดยท่ัวไป ระบบเครือข่ายแบบแลน ใช้เพ่ือวตั ถุประสงค์ ในการเชื่อมต่อ เครื่องคอมพวิ เตอร์ กบั
อุปกรณ์ต่างๆในอาคาร เพื่อแบ่งปันการใช้ข้อมูล และอปุ กรณ์ร่วมกนั เช่น เครื่องพมิ พ์ ไฟล์ข้อมูล

เครือข่ายระดบั ประเทศ (Wide Area Network : Wan) เป็ นเครือข่ายขนาดใหญ่ ติดต้ังใช้งาน
บริเวณกว้างมีสถานีหรือจุดเชื่อมมากมาย และใช้ส่ือกลางหลายชนดิ เช่น ไมโครเวฟ ดาวเทียม หรือ
ระบบเครือข่ายระยะไกล เป็ นระบบเครือข่าย ทค่ี รอบคลมุ พืน้ ทก่ี ว้างขวาง เป็ นระยะทาง หลายๆ
กโิ ลเมตร จนถงึ ระดบั ประเทศ และทวปี การเชื่อมต่อในระบบแวน ส่วนใหญ่ ใช้สายสัญญาณท่ัวๆ ไป
เช่น โทรศัพท์ หรือการเช่าสายลสี ไลน์ (Leased Line) การใช้ดาวเทยี ม การใช้สัญญาณไมโครเวฟ และ
สัญญาณอื่นๆ ที่สามารถส่งข้อมูล ผ่านระยะทางไกลๆ ได้ ระบบงานที่ใข้ ระบบเครือข่ายแบบแวน
ได้แก่ระบบ ฝากถอนผ่านธนาคาร ระบบบัตรเครดติ และระบบโอนเงนิ ต่างประเทศ

ประเภทของระบบเครือข่าย

เครือข่ายระหว่างประเทศ (International Network) เป็ นเครือข่ายทใี่ ช้ติดต่อระหว่างประเทศ โดยใช้
สายเคเบลิ หรือดาวเทยี ม

รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย
แบ่งตามกลุ่มผู้ใช้

อนิ เตอร์เน็ต (INTERNET)

อนิ เตอร์เน็ต (INTERNET) เป็ นระบบเครือข่ายสากล ทใี่ ห้บริการส่ือสารข้อมูลทวั่ โลก โดยท่ี
เป็ นผลจากการวิจยั และพฒั นาการทางทหาร ของกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ ในโครงการ
ARPA (Advanced Project Research Agency) ในปี ค.ศ.1969 โดยการเริ่มจากการ เช่ือมโยง
ข้อมูลใน 4 มหาวิทยาลยั ด้วยการใช้โปรโตคอลทมี่ ีชื่อว่า TCP/IP (Transmission Control
Protocol/Internet Protocol) หรือที่รู้จกั กนั ในนาม Internet Protocol จนกลายมาเป็ นชื่อของ
ระบบเครือข่ายในท่ีสุด ซึ่งเครือข่ายอนิ เตอร์เน็ต เป็ นเสมือนทางด่วนข้อมูล ของระบบ
สารสนเทศของโลก

อนิ ทราเน็ต (INTRANET)

เป็ นเครือข่ายภายในองค์กร ทเ่ี ปลยี่ นโปรโตคอล ในการส่ือสาร บนระบบเครือข่าย แบบแลน
เดมิ ๆ ไปเป็ นโปรโตคอล TCP/IP เช่นเดยี วกบั อนิ เตอร์เน็ต และสามารถใช้โปรแกรมต่างๆ ท่ี
พฒั นาเพ่ือ ใช้กบั อนิ เตอร์เน็ตได้ ทาให้มคี ่าใช้จ่ายถูกลงมาก ต่างกนั ตรงท่ี อนิ ทราเน็ต จะเป็ น
เครือข่ายปิ ด ใช้เฉพาะในองค์กรเท่าน้ัน

เอก็ ซ์ทราเน็ต (EXTRANET)

เป็ นระบบแบบเดยี วกบั อนิ ทราเน็ต แต่ใช้เช่ือมโยงกนั ระหว่างองค์กรต่างๆ โดยท่ัวๆไปจะเป็ น
องค์กร ที่ทาธุรกจิ ร่วมกนั ซ่ึงต่างจากอนิ เตอร์เน็ต เพราะเอก็ ซ์ทราเน็ตมีการใช้งาน จากดั
ขอบเขตเฉพาะกลุ่ม เช่นกล่มุ ธนาคาร จะมีเครือข่ายโอนเงนิ เป็ นกลุ่มของตนเอง

รูปแบบการเช่ือมต่อเครือข่าย
แบ่งตามเทคโนโลยี


Click to View FlipBook Version