The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Us Asama, 2021-04-27 17:50:32

6

6


ชุดกจิ กรรมการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๓

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ เรื่อง วัสดุรอบตวั เรา ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๓
โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ๗ ข้ัน เป็นกิจกรรมพัฒนาท่ีเน้นการ
ถ่ายโอนการเรียนรู้ และให้ความสาคัญกับการตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียน ส่งเสริมการ
ค้นพบองค์ความรู้ การแก้ปัญหาด้วยตนเอง โดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ผู้รายงานได้
เรยี บเรยี งเนอ้ื หาในชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ใหส้ อดคล้องกบั หน่วยการเรยี นรเู้ ร่อื งวัสดุรอบตัวเรา
จานวน ๘ ชดุ ประกอบดว้ ย

ชุดท่ี ๑ วัสดุตา่ ง ๆ รอบตวั เรา
ชุดที่ ๒ สมบตั ขิ องวัสดุ
ชุดท่ี ๓ การนาความร้อน
ชุดท่ี ๔ วสั ดุทีใ่ ช้ทาของเล่นของใช้
ชดุ ที่ ๕ การเลอื กของเล่นของใช้
ชุดท่ี ๖ การเปลี่ยนแปลงของวสั ดุ
ชดุ ท่ี ๗ ประโยชนแ์ ละโทษของการเปลยี่ นแปลงวัสดุ
ชดุ ท่ี ๘ การประดิษฐข์ องเลน่ ของใช้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทั้ง ๘ ชุดน้ี ภายในเล่มประกอบด้วยบัตรคาส่ัง บัตรเนื้อหา
สาหรับให้นักเรียนได้ศึกษาความรู้จากเน้ือหา เมื่อศึกษาเน้ือหาเข้าใจแล้วจะมีบัตรกิจกรรม
และบัตรคาถามให้นักเรียนฝึกคิด และปฏิบัติ รวมท้ังมีการทดสอบหลังเรียน เพื่อทดสอบ
ความร้คู วามเข้าใจ โดยนักเรียนสามารถตรวจคาตอบจากเฉลยได้ด้วยตนเอง และนักเรียนจะ
ได้ฝกึ ฝนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และการนาความรู้
ไปใช้ประโยชน์ โดยครูผู้สอนเป็นผู้ให้คาปรึกษา แนะนา และคอยอานวยความสะดวกในการ
จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ เพอ่ื สง่ เสริมให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น นาไปสู่การ
พัฒนาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนท่ีสงู ขึ้นต่อไป
หวังเป็นอยา่ งยิง่ ว่า ชดุ กิจกรรมการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๓ ชดุ น้ี
จะเป็นแนวทางท่กี อ่ ให้เกดิ ประโยชน์ตอ่ นกั เรียนและครูผปู้ ฏิบัติการสอนกลมุ่ สาระการเรียนรู้
วทิ ยาศาสตร์ สามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในการจัดกระบวนการเรยี นรู้ ท่ีมผี ลตอ่ พฒั นาการ
ของนกั เรียน ทงั้ ด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะอันพงึ ประสงคท์ ด่ี ี และบรรลุ
ตามมาตรฐานของหลกั สตู รทกุ ประการ

รอซือเมาะ เบญ็ นา

ชุดที่ ๖ การเปลี่ยนแปลงของวัสดุ


ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓

ชุดกจิ กรรมการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ เร่ือง วสั ดุรอบตัวเรา ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๓
โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ๗ ข้ัน จัดทาข้ึนเพ่ือมุ่งเน้นให้นักเรียน
ได้เกิดทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ในแต่ละกิจกรรมมีคาช้ีแจงไว้ชัดเจน นักเรียนสามารถทา
ดว้ ยตนเองได้ มเี น้ือหาสาระในการฝึกเรยี งลาดับจากงา่ ยไปหายาก ตรงตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ท้งั ๘ ชดุ น้ี
มีสว่ นประกอบ ดังนีค้ อื

๑. คาช้แี จงสาหรบั การใช้งานชุดกจิ กรรม
๒. คาชแ้ี จงการใช้งานชดุ กจิ กรรมการเรยี นรสู้ าหรบั ครผู สู้ อน
๓. คาชแี้ จงการใช้งานชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้สาหรบั นกั เรยี น
๔. แผนผงั แสดงขน้ั ตอนการเรยี นโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
๕. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
๖. ข้ันตอนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ๗ ขัน้ ประกอบดว้ ย

๖.๑ ขั้นท่ี ๑ ขน้ั ตรวจสอบความรเู้ ดมิ (Elicitation Phase)
๖.๒ ขั้นท่ี ๒ ขน้ั เร้าความสนใจ (Engagement Phase)
๖.๓ ข้นั ท่ี ๓ ขน้ั สารวจและค้นหา (Exploration Phase)
๖.๔ ขั้นท่ี ๔ ขั้นอธิบาย (Explanation Phase)
๖.๕ ขั้นที่ ๕ ขน้ั ขยายแนวความคิด (Expansion Phase)
๖.๖ ขั้นที่ ๖ ขน้ั ประเมินผล (Evaluation Phase)
๖.๗ ข้ันที่ ๗ ขน้ั นาความรไู้ ปใช้ (Extension Phase)
๗. เฉลยบตั รกิจกรรม
๘. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น – หลังเรียน

ชุดที่ ๖ การเปลีย่ นแปลงของวัสดุ


ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓

คานา หน้า
สารบญั ก
สารบญั ภาพ ข
คาชแ้ี จงการใช้ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ จ
ขั้นตอนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ช
ขน้ั ตอนการศึกษาวัสดุรอบตัวเรา ๑
ขน้ั ตอนการศึกษาชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ ๔
คาชแี้ จงสาหรบั คณุ ครู ๕
สงิ่ ท่ีคุณครตู อ้ งเตรยี ม ๖
การประเมินผล ๘
การเรยี นซอ่ มเสรมิ ๙
คาชแี้ จงสาหรบั นักเรยี น ๑๐
มาตรฐานการเรยี นรู้ ๑๑
สาระสาคญั ๑๓
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑๓
สาระการเรยี นรู้ ๑๔
ชดุ กจิ กรรมการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ เร่ือง วัสดุรอบตัวเรา ๑๔
ชุดที่ ๖ การเปลย่ี นแปลงของวัสดุ ๑๕
ขน้ั ท่ี ๑ ข้นั ตรวจสอบความรูเ้ ดมิ
๑๖
บตั รคาสั่งที่ ๑ ๑๖
แบบทดสอบกอ่ นเรียน ๑๗
ขั้นที่ ๒ ขนั้ เรา้ ความสนใจ ๒๐
บตั รคาสัง่ ท่ี ๒ ๒๐
บตั รกจิ กรรมท่ี ๑ การเปลีย่ นแปลงของวัสดุ ๒๑
บัตรกิจกรรมที่ ๒ การเปลี่ยนแปลงของวัสดุ ๒๓

ชดุ ที่ ๖ การเปล่ียนแปลงของวัสดุ


ชุดกจิ กรรมการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๓

ขน้ั ท่ี ๓ ขนั้ สารวจและคน้ หา หน้า
บัตรคาสั่งที่ ๓ ๒๔
บตั รกิจกรรมท่ี ๓ การเปล่ียนแปลงของวัสดุ ๒๔
๒๕
ขั้นที่ ๔ ขั้นอธิบาย ๒๘
บตั รคาสัง่ ที่ ๔ ๒๘
บัตรเนอื้ หา เร่ือง การเปล่ยี นแปลงของวัสดุ ๒๙
บัตรกจิ กรรมท่ี ๔ การเปลี่ยนแปลงของวสั ดุ ๓๔
๓๕
ข้นั ท่ี ๕ ขั้นขยายแนวความคดิ ๓๕
บตั รคาสง่ั ที่ ๕ ๓๖
บัตรกิจกรรมท่ี ๕ การเปลี่ยนแปลงของวัสดุ ๓๗
บตั รกจิ กรรมท่ี ๖ การเปลี่ยนแปลงของวสั ดุ ๓๘
๓๘
ขั้นที่ ๖ ขั้นประเมนิ ผล ๓๙
บัตรคาสั่งท่ี ๖ ๔๒
แบบทดสอบหลงั เรียน ๔๒
๔๓
ขั้นท่ี ๗ ขน้ั นาความรไู้ ปใช้ ๔๔
บตั รคาสัง่ ท่ี ๗ ๔๗
บตั รกจิ กรรมที่ ๗ การเปลย่ี นแปลงของวัสดุ ๔๘

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
แบบบนั ทกึ คะแนนรายบคุ คล
บรรณานุกรม

ชุดที่ ๖ การเปล่ียนแปลงของวัสดุ


ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๓

ภาคผนวก หน้า
เฉลยบัตรกจิ กรรมที่ ๑ การเปลีย่ นแปลงของวสั ดุ ๕๐
เฉลยบัตรกิจกรรมที่ ๒ การเปลย่ี นแปลงของวสั ดุ ๕๑
เฉลยบัตรกิจกรรมที่ ๓ การเปลีย่ นแปลงของวสั ดุ ๕๓
เฉลยบตั รกจิ กรรมท่ี ๔ การเปลยี่ นแปลงของของวสั ดุ ๕๔
เฉลยบตั รกิจกรรมท่ี ๕ การเปลี่ยนแปลงของวสั ดุ ๕๗
เฉลยบัตรกิจกรรมท่ี ๖ การเปลี่ยนแปลงของวสั ดุ ๕๘
เฉลยบัตรกจิ กรรมที่ ๗ การเปลี่ยนแปลงของวัสดุ ๕๙
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรยี น ๖๐
๖๑

ชุดท่ี ๖ การเปลย่ี นแปลงของวสั ดุ


ชุดกจิ กรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓

ภาพท่ี หน้า
๑ การบบี ๓๐
๒ การบิดผ้า ๓๐
๓ การทุบ ๓๐
๔ การตัด ๓๑
๕ การดงึ ๓๑
๖ การดัด ๓๑
๗ การหลอมเหลวของเทยี นไข ๓๒
๘ การเปลย่ี นแปลงของโลหะ ๓๒
๙ การเปล่ียนแปลงไขไ่ ก่เมื่อไดร้ บั ความร้อน ๓๓
๑๐ การเปลยี่ นแปลงของไม้เมื่อได้รบั ความรอ้ น ๓๓

ชุดที่ ๖ การเปลี่ยนแปลงของวสั ดุ


ชดุ กิจกรรมการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๓

ขน้ั ตอนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ เร่อื งวสั ดุรอบตัวเรา ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๓
โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ๗ ข้ัน แบ่งขั้นตอนการจัด
กจิ กรรมการเรียนรู้ออกเป็น ๗ ข้ัน

ขั้นที่ ๑ ข้ันตรวจสอบความรู้เดิม (Elicitation Phase) ในขั้นนี้จะเป็น
ขนั้ ทค่ี รูจะตัง้ คาถามเพ่ือกระตนุ้ ใหน้ ักเรียนได้แสดงความรู้เดิมออกมา เพื่อครูจะ
ได้รวู้ า่ เดก็ แต่ละคนมพี นื้ ฐานความร้เู ดิมเท่าไหร่ จะได้วางแผนการสอนได้ถูกต้อง
และครูจะได้รู้ว่านกั เรยี นควรจะเรียนเนื้อหาใดก่อนทจ่ี ะเรยี นในเน้ือหานนั้ ๆ

ขั้นท่ี ๒ ขั้นเร้าความสนใจ (Engagement Phase) เป็นการนาเข้าสู่
บทเรียนหรือเร่ืองที่สนใจจากความสงสัย หรืออาจเร่ิมจากความสนใจของตัว
นักเรียนเองหรือเกิดจากการอภิปรายภายในกลุ่ม เร่ืองท่ีน่าสนใจอาจมาจาก
เหตุการณ์ที่กาลังเกิดข้ึนอยู่ในช่วงเวลานั้น หรือเป็นเรื่องที่เชื่อมโยงกับความรู้
เดิมที่เด็กเพ่ิงเรียนรู้มาแล้ว ครูเป็นคนกระตุ้นให้นักเรียนสร้างคาถามกาหนด
ประเด็นทจ่ี ะกระตุ้นโดยการเสนอประเดน็ ข้นึ มากอ่ น แต่ไมค่ วรบงั คับให้นักเรียน
ยอมรับประเดน็ หรือคาถามทีค่ รูกาลังสนใจเป็นเรอ่ื งที่จะใชศ้ ึกษา

ชดุ ที่ ๖ การเปล่ียนแปลงของวสั ดุ


ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๓

ขนั้ ที่ ๓ ข้ันสารวจและคน้ หา (Exploration Phase) ในขั้นน้ีจะต่อเน่ือง
จากข้ันเร้าความสนใจ เมอื่ นกั เรียนทาความเข้าใจในประเด็นหรือคาถามท่ีสนใจ
จะศึกษาอย่างถ่องแท้แล้วก็มีการวางแผนกาหนดแนวทางควรสารวจตรวจสอบ
ต้ังสมมติฐานกาหนดทางเลือกที่เป็นไปได้ ลงมือปฏิบัติเพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูล
ข้อสนเทศหรือปรากฏการณต์ ่าง ๆ วิธกี ารตรวจสอบอาจทาไดห้ ลายวิธี เชน่
ทาการทดลอง การทากิจกรรมภาคสนาม การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยสร้าง
สถานการณ์จาลอง (Simulation) การศึกษาหาข้อมูลจากเอกสารอ้างอิงจากแหล่งข้อมูล
ต่าง ๆ เพือ่ ใหไ้ ด้มาซ่ึงข้อมลู อย่างเพียงพอท่จี ะใช้ในขั้นต่อไป

ขัน้ ที่ ๔ ขัน้ อธบิ าย (Explanation Phase) ในขัน้ น้ีเม่ือนักเรียนได้ข้อมูล
มาอย่างเพียงพอจากการสารวจตรวจสอบแล้ว จึงนาข้อมูลข้อสนเทศท่ีได้มา
วิเคราะห์ แปลผล สรุปผลและนาเสนอผลท่ีได้ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น บรรยาย
สรปุ สรา้ งแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ หรอื รปู วาด สรา้ งตาราง ฯลฯ การค้นพบ
ในด้านน้ีอาจเป็นไปได้หลายทาง เช่น สนับสนุนสมมุติฐานที่ต้ังไว้ โต้แย้งกับ
สมมติฐานท่ตี ้งั ไว้ หรือไมเ่ กีย่ วข้องกับประเด็นท่ไี ด้กาหนดไว้ แต่ผลท่ีได้จะอยู่ใน
รปู ใดก็สามารถสร้างความรแู้ ละชว่ ยใหเ้ กิดการเรยี นรู้ได้

ชดุ ท่ี ๖ การเปล่ยี นแปลงของวสั ดุ


ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๓

ขัน้ ท่ี ๕ ขน้ั ขยายแนวความคิด (Expansion Phase) เป็นการนาความรู้
ที่สร้างข้ึนไปเช่ือมโยงกับความรู้เดิมหรือแนวคิดที่ได้ค้นคว้าเพิ่มเติม หรือนา
แบบจาลองหรือข้อสรุปท่ีไปใช้อธิบายสถานการณ์หรือเหตุการณ์อื่น ๆ ถ้าใช้
อธบิ ายเรือ่ งราวตา่ ง ๆ ได้มากกแ็ สดงวา่ ขอ้ จากดั นอ้ ย ซ่งึ กจ็ ะช่วยให้เชื่อมโยงกับ
เร่ืองราวต่าง ๆ และทาให้เกดิ ความรู้สึกกว้างขวางข้นึ

ขั้นที่ ๖ ขั้นประเมินผล (Evaluation Phase) ในข้ันนี้เป็นการประเมิน
การเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่าง ๆ ว่านักเรียนมีความรู้อะไรบ้าง อย่างไร และ
มากน้อยเพยี งใดจากขน้ั นจี้ ะนาไปสกู่ ารนาความรู้ไปประยุกตใ์ ช้ในด้านอื่น ๆ

ขั้นที่ ๗ ข้ันนาความรู้ไปใช้ (Extension Phase) ในขั้นน้ีเป็นข้ันที่ครู
จะต้องมีการจัดเตรียมโอกาสให้นักเรียนได้นาส่ิงท่ีเรียนมาไปประยุกต์ใช้ให้เกิด
ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน ครูจะเป็นผู้กระตุ้นให้นักเรียนสามารถนาความรู้ท่ี
ไดร้ บั ไปสรา้ งเปน็ ความรทู้ ่ีเรียกว่า “การถา่ ยโอนความรู้”

ชดุ ที่ ๖ การเปลีย่ นแปลงของวัสดุ


ชุดกจิ กรรมการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๓

ขน้ั ตอนการศกึ ษา
วัสดรุ อบตัวเรา

ขัน้ ท่ี ๑ ขน้ั ตรวจสอบความรู้เดิม
(Elicitation Phase)

ขั้นที่ ๒ ข้ันเรา้ ความสนใจ
(Engagement Phase)

ขัน้ ท่ี ๓ ข้นั สารวจและค้นหา
(Exploration Phase)

ขน้ั ที่ ๔ ขัน้ อธิบาย
(Explanation Phase)

ข้ันท่ี ๕ ข้ันขยายแนวความคิด
(Expansion Phase)

ขนั้ ที่ ๖ ขัน้ ประเมินผล
(Evaluation Phase)

ขัน้ ท่ี ๗ ขัน้ นาความรู้ไปใช้
(Extension Phase)

ชดุ ที่ ๖ การเปลย่ี นแปลงของวสั ดุ


ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓

ขนั้ ตอนการศกึ ษา
ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้

ดาเนนิ การใชช้ ุดกจิ กรรมการเรยี นรู้
โดยใช้รูปแบบสบื เสาะหาความรู้ ๗ ขน้ั

๑.ข้นั ตรวจสอบความร้เู ดิม
๒.ขัน้ เร้าความสนใจ
๓.ขน้ั สารวจและคน้ หา
๔.ข้ันอธบิ าย
๕.ข้นั ขยายความรู้
๖.ขัน้ ประเมินผล
๗.ขน้ั นาไปใช้

ผ่านเกณฑ์ ไม่ผ่านเกณฑ์

ศกึ ษาชดุ กจิ กรรมการเรียนรอู้ ่นื ตอ่ ไป

ชดุ ที่ ๖ การเปลย่ี นแปลงของวสั ดุ


ชุดกิจกรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๓

คาชแี้ จงสาหรบั คุณครู

๑.ข้อปฏบิ ตั ิกอ่ นดาเนินการจดั การเรยี นรู้

๑.๑ ศึกษาส่วนประกอบของชดุ กจิ กรรมการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์
เร่ือง วัสดุรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
แบบสืบเสาะหาความรู้ ๗ ขั้น อยา่ งละเอยี ดทั้ง ๘ ชดุ

๑.๒ ศึกษาเนื้อหาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง วัสดุรอบตัวเรา
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๓ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้
๗ ขน้ั ทกุ ชดุ และแผนการจัดการเรยี นรู้ให้เขา้ ใจ

๑.๓ ครูเตรียมวสั ดอุ ุปกรณ์ คอื ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์
เรื่อง วัสดุรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
แบบสบื เสาะหาความรู้ ๗ ขั้น ประกอบด้วย

๑.๓.๑ คาช้ีแจงสาหรับครู
๑.๓.๒ คาชแ้ี จงสาหรับนักเรียน
๑.๓.๓ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
๑.๓.๔ แผนการจัดการเรียนรู้
๑.๓.๕ บตั รเน้ือหาและบัตรกจิ กรรม
๑.๓.๖ เฉลยบัตรกจิ กรรม
๑.๓.๗ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
๑.๓.๘ เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น

๑.๔ แบ่งกลุ่มนักเรียนโดยคละความสามารถเก่ง กลาง อ่อน โดยครู
กาหนดกลุม่ กลุ่มละ ๕ คน

๑.๕ ช้ีแจงวิธีการเรียน และรายละเอียดของกิจกรรมต่าง ๆ ที่นักเรียน
ตอ้ งปฏบิ ตั ิตามชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องวัสดุรอบตัวเรา โดยใช้การ
จดั กิจกรรมการเรยี นรู้แบบสบื เสาะหาความรู้ ๗ ขนั้

ชุดท่ี ๖ การเปลี่ยนแปลงของวัสดุ


ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๓

๒. ขอ้ ปฏิบตั ขิ ณะดาเนินการจัดการเรยี นรู้

๒.๑ ชแ้ี จงกิจกรรมการเรียนรใู้ หน้ กั เรียนทกุ คนทราบ
๒.๒ จดั กลุ่มนักเรยี นตามท่ีได้เตรยี มไวต้ ามขอ้ ท่ี ๑.๔
๒.๓ ช้แี จงบทบาทหนา้ ทแ่ี ละอธิบายให้นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ทราบถึง
การปฏบิ ัติตนในขณะท่ไี ดร้ ับบทบาทตา่ ง ๆ ดังน้ี

๒.๓.๑. ประธาน ทาหนา้ ท่ี ควบคุมการทางานของกลมุ่
๒.๓.๒. รองประธาน ทาหนา้ ที่ อา่ นขอ้ มูลหรอื อธิบายปญั หา
ให้สมาชิกในกลุ่มเขา้ ใจ
๒.๓.๓. เลขานกุ าร ทาหน้าที่ บันทกึ ขอ้ มูลความคิดเหน็
ของสมาชิกภายในกลุม่
๒.๓.๔. สมาชิก ทาหนา้ ท่ี เสนอความคิดเห็น

อยา่ งหลากหลายจากข้อมูลที่ไดร้ ับ

๒.๔. ดาเนนิ การจดั กิจกรรมการเรียนร้ตู ามแผนการจดั การเรียนรู้
๒.๕. ให้คาแนะนาและเป็นทีป่ รกึ ษาแก่นักเรียนในขณะท่ีนกั เรียนปฏิบตั ิกิจกรรม
๒.๖. ตรวจสอบการทางานของนกั เรียนและสรุปบทเรียนร่วมกบั นักเรยี น

๓. ข้อปฏิบตั ิเมอื่ ดาเนินการจัดการเรยี นรู้ส้ินสดุ ลง

๓.๑. ตรวจคาตอบจากชุดกจิ กรรมในแตล่ ะชดุ กจิ กรรม
๓.๒. ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรียน
๓.๓. บนั ทึกผลคะแนน
๓.๔. บนั ทกึ ข้อสังเกตทง้ั ท่ีเปน็ ขอ้ ดีและขอ้ ท่ีควรพฒั นาท่ีพบจากการ
จัดกจิ กรรมการเรียนรู้

ชดุ ท่ี ๖ การเปลีย่ นแปลงของวัสดุ


ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๓

สงิ่ ท่ีคณุ ครตู ้องเตรยี ม

๑. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น จานวน ๑๔ ชดุ
๒. บัตรคาชี้แจง จานวน ๓ ชดุ
๓. บัตรเน้ือหา จานวน ๑๔ ชดุ
๔. บตั รกจิ กรรม จานวน ๑๔ ชดุ
๕. แบบทดสอบหลังเรียน จานวน ๑๔ ชุด
๖. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน ๓ ชดุ
๗. บตั รเฉลยกจิ กรรม จานวน ๓ ชดุ
๘. เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น จานวน ๓ ชดุ
๙. กระดาษคาตอบ จานวน ๑๔ ชดุ

ชดุ ที่ ๖ การเปลย่ี นแปลงของวสั ดุ


ชดุ กจิ กรรมการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๓

การประเมินผล

๑.ผลการเรยี นประเมินจาก
๑.๑. ประเมนิ ผลจากการทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น – แบบทดสอบ

หลังเรยี น
๑.๒. ประเมินผลจากผลงานของนกั เรียนในการปฏบิ ัติกจิ กรรม

จากบตั รกิจกรรม
๑.๓. สงั เกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ของนักเรยี น
๑.๔. ประเมนิ ผลจากการทาแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน

๒. นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินผลร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป จึงจะสามารถ
ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ชุดตอ่ ไปได้ ถ้าไมผ่ ่านเกณฑ์
การประเมนิ นกั เรียนตอ้ งเรียนซอ่ มเสริม

ชดุ ที่ ๖ การเปลี่ยนแปลงของวัสดุ

๑๐
ชุดกจิ กรรมการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๓

การเรียนซ่อมเสริม

ถ้านกั เรยี นไมผ่ ่านเกณฑ์ตามระบุไว้ ใหน้ ักเรยี นศกึ ษา
ตามจดุ ประสงคท์ ไี่ มผ่ ่าน แลว้ ทาแบบทดสอบหลงั เรียนให้ผ่านเกณฑ์
ที่กาหนดไว้ โดยในการเรียนซ่อมเสรมิ ใหน้ ักเรียนปฏบิ ตั ิ ดังนี้

๑. ใช้เวลามากกวา่ เดิม
๒. ใหเ้ พอ่ื นช่วยเหลือ
๓. ครอู ธิบายเพ่มิ เตมิ

ชุดที่ ๖ การเปลยี่ นแปลงของวัสดุ

๑๑
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓

คาชแ้ี จงสาหรบั นกั เรยี น

นกั เรยี นศึกษาและปฏิบตั ติ ามขั้นตอนการใชช้ ดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ดังน้ี

๑.เลือกประธานกลมุ่ เพือ่ เปน็ ผนู้ าในการดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้
และเลขานุการกล่มุ เพ่ือบนั ทกึ ข้อมลู ในแบบบันทกึ การปฏิบตั กิ ิจกรรมต่าง ๆ

๒. สมาชิกทุกคนต้องมีส่วนร่วม ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีบทบาทหน้าท่ี
รับผิดชอบรว่ มกนั เพ่อื ให้การทางานของกลมุ่ ประสบความสาเร็จ

๓. ปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนในชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วย
กจิ กรรมยอ่ ย ดังนี้

๓.๑. ขั้นที่ ๑ ข้ันตรวจสอบความรเู้ ดมิ (Elicitation Phase)
๓.๒. ขน้ั ที่ ๒ ขั้นเรา้ ความสนใจ (Engagement Phase)
๓.๓. ขั้นที่ ๓ ขั้นสารวจและคน้ หา (Exploration Phase)
๓.๔. ขนั้ ที่ ๔ ข้นั อธบิ าย (Explanation Phase)
๓.๕. ขัน้ ที่ ๕ ขั้นขยายแนวความคิด (Expansion Phase)
๓.๖. ข้นั ที่ ๖ ขั้นประเมินผล (Evaluation Phase)
๓.๗. ขั้นท่ี ๗ ขั้นนาความรู้ไปใช้ (Extension Phase)

ชุดท่ี ๖ การเปล่ยี นแปลงของวสั ดุ

๑๒
ชุดกจิ กรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓

คาชแี้ จงสาหรับนักเรยี น (ต่อ)

๔. ทกุ กจิ กรรมการเรียนรู้มีเวลาจากัด ผเู้ รียนควรปฏิบัติงานใหท้ นั เวลา
ไม่ควรปล่อยทง้ิ สะสมงานคา้ งไว้ เน่อื งจากผลงานของแตล่ ะกจิ กรรมการเรยี น
จะเป็นองคค์ วามรูส้ าหรบั กิจกรรมการเรยี นในลาดับถัดไป

๕. เมื่อเรียนจบแต่ละกิจกรรมการเรียน ควรทาความสะอาดโต๊ะทางาน
และเกบ็ อปุ กรณ์การเรยี นเข้าท่ีเดิมใหเ้ รียบร้อยทกุ คร้ัง

๖.หากนักเรียนมีข้อสงสัยหรือเกิดปัญหาภายในกลุ่ม ให้นักเรียนปรึกษา
ครผู ู้สอนเพ่อื ใหค้ วามช่วยเหลอื แกน่ ักเรียน

ชุดท่ี ๖ การเปล่ยี นแปลงของวัสดุ

๑๓
ชดุ กจิ กรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๓

มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจสมบัติของสารความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสาร
กับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะความรู้
และจิตวทิ ยาศาสตร์ สอ่ื สารส่งิ ทีเ่ รยี นรู้และนาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์

ตวั ชี้วดั
ว ๓.๑ ป.๓/๑ ทดลองและอธิบายผลของการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนกับวัสดุ
เมอื่ ถกู แรงกระทา หรือทาให้รอ้ นขึน้ หรอื ทาให้เย็นลง

สาระสาคัญ

วัสดุแต่ละชนิดท่ีมีแหล่งที่มาแตกต่างกัน จึงมีการเปล่ียนแปลงเกิดข้ึนเมื่อมี
แรงกระทาหรือการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ จะทาให้วัสดุรูปร่างและขนาด
เปลี่ยนแปลงได้ แต่ยังมีสมบัติเดิมอยู่ วัตถุบางชนิดเม่ือได้รับความร้อนจะ
เปลยี่ นแปลงรูปร่าง สี และกล่ิน ไม่สามารถคงสมบัติเดิมของวัตถุน้ันได้ ซ่ึงการ
เลอื กใชว้ สั ดทุ ดแทนในการทาของเลน่ หรือของใช้ ควรคานึงถึงการเปล่ียนแปลง
ต่างๆ ทีเ่ กิดข้ึน

ชดุ ท่ี ๖ การเปล่ยี นแปลงของวัสดุ

๑๔
ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๓

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

ด้านความรู้ (K)
๑. นกั เรียนสามารถอธิบายเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงของวัสดุ เม่ือถูกแรง

กระทา การทาใหร้ ้อนขนึ้ หรือทาให้เย็นลงไดถ้ กู ตอ้ ง
ด้านทกั ษะกระบวนการ (P)

๒. นกั เรยี นสามารถทาการทดลองเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงของวัสดุ เมื่อ
ถกู แรงกระทา การทาใหร้ อ้ นขนึ้ หรือทาให้เยน็ ลงได้อยา่ งถกู ตอ้ ง
ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A)

๓. นกั เรียนมรี ะเบยี บวินัย มีความรับผิดชอบ และมีความรอบคอบในการ
ทางาน

สาระการเรียนรู้

การเปลยี่ นแปลงของวัสดุ เมื่อมแี รงชนิดตา่ ง ๆ มากระทา
การเปล่ยี นแปลงของวัสดุ เมื่อได้รบั ความร้อนหรือความเยน็

ชดุ ท่ี ๖ การเปลย่ี นแปลงของวสั ดุ

๑๕
ชุดกจิ กรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓

ชดุ กิจกรรมการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์
เรื่อง วสั ดรุ อบตวั เรา

ชดุ ที่ ๖ การเปลี่ยนแปลงของวัสดุ

ชดุ ท่ี ๖ การเปลยี่ นแปลงของวสั ดุ

๑๖
ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๓

ขนั้ ที่ ๑
ขัน้ ตรวจสอบความรู้เดมิ

บตั รคาสงั่ ที่ ๑
ให้นักเรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
ตามบัตรแบบทดสอบก่อนเรียน
จานวน ๑๐ ขอ้ ใช้เวลา ๑๐ นาที

ชดุ ท่ี ๖ การเปลย่ี นแปลงของวัสดุ

๑๗
ชุดกจิ กรรมการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๓

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

ชุดกจิ กรรมการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เร่ือง วสั ดุรอบตวั เรา

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ ชดุ ที่ ๖ การเปลี่ยนแปลงของวสั ดุ

จานวน ๑๐ ขอ้ คะแนน ๑๐ คะแนน เวลา ๑๐ นาที

คาช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นทาเครือ่ งหมายกากบาท (X) ทับตัวอักษร ก ข ค และ ง
ทีถ่ กู ต้องท่ีสดุ เพียงคาตอบเดียว

๑. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ การเปลย่ี นแปลงของวัสดดุ ว้ ยความรอ้ น
ก. การต้มน้าร้อน
ข. การทาน้าแข็ง
ค. การเชื่อมโลหะ
ง. การเผาไมฟ้ นื

๒. วัสดุในข้อใด เมื่อได้รับความร้อนแล้ว สมบัติของวัสดุจะเปล่ียนไป
ท้ังหมด

ก. สบู่ ทองคา ไอศกรมี
ข. นา้ แขง็ เทียนไข ข้ีผึ้ง
ค. ธูป ไข่ไก่ เมล็ดข้าวโพด
ง. น้า กระดาษ ชอ้ น โลหะ

๓. ขอ้ ใด เป็นวิธีทท่ี าให้วัสดเุ กิดการเปลี่ยนแปลง
ก. การให้ความเยน็ แก่นา้
ข. การออกแรงบีบดินนา้ มัน
ค. การให้ความร้อนแกน่ า้ แขง็
ง. ถูกทกุ ขอ้

ชดุ ท่ี ๖ การเปลยี่ นแปลงของวสั ดุ

๑๘
ชดุ กิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๓

๔. วสั ดใุ ด เมอื่ ใหค้ วามร้อนจะมีลักษณะแตกต่าง
ก. นา้ แขง็
ข. เทียนไข
ค. กระดาษ
ง. ดินน้ามัน

๕. ถ้าใหค้ วามร้อนแก่ดินน้ามนั นักเรยี นคิดวา่ ดินนา้ มันจะเป็นอย่างไร
ก. แขง็ ตวั
ข. ละลาย
ค. เหนียวขึน้
ง. ระเหยกลายเป็นไอ

๖. ข้อใดเป็นวิธีการเปล่ียนแปลงรูปร่างของเหลก็
ก. ทบุ
ข. บดิ
ค. บีบ
ง. กด

๗. สง่ิ ของในข้อใด ไมค่ วร นามาบีบเลน่
ก. ลูกบอล
ข. หลอดไฟ
ค. หมอนขา้ ง
ง. ตุก๊ ตายาง

ชุดท่ี ๖ การเปลีย่ นแปลงของวัสดุ

๑๙
ชดุ กจิ กรรมการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๓

๘. การดึงวสั ดุในขอ้ ใด ไมท่ ำ ใหเ้ ปล่ียนรูปร่าง
ก. สาลี
ข. ขนสตั ว์
ค. กระดาษ
ง. กระเบอ้ื ง

๙.วัสดุชนดิ ใด ไม่เกิด การหลอมละลายเม่อื ไดร้ ับความรอ้ นสูง
ก. แกว้
ข. โลหะ
ค. กระเบื้อง
ง. พลาสตกิ

๑๐. ข้อใดคือวธิ ที าใหเ้ สน้ ลวดเปลี่ยนแปลงไปเปน็ รูปร่างตา่ ง ๆ ได้
ก. ทบุ
ข. ดดั
ค. ดึง
ง. บบี

การเปลย่ี นแปลงของวัสดุเปน็ แบบไหน
ไปศกึ ษาจากบตั รเนื้อหากนั เลยครบั เด็กๆ

ชุดที่ ๖ การเปลี่ยนแปลงของวสั ดุ

๒๐
ชุดกิจกรรมการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๓

ขนั้ ท่ี ๒
ขนั้ เร้าความสนใจ

บตั รคาสง่ั ที่ ๒

๑. ใหน้ ักเรยี นทาบัตรกิจกรรมที่ ๑
การเปลย่ี นแปลงของวสั ดุ

๒. ให้นักเรยี นทาบตั รกิจกรรมท่ี ๒
การเปล่ียนแปลงของวสั ดุ

ชุดท่ี ๖ การเปลย่ี นแปลงของวสั ดุ

๒๑
ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓

บัตรกจิ กรรมที่ ๑
การเปลย่ี นแปลง

ของวสั ดุ

คาชี้แจง ให้นักเรียนวาดภาพการเปล่ียนแปลงของวัสดุท่ีกาหนดให้
พรอ้ มทง้ั บอกว่าใช้วธิ ีการใด ทีท่ าให้วัสดุเกดิ การเปลยี่ นแปลง

ทาให้เปลยี่ นแปลง
โดยการ

กระดาษ

ทาให้เปล่ยี นแปลง
โดยการ

ดนิ นา้ มัน

ทาใหเ้ ปลี่ยนแปลง
โดยการ

ก้อนอฐิ

ชุดท่ี ๖ การเปลี่ยนแปลงของวัสดุ

๒๒
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๓

ทาให้เปลี่ยนแปลง
โดยการ

กง่ิ ไม้

ทาให้เปล่ยี นแปลง
โดยการ

ผา้ เชด็ หน้า

ชอ่ื ....................................................นามสกลุ ..................................ชนั้ ...........ีเลขท่.ี ............
ชุดท่ี ๖ การเปลี่ยนแปลงของวสั ดุ

๒๓
ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๓

บตั รกจิ กรรมท่ี ๒
การเปลี่ยนแปลง

ของวัสดุ

คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นนาคาที่กาหนดให้ มาเติมลงในชอ่ งว่าง ใหไ้ ดใ้ จความ
ทสี่ มบูรณ์

ตากแดด นา้ แขง็ ความเยน็ หลอม ลดลง ของเหลว

๑. นอกจากแรงต่างๆ ทาให้วสั ดเุ ปล่ยี นรปู ร่างแล้ว ยังมี.......................................
และ...................................................ทาให้วัสดเุ ปล่ยี นรปู ร่างได้
๒. เม่อื นาน้าใส่ขนั ไปตากแดด นา้ จะมปี รมิ าณลดลง เพราะน้าบางส่วนจะ
...........................................................ไปในอากาศ
๓. เมอ่ื นานา้ ไปตม้ จนเดือดจะม.ี ............................................................พุ่งข้ึนมา
๔. นาน้าใสถ่ ว้ ยไปแช่ในช่องนา้ แขง็ น้าจะกลายเป็น.............................................
๕. เมื่อนาเทยี นไขไปตากแดด เทยี นไขจากของแข็งกลายเป็น.............................
๖. เหล็กขยายตวั เมือ่ ได้รบั อุณหภูมิ......................................................และหดตัว
เมือ่ อุณหภมู ิ.........................................................................................................
๗. กระดาษและผา้ เมอ่ื ไดร้ ับความร้อนมากๆ จะ........................................เปน็ ผง
๘. การ............................เทียนเพื่อทาเทียนไวจ้ ดุ ต้องให้ความร้อนหลอมละลาย
เทียนให้เหลว
๙. ถา้ ตอ้ งการให้ดินนา้ มันน่ิมควรนาไป...............................................................
๑๐. นายชา่ งใช้เคร่อื งมอื ....................................เหล็ก ทาเป็นประตูและหน้าตา่ ง

ชอื่ ....................................................นามสกลุ ..................................ชั้น...........ีเลขท.ี่ ............

ชุดท่ี ๖ การเปล่ยี นแปลงของวสั ดุ

๒๔
ชุดกิจกรรมการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓

ขั้นท่ี ๓
ขั้นสารวจและค้นหา

บัตรคาส่ังที่ ๓

ใหน้ ักเรียนทาการทดลองตามบตั รกิจกรรมท่ี ๓
การเปลย่ี นแปลงของวัสดุ

ชดุ ท่ี ๖ การเปลยี่ นแปลงของวัสดุ

๒๕
ชดุ กิจกรรมการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓

บตั รกิจกรรมท่ี ๓
การเปลย่ี นแปลง

ของวัสดุ

คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรยี นทากจิ กรรมการทดลองเรื่อง การเปลี่ยนแปลง
ของวสั ดุแลว้ บนั ทึกผลการทดลอง

กจิ กรรมการทดลอง : เรอ่ื ง การเปลย่ี นแปลงของวสั ดุ

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
๑. นักเรียนสามารถทดลองและสรุปผลการทดลองเก่ียวกับผลการ
เปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นกับวัตถุเม่ือถูกแรงกระทา หรือทาให้ร้อนขึ้นหรือ
เยน็ ลงได้
๒. อธบิ ายผลของการเปล่ียนแปลงท่ีเกดิ ขึน้ กบั วสั ดุเมอ่ื ถูกแรงกระทา หรือ
ทาให้รอ้ นหรอื เยน็ ลงได้

อุปกรณ์

๑. กระดาษขนาด A๔ ๗ แผ่น
๒. เทียนไข ๗ เลม่
๓. เส้นลวดขนาดความยาว ๑๐ เซนตเิ มตร
๔. กรรไกร ๑ เล่ม
๕. คมี คบี ๑ อัน
๖. ไม้ขีดไฟ ๑ กลกั
๗. ถ้วยกระเบ้ือง ๑ ใบ
๘. ตะเกยี งแอลกอฮอล์

ชดุ ท่ี ๖ การเปล่ียนแปลงของวสั ดุ

๒๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๓

วิธกี ารทดลอง

๑.นากระดาษขนาด A๔ มาทาการทดลอง ดังนี้
๑.๑ ออกแรงบีบ โดยใช้มือออกแรงบีบกระดาษทั้งสองด้านให้เข้าหา

กัน สงั เกตและบันทกึ ผล
๑.๒ ออกแรงบิด โดยใช้มือท้ัง ๒ ข้าง จับกระดาษ จากนั้นออกแรง

หมุนมอื ท้ัง ๒ ขา้ ง ในทศิ ทางตรงกันข้าม สังเกตและบันทึกผลการทดลอง
๑.๓ ออกแรงทุบ โดยกามือและทุบลงบนกระดาษ สังเกตและบันทึก

ผลลงตาราง
๑.๔ ออกแรงตัด โดยใช้กรรไกรตัดกระดาษให้ฉีกขาดออกจากกัน

สงั เกตและบนั ทึกลงในตาราง
๑.๕ ออกแรงดงึ โดยใช้มือทั้ง ๒ ข้าง จับกระดาษ จากน้ันออกแรงดึง

กระดาษในทศิ ทางตรงกนั ข้ามสังเกตและบันทึกผลลงในตาราง
๑.๖ ออกแรงดัด โดยใช้มือออกแรงทาให้กระดาษเกิดการโค้งงอ

สงั เกตและบนั ทึกผลลงในตาราง
๑.๗ ให้ความร้อน โดยใช้คีมคีบกระดาษขนาด ๕ x ๕ เซนติเมตร

จานวน ๑ แผ่น ให้ความร้อนแก่กระดาษโดยการจุดไฟด้วยตะเกียงแอลกอฮอล์
เผากระดาษในถ้วยกระเบอื้ ง สงั เกตและบนั ทกึ ผลลงในตาราง

๑.๘ ให้ความเย็น นากระดาษท่ีได้รับความร้อนในข้อ ๑.๗ มาต้ังไว้
สักครู่เพ่ือให้กระดาษคายความร้อนหรือเย็นตัวลง สังเกตและบันทึกผลลงใน
ตาราง

๒. ให้นักเรยี นทาซา้ ข้อ ๓ แตเ่ ปลยี่ นจากแผน่ ไม้ เป็นแผ่นพลาสติก
แผน่ กระดาษและเศษผ้าแทน

ชดุ ท่ี ๖ การเปลีย่ นแปลงของวสั ดุ

๒๗
ชุดกิจกรรมการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๓

ตารางบันทกึ การเปลีย่ นแปลงของวัสดุ

วิธีการทาใหว้ ัสดุเกดิ ผลการเปลีย่ นแปลงทเี่ กดิ ขึน้
การเปลย่ี นแปลง กระดาษ เทียนไข เสน้ ลวดขนาดเลก็

ออกแรงบบี
ออกแรงบดิ
ออกแรงทุบ
ออกแรงตดั
ออกแรงดงึ
ออกแรงดดั
ใหค้ วามรอ้ น
ใหค้ วามเย็น

สรุปผลการทดลอง

…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………..

ชือ่ ....................................................นามสกุล..................................ชนั้ ...........ีเลขท่.ี ............
ชดุ ที่ ๖ การเปล่ียนแปลงของวัสดุ

๒๘
ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๓

ข้นั ท่ี ๔
ข้ันอธบิ าย

บตั รคาส่งั ที่ ๔

๑. ให้นกั เรียนศกึ ษาบตั รเนอ้ื หา
เร่อื ง การเปลี่ยนแปลงของวัสดุ
๒. ให้นกั เรยี นทาบัตรกิจกรรมที่ ๔
เรอ่ื ง การเปล่ียนแปลงของวสั ดุ

ชดุ ท่ี ๖ การเปล่ยี นแปลงของวสั ดุ

๒๙
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓

บตั รเนื้อหา
เร่อื ง การเปล่ียนแปลงของวสั ดุ

การเปลีย่ นแปลงของวสั ดุ

เราใช้วัสดุทาเป็นวัตถุต่างๆ ในการนาวัสดุบางชนิดมาใช้ประโยชน์
นอกจากจะนาวัสดุชนิดน้ันมาใช้โดยตรงแล้ว ในบางครั้งจะต้องมีการ
เปล่ียนแปลงลักษณะและสมบัติบางประการของวัสดุ เพ่ือให้วัสดุมีความ
เหมาะสมและปลอดภยั ในการใชง้ าน

นกั เรยี นคิดว่าเราสามารถเปล่ียนแปลงรปู ร่าง
ของวัสดไุ ด้อย่างไรบา้ ง

หนูใชแ้ ปง้ ปั้น ผมดงึ ยางใหย้ ืด
บวั ลอยได้ค่ะ ออกได้ครับ

พอ่ ผมอัดดินให้ หนูใชด้ นิ ป้นั เปน็
เปน็ ก้อนอฐิ ครับ ชา้ งได้คะ่

ชดุ ที่ ๖ การเปลี่ยนแปลงของวสั ดุ

๓๐
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓

วธิ กี ารท่ีจะทาใหว้ สั ดเุ กดิ การเปลี่ยนแปลง
๑.เม่อื มีแรงภายนอกมากระทากบั วัสดุ ไดแ้ ก่

ภาพที่ ๑ การบบี การบบี คือ การใช้
มือกดด้านท้ังสองของ
ทมี่ า : https://www.google.com/ สิง่ ใดส่ิงหน่ึงเข้าหากัน

การบดิ คอื การใช้มอื ท้ัง ภาพท่ี ๒ การบิดผ้า
สองขา้ งจบั ส่งิ ของแล้วหมุน
มอื ท้งั ๒ ขา้ ง ไปในทิศทาง ท่ีมา : https://www.google.com
ตรงกันขา้ ม

ภาพท่ี ๓ การทุบ การทุบ คือ การใช้
ของแขง็ เชน่ คอ้ นตีลงไป
ทีม่ า : https://www.google.com/ บนส่ิงใดส่ิงหนึ่ง เพ่ือให้
แตก

ชุดที่ ๖ การเปล่ยี นแปลงของวัสดุ

๓๑
ชดุ กิจกรรมการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓

การตัด คือ การทาให้ ภาพท่ี ๔ การตดั
ขาดดว้ ยของมีคม ท่ีมา : https://www.google.com

จับสิ่งของแล้ว การดึง คือ การเหนี่ยวมา
หมนุ มอื ท้ัง 2 ขา้ ง ไป ฉุดมา รั้งมาให้เข้าหาตัว หรือ
ใน การใช้มือจับวัสดุแล้วออกแรง
ในทิศทางตรงกันขา้ ม เพื่อทาให้
ภาพท่ี ๕ การดึง วัสดยุ ดื ออก
ทมี่ า : https://www.google.com

ทิศทางตรงกนั
ขา้ ม

การดัด คือ การทาให้ ภาพท่ี ๖ การดัด
สง่ิ ของคดหรอื ตรง ที่มา : https://www.google.com
ตามความตอ้ งการ

ชดุ ท่ี ๖ การเปลยี่ นแปลงของวัสดุ

๓๒
ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓

๒.เมื่อใหค้ วามรอ้ นหรือความเยน็ แก่วัสดุ
วิธีการน้ีอาจจะทาให้วัสดุบางชนิดเกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง แต่สมบัติ

ของวัสดุยงั คงเดมิ เชน่

ความร้อน

ภาพที่ ๗ การหลอมเหลวของเทยี นไข
ที่มา : https://www.google.com

เมื่อเทียนไขได้รับความร้อน เทียนไขจะเกิดการเปล่ียนแปลง โดยเกิดการ
หลอมเหลว

ความช้นื

ภาพที่ ๘ การเปลยี่ นแปลงของโลหะ
ที่มา : https://www.google.com

เมื่อโลหะไดร้ ับความชน้ื หรอื ความเยน็ เปน็ เวลานาน โลหะจะเกดิ การ
เปล่ยี นแปลงโดยมีสนมิ เกิดขน้ึ

ชุดท่ี ๖ การเปล่ยี นแปลงของวสั ดุ

๓๓
ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๓

วัสดุบางอยา่ งอาจเกดิ การเปลีย่ นแปลงรปู ร่าง ขนาด กล่ิน และสี ทาให้
สมบัติของวัสดเุ กิดการเปลย่ี นแปลงหรือไดส้ ารใหม่เกดิ ขน้ึ เช่น

ความรอ้ น

ไข่ดิบ ไขด่ าว

ภาพที่ ๙ การเปลย่ี นแปลงไขไ่ กเ่ ม่ือไดร้ บั ความร้อน
ที่มา : https://www.google.com

ความร้อน

ไม้ ถ่านไม้

ภาพที่ ๑๐ การเปลย่ี นแปลงของไม้เมื่อได้รบั ความรอ้ น
ทีม่ า : https://www.google.com

ชดุ ที่ ๖ การเปลีย่ นแปลงของวสั ดุ

๓๔
ชุดกิจกรรมการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓

บตั รกิจกรรมท่ี ๔
การเปล่ียนแปลง

ของวัสดุ
คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนเขียนแผนผังความคดิ สรปุ เรอ่ื งการเปลยี่ นแปลง

ของวัสดุ แลว้ นาออกมาเสนอหน้าชั้นเรยี น

การเปลยี่ นแปลงของวสั ดุ

ช่อื ....................................................นามสกลุ ..................................ชั้น...........ีเลขที่.............
ชดุ ท่ี ๖ การเปลย่ี นแปลงของวัสดุ

๓๕
ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓

ขน้ั ท่ี ๕
ข้นั ขยายแนวความคดิ

บัตรคาสง่ั ที่ ๕

๑. ให้นกั เรียนทาบัตรกจิ กรรมที่ ๕
การเปล่ียนแปลงของวัสดุ
๒. ให้นักเรียนทาบตั รกจิ กรรมท่ี ๖
การเปลี่ยนแปลงของวสั ดุ

ชุดที่ ๖ การเปล่ียนแปลงของวสั ดุ

๓๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๓

บตั รกจิ กรรมที่ ๕
การเปลี่ยนแปลง

ของวัสดุ

คาชแี้ จง ใหน้ กั เรยี นเขยี นเคร่ืองหมาย  หน้าขอ้ ความท่ีถกู ต้อง
และเขียนเครอ่ื งหมาย  หน้าขอ้ ความท่ีไม่ถูกตอ้ ง

๑.จากไข่ไก่สด ทาใหร้ ้อนจนเปน็ ไขด่ าว เปน็ การเปลี่ยนแปลงวสั ดุทีท่ า
ให้เกิดประโยชน์
๒.ถ้ามีแรงมากระทาต่อวัสดุ ยอ่ มเกดิ การเปล่ยี นแปลงเสมอ
๓.เมอื่ มีการเปล่ยี นแปลงวสั ดุ จะทาให้เกดิ อันตรายเสมอ
๔.แก้วเปน็ วัสดุท่ีไมไ่ หม้ไฟ
๕.โลหะ พลาสติก กระเบ้อื ง ไมห่ ลอมละลายเมือ่ ได้รบั ความร้อนสงู
๖.เส้นลวดจะเปลย่ี นรปู รา่ งได้ตอ่ เมือ่ เราออกแรงดัด
๗.เม่ือเราเอามอื บีบกระดาษจะเกดิ การเปลี่ยนแปลง คอื กระดาษยับ
๘.ของเล่นของใชท้ ีเ่ ป็นไม้ ถ้าโดนนา้ บ่อยๆ จะเปน็ สนิม
๙.การเผาไหม้ เปน็ การเปลีย่ นแปลงของวสั ดทุ ไ่ี มส่ ามารถทาให้วัสดุ
กลับมาเปน็ แบบเดมิ ได้
๑๐. เมอ่ื นา้ ตาเทียนแขง็ ตัวเปน็ การเปล่ยี นแปลงของวัสดทุ ี่เกิดจากการ
ไดร้ ับความเย็น

ชดุ ที่ ๖ การเปลีย่ นแปลงของวัสดุ

๓๗
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๓

บตั รกิจกรรมท่ี ๖
การเปลี่ยนแปลง

ของวัสดุ

คาช้ีแจง ให้นกั เรยี นวาดภาพการเปลยี่ นแปลงของเทยี นไขและนา้
พร้อมท้ัง เตมิ คาตอบลงในช่องว่าง

เทียนไขที่อณุ หภมู ิหอ้ ง เทยี นไขเมอื่ ได้รบั ความ เทียนไขเมอ่ื ได้รับความ
มีลกั ษณะเปน็ รอ้ น มีลักษณะเปน็
................................... เยน็ มลี ักษณะเป็น
................................... ...................................

นา้ ที่อณุ หภมู หิ อ้ ง น้าเม่อื ได้รับความรอ้ น นา้ เมือ่ ได้รบั ความเยน็
มลี ักษณะเปน็ มีลกั ษณะเป็น
มีลักษณะเป็น
................................... ................................... ...................................

สรุปว่าเทียนไข นา้ หรือวสั ดทุ กุ ชนิดสามารถเปล่ียนรปู รา่ งได้ เมอ่ื ไดร้ บั
.................................................หรือ..............................................................

ช่อื ....................................................นามสกลุ ..................................ชัน้ ...........ีเลขที.่ ............

ชุดที่ ๖ การเปลย่ี นแปลงของวัสดุ

๓๘
ชดุ กิจกรรมการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓

ข้ันท่ี ๖
ข้นั ประเมินผล

บตั รคาสัง่ ท่ี ๖

ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี น
ตามบตั รแบบทดสอบหลังเรียน
จานวน ๑๐ ข้อ ใชเ้ วลา ๑๐ นาที

ชดุ ที่ ๖ การเปล่ียนแปลงของวสั ดุ

๓๙
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๓

แบบทดสอบหลังเรยี น

ชุดกิจกรรมการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ เรื่อง วัสดุรอบตวั เรา

ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๓ ชดุ ที่ ๖ การเปล่ียนแปลงของวัสดุ

จานวน ๑๐ ขอ้ คะแนน ๑๐ คะแนน เวลา ๑๐ นาที

คาชแี้ จง ให้นกั เรยี นทาเคร่อื งหมายกากบาท (X) ทบั ตวั อักษร ก ข ค และ ง
ท่ถี ูกตอ้ งท่ีสดุ เพียงคาตอบเดยี ว

๑. วัสดุในข้อใด เม่ือได้รับความร้อนแล้ว สมบัติของวัสดุจะเปลี่ยนไป
ทงั้ หมด
ก. สบู่ ทองคา ไอศกรีม
ข. นา้ แขง็ เทยี นไข ขผ้ี งึ้
ค. ธปู ไข่ไก่ เมลด็ ข้าวโพด
ง. นา้ กระดาษ ชอ้ น โลหะ

๒. ขอ้ ใด เปน็ วธิ ที ีท่ าใหว้ สั ดุเกดิ การเปลย่ี นแปลง
ก. การให้ความเยน็ แก่น้า
ข. การออกแรงบีบดนิ นา้ มนั
ค. การให้ความร้อนแก่น้าแขง็
ง. ถกู ทุกขอ้

๓. สงิ่ ของในขอ้ ใด ไมค่ วร นามาบบี เลน่
ก. ลกู บอล
ข. หลอดไฟ
ค. หมอนขา้ ง
ง. ตุ๊กตายาง

ชุดที่ ๖ การเปลี่ยนแปลงของวสั ดุ

๔๐
ชดุ กิจกรรมการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓

๔. วสั ดใุ ด เมือ่ ให้ความรอ้ นจะมลี กั ษณะแตกต่าง
ก. น้าแขง็
ข. เทยี นไข
ค. กระดาษ
ง. ดินนา้ มัน

๕. ขอ้ ใดเปน็ วธิ ีการเปลีย่ นแปลงรูปร่างของเหล็ก
ก. ทบุ
ข. บดิ
ค. บบี
ง. กด

๖. ถา้ ใหค้ วามรอ้ นแกด่ ินน้ามนั นักเรียนคดิ วา่ ดินนา้ มนั จะเป็นอย่างไร
ก. แข็งตัว
ข. ละลาย
ค. เหนยี วขน้ึ
ง. ระเหยกลายเปน็ ไอ

๗. การดึงวัสดุในข้อใด ไม่ทำ ให้เปลย่ี นรูปร่าง
ก. สาลี
ข. ขนสตั ว์
ค. กระดาษ
ง. กระเบ้อื ง

ชดุ ท่ี ๖ การเปลย่ี นแปลงของวัสดุ

๔๑
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๓

๘. วัสดชุ นดิ ใด ไมเ่ กดิ การหลอมละลายเม่ือได้รบั ความร้อนสงู
ก. แกว้
ข. โลหะ
ค. กระเบอ้ื ง
ง. พลาสตกิ

๙. ข้อใดคอื วธิ ีทาใหเ้ ส้นลวดเปลยี่ นแปลงไปเปน็ รปู ร่างตา่ ง ๆ ได้
ก. ทุบ
ข. ดัด
ค. ดงึ
ง. บีบ

๑๐. ข้อใด ไมใ่ ช่ การเปล่ียนแปลงของวสั ดุด้วยความร้อน
ก. การตม้ นา้ รอ้ น
ข. การทานา้ แข็ง
ค. การเช่อื มโลหะ
ง. การเผาไมฟ้ นื

ทาแบบทดสอบหลังเรียน
เสร็จแลว้
ไปทาบัตรกจิ กรรมท่ี ๗
กนั ต่อเลยนะคะ

ชุดท่ี ๖ การเปลี่ยนแปลงของวสั ดุ

๔๒
ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๓

ขั้นท่ี ๗
ขน้ั นาความรไู้ ปใช้

บตั รคาส่งั ที่ ๗

ใหน้ ักเรียนทาบตั รกจิ กรรมที่ ๗
การเปลี่ยนแปลงของวสั ดุ

ชดุ ท่ี ๖ การเปลย่ี นแปลงของวสั ดุ


Click to View FlipBook Version