The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมเล่มงานวิจัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by oracha2607, 2021-09-21 20:36:16

รวมเล่มงานวิจัย

รวมเล่มงานวิจัย

อโวคาโดนมสด

จดั ทาโดย
นางสาวจิตรลดา นวนงาม รหสั นกั ศึกษา 63302010074
นางสาวอรชา สุวรรณกฏู รหัสนกั ศกึ ษา 63302010075

เสนอ
อาจารยน์ ิพร จทุ ยั รตั น์

รายงานโครงการน้ีเป็นสว่ นหน่ึงของวชิ าโครงการ รหสั วิชา 30201-8501
ระดบั การศึกษาหลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพชั้นสูง
สาขาวิชาการบัญชี ประเภทวชิ าพาณชิ ยกรรม
วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาชลบุรี

โครงการอโวคาโดนมสด

จัดทาโดย
นางสาวจติ รลดา นวนงาม รหสั นกั ศกึ ษา 63302010074
นางสาวอรชา สวุ รรณกูฏ รหสั นักศึกษา 63302010075

เสนอ
อาจารยน์ พิ ร จทุ ยั รัตน์

รายงานโครงการน้เี ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษา วิชา โครงการ
สาขาวิชาการบัญชี ประเภทวิชาพาณชิ ยกรรม
ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564



วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาชลบรุ ี
ใบรับรองโครงการ

วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาศึกษาชลบุรี

เรื่อง อโวคาโดนมสด
จัดทาํ โดย นางสาวจติ รลดา นวนงาม

นางสาวอรชา สุวรรณกฏู

ได้รับการรับรองให้นับเปน็ สว่ นหน่ึงของการศึกษาตามหลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี ชัน้ สงู
(ปวส.) สาขาวิชาการบญั ชี ประเภทวิชาบรหิ ารธรุ กิจ

....................................หวั หนา้ แผนกวิชา ..............................รองผอู้ าํ นวยการฝ่ายวชิ าการ
(นางนพิ ร จุทัยรัตน)์ (นายยรรยง ประกอบเกอ้ื )

วันท.่ี ........เดือน................พ.ศ.............. วันที่.........เดอื น................พ.ศ..............

คณะกรรมการสอบโครงการ
...................................................ประธานกรรมการ (อาจารย์ท่ปี รึกษาโครงการ)
(...........................................)

....................................................กรรมการ
(...........................................)

....................................................กรรมการ
(...........................................)

....................................................กรรมการ
(...........................................)



ชอ่ื ผลงาน อโวคาโวนมสด
ชอื่ นกั ศึกษา
นางสาวจิตรลดา นวนงาม
สาขาวชิ า
ประเภทวิชา นางสาวอรชา สุวรรณกูฏ
ปกี ารศึกษา
สถานศึกษา การบัญชี

บรหิ ารธุรกจิ

2564

วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาชลบุรี

บทคัดยอ่

ในการศึกษาเรื่องอโวคาโดนมสด มวี ตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือพัฒนาผลิตภัณฑ์อโวคาโดนมสด 2.
เพื่อพฒั นาบรรจุภัณฑ์และเป็นทางเลอื กใหแ้ ก่ผู้บรโิ ภค 3. เพอื่ ศกึ ษาความพงึ พอใจของกลุ่มเปา้ หมาย
ท่ีมตี อ่ อโวคาโดนมสด กล่มุ เป้าหมายไดแ้ ก่ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพชน้ั สูง (ปวส.) ชนั้ ปี
ที่ 2 สาขาวชิ าการบัญชี ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาชลบรุ ี จาํ นวน 84 คน
เครื่องมือท่ีใชใ้ นการศกึ ษาแบบสอบถามความพึงพอใจ โดยแบง่ เป็น 4 ด้าน ไดแ้ ก่ ด้านคุณภาพ
ผลิตภณั ฑ์ ด้านบรรจภุ ัณฑ์ ด้านราคา และด้านสง่ เสรมิ การจัดจําหนา่ ย และสถติ ิท่ีใชใ้ นการวเิ คราะห์
ไดแ้ ก่ ร้อยละ
(Percentage) คา่ เฉลยี่ (Arithmetic Mean) ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation S.D.)

ผลการศึกษาพบวา่
ตอนที่ 1 ขอ้ มูลทว่ั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม พบวา่ นักศกึ ษาจากกลมุ่ เป้าหมายส่วนใหญ่
เป็นเพศหญิง จาํ นวน 84 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 94.00 และเพศชายจาํ นวน 5 คน คดิ เปน็ ร้อยละ
6.00 สว่ นใหญ่อยใู่ นชว่ งอายุ 18 – 20 ปี จํานวน 78 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 92.90 รองลงมาอายุ
21 ปขี น้ึ ไป จาํ นวน 5 คน คดิ เป็นร้อยละ 6.00 และอายุ 15 – 17 ปี จํานวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อย
ละ 1.20 และสว่ นใหญ่เป็นกลุม่ ปวส.2/2 จาํ นวน 29 คน คิดเป็นร้อยละ 34.50 รองลงมากลุ่ม
ปวส.2/1 จํานวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 33.30 และกลุ่มปวส.2/3 จาํ นวน 27 คน คิดเปน็ ร้อย
ละ 32.10



ตอนที่ 2 ศึกษาความพงึ พอใจท่ีมตี ่อผลิตภณั ฑแ์ ละบรรจุภัณฑอ์ โวคาโดนมสด
โดยแบง่ เปน็ 4 ดา้ น ได้แก่ ดา้ นคณุ ภาพผลติ ภัณฑ์ ดา้ นบรรจภุ ัณฑ์ ดา้ นราคา และด้านส่งเสริมการจดั
จําหนา่ ย

ดา้ นคณุ ภาพผลิตภัณฑ์ โดยรวมมีความพึงพอใจในระดบั มาก เมื่อพจิ ารณาเปน็ รายข้อแล้ว
ปรมิ าณความเหมาะสมของผลติ ภณั ฑ์ มีความพึงพอใจในระดับมาก รองลงมาความหวานมันของ
ผลิตภัณฑ์ ความสะอาดของผลติ ภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์มีประโยชน์ตอ่ การสขุ ภาพ และกล่ินอโวคาโดของ
ผลติ ภัณฑ์

ดา้ นบรรจภุ ณั ฑ์ โดยรวมมีความพงึ พอใจในระดบั มาก และเม่อื พิจารณาเป็นรายขอ้ แล้ว
บรรจภุ ัณฑ์มีความเหมาะสมกับผลติ ภัณฑ์ มคี วามพงึ พอใจในระดบั มาก รองลงมาบรรจภุ ัณฑม์ ีความ
สวยงาม ความทนั สมัยของบรรจภุ ณั ฑ์ และโลโก้บรรจุภัณฑ์มีความสวยงาม

ด้านราคา โดยรวมมีความพึงพอใจในระดับมาก เม่อื พิจารณาเป็นรายข้อแล้ว ป้ายแสดง
ราคามรี ายละเอยี ดชัดเจน มคี วามพงึ พอใจในระดับมาก รองลงมาราคาสนิ คา้ มคี วามคุ้มค่าเมอื่ เทียบ
กบั สนิ ค้าและบรกิ ารที่ไดร้ บั และราคาสนิ คา้ มีความเหมาะสมกบั ประโยชน์ท่ีไดร้ บั

ดา้ นสง่ เสริมการจดั จาหนา่ ย โดยรวมมคี วามพึงพอใจในระดับมาก เม่ือพจิ ารณาเปน็ รายข้อ
แล้ว ราคาสินคา้ เปน็ ราคามาตรฐาน มคี วามพึงพอใจในระดับมาก รองลงมาสามารถสัง่ สินค้าผ่าน
อินเตอร์เน็ตได้ และการจัดสง่ ตามเวลาที่กําหนด
คาสาคัญ : อโวคาโดนมสด, บรรจภุ ัณฑ,์ ความพงึ พอใจ



กิตตกิ รรมประกาศ

การศึกษาเร่ือง “อโวคาโดนมสด” ในคร้งั นี้ สามารถสาํ เรจ็ ลลุ ่วงอย่างสมบูรณด์ ว้ ยความ
เมตตา จากอาจารย์นิพร จทุ ยั รัตน์ ทีป่ รึกษาโครงการวิจยั ท่ีให้คาํ ปรึกษาแนะนาํ แนวทางทถ่ี กู ต้อง
และเอาใจใสด่ ้วยดตี ลอดระยะเวลาในการทําวจิ ยั ผู้ศกึ ษารู้สกึ ซาบซ้งึ เปน็ อย่างย่ิง จึงขอกรอบ
ขอบพระคุณเปน็ อยา่ งสูงมา ณ โอกาสน้ี

ขอขอบพระคณุ บิดา มารดา และเพ่ือน ๆ ทุกคนท่ีได้ให้คําแนะนาํ ชว่ ยเหลอื สนับสนุนผศู้ ึกษา
โครงการมาตลอด โครงการจะสาํ เรจ็ ลุลว่ งไปไม่ไดห้ ากไม่มีบคุ คลดงั กล่าวในการจัดทาํ โครงการ

คณุ คา่ และประโยชน์ของงานศกึ ษาน้ี ผศู้ ึกษาขอมอบเปน็ กตญั ญกู ตเวทติ าแด่บุพการี
บูรพาจารย์ และผูม้ พี ระคณุ ทุกท่านทั้งในอดีตและปัจจุบนั ที่ได้อบรม ส่ังสอน ช้ีแนะแนวทางใน
การศึกษาจนทําใหผ้ ศู้ ึกษาประสบความสาํ เรจ็ มาจนตราบทุกวนั น้ี

คณะผู้จัดทาํ



สารบัญ

หน้า
ใบรับรองโครงการ................................................................................................................................ง
บทคดั ย่อ..............................................................................................................................................จ
กิตติกรรมประกาศ......................................................................................... ......................................ฉ
สารบญั .................................................................................................................................................ช
สารบัญตาราง......................................................................................................................................ญ
สารบัญภาพ.......................................................................................................... ...............................ฎ
บทที่ 1 บทนาํ ....................................................................................................................................1

ความเป็นมาและความสาํ คัญของปญั หา................................................................................1
วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจยั ......................................................................................................2
ขอบเขตของการวิจยั .............................................................................................................2
ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รับ....................................................................................................2
นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ..................................................................................................................2
บทท่ี 2 เอกสาร ทฤษฎี และงานวิจัยที่เก่ียวขอ้ ง...............................................................................4
จุดประสงคร์ ายวิชา สมรรถนะรายวชิ า และคําอธิบายรายวิชา.............................................4
แนวคดิ การวเิ คราะห์การตลาดแบบการจดั องค์กรอุสาหกรรม..............................................5
แนวคดิ เกยี่ วกบั การขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑช์ ุมชน......................................................7
ทฤษฎีกลยทุ ธ์การตลาด (4Ps) และ (8Ps),กลยุทธ์ตลาดออนไลน.์ .....................................10
การบรโิ ภคและทฤษฎพี ฤตกิ รรมผู้บริโภค (Buyer Behavior’s Model)...........................17
แนวคิดการออกแบบบรรจภุ ณั ฑ.์ ........................................................................................20
ทฤษฎกี ลไกราคา................................................................................................................22
แนวความคดิ ของหลกั การบัญชตี น้ ทนุ ................................................................................24
งานวิจยั ทเี่ กีย่ วข้อง.............................................................................................................26



สารบญั (ต่อ)

หน้า
บทท่ี 3 วธิ กี ารดาํ เนินงานวจิ ยั .........................................................................................................28

ประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง................................................................................................28

เครือ่ งมือที่ใช้ในการศึกษา.................................................................................................28

ขัน้ ตอนในการสรา้ งเครอ่ื งมือ.............................................................................................29
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู .......................................................................................................29
การวิเคราะหข์ ้อมลู และสถิติทีใ่ ชใ้ นการศึกษา...................................................................30
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ........................................................................................................31
ข้อมูลทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม...................................................................................32
ศึกษาความพึงพอใจต่อผลิตภณั ฑแ์ ละบรรจุภณั ฑ์ของอโวคาโดนมสด................................35
ข้อเสนอแนะและความคิดเห็น............................................................................................ 38
บทท่ี 5 สรุปผลการศกึ ษา อธิบายผล และขอ้ เสนอแนะ..................................................................39
สรุปผลการศกึ ษา………….....................................................................................................39
ข้อเสนอแนะ…………............................................................................................................42
บรรณานกุ รม…………......................................................................................................................... .43
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก แบบขออนุมัตโิ ครงการ/แบบเสนอโครงการ
ภาคผนวก ข แบบสอบถาม
ภาคผนวก ค งบประมานค่าใชจ้ า่ ย
ภาคผนวก ง เอกสารประกอบ (ภาพถา่ ย)
ประวตั ิผูจ้ ดั ทาํ



สารบัญตาราง

หนา้
ตารางแผนการดาํ เนินโครงการ…...................................…………………………………………………………...50
ตารางแบบสอบถาม………………………………………………………………………………………………………..……53
ตารางที่ 4.1 แสดงความถ่แี ละรอ้ ยละของกลุ่มเปา้ หมายจําแนกตามเพศ…………….…………………...32
ตารางท่ี 4.2 แสดงความถี่และร้อยละของกลุ่มเปา้ หมายจําแนกตามชว่ งอายุ…..……………………….33
ตารางท่ี 4.3 แสดงความถีแ่ ละรอ้ ยละของกล่มุ เป้าหมายจําแนกตามกลุ่มเรยี น…….…………………...34
ตารางที่ 4.4 แสดงคา่ เฉล่ีย และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจต่อผลติ ภณั ฑแ์ ละบรรจุภณั ฑ์

ของอโวคาโดนมสด ……………………………………………………………….………………..…….35
ตารางท่ี 4.5 แสดงค่าเฉล่ยี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจต่อผลติ ภัณฑแ์ ละบรรจภุ ัณฑ์

ของอโวคาโดนมสด …………………………………………..………..……….…..……………………36
ตารางท่ี 4.6 แสดงค่าเฉลีย่ และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ความพงึ พอใจต่อผลติ ภณั ฑแ์ ละบรรจภุ ัณฑ์

ของอโวคาโดนมสด.......................................................................................... ..........37
ตารางท่ี 4.7 แสดงคา่ เฉล่ีย และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์และบรรจภุ ัณฑ์

ของอโวคาโดนมสด....................................................................................................38



สารบัญภาพ

หน้า

ภาพท่ี 1 แสดงความถร่ี ้อยละของกล่มุ เป้าหมาย จาํ แนกตามเพศ..……………….……..…………………..32
ภาพที่ 2 แสดงความถี่รอ้ ยละของกลุม่ เป้าหมาย จําแนกตามช่วงอายุ…………………..…………….…...33
ภาพท่ี 3 แสดงความถี่รอ้ ยละของกล่มุ เปา้ หมาย จําแนกตามกลมุ่ เรียน………………...………………….34
ภาพที่ 4 แสดงคา่ เฉล่ีย และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของกลมุ่ เป้าหมาย

สรปุ เปน็ รายดา้ นคุณภาพผลติ ภัณฑ์…….…………..…………………………………………..…………35
ภาพที่ 5 แสดงคา่ เฉล่ีย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของกล่มุ เป้าหมาย

สรุปเปน็ รายด้านบรรจุภัณฑ์……………..………………………………………..…………………..…….36
ภาพท่ี 6 แสดงค่าเฉลี่ย และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของกลุ่มเปา้ หมาย

สรปุ เป็นรายดา้ นดา้ นราคา……………..……….………………………………..…………………..………37
ภาพที่ 7 แสดงคา่ เฉล่ยี และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของกลุ่มเปา้ หมาย

สรุปเป็นรายด้านดา้ นสง่ เสรมิ การจัดจาํ หนา่ ย……………………………..…………………..………38
ภาพท่ี 8 บรรจภุ ัณฑ์……………………………..…………………..………….………………………………..…………59
ภาพที่ 9 อโวคาโด……………….……………..…………………..………….………………………………..……………59
ภาพที่ 10 สตรอเบอรร์ ่ี……………………………..…………………..………….………………………………..…..…60
ภาพที่ 11 แอปเปิล……………………………..…………………..………….………………………………..…………..60
ภาพท่ี 12 นํ้าเชอื่ มหญ้าหวาน……………………………..…………………..………….……………………………..61
ภาพท่ี 13 นมสดไขมัน 0%……………………………..…………………..………….…………………………………61
ภาพที่ 14 ปลอกอโวคาโด…………………………………………………..………….…………………………………..62
ภาพที่ 15 ปลอกแอปเปลิ ……………………………..…………………..………….…………………………..……….62
ภาพท่ี 16 นําอโวคาโดใสเ่ ครือ่ งปนั่ ……………………………..…………………..………….…………………….…63
ภาพที่ 17 นําแอปเปิลใสเ่ ครอ่ื งป่นั …………………………..…………………..………….………………………….63
ภาพที่ 18 นําสตรอเบอร์ร่ีใสเ่ ครอ่ื งปนั่ …………………………..…………………..………….…………………….64
ภาพท่ี 19 นํานมสดไขมนั 0% ใสเ่ ครอ่ื งปัน่ …………………..…………………..………….……………………..64



สารบัญภาพ (ตอ่ )

หน้า

ภาพท่ี 20 นํานา้ํ เชอ่ื มหญา้ หวานใสเ่ ครือ่ งป่ัน………..………………..………….…………………………………65
ภาพที่ 21 ป่ันสว่ นผสมทัง้ หมดให้เขา้ กนั ………..………………..………….……………………………………….65
ภาพที่ 22 นําผลติ ภณั ฑ์ใสข่ วด………..…………………………….…………………………………………………….66
ภาพที่ 23 ออกแบบโลโก้ผลติ ภณั ฑ์…..…………………..……….……………………………………………………66
ภาพที่ 24 ตดิ โลโก้ผลติ ภัณฑ์………..………………..………….……………………………………………………….67
ภาพที่ 25 ผลติ ภณั ฑอ์ โวคาโดนมสด…………………..…………..……………………………………………………67

1

บทที่ 1

บทนา

ความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หา

ในปจั จบุ ันผคู้ นสว่ นใหญเ่ รมิ่ หันมาสนใจดแู ลสุขภาพมากข้ึน ไมว่ า่ จะเร่ืองการกนิ การใช้ชีวิต
ใหป้ ลอดภัยจากโรค เราเลยเร่งเหน็ ความสาํ คญั ของสขุ ภาพทด่ี ี กินของท่ีมปี ระโยชน์ หากพดู ถึงอาหาร
เพ่อื “สุขภาพ” แลว้ หนง่ึ ในผลไมท้ ส่ี ายเฮลต้หี ามารบั ประทานกันเป็นประจํา คงหนีไม่พ้นซูเปอรฟ์ ู้ด
อย่าง “อโวคาโด” ซ่งึ ทุกวนั น้กี ลายเปน็ ผลไม้ยอดฮิต และสามารถหาซ้ือได้ง่ายตามห้างสรรพสินคา้
ท่วั ไป ในช่วงแรกๆ ต้องบอกว่าคนไทยยังไม่ค่อยเปดิ ใจใหผ้ ลไมช้ นดิ นเ้ี ทา่ ไหร่ อาจเปน็ เพราะเมื่อก่อน
“อโวคาโด” มรี าคาแพงมาก หาซอ้ื ไดย้ าก ส่วนใหญเ่ มนูท่ีทาํ จากอโวคาโดมีขายเฉพาะในรา้ นอาหาร
หรเู ทา่ นั้น ตอ่ มาในยคุ หนึ่งเมื่อกระแสเรอ่ื งการดแู ลสุขภาพมากแรง บวกกับตอนนอ้ี โวคาโดสามารถ
ผลิตในไทยได้แลว้ ราคาจงึ ถูกลงและหาซื้อง่ายกว่าเดิม คนไทยจงึ นิยมบริโภคอโวคาโดกันมากข้ึน

อโวคาโด ผลไมเ้ มืองหนาวทม่ี ีประโยชนต์ อ่ ร่างกาย อกี ทง้ั ตอนนี้ก็หาง่าย เน่ืองจากคนไทยเร่ิม
ร้จู ักและนิยมรับประทานผลอโวคาโดกันอยา่ งแพรห่ ลายแล้วประโยชนข์ องอโวคาโดเป็นผลไม้ท่มี ี
คณุ ค่าทางโภชนาการมากมาย ได้แก่ วติ ามนิ อี ช่วยบาํ รงุ ผิวพรรณใหส้ วยงามไมแ่ กเ่ ร็ว ที่สาํ คญั กิน
แล้วจะไม่เปน็ หมนั ปอ้ งกนั หวดั เลือดออกตามไรฟนั วติ ามินเอ บวกสารเบตา้ แคโรทีน บาํ รุงสายตา
สารต้านอนมุ ูลอสิ ระ ชะลอความแก่ มโี ปรตนี สูงกว่าผลไมช้ นดิ อน่ื แตม่ ปี ริมาณคาร์โบไฮเดรตตํา่
มีวิตามนิ บี แก้อาการเหนบ็ ชา มโี พแทสเซยี มและโฟเลส ชว่ ยลดความดนั โลหติ เปน็ ไขมนั ดี มี
ประโยชน์ลดไขมนั ในเลือด กินแลว้ ลดนํ้าหนกั ไดด้ ี

ดังนั้นคณะผู้จัดทาํ จึงมีความประสงค์ท่ีจะจัดทําโครงการอโวคาโดนมสดขน้ึ มาเพ่ือเปน็ อีก
ทางเลอื กให้แกค่ นรกั สุขภาพไดเ้ ลอื กดื่มกัน โดยอโวคาโดท่เี ราทําจะไมใ่ สน่ า้ํ ตาลแต่ใสน่ า้ํ เช่อื มหญา้
หวานแทนเพ่ือความหวานแบบธรรมชาติ วธิ ีทาํ คอื นาํ อโวคาโด 1 ผล ท่ีปลอกและเอาเม็ดออกแลว้
นมสดแท้ 1,000 มิลลิลิตร น้ําเช่ือมหญ้าหวาน 2 ชอ้ นโตะ๊ นํามาป่ันรวมกันจนเนื้อเนียนละเอยี ด
เติมเกลือเล็กน้อยเพ่ือความกลมกลอ่ ม และกรองใส่ขวดบรรจุภัณฑ์ มรี สใหเ้ ลือก 3 รส คอื นมสด
สตรอเบอรร์ ่ี และแอปเปลิ ทัง้ นก้ี ารกนิ อโวคาโดจะช่วยลดระดบั โคเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ได้
อกี ด้วยและยังใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ ศกึ ษาหาข้อมูลเรยี นรูแ้ ละลองทาํ เองได้

2

วัตถปุ ระสงค์ของการศกึ ษา
1. เพื่อพัฒนาผลติ ภณั ฑ์อโวคาโดนมสด
2. เพื่อพฒั นาบรรจุภัณฑแ์ ละเป็นทางเลือกใหแ้ ก่ผบู้ รโิ ภค
3. เพอ่ื ศึกษาความพึงพอใจของกลมุ่ เป้าหมายที่มตี ่ออโวคาโดนมสด

ขอบเขตของการศกึ ษา

1. ขอบเขตด้านกลุ่มเปา้ หมาย ไดแ้ ก่ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี ชั้นสงู (ปวส.) ชั้นปี
ที่ 2 สาขาวิชาการบญั ชี วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาชลบุรี จํานวน 84 คน

2. ขอบเขตด้านเนอ้ื หา ไดแ้ ก่ การทําอโวคาโดนมสดจะทําทง้ั หมด 3 รส คือ นมสด สตรอเบอรี่
แอปเปลิ โดยจะผา่ ครึง่ อโวคาโด เอาเมด็ ออกมา ใช้ช้อนคว้านเนอื้ ออกมาใสโ่ ถปั่น ใสน่ มสดแท้และ
นํ้าเชอื่ มหญ้าหวานลงไป 2 ช้อนโตะ๊ ใส่เกลือหนึง่ หยบิ มือ และปั่นทุกอยา่ งรวมกันจนเน้ือเนยี น
ละเอยี ด และกรองใส่ขวด จดุ เด่นคอื หวาน มัน กลมกลอ่ มเพราะใสน่ ้าํ เช่ือมหญ้าหวานแทนนํ้าตาล

3. ขอบเขตด้านเวลาและด้านสถานท่ี
ตั้งแต่วนั ท่ี 1 มถิ ุนายน 2564 – 1 ตุลาคม 2564 วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาชลบรุ ี เลขที่ 388

หมู่ 5 ถนนสุขมุ วทิ ตาํ บลบา้ นสวน อําเภอเมอื ง จังหวดั ชลบรุ ี 20000

ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะได้รับ

1. ไดผ้ ลติ ภณั ฑ์อโวคาโดนมสด
2. ไดบ้ รรจุภณั ฑข์ องผลติ ภัณฑ์อโวคาโดนมสดและเปน็ ทางเลอื กแกผ่ บู้ ริโภค
3. ได้ทราบความพงึ พอใจของกล่มุ เปา้ หมายทมี่ ีต่อผลิตภัณฑ์อโวคาโดนมสด

นยิ ามศัพท์เฉพาะ

1. อโวคาโด หมายถึง อโวคาโด หรอื ลูกเนยเป็นผลไม้ท่ีมีเน้ือมนั เปน็ เนย เป็นต้นไม้พน้ื เมือง
ของรัฐปวยบลาในประเทศเม็กซิโก จัดเป็นพืชดอกในวงศ์ Lauraceae ซงึ่ อยู่ในวงศเ์ ดยี วกับอบเชย,
กระวาน และเบยล์ อเรล (bay laurel) ผลของอโวคาโดมีรปู ทรงคล้ายสาลี่ รูปไข่ หรือรปู กลม
มิชชันนารชี าวอเมริกันนาํ มาปลกู ในประเทศไทยครัง้ แรกที่จังหวดั นา่ น ต่อจากนั้นจึงมหี น่วยงานตา่ งๆ
นําอโวคาโดมาปลกู มากข้นึ

3

2. สายเฮลตี้ หมายถึง กลุม่ คนทร่ี กั ษาสขุ ภาพ ดูแลสุขภาพ กินของท่ีดตี ่อสุขภาพ ซ่ึงมี
ประโยชน์ตอ่ สขุ ภาพและทเี่ ป็นประโยชนต์ ่อรา่ งกาย

3. นมสด หมายถงึ นมโคดิบ (Raw milk) ท่มี ลี ักษณะเป็นของเหลว (liquid)
ได้แก่ นมท่ีรีดมาจากแม่โค มี 3 ชนิด นมสดท่มี ไิ ด้แยกออกหรือเติมเข้าไปซึ่งวตั ถุใด
นมสดพร่องมนั เนยท่ีได้แยกมันเนยบางสว่ นออกจากนมสด นมสดขาดมนั เนยทีไ่ ด้แยกมนั เนยออกแล้ว
เกอื บหมดจากนม

4

บทที่ 2

เอกสาร ทฤษฎี และงานวิจยั ที่เก่ียวขอ้ ง

การดาํ เนินการโครงการอโวคาโดนมสด ณ วิทยาลยั อาชวี ศึกษาชลบุรี ตั้งแต่
วันที่ 1 มิถุนายน 2564 ถึง วันที่ 1 ตุลาคม 2564 ผู้ดําเนินโครงการได้รวบรวมเอกสาร ทฤษฎี และ
งานวิจยั ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง มหี ัวข้อดงั นี้

1. จุดประสงค์รายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า และคาํ อธบิ ายรายวิชา
2. แนวคิดการวเิ คราะห์การตลาดแบบการจดั องค์กรอสุ าหกรรม
3. แนวคดิ เก่ยี วกบั การขอรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑช์ ุมชน
4. ทฤษฎกี ลยทุ ธ์การตลาด (4Ps) และ (8Ps),กลยุทธต์ ลาดออนไลน์
5. การบรโิ ภคและทฤษฎพี ฤตกิ รรมผู้บริโภค (Buyer Behavior’s Model)
6. แนวคดิ การออกแบบบรรจุภัณฑ์
7. ทฤษฎีกลไกราคา
8. แนวความคดิ ของหลักการบัญชตี ้นทุน
9. งานวิจยั ทเ่ี กย่ี วข้อง

1. จุดประสงค์รายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า และคาอธบิ ายรายวิชา

1.1 จดุ ประสงค์รายวิชา
1.1.1 เข้าใจหลักการและกระบวนการวางแผนจดั ทําโครงการสรา้ งและพฒั นางาน
1.1.2 ประมวลความรแู้ ละทกั ษะในการสร้างผลงานและตามกระบวนการ

การวางแผน ดาํ เนนิ งาน แกป้ ัญหา ประเมินผล ทาํ รายงานและนําเสนอผลงาน
1.1.3 มีเจตคติและกิจนิสัยในการทํางานด้วยความรับผิดชอบ มีวินัย คุณธรรม

จริยธรรม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และสามารถทาํ งานร่วมกบั ผอู้ น่ื ได้
1.2 สมรรถนะรายวิชา
1.2.1 แสดงความรูเ้ กย่ี วกับการจดั ทําโครงการและการนําเสนอผลงาน
1.2.2 ดําเนินงานตามแผนงานโครงการตามหลักการและกระบวนการ
1.2.3 รายงานผลการปฏบิ ัติงาน

5

1.3 คาํ อธบิ ายรายวชิ า
ศกึ ษาและปฏิบตั เิ กี่ยวกับหลักการจัดทําโครงการ การวางแผน การดําเนินงาน การ

แก้ไขปญั หา การประเมนิ ผล การจัดทาํ รายงาน โดยปฏิบัติจัดทําโครงสร้างและพัฒนางานที่ใช้ความรู้
และทักษะในระดับฝีมือสอดคล้องกับสาขาวิชาชีพที่ศึกษา ดําเนินการเป็นรายบุคคลหรือกลุ่มตาม
ลกั ษณะของงานให้แล้วเสร็จในระยะเวลาทกี่ ําหนด

2. แนวคดิ การวเิ คราะห์การตลาดแบบการจัดองคก์ รอุสาหกรรม

ทฤษฎีการวิเคราะห์สถานการณ์ทางตลาด (SWOT Analysis) หรือการวิเคราะห์
สภาพแวดล้อมและศักยภาพ หรือการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม เป็นเครื่องมือในการประเมิน
สถานการณส์ ําหรบั องคก์ ร หรอื โครงการ ส่ิงชว่ ยผบู้ รหิ ารกําหนดจุดแข็งและจุดอ่อนจากสภาพภายใน
โอกาสและอปุ สรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอก ตลอดจนผลกระทบท่มี ศี กั ยภาพจากปัจจัยเหล่านี้ต่อ
การทํางานขององค์กร

2.1 ความหมาย SWOT
2.1.1 จุดแข็ง (Strength) คือ ปัจจัยภายในที่ส่งผลดีกับการดําเนินธุรกิจ ซึ่งเป็นข้อ

ได้เปรียบในการดาํ เนินธรุ กิจต้องคน้ หาความสามารถท่โี ดดเด่นเหนือคู่แข่ง เพื่อนํามาใช้เป็นกลยุทธ์ใน
การดําเนินงานทางด้านการตลาด เช่น ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพดี มีฐานะทางการเงินที่มั่นคง ซึ่งองค์กร
นํามาใช้เปน็ ประโยชน์ในการทาํ งานเพอื่ บรรลุวัตถปุ ระสงค์

2.1.2 จุดอ่อน (Weakness) คือ ปัจจัยภายในที่ส่งผลเสีย ผลกระทบต่อการดําเนิน
ธุรกิจ ซึ่งผลการดําเนินงานไม่ดี เช่น ต้นทุนการผลิตสินค้าสูงกว่าคู่แข่ง ต้องประเมินจุดอ่อนและจุด
แข็งเปน็ ระยะ ธรุ กิจไม่สามารถท่ีจะแกไ้ ขจดุ อ่อนทง้ั หมดได้ และไม่ควรประมาทกับจุดแข็งที่มีอยู่ และ
ควรหาโอกาสในการพฒั นาจดุ แข็งใหม้ ากข้ึน

2.1.3 โอกาส (Opportunity) คือ ปัจจัยภายนอกที่ส่งผลดี หรือเป็นประโยชน์กับการ
ดําเนินธุรกิจ ทําให้ต้องจับตามองสิ่งแวดล้อมภายนอกที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด เช่น เศรษฐกิจ สังคม
การเมือง เทคโนโลยี และการแข่งขันในตลาด หรือหมายถึงปัจจัยและสถานการณ์ภายนอกท่ี
เอ้ืออาํ นวยให้การทํางานขององคก์ รบรรลุวัตถุประสงค์

2.1.4 อุปสรรค (Threat) คือ ปัจจัยภายนอกที่ส่งผลเสียกับการดําเนินธุรกิจเนื่องจาก
เกี่ยวข้องกับปัจจัยภายนอก เราไม่สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไข ควบคุมไม่ให้เกิดขึ้นได้ ทําได้แต่เพียง

6

วิเคราะห์และคาดการณ์ล่วงหน้าถึงอุปสรรคที่จะเกิดขึ้น ทําให้เราสามารถหาทางป้องกันผลเสียที่
เกิดข้นึ ใหน้ ้อยลงไปได้

2.2 ข้อดีของ SWOT Analysis
การระบุจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภัยคุกคามในแนวคิดที่ได้รับการวิเคราะห์

ผลลัพธ์ที่ดีเยี่ยมซึ่งเป็นสิ่งที่สําคัญมากสําหรับบริษัทคือการเพิ่มจุดแข็งและลดจุดอ่อนเพื่อให้บริษัท
สามารถใช้ประโยชน์จากโอกาสภายนอกท่ีระบุไว้ขา้ งต้นเพื่อเอาชนะภัยคกุ คามทีร่ ะบุได้

2.3 ขอ้ เสยี ของ SWOT Analysis
เนื่องจากการวิเคราะห์ SWOT โดยทั่วไปเป็นเรื่องง่ายในสถานที่ตั้งจึงมักไม่ได้รับ

การวิพากษ์วิจาร หากบริษัทมุ่งเน้นเฉพาะการจัดทําบันทึกเท่านั้นอาจไม่เพียงพอที่จะมุ่งเน้นไปที่
วธิ ีการเพ่อื บรรลวุ ัตถุประสงค์ มีขอ้ บกพร่องอืน่ ๆ ในการเขา้ ถงึ รายการเช่นเดียวกับรายการที่อาจไม่ได้
จัดลําดับความสําคัญอย่างเหมาะสมโดยบริษัทตัวอย่างรายการข้อบกพร่องบางอย่าง เช่น ดูเหมือน
ได้รบั การรับรองโดยรายการจุดแขง็ จุดออ่ นทย่ี าวนานขึน้ แต่ก็มีความสําคัญและต้องระบุด้วย

2.4 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมการดําเนินงานจึงสามารถเรียกว่า การวิเคราะห์
อตุ สาหกรรม (Industrial Analysis) ซึ่งหมายถงึ สภาพแวดล้อมการดําเนินงานซึ่งประกอบด้วยปัจจัย
ทเ่ี ฉพาะเจาะจงและกระทบต่อการบรหิ ารงานของธุรกิจในทนั ทีได้แก่

2.4.1 ลูกค้า (Customer) Peter pucker กล่าวว่า “ลูกค้าเป็นบุคคลและหรือสาเหตุ
ทท่ี าํ ใหธ้ ุรกิจดาํ รงอยู่ ดังนั้นการศึกษาถึงคุณลักษณะและพฤติกรรมของลูกค้าที่ซื้อสินค้าหรือบริการ
จากองค์การมีความสําคัญต้อองค์การ เนื่องจากจะช่วยให้นักกลยุทธ์ทราบถึงแนวความคิดในการ
ปรับปรุงผลติ ภณั ฑ์หรอื บรกิ ารให้เปน็ ที่ตอ้ งการและยอมรบั จากลกู ค้า”

2.4.2 คู่แข่งขัน เป็นภัยคุกคามโดยตรงของธุรกิจ ขณะเดียวกันก็จะเป็นปัจจัยที่
กระตนุ้ ใหธ้ ุรกจิ มีพฒั นาการ ดังน้นั การทาํ ความเขา้ ใจในคแู่ ข่งขันจะเป็นกุญแจสําคัญในการพัฒนากล
ยุทธ์ขององค์การ ดังนั้นการวิเคราะห์คู่แข่งขันจะช่วยให้ผู้บริหารมองเห็นจุดแข็งและจุดอ่อนของคู่
แข่งขนั และสามารถคาดคะเนไดว้ ่าคแู่ ขง่ ขันจะใช้กลยทุ ธ์อะไร ซง่ึ จะดําเนนิ การไดด้ งั น้คี ือ
การพิจารณาจํานวนคู่แข่งขัน ความรุนแรงของการแข่งขัน การเคลื่อนไหวของคู่แข่งขัน การเพิ่ม
ส่วนแบ่งของตลาด และการจดั สรรทรพั ยากร

7

2.4.3 แรงงาน (Labor) การเปลี่ยนแปลงของตลาดแรงงานจะมีผลกระทบต่อการ
ดาํ เนนิ งานและการจดั การทรพั ยากรมนษุ ยข์ ององค์การ โดยนักกลยุทธ์จะต้องพิจารณาถึงทักษะของ
แรงงาน คา่ จ้าง และอายงุ านโดยเฉลี่ยของแรงงาน ซึ่งมีความสําคัญต่อการดําเนินงานขององค์การ
ตวั อย่างเชน่ การขาดแคลนแรงงานท่ีมที กั ษะบางอย่าง ค่าจ้างแรงงานที่สูงและการนัดหยุดงานบ่อย
ทําใหอ้ งค์การตอ้ งใช้เคร่ืองจกั รเพื่อทดแทนแรงงานคนมากข้ึน เปน็ ตน้

2.4.4 ผู้อําหน่ายวัตถุดิบ (Supplier) การบริหารวัตถุดิบให้มีปริมาณที่เหมาะสมใน
เวลาที่ต้องการช่วยทําให้ระบบการผลิตขององค์การมีประสิทธิภาพและช่วยลดต้นทุนในการผลิตได้
แต่วตั ถุดบิ (Raw Materials) ทใี่ ชใ้ นการผลิตบางอย่างมีจํานวนจํากัดหรือมีจํานวนผู้จําหน่ายวัตถุดิบ
น้อยราย ดังนั้นการพิจารณาถึงปัจจัยผู้จําหน่ายวัตถุดิบทําให้องค์การสามารถจัดระบบงานและ
ควบคุมตน้ ทนุ ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ซึ่งจะสร้างความไดเ้ ปรยี บในการดําเนินธรุ กจิ

3. แนวคิดเก่ียวกับการขอรับรองมาตรฐานผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน

3.1 การรบั รองคุณภาพผลิตภณั ฑช์ ุมชน หมายถึง การให้การรบั รองคณุ ภาพผลิตภณั ฑ์
ชุมชนของผู้ผลติ ในชมุ ชนตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชมุ ชนทีส่ ํานกั งานมาตรฐานผลิตภณั ฑ์อุตสาหกรรม
ไดป้ ระกาศกําหนดไว้แล้ว

3.2 มาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ชุมชน หรือ (มผช.) หมายถึง ข้อกําหนดด้านคณุ ภาพท่เี หมาะสมกับ
ผลติ ภัณฑช์ ุมชนใหเ้ ปน็ ทีเ่ ชอ่ื ถือ เป็นทย่ี อมรับ และสร้างความม่นั ใจให้กบั ผ้บู ริโภคในการเลอื กซื้อ
ผลติ ภัณฑ์ โดยม่งุ เนน้ ให้เกิดการพัฒนาอย่างยงั่ ยนื เพ่ือยกระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ชุมชนให้
เปน็ ไปตามมาตรฐานท่ีกําหนด และสอดคลอ้ งกับนโยบาย OTOP โดยในแตล่ ะผลิตภัณฑ์กจ็ ะมี
ข้อกําหนดทแ่ี ตกต่างกันออกไป

3.3 ผู้ย่นื คาํ ขอ หมายถงึ ผผู้ ลติ ในชมุ ชนท่ยี ืน่ ขอการรับรองคณุ ภาพผลิตภณั ฑช์ มุ ชน

3.4 ผไู้ ด้รับการรบั รอง หมายถงึ ผูย้ ่ืนคาํ ขอทีผ่ า่ นการตรวจประเมนิ แลว้ และได้รบั การ
รับรองจากคณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑช์ ุมชน

3.5 คุณสมบัติของผู้ยนื่ คําขอ

8

3.6.1 ผู้ยนื่ คาํ ขอต้องเป็นผ้ผู ลิตผลติ ภณั ฑช์ ุมชน ไม่เป็นผแู้ อบอ้าง หรือทาํ การผลิตแอบ
แฝง และมคี ุณสมบัติในข้อหน่งึ ข้อใด ดังต่อไปนี้

3.6.1.1 บุคคลทั่วไป
3.6.1.2 กลุม่ ผผู้ ลติ ชุมชนที่ข้ึนทะเบียนไว้กับหนว่ ยงานราชการหรือกล่มุ ตาม
กฎหมายวสิ าหกจิ ชมุ ชน
3.6.1.3 นิติบคุ คลทข่ี ึน้ ทะเบยี นเปน็ ผปู้ ระกอบการหน่ึงตําบลหนึง่ ผลติ ภณั ฑ์
3.7 การรับรอง
3.7.1 การรบั รองคุณภาพผลิตภัณฑช์ มุ ชน ประกอบด้วยการดาํ เนนิ การดังนี้
3.7.1.1 ตรวจสอบสถานทผี่ ลิตและเกบ็ ตวั อยา่ งจากสถานท่ีผลติ สง่ ตรวจสอบ
เพอ่ื พิจารณาออกใบรับรอง
3.7.1.2 ตรวจตดิ ตามผลคณุ ภาพผลติ ภณั ฑช์ ุมชนทไ่ี ดร้ บั การรับรอง โดยสมุ่ ซอ้ื
ตัวอย่างที่ไดร้ ับการรบั รองจากสถานที่จัดจาํ หนา่ ย เพอ่ื ตรวจสอบ
3.7.2 การขอการรับรอง ให้ยนื่ คําขอต่อสาํ นักงานมาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม
หรอื สาํ นกั งานอุตสาหกรรมจงั หวัดท่สี ถานที่ผลิตต้งั อยู่ พรอ้ มหลักฐานและเอกสารตา่ งๆ ตามแบบท่ี
สาํ นกั งานมาตรฐานผลิตภณั ฑ์อุตสาหกรรมกาํ หนด
3.7.3 เม่อื ไดร้ บั คาํ ขอตามขอ้ 3.7.1.3 แล้ว สาํ นกั งานมาตรฐานผลิตภณั ฑ์อตุ สาหกรรม/
สาํ นักงานอุตสาหกรรมจงั หวัด จะนัดหมายการตรวจสอบสถานทีผ่ ลิตเกบ็ ตัวอย่างสง่ ทดสอบ
3.7.4 ประเมนิ ผลการตรวจสอบว่าเปน็ ไปตามมาตรฐานผลติ ภณั ฑช์ ุมชนท่ไี ดก้ ําหนดไว้
หรือไม่
3.7.5 ใบรบั รองผลิตภัณฑ์ มีอายุ 3 ปี นบั ตง้ั แต่วนั ทร่ี ะบุในใบรับรอง
3.7.6 การขอต่ออายุใบรับรองหรอื การออกใบรบั รองฉบับใหม่เม่ือใบรบั รองฉบบั เกา่ ส้ิน
อายุ ใหด้ ําเนินการตามข้อ 3.7.2 ถึง 3.7.4

9

3.8 การตรวจตดิ ตาม
3.8.1 ผไู้ ด้รบั การรับรอง ตอ้ งรักษาไว้ซง่ึ คุณภาพตามมาตรฐานผลติ ภัณฑ์ชุมชน ที่

กําหนดไว้ ตลอดระยะเวลาทไี่ ด้รบั การรับรอง
3.8.2 การประเมินผลการตรวจสอบตัวอย่างทีส่ ่มุ ซื้อเพ่อื ตรวจติดตามผลต้องเป็นไป

ตามมาตรฐานผลิตภัณฑช์ ุมชนทกี่ ําหนด
3.8.3 การตรวจตดิ ตามผลทาํ อยา่ งน้อยปีละ 1 คร้งั

3.9 การยกเลิกการรับรอง
สํานกั งานมาตรฐานผลิตภณั ฑ์อตุ สาหกรรม จะยกเลกิ ใบรับรอง กรณีใดกรณีหน่ึงดงั ต่อไปน้ี

3.9.1 ผลติ ภณั ฑท์ ตี่ รวจติดตามผลไม่เป็นไปตามมาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชน 2 ครง้ั
ตดิ ต่อกนั

3.9.2 ผูไ้ ด้รับการรบั รองขอยกเลิกใบรบั รอง
3.9.3 มีการประกาศแก้ไขหรอื ยกเลกิ มาตรฐานผลติ ภัณฑช์ มุ ชนทไี่ ดก้ ําหนดไว้
3.9.4 เมื่อใบรับรองครบอายุ 3 ปี นับจากวันท่ไี ด้รับการรบั รอง
3.9.5 กรณมี กี ารกระทําอนั เป็นการฝา่ ฝนื หรือไมป่ ฏบิ ัติตามหลกั เกณฑ์และเงื่อนไข
ตา่ งๆ ทก่ี าํ หนด เชน่ การอวดอา้ งเกนิ ความเปน็ จรงิ โฆษณาการได้รบั การรับรองครอบคลุมรวมถึง
ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ไดร้ ับการรบั รอง
3.10 อืน่ ๆ
3.10.1 ในกรณที ยี่ กเลิกใบรบั รอง ผู้ไดร้ ับการรบั รองต้องยุติการใชส้ ง่ิ พิมพ์ ส่อื โฆษณา
ทมี่ ีการอ้างองิ ถึงการไดร้ ับการรบั รองท้ังหมด
3.10.2 สํานกั งานมาตรฐานผลิตภัณฑอ์ ุตสาหกรรม ไมร่ บั ผิดชอบในการกระทําใดๆ
ของผู้ไดร้ ับการรบั รองท่ีไดก้ ระทําไปโดยไมส่ ุจรติ หรือไม่ปฏิบตั ติ ามหรือฝ่าฝืนหลกั เกณฑ์และเงื่อนไขที่
กําหนด

10

4. ทฤษฎีกลยุทธก์ ารตลาด (4Ps) และ (8Ps),กลยุทธ์ตลาดออนไลน์

4.1 กลยุทธ์การตลาด 4P’s หรือ Marketing Mix สามารถเรียกเป็นภาษาไทยได้
ว่า สว่ นผสมทางการตลาด เปน็ ทฤษฎีหนึ่งที่นยิ มใชใ้ นการวางแผนการตลาด โดยแบ่งออกเป็น 4 ส่วน
หลักๆ ได้แก่ Product, Price, Place และ Promotion เราต้องวางแผนให้แต่ละส่วนมีความ
สอดคล้องและไปในทศิ ทางเดยี วกัน ครั้งแรกที่คิดออกมาอาจจะไม่สมบูรณ์แบบ เราก็สามารถปรับไป
เรื่อย ๆ หลักการตลาด 4P’s หรือ ส่วนผสมทางการตลาดนั้น (Marketing Mix) มีส่วนประกอบ
ด้วยกันทง้ั หมด 4 อย่างไดแ้ ก่

4.1.1 ผลิตภณั ฑ์ (Product) ธุรกิจมีองค์ประกอบหลักซึ่งเป็นปัจจัยสําคัญอย่าง
แรก คือ ผลิตภัณฑ์สินค้า (Goods) หรือบริการ (Service) สําหรับในส่วนสินค้านั้นแบ่งออกเป็น
สนิ ค้าประเภทจับต้องได้ และสินค้าประเภทจับต้องไม่ได้ สําหรับการบริการนั้นแบ่งออกเป็น บริการ
แบบมีส่วนร่วม และการบริการแบบไม่มสี ่วนรว่ ม ดังนั้นสินค้า และบริการจึงนับได้ว่าเป็นหัวใจสําคัญ
ของการดําเนินธุรกจิ อยา่ งแท้จริง โดยตอ้ งมีคณุ ลกั ษณะสําคัญ คือ คุณภาพ (Quality) สําหรับในส่วน
ของคุณภาพนั้นยังมีความหมายรวมถึง ด้านความเหมาะสมในการใช้งาน คุณภาพการออกแบบ และ
คุณภาพตามมาตรฐานที่กาํ หนดไวอ้ ีกด้วย นอกจากน้ันคณุ ภาพยังเปน็ ตัวบ่งชี้สําคัญถึงภาพลักษณ์ของ
ธรุ กิจเราอีกดว้ ย

4.1.2 ราคา (Price) การกําหนดราคานับว่าเป็นกลยุทธ์สําคัญอีกอย่างหนึ่งของ
การดําเนินธุรกิจ โดยมักจะขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น ขนาดของตัวธุรกิจ ประเภทของสินค้าที่
ต้องการจําหน่าย ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ สิ่งแวดล้อมทางการตลาด กฎหมาย ความเปลี่ยนแปลกของราคา
วัตถุดิบ หรือแม้แต่ระบบการจัดจําหน่าย ต้นทุนการผลิต และการส่งเสริมการขาย เป็นต้น สําหรับ
ธรุ กิจขนาดเล็กนัน้ การกําหนดราคาขายของสินค้าเป็นสิ่งจําเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากราคานั้น เป็นสิ่งท่ี
ใชว้ ัดค่า และประโยชน์ของตัวสินค้า และยังเป็นตัวกําหนดว่าเราจะสามารถใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง
จํากัดไปในทศิ ทางใด จะสามารถขายสนิ ค้าอย่างไร จํานวนเท่าไหร่ ราคาขายจะเป็นเครื่องบ่งชี้สําคัญ
ของความสามารถในการทํากําไรของธุรกิจนั้น ทั้งนี้เนื่องจากกําไรนั้นคํานวณจาก รายรับหักลบด้วย
ต้นทุน และรายรบั ไดจ้ ากปรมิ านจํานวนที่ขายคุณด้วยราคาต่อหน่วย อีกหนึ่งกลยุทธ์การขายสินค้าท่ี
นยิ มนํามาใช้กันอย่างแพร่หลาย ไดแ้ ก่ การใหส้ ่วนลด (Discount) การขายเชื่อ (Credit) และการฝาก
ขาย (Consignment) และยังมีการใช้นโยบายการตั้งราคามาใช้อีกด้วย ซึ่งนโยบายการตั้งราคาแบ่ง
ออกเป็น 6 นโยบาย ดังนี้

11

4.1.2.1 นโยบายราคาเพียงราคาเดียว (One Price Policy) เป็นการ
เสนอขายสินค้า หรือบริการในราคามาตรฐานเดียวกัน ไม่ว่าจะซื้อมากหรือน้อยก็ตาม เช่น ราคา
นา้ํ มัน ค่าขนสง่ สนิ คา้ คําตามนํ้าหนกั หรือธรุ กิจขายสินค้าราคาเดยี วทั้งร้าน (ทุกอยา่ ง 20 บาท)

4.1.2.2 นโยบายราคาทแี่ ตกตา่ งกัน (Variable Price Policy) มีเหตุมาก
จากความแตกต่างในด้านคุณลกั ษณะเฉพาะของสินค้าหรือตัวบริการ และการเจรจาต่อรองของลูกค้า
น่ันจงึ เปน็ เหตใุ ห้มกี ารต้นราคาขายแตกต่างกัน เช่น สินค้าที่มีคุณภาพดีกว่าจะมีราคาที่สูงกว่า สินค้า
ทีค่ ุณภาพรองลงมา เชน่ ราคาตัว๋ ชมภาพยนตร์ทน่ี ่งั ธรรมดา กบั ทน่ี ั่งพเิ ศษ เสือ้ ผ้าแบรนด์ดังกับเสื้อผ้า
ไมม่ แี บรนด์

4.1.2.3 นโยบายกําหนดราคาขายแบบแพ็กเกจ (Multiple Unit
Package Pricing Policy) เป็นการกําหนดราคาขายโดยเปรียบเทียบความแตกต่างในด้านปริมาณ
สินค้าที่ซื้อ อธิบายง่ายๆ คือถ้าซื้อในจํานวนมากราคาจะถูกกว่าซื้อในจํานวนน้อย เช่น เครื่องดื่ม
บะหมกี่ ่ึงสาํ เร็จรปู สินค้าประเภทอุปโภคบรโิ ภค

4.1.2.4 นโยบายกําหนดราคาตามสายราคา (Price Lining-
Policy) เป็นรูปแบบการกําหนดราคาสินค้า แบบต่อเนื่องตามขนาด และปริมานของสิ้นค้า โดยแบ่ง
ตามขนาด ใหญ่ กลาง เล็ก ทั้งนี้เพื่อความสะดวกแก้พนักงานขาย และตัวลูกค้าเอง เช่น นํายาบ้วน
ปาก ยาสีฟัน

4.1.2.5 นโยบายกําหนดราคาเชิงจิตวิทยา (Psychological-Pricing
Policy) ธรุ กิจอาจจะใชว้ ิธกี ารกาํ หนดราคาให้นา่ สนใจ โดยอาศัยหลักจิตวิทยาซึ่งเชื่อว่ามีผลโดยตรง
ตอ่ พฤติกรรมการซ้ือสินค้าของลูกค้า หรือผู้บริโภค เช่น สินค้าที่มีราคาลงท้ายเหมือนกัน 59, 89, 99
หรือสินคา้ ทีม่ ีปา้ ยกาํ กบั เช่นสินคา้ ขายดี

4.1.2.6 นโยบายกําหนดราคาตามจํานวน (Unit Pricing-Policy) เป็น
รปู แบบการต้นราคาให้แตกตา่ ง โดยอ้างอิงจากน้าํ หนักของสินค้าต่อหน่วยเป็นเกณฑ์ เช่น ซื้อสินค้าท่ี
มนี าํ้ หนกั ที่แตกตา่ งกนั 100 , 50 และ 30 กรัม ตัวสินค้าจะมรี าคาไม่เทา่ กนั

4.1.3 ช่องทางการจัดจําหน่าย (Place) การนําสินค้าไปให้ถึงมือของลูกค้า โดย
ยึดหลักความมีประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความปลอดภัย และความรวดเร็ว วิธีขายหรือกระจาย
สนิ ค้าท่ีสามารถทาํ ใหเ้ กดิ ผลกําไรมากท่สี ดุ ตอ้ งกระจายสนิ ค้าให้ตรงกลุ่มเป้าหมายมากที่สุด หากเป็น

12

สินค้าที่ขายไปหลายๆ แห่งวิธีการขาย หรือการกระจายสินค้านั้นจะมีความสําคัญมาก โดยหลักการ
ของการเลือกวิธีกระจายสินค้านั้นไม่ใช่ขายให้มากสถานที่ ที่สุดจะดีเสมอ เพราะมันขึ้นอยู่กับว่า
สนิ ค้าของทา่ นคืออะไร และกลุ่มเป้าหมายทา่ นคอื ใคร

4.1.4 การส่งเสริมการขาย (Promotion) ความสําเร็จทางด้านธุรกิจ คือ การ
ขายสินค้า หรือบริการให้ได้มากที่สุด แต่มักจะปัญหาว่าต้องทําอย่างไร การส่งเสริมการขาย จึงมี
บทบาทสําคัญทชี่ ่วยให้ยอดขายเพม่ิ มากข้ึน กิจกรรมดังกล่าวประสบความสําเร็จ และมีประสิทธิภาพ
เม่อื ธรุ กจิ ทราบวา่ ลกู ค้าตอ้ งการอะไร มรี สนิยมแบบไหน เพื่อที่จะสามารถสร้างโปรโมชั่นที่ตอบสนอง
ความต้องการของลูกค้าได้โดยตรง แต่การส่งเสริมการขายนั้นมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับงบประมาณ
ด้านค่าใช้จ่ายอย่างมาก และควรจะต้องพยายามให้ได้ผลลัพธ์กลับคืนอย่างคุ้มค่าที่สุด ซึ่งมีอยู่หลาย
วธิ ีทส่ี ามารถช่วยไดท้ ้ังทางตรง และทางอ้อม เชน่

การโฆษณา(Advertising) อาจจะใช้คําพูด หรือข้อความ โดยมีความหมายที่จะให้
ลูกค้ามีความรู้สึกดีต่อต่อสินค้า หรือบริการนั้น รวมทั้งจูงใจให้เกิดความต้องการอยากทดลองสินค้า
หรอื บริการของเรา

การขายโดยตรง (Direct Sales) เป็นการขายโดยเข้าไปติดต่อถึงตัวลูกค้าโดยตรง
โดยการอธิบายรายละเอียดต่าง ๆ ของสินค้าให้ลูกค้าได้ทราบ หรือที่เรียกว่าการเสนอขาย โดยต้อง
อาศัยเทคนคิ และวิธีการทีน่ า่ สนใจ

การส่งเสริมการขายทางด้านลูกค้า (Consumer Promotion) เป็นรูปแบบในการ
สร้างสิ่งดึงดูดใจให้กับตัวลูกค้าโดยตรง เช่น การลด แลก แจก แถม หรือการเล่นเกมเพื่อชิงรางวัล
เป็นการกระตุ้นใหล้ ุกคา้ เกิดความสนใจ และมีความหวังในประโยชน์ที่ได้รับจากตัวสินค้า หรือบริการ
ของเรา

การบริการ (Service) เป็นรูปแบบการให้บริการทั้งก่อน และหลังการขาย (การ
อธิบายคุณลักษณะที่ดี และการใช้สินค้าก่อนลูกค้าจะทําการซื้อ เพื่อเป็นการเชื้อเชิญให้เกิดสนใจ)
การบรกิ ารขณะขาย (การสาธิตใหล้ ูกค้าไดช้ มก่อนที่จะตดั สนิ ใจซื้อสินค้า หรืออาจจะเป็นการให้ลูกค้า
ทดลองด้วยตวั เองกอ่ น) และบริการหลังการขายสนิ ค้าให้กับลูกค้า (เช่นการซ่อมบํารุง หรือตรวจสอบ
สินค้าเม่อื ลูกค้าไดซ้ ื้อไปแล้วโดยทําอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความประทับใจระยะยาว)แม้ในบางธุรกิจ
อาจจะไม่สามารถปรับเปลี่ยน ทั้ง 4P’s ได้ทั้งหมดในระยะสั้นได้ ก็ไม่เป็นปัญหาเพราะ เราสามารถ
ค่อยๆ ปรับกลยุทธ์จนได้ส่วนผสมทางการตลาดได้เหมาะสมที่สุดได้ กลยุทธ์ทางการตลาดเป็นการ

13

วางแผน ที่มีประสิทธิภาพอย่างหนึ่งในการทําธุรกิจ การวางแผนที่ดียังจะสามารถทําให้สินค้า หรือ
แบรนดเ์ ตบิ โตอย่างมแี บบแผน ไม่หลงไปกบั สภาวะเศรษฐกิจ หรอื ความกดดันจากคู่แข่ง และยังทําให้
สนิ คา้ หรอื แบรนดน์ ้ัน ๆ มีความชัดเจน (ว่าตัวสินค้าของเราเองเป็นสินค้ากลุ่มใด ลูกค้าเป้าหมายคือ
กลุ่มใด) เมื่อตําแหน่งในตลาดชัดเจนแล้ว ย่อมทําให้การกําหนดกลยุทธ์ต่าง ๆ ออกมาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพตามไปด้วย แม้ว่าผู้บริหารจะมีรูปแบบกลยุทธ์ให้เลือกมากมายที่เหมาะสําหรับนํามา
ปรับใชก้ ับธุรกิจ แต่ในด้านกลยุทธ์ ที่ต้องถือเป็นแม่บททางการตลาดอย่างแท้จริงคงเห็นจะหนีไม่พ้น
“กลยุทธ์ 4P’s” เป็นทีย่ อมรบั ทง้ั ใน และตา่ งประเทศวา่ มีประสทิ ธิภาพในการทาํ การตลาดค่อนขา้ งสูง

4.2 กลยุทธ์การตลาด 8P’s คือ การบริหารธุรกิจทุกประเภทปัจจัยสําคัญที่จะทําให้
ประสบความสําเร็จก็คือการวางแผนที่มีการนํากลยุทธ์ทางการตลาด ซึ่งมีอยู่มากมายมาปรับใช้ให้
เหมาะสมกับธุรกิจแต่ละประเภท โดยเฉพาะธุรกิจออนไลน์ที่มีการแข่งขันกันสูงเพราะปัจจุบัน
เทคโนโลยีสารสนเทศมสี ว่ นเก่ียวข้องอยใู่ นชีวิตประจาํ วันของคนเราในทุก ๆ ด้าน กลยุทธ์การตลาดที่
มีประสทิ ธภิ าพเทา่ นน้ั ที่จะทาํ ให้ธุรกิจออนไลน์ ประสบความสําเร็จได้ง่ายและเร็วขึ้น ดังนั้นเพื่อให้นัก
ธุรกิจออนไลน์มือใหม่หรือคนที่กําลังคิดจะเริ่มต้นทําธุรกิจออนไลน์ได้เลือกกลยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพ
เมื่อนํามาใช้แล้วสามารถเห็นผลได้อย่างชัดเจน กลยุทธ์การตลาด(8P’s)ซึ่งประกอบไปด้วย 8 ปัจจัย
หลัก คอื

4.2.1 กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์ (Product Strategy) ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับ
ผลิตภัณฑ์ทั้งหมด เริ่มตั้งแต่ขั้นตอนการผลิตการบรรจุหีบห่อให้สินค้าที่เรานํามาจําหน่ายมีความ
น่าสนใจแตกต่างไปจากคู่แข่งที่จําหน่ายสินค้าประเภทเดียวกัน หากเป็นร้านค้าออนไลน์ที่ไม่ได้ผลิต
สนิ คา้ มาขายเอง การตัดสินใจเลอื กซือ้ สนิ ค้าหรือผลิตภณั ฑ์เพอื่ นํามาจาํ หน่ายตอ้ งมีความชัดเจนรู้ข้อดี
ข้อเสียของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ จริง ๆ เพราะนอกจากจะเป็นการกําหนดกลุ่มลูกค้าทําให้จัดหาสินค้ามา
จําหน่ายได้ตรงตามความต้องการของกลุ่มลูกค้าแล้วยังทําให้เรารู้ว่าสินค้าที่นํามาจําหน่ายสามารถ
ตอบสนองต่อความต้องการ ของลูกค้าได้มาก-น้อยเพียงใดซึ่งข้อมูลที่ได้จะเป็นประโยชน์ต่อการ
พัฒนาปรับปรุงสินคา้ ท่จี ะผลติ ตอ่ ไป

4.2.2 กลยุทธ์ด้านราคา (Price Strategy) คอื การกําหนดราคาสินค้าที่คํานวณ
จากตน้ ทุนในการผลิตบวกกับกําไรทีเ่ ราตอ้ งการจะได้ คําวา่ ต้นทนุ การผลิตในส่วนของร้านค้าออนไลน์
ท่ีทําธรุ กจิ แบบซ้อื มาขายไป โดยไม่ได้มกี ารผลติ สนิ ค้าออกมาขายเองต้นทุนคือราคาทุนของสินค้าบวก

14

ค่าใช้จ่ายและบวกด้วยผลกําไรที่ต้องการจะได้แล้วนํามากําหนดเป็นราคาขาย กลยุทธ์สําคัญในการ
กาํ หนดราคาจะตั้งราคาสงู หรือราคาตํา่ หลกั สาํ คญั ทีจ่ ะตอ้ งพิจารณามรี ายละเอยี ดดังนี้

4.2.2.1 ตั้งราคาตามคู่แข่ง หากสินค้าที่ผลิตหรือนํามาจําหน่ายไม่ได้มี
ความแตกต่างจากสนิ ค้าประเภท เดียวกันทั้งในด้านคุณภาพ รูปแบบ และลักษณะการใช้งาน การตั้ง
ราคาสูงหรือราคาตํ่าอาจไม่มีผลต่อการตลาดเพราะสินค้าไม่ได้มีความโดดเด่นแตกต่างไปจากคู่แข่ง
หรือสร้างความแตกต่างได้ยาก การกําหนด ราคาสินค้าจึงต้องตั้งราคาตามคู่แข่ง การตัดสินใจซื้อให้
ข้ึนอยกู่ ับความพอใจของลูกคา้

4.2.2.2 ตั้งราคาน้อยกว่าหรือใกล้เคียงกับคู่แข่ง ในกรณีที่เป็นสินค้า
ประเภทเดยี วกันในท้องตลาดเพอื่ ดึงความสนใจของลูกค้าทําให้ลูกค้าตัดสินใจซื้อสินค้าจากราคาที่ถูก
กวา่ สว่ นผลกาํ ไรทีร่ า้ นค้าออนไลนจ์ ะไดร้ ับเน้นที่ปริมาณการขาย

4.2.2.3 ตง้ั ราคาสูงกว่า การตั้งราคาผลิตภัณฑ์หรือตั้งราคาสินค้าให้สูง
กว่าสินคา้ ประเภทเดียวกนั ท่มี ีอยูใ่ นทอ้ งตลาด

4.2.3 กลยุทธ์ด้านการจําหน่าย (Place Strategy) ปัจจุบันช่องทางการ
จําหน่ายสินค้าที่นิยมใช้มีอยู่สองรูปแบบคือ ร้านค้าขายสินค้าให้กับลูกค้า โดยตรง เช่น ร้านค้า
ออนไลน์ขายสินค้าให้กับลูกค้าเมื่อมีการติดต่อสั่งซื้อผ่านเว็บไซต์หรือเว็บเพจพร้อมการโอนเงิน เมื่อ
รา้ นคา้ ออนไลนไ์ ดร้ ับเงนิ แลว้ ก็จะจัดสง่ สินค้าให้ถงึ มือลูกค้าโดยตรง ซึ่งช่องทางการจําหน่าย ด้วยวิธีนี้
ร้านค้าออนไลน์จะได้กําไรมากกว่า ส่วนช่องทางการจําหน่ายรูปแบบที่สอง คือการขายสินค้าผ่าน
ตวั แทนหรือคนกลางตัวอย่างเช่น ร้านขายสินค้าเปิดรับตัวแทนขายสินค้าวิธีการก็คือให้ผู้ที่สนใจเป็น
ตัวแทนนํารูปภาพสินค้าไปขายจะขายทางเว็บไซต์ เว็บเพจ Facebook หรือช่องทางอื่น ๆซึ่งขึ้นอยู่
กับตัวแทน เมื่อตัวแทนมียอดสั่งซื้อเพียงโอนเงินพร้อมแจ้งรายละเอียดที่อยู่ของลูกค้าทางร้านค้า
ออนไลนก์ ็จะทาํ การจัดส่งสินคา้ ในนามตัวแทนใหก้ ับลกู คา้ โดยตรง วิธีนี้เป็นการขยายกลุ่มลูกค้าทําให้
มียอดขายสินค้าเพิ่มมากขึ้น ถึงแม้ช่องทางการจําหน่ายรูปแบบนี้จะทําให้ได้กําไรน้อยกว่าการขาย
สนิ คา้ ใหก้ บั ลกู ค้าโดยตรงแต่กจ็ ะทาํ ใหม้ ียอดขายสินคา้ เพ่ิมมากขึ้นจากเครือข่ายของตัวแทน

4.2.4 กลยุทธ์ด้านการส่งเสริมการตลาด (Promotion Strategy) การนํากล
ยุทธ์นี้มาใช้จุดประสงค์ก็เพื่อกระตุ้นให้ลูกค้าเกิดความต้องการสินค้าในช่วงเวลานั้น โดยการเสนอ
ผลประโยชน์ใหก้ บั ลูกคา้ เป็นคร้ังคราวอาทเิ ชน่ การจัดโปรโมชน่ั ลด แลก แจก แถม หรอื เลือกใช้วิธีอื่น
ท่มี ีอยู่หลายรูปแบบสงิ่ สาํ คญั คือตอ้ งนํามาใช้ให้เหมาะกับตัวสินค้าที่นํามาจําหน่ายและต้องสอดคล้อง

15

กับกลยุทธ์ด้านอื่น ๆ ด้วยเทคนิคในการนํากลยุทธ์การส่งเสริมการตลาด มาใช้กับการขายสินค้า
ออนไลน์ ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ด้านอื่น ๆ ควรส่งเสริมการขายเป็น 2 ลักษณะคือการมุ่งเน้นไปท่ี
ลูกค้าโดยตรงเพื่อให้ลูกค้าซื้อสินค้ามากขึ้น เช่น ซื้อสินค้า 3 ชิ้นคิดราคาพิเศษหรือราคาส่ง และ
ลักษณะที่2 มุ่งเน้นไปที่ตัวแทนเพื่อสร้างแรงจูงใจในการขายโดยการให้ส่วนลดสินค้า แถมสินค้า
กําหนดเป้าในการสง่ั ซ้อื สินคา้ เพื่อให้ของขวัญพิเศษ เปน็ การลด แลก แจก แถม ที่ทําให้มียอดขายเพิ่ม
มากขึ้น

4.2.5 กลยุทธ์ด้านบรรจุภัณฑ์ (Packaging Strategy) หลักสําคัญในการนํากล
ยุทธ์บรรจุภัณฑ์ มาใช้กับธุรกิจอื่นสิ่งที่ต้องคํานึงถึงเมื่อทําการออกแบบบรรจุภัณฑ์ก็คือต้องมีความ
สวยงามโดดเด่นกว่าผลิตภัณฑ์ของคู่แข่งเมื่อนําไปวางขายคู่ กันบนชั้นวางสินค้า ในส่วนของร้านค้า
ออนไลน์กลยุทธ์บรรจุภัณฑ์อาจเป็นเรื่องของการจัดส่งสินค้ารวมอยู่ด้วย เพราะถึงแม้จะมีกล่องพัสดุ
กล่องไปรษณีย์หรือถุงบรรจุภัณฑ์ที่ใช้สําหรับการจัดส่งสินค้าขายอยู่แล้วก็ ต้องเลือกให้เหมาะสมกับ
ขนาดหรือประเภทของสินค้ามีการหีบห่อที่เรียบร้อยสวยงาม เขียนรายละเอียดของผู้รับและผู้จัดส่ง
อยา่ งถูกตอ้ งครบถว้ น สิง่ เหล่าน้ีสามารถสร้างความประทับใจและทําให้ลูกค้ามีทัศนคติที่ดี ต่อร้านค้า
ออนไลนท์ ่ีส่ังซื้อสนิ ค้าจนทําให้กลายเปน็ ลกู คา้ ประจาํ ได้

4.2.6 กลยุทธ์ด้านการใช้พนักงานขาย (Personal Strategy) การขายโดยใช้
พนักงานนอกจากหวังผลลัพธ์เพื่อเพิ่มยอดขายแล้ว ในขณะเดียวกันก็ยังเป็นการสร้าง สัมพันธภาพ
ระยะยาวกบั ลกู ค้าอีกด้วย กลยุทธก์ ารใชพ้ นักงาน ไม่ได้หมายความถึง การขายเพียงอย่างเดียว แต่ยัง
เกี่ยวข้องกับการจัดการทั่ว ๆ ไปอาทิเช่น การจ้างพนักงานขายรวมถึงการบริหาร การเตรียมการ
เสนอขาย และการบริการหลังการขาย ในส่วนของร้านค้าออนไลน์กลยุทธ์การใช้พนักงานขาย วิธีการ
อาจแตกต่างไปจากธุรกิจอื่นเนื่องจากเป็นการขายสินค้าที่ผู้ซื้อและผู้ขายติดต่อซื้อขายกันผ่านโลก
ออนไลน์ พนกั งานขายจึงเปน็ คนท่ีทําหน้าที่โพสตอบคําถามและให้ข้อมูลสินค้าแก่ลูกค้าเป็นหลัก การ
สอบถามขอ้ มลู สินคา้ หากไดร้ ับคําตอบช้าเกินไปก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทําให้ลูกค้าขาดความเชื่อมั่นใน
การส่ังซ้อื สนิ คา้

4.2.7 กลยุทธ์ด้านการให้ข่าวสาร (Public Strategy) การให้ข้อมูลข่าวสาร
เป็นกลยุทธ์ที่มีความสําคัญและเหมาะกับยุคสมัยที่การติดต่อสื่อสารถึงกันได้อย่างไร้ พรมแดน
สภาพแวดล้อมและการใช้ชีวิตของคนในสังคมมีเรื่องของอินเทอร์เน็ตมาเกี่ยวข้องด้วยทั้งสิ้นทําให้
สามารถรับข้อมลู ข่าวสารต่าง ๆ ไดอ้ ย่างรวดเร็ว รปู แบบการนํากลยุทธ์มาใช้โดยเฉพาะการขายสินค้า

16

ออนไลน์ การให้ข่าวสารเช่น การโพสต์ประกาศ ฝากขายสินค้าตามเว็บลงประกาศฟรีซึ่งมีให้บริการ
อยู่มากมาย หรือต้องการให้ข้อมูลข่าวสารสินค้าที่ตรงกลุ่มเป้าหมายอาทิเช่นขายสินค้าแฟชั่นวัยรุ่น
ขายผ้าห่มผ้าปูที่นอน อาจเลือกเว็บบอร์ดของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ที่ให้ลงประกาศฟรีเป็นการใช้กล
ยุทธ์ที่ไมม่ คี า่ ใช้จ่ายใด ๆ

4.2.8 กลยุทธ์ด้านการใช้พลังงาน (Power Strategy) นํามาใช้กับร้านขาย
สินค้าออนไลน์มีหลายรูปแบบ ตัวอย่างเช่นการใช้อํานาจในการต่อรองเพื่อสร้างเครือข่าย โดยคนที่
ต้องการสั่งซื้อสินค้าจากเราไปจําหน่ายต้องสมัครเป็นตัวแทนเท่านั้นเพื่อที่จะได้สั่งซื้อสินค้าในราคา
ขายส่ง หรอื ต้องสมคั รเข้ากลุม่ ตามประเภทของสนิ ค้าในไลน์เพื่อนํารูปภาพของสินค้าแต่ละประเภทที่
มกี ารอัพเดททุกวันไปโพสตข์ าย ในกรณีน้ีเป็นการขายส่งสินคา้ สว่ นการขายปลีกให้กับลูกค้าทั่ว ๆ ไป
หน้าเวบ็ เพจรปู แบบการใช้กลยทุ ธพ์ ลงั อาจมีการกําหนดราคาขายที่แตกต่างกัน เช่น สั่งซื้อสินค้าครบ
3 รายการคดิ ราคาพเิ ศษเป็นการตอ่ รองเพื่อแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย ร้านค้า
ออนไลนม์ ยี อดขายเพิม่ ข้นึ ส่วนของลูกค้าได้สนิ ค้าในราคาที่ถูกลง

4.3 กลยทุ ธ์ตลาดออนไลน์
การตลาดออนไลน์ (Online Marketing) คือ การทําการตลาดในสื่อออนไลน์ เช่น
โฆษณา Facebook, โฆษณา Google, โฆษณา Youtube, โฆษณา Instagram มีวัตถุประสงค์หลัก
เพ่อื ทาํ ให้สนิ ค้าของเราเป็นทร่ี จู้ ักเพ่ิมมากข้ึน โดยใช้วิธีตา่ งๆ ในการ โฆษณาเว็บไซต์ หรือ โฆษณาขาย
สินค้าที่จะนําสินค้าของเราไปเผยแพร่ตามสื่อออนไลน์ เพื่อให้ผู้อื่นได้รับรู้และเกิดความสนใจ
จนกระทั่งเข้ามาใช้บริการหรือซื้อสินค้าของเราในที่สุด โดยการตลาดออนไลน์ (Online Marketing)
สามารถทาํ ไดห้ ลายช่องทาง ดงั นี้

4.3.1 Search Engine Marketing คือ การตลาดออนไลน์บน Search Engine
เปน็ การทําให้สินค้าของเราติดอันดับการค้นหาในลําดับแรกๆ ซึ่งจะทําให้เราถูกค้นพบได้ง่ายและถูก
คลกิ ไดบ้ ่อยกวา่ เวบ็ ไซต์ที่อยู่ดา้ นล่างหรอื อยู่ในหนา้ ถดั ไป แบง่ ออกเปน็
SEO (การทําเว็บไซตข์ องเราใหต้ ิดอันดับของ Google)

4.3.2 PPC (การซื้อ Ads บน Google)
4.3.3 Email Marketing คือ การตลาดออนไลน์ที่ทําผ่านอีเมล เพื่อส่งข่าวสาร
โปรโมช่ันตา่ งๆ ถงึ ลูกค้าทเี่ ปน็ กลุ่มเป้าหมาย เป็นการตลาดที่ต้นทุนตํ่าที่สุดเมื่อเทียบกับการตลาดใน
รปู แบบอ่นื ๆ อีกทั้งยงั เป็นการตลาดออนไลน์ทีต่ รงกลุ่ม และสามารถเข้าถงึ ผู้รับภายในเวลาอนั รวดเร็ว

17

4.3.4 Social Marketing คือ การตลาดออนไลน์ที่ทําผ่าน Social Network
ต่างๆ เช่น Facebook, Twitter, Instagram, Pinterest, Tiktok, ฯลฯ ซึ่ง Social Marketing กําลัง
ไดร้ บั ความนยิ มอย่างมาก เพราะมสี ถติ ิการใช้งานสูงกวา่ แหล่งออนไลนป์ ระเภทอืน่

5. การบริโภคและทฤษฎีพฤตกิ รรมผู้บรโิ ภค (Buyer Behavior’ Model)

5.1 การบริโภค (Consumption) หมายถึง การใช้ประโยชน์จากสินค้าและบริการเพื่อ
สนองความต้องการของผู้บริโภค หรือบําบัดความต้องการของมนุษย์ ในที่นี้คือการบริโภคสินค้าไม่
คงทน ซ่ึงเป็นการบรโิ ภคแล้วสินค้นค้าหมดไป

5.2 ลักษณะทัว่ ไปของผบู้ รโิ ภค
5.2.1 สิ่งเร้า (Stimuli) ในทางการตลาดนั้น แบ่งสิ่งเร้าได้เป็น 2 ประเภท คือ

สิ่งเร้าทางการตลาดกับสิ่งแวดล้อมอื่นๆทางการตลาด ที่มีอิทธิต่อการตัดสินใจและพฤติกรรมของ
ผบู้ ริโภค สง่ิ เรา้ เหล่านีน้ ับเปน็ ตัวนําเข้าหรือ Input ท่ีจะเขา้ ไปทางกล่องดาํ ของผู้บริโภคและส่งผลให้มี
การตอบสนองออกมาเปน็ Output

5.2.1.1 สิ่งเร้าทางการตลาด ได้แก่ สิ่งที่เราเรียกว่าส่วนประสมทาง
การตลาดหรือ 4’Ps ได้แก่ผลติ ภัณฑ์ ราคา ชอ่ งทางการจัดจาํ หนา่ ยและการสง่ เสรมิ การตลาดนนั้ เอง

5.2.1.2 สิ่งแวดล้อมอื่นๆ ทางการตลาดที่อยู่ล้อมรอบผู้บริโภค ได้แก่
เศรษฐกิจ เทคโนโลยี สังคม การเมือง/กฎหมาย และวัฒนธรรม ซึ่งมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจของ
ผู้บรโิ ภค

5.2.2 กล่องดํา (Black box) คํานี้เป็นนามธรรม โดยสมมติว่ากล่องดําเป็นที่
รวมเอาปัจจยั ต่างๆ ท่ีวา่ น้ีได้แก่ วฒั นธรรม สังคม ลักษณะ ส่วนบุคคล และลักษณะทางจิตวิทยาของ
ผู้บริโภคแต่ละคนเอาไว้ นอกไปจากนี้ในกล่องดํายังมีกระบวนการตัดสินใจซื้ออยู่อีกด้วย สิ่งเร้าเมื่อ
มาถึงกล่องดําจะถูกปัจจัยต่าง ๆ ดังกล่าวตกแต่งขัดเกลาแปรรูปออกมาเป็นการตอบสนอง ถ้าการ
ตอบสนองเป็นไปในทางบวก กระบวนการตัดสินใจซื้อทํางาน จนกระทั่งมีการซื้อเกิดขึ้นตามมา ถ้า
ตอบสนองเป็นไปในทางลบ ผู้บริโภคคงไมล่ งมือซ้ือ

5.2.3 การตอบสนอง (Response) เป็นผลลัพธ์จากอิทธิพลของปัจจัยและ
กลไกการทาํ งานของกระบวนการตดั สินใจซื้อทอี่ ยใู่ นกล่องดาํ ของผู้บริโภค ถ้าการตอบสนองเป็นไปใน

18

ทางบวก จะสังเกตเห็นผู้บริโภคไปเลือกผลิตภัณฑ์ที่จะซื้อ เลือกตราผลิตภัณฑ์ที่จะซื้อเลือกร้านค้าที่
จะซอื้ เลอื กจังหวะเวลาท่จี ะซอื้ และเลือกจาํ นวนท่ีจะซื้อ เป็นตน้

5.3 ปัจจัยที่มีผลต่อการบริโภคและผลของการบริโภค แบ่งย่อยออกเป็นวัฒนธรรม
หลกั (core culture) แลว้ ก็อนวุ ฒั นธรรม (subculture) และช้นั ทางสงั คม (social class)

5.3.1 วฒั นธรรมหลัก เป็นส่ิงท่มี ีอยู่ในทุกกลุ่มหรือในทุกสังคมของมนุษย์ และ
เป็นตัวก่อให้เกิดค่านิยม การรับรู้ ความอยากได้ ไปจนถึงพฤติกรรมของมนุษย์ สิ่งเหล่านี้เมื่อเกิดขึ้น
แล้วก็ถ่ายทอดให้แก่กันและกันมา และด้วยเหตุที่แต่ละสังคมก็มีวัฒนธรรมหลักเป็นของตนเอง ผลก็
คอื พฤตกิ รรมการซอ้ื ของมนุษยใ์ นแตล่ ะสังคมกจ็ ะผิดแผกแตกต่างกันไป

5.3.2 อนุวัฒนธรรม หมายถึง วัฒนธรรมของคนกลุ่มย่อยที่รวมกันเข้าเป็น
สงั คมกลุม่ ใหญ่ จาํ แนกอนุวฒั นธรรมออกเปน็ 4 ลกั ษณะ คอื

5.3.2.1 อนวุ ฒั นธรรมทางเชื้อชาติ (ethnic subculture)
5.3.2.2 อนวุ ฒั นธรรมตามทอ้ งถน่ิ (regional subculture)
5.3.2.3 อนุวัฒนธรรมทางอายุ (age subculture)
5.3.2.4 อนวุ ัฒนธรรมทางอาชีพ (occupational subculture)
5.3.3 ช้นั ทางสงั คม หมายถึง คนจํานวนหนึ่งที่มีรายได้ อาชีพ การศึกษา หรือ
ชาติตระกลู อย่างใดอย่างหนงึ่ หรอื หลายอยา่ งเหมือนกนั ช้นั ทางสงั คมแบง่ เป็น 3 ระดับ 6 กล่มุ ย่อย
5.3.3.1 ชั้นสูงระดับสูง (Upper-Upper) มีความรํ่ารวยเพราะได้รับ
มรดกตกทอดมากมาย มบี า้ นอยู่ในชุมชนคนร่ํารวย
5.3.3.2 ชั้นสูงระดับตํ่า (Lower-Upper) กลุ่มที่มีรายได้สูงที่สุดของ
สงั คม กลมุ่ นีส้ ร้างฐานะความราํ่ รวยจากความสามารถพิเศษของตนเอง
5.3.3.3 ชั้นกลางระดับสูง (Upper-Middle) กลุ่มคนที่ทํางานเป็น
พนกั งานในออฟฟิศท่ัวไป
5.3.3.4 ชั้นกลางระดับตํ่า (Lower-Middle) กลุ่มผู้ใช้แรงงานทั้งใน
ออฟฟศิ และในโรงงานส่วนท่เี หลือ
5.3.3.5 ชน้ั ตาํ่ ระดับสูง (Upper-Lower) กล่มุ ผทู้ ํางานส่วนใหญ่ซึ่งส่วน
ใหญ่จะเป็นงานประเภทที่ ไม่ต้องมีทักษะหรือกึ่งทักษะ ได้รับการศึกษาตํ่า รายได้น้อย มีมาตรฐาน
การครองชพี ระดบั ความ ยากจนหรอื เหนือกว่าเพียงเล็กนอ้ ยเทา่ น้นั

19

5.3.3.6 ช้นั ต่ําระดบั ตํ่า (Lower-Lower) กลมุ่ ผู้วา่ งงาน
5.4 ผลที่เกิดจากการบริโภค การรับประทานอาหารนั้น ถ้ารับประทานไม่ถูกต้องตาม
หลกั โภชนาการก็จะ ทําใหร้ ่างกายไม่ได้รบั ประโยชน์อย่างเต็มที่ และบางครั้งยังอาจเป็นอันตรายหรือ
ทํา ให้เป็นโรคได้อีกด้วย การเกิดโรคต่างๆจากการรับประทานอาหารไม่ถูกต้องนี้ เป็น ไปได้หลาย
สาเหตุ ได้แก่สาเหตุจากการรับประทานอาหารที่ให้สารอาหารไม่เพียงพอ ต่อความต้องการของ
รา่ งกาย
5.5 พฤติกรรมของผู้บริโภค (Consumer Behavior) หมายถึง พฤติกรรมซึ่งผู้บริโภค
ทาํ การค้นหา การซ้อื การใช้ การประเมินผล การใชส้ อยผลิตภณั ฑ์ และการบริการ ซึง่ คาดว่าจะสนอง
ความต้องการของเขา
5.6 ทฤษฏี 6W1H เป็นสูตรที่ถูกนํามาใช้วิเคราะห์และวางแผนทางการตลาด เพื่อ
ค้นหาความต้องการของลูกค้า โดยมีการตง้ั คาํ ถามและตอบโจทย์ว่า ใคร (Who), จะทําอะไร (What),
ที่ไหน (Where), เมื่อไหร่ (When), ทําไม (Why), กับใครบ้าง (Whom) และอย่างไร (How) ก่อนจะ
นาํ มาสู่การกําหนดกลุ่มลูกค้าเป้าหมายว่าลูกค้าเป็นใคร มีความต้องการสิ่งใด ทําไมลูกค้าถึงต้องการ
สินค้าน้ันๆ แล้วลกู ค้าจะซอ้ื สนิ คา้ เมอ่ื ไหร่ ผ่านช่องทางไหน ในชว่ งเวลาใด และซื้อหาอยา่ งไร

5.6.1 Who ลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย ต้องตอบคําถามนี้ให้ได้ก่อนว่าลูกค้าคือใคร
เพศอะไร ชาย-หญงิ หรอื อยใู่ นชว่ งวัยไหน มีรายได้มากหรือน้อย ซึ่งกลุ่มลูกค้าจะมีผลต่อการกําหนด
ราคาและรปู แบบผลิตภัณฑ์ อาจตอบได้ว่า

5.6.2 What อะไรคือสิ่งที่ลูกค้าต้องการ เมื่อลูกค้าเข้ามาดูสินค้าในระบบการ
ขายของทางร้าน หรอื เว็บไซต์ สิ่งท่ีลกู ค้าต้องการจะเปน็ อะไรไดบ้ ้าง

5.6.3 Where ลูกค้าอยู่ที่ไหน ลูกค้ากลุ่มเป้าหมายที่เราตั้งไว้จะอยู่ที่ไหนได้
บา้ ง เพือ่ ท่ีจะไดน้ ําสนิ ค้าไปขาย ไปจนถงึ การวิเคราะห์ถึงหีบห่อ บรรจุภัณฑ์ใส่สินค้า ว่าจําเป็นหรือไม่
ทจี่ ะตอ้ งพัฒนาให้ดีขน้ึ เพอ่ื ใหเ้ ข้ากับกลุ่มลกู คา้ ทต่ี ัง้ เป้าไว้

5.6.4 When เมือ่ ไหร่ทีล่ กู ค้าต้องการซ้อื สนิ คา้ เปน็ การวิเคราะหห์ าช่วงเวลาท่ี
ลูกคา้ สามารถซอื้ สนิ คา้ ได้ เชน่ ซอ้ื ได้เฉพาะชว่ งตน้ เดอื น กลางเดอื น ปลายเดือน หรือทุกวัน หรือตาม
เทศกาลงานตา่ งๆ สําหรับสนิ ค้าจดั เปน็ สินค้าท่ีสามารถซอื้ ได้ทกุ ชว่ งเวลา เพราะราคาต่อหน่วยไม่แพง
มาก

20

5.6.5 Why ทําไมเขาต้องซื้อสินค้าจากเรา เป็นการวิเคราะห์หาแรงจูงใจว่า
ทําไมลูกค้าจึงซื้อสินค้าของเรา ทําไมไม่ไปซื้อเจ้าอื่นหรืออย่างอื่น เพื่อนํามาปรับพัฒนาเป็นจุดขาย
และจดุ แข็งใหอ้ ยเู่ หนอื คู่แข่ง

6.6.6 Whom เขาเชื่อใคร ใครบ้างที่มีผลต่อการซื้อสินค้า เป็นทฤษฎีการใช้
Influencers วเิ คราะหว์ า่ ในการซอื้ สินคา้ แต่ละครงั้ ของลกู คา้ 1 คน จะมีใครบ้างทเี่ ป็นแรงจูงใจ ทําให้
อยากซื้อสินค้านั้นๆ เช่น สินค้าที่มีราคาสูง อาจต้องให้ภรรยาหรือสามีตัดสินใจร่วมกัน ซึ่งในส่วน
ของอโวคาโดนมสดเป็นสินค้าที่ราคาไม่แพง เข้าถึงได้ง่าย คนที่มีผลต่อการซื้อสินค้าอาจมีไม่มากเท่า
สนิ ค้าชนิดอื่น และอาจเป็นเพียงคนธรรมดาทมี่ ีอทิ ธิพลต่อชีวิตของลูกค้า

6.6.7 How ลูกค้าตัดสินใจซื้อสินค้าอย่างไร การตัดสินใจซื้อสินค้าของลูกค้า
อาจต่างกันออกไปในสินค้าแต่ละประเภท โดยอาจตัดสินใจด้วยราคา ชื่อเสียงความอร่อย หรือ
โปรโมชั่นทดี่ งึ ดูดใจไม่เหมอื นกันในแต่ละครัง้

6. แนวคดิ การออกแบบบรรจุภณั ฑ์

6.1 ข้นั ตอนการออกแบบบรรจุภัณฑ์
6.1.1 กาํ หนดกลุ่มเป้าหมาย ถือเป็นเรื่องสําคัญของการออกแบบบรรจุภัณฑ์

เพราะกลุ่มเป้าหมายสามารถส่งผลกระทบต่อผลิตภัณฑ์ได้โดยตรง ผู้ประกอบการจะต้องศึกษาและ
เรียนรู้ความต้องการของตลาดและความต้องการของผู้บริโภค โดยกําหนดกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจน
เพื่อที่จะได้สามารถออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้ตรงต่อความต้องการของกลุ่มเป้าหมายให้มากที่สุด
ตวั อยา่ ง กลุ่มเป้าหมาย เช่น วัยรนุ่ วยั ทํางาน แมบ่ า้ น เดก็ ฯลฯ เปน็ ตน้

6.1.2 กําหนดชื่อตราสินค้า (Brand) ตราสินค้าใช้เป็นชื่อหรือเครื่องหมาย
สําหรับการเรียกขานผลิตภัณฑ์ ผู้ประกอบการจะต้องทําการกําหนดชื่อตราสินค้าให้เรียบร้อยก่อน
การออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ โดยกาํ หนดให้ช่อื ตราสินค้ามีความเป็นเอกลักษณ์ ชัดเจน น่าสนใจ ที่สําคัญ
จะตอ้ งเปน็ ทีจ่ ดจาํ ได้งา่ ยแก่ผู้บริโภคตราสินคา้ ท่ีดีนน้ั สามารถยกตัวอย่างได้ดังนี้ คือตั้งตามชื่อเจ้าของ
กิจการ ตั้งตามความเชื่ออันเป็นมงคล ตั้งตามแหล่งที่มาของผลิตภัณฑ์ หรือตั้งโดยการผสมคําที่มี
ความหมายใหเ้ กิดเป็นคําใหมท่ ี่มเี อกลกั ษณ์ ฯลฯ เปน็ ตน้

6.1.3 วัสดุที่ใช้ทําบรรจุภัณฑ์ วัสดุมีความจําเป็นอย่างยิ่งต่อการออกแบบ
บรรจุภัณฑ์ การที่ผู้ประกอบการตัดสินใจว่าจะใช้วัสดุอะไรมาผลิตเป็นบรรจุภัณฑ์นั้น ท่านควร

21

คํานึงถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และคุณสมบัติของวัสดุแต่ละ
ประเภท ที่จะนํามาผลิตบรรจุภัณฑ์เป็นสําคัญ เนื่องวัสดุแต่ละชนิดแต่ละชนิดจะมีคุณสมบัติที่เป็น
ขอ้ ดแี ละข้อเสยี ในการคุ้มครองผลิตภณั ฑใ์ ห้คงคุณภาพ การยืดอายุผลิตภัณฑ์ และการนํากลับมาใช้
ใหม่(Recycle) ทแ่ี ตกต่างกันไป หากท่านเลอื กใช้วัสดุไม่ถูกต้องนอกจากจะทําให้เกิดผลกระทบต่อตัว
ผลิตภัณฑ์ ผบู้ ริโภคและสงิ่ แวดล้อมแลว้ ยงั เปน็ สาเหตใุ หเ้ กดิ ต้นทนุ ในการผลติ บรรจุภณั ฑท์ ี่เพิ่มขึ้นอีก
ด้วย

6.1.4 รูปทรง บรรจุภัณฑ์ ที่มีรูปร่างสวยงาม สามารถสร้างความประทับใจ
ให้กับผู้บริโภค ถึงแม้ผู้บริโภคจะยังมิได้สัมผัสกับตัวผลิตภัณฑ์ที่อยู่ภายใน รูปทรงของบรรจุภัณฑ์
สามารถสร้างความเป็นเอกลักษณ์ได้ กล่าวคือเมื่อผู้บริโภคเห็นรูปทรงสามารถรับรู้ได้ทันทีว่าเป็น
ผลิตภณั ฑอ์ ะไรและมีช่ือตราสินคา้ อะไร หรอื จะเป็นผลติ ภณั ฑเ์ ดยี วแตกตา่ งกันทชี่ ่อื ตราสนิ คา้

6.1.5 สีสันและกราฟิก สีสันและกราฟิกนี้คือการรวมของการใช้สัญลักษณ์
ตัวอักษร ภาพประกอบ ลวดลายและพื้นผิว ซึ่งส่วนประกอบทั้งหมดสามารถบ่งบอกถึงชื่อตราสินค้า
ลักษณะผลิตภัณฑ์ ทบ่ี รรจุอยูภ่ ายในได้และสามารถแสดงถึงแหลง่ ทีม่ าของผลิตภณั ฑ์ไดด้ ้วย

6.2 การออกแบบบรรจุภณั ฑ์ท่ดี ี
6.2.1 ป้องกันผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมในการบรรจุอาหารจะต้อง

สามารถป้องกันไม่ให้อาหารสัมผัสกับบรรยากาศภายนอก ซึ่งอาจจะเกิดการรั่ว การซึม แสง ความ
ร้อนเยน็

6.2.2 เก็บรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ที่ต้องสามารถรักษา
คณุ ภาพของผลิตภณั ฑ์มิใหเ้ ปลย่ี นแปลงไป ไม่วา่ จะเป็นกลิ่นหรือรสชาติ

6.2.3 ยืดอายผุ ลติ ภณั ฑ์ จะตอ้ งสามารถนําเทคโนโลยีที่สลับซับซ้อนมาช่วยใน
การออกแบบ เพอ่ื ใหบ้ รรจภุ ัณฑ์ สามารถยืดอายกุ ารเกบ็ รกั ษาผลิตภณั ฑ์ใหม้ อี ายุยืนยาว

6.2.4 ความสะดวกในการใช้งาน
6.2.5 ความประหยัดในการขนส่ง
6.3 หน้าที่ของบรรจภุ ัณฑด์ า้ นการตลาด (Marketing Functions)
6.3.1 หนา้ ทส่ี ง่ เสริมการขาย
6.3.2 หนา้ ท่สี รา้ งมลู คา่ เพมิ่
6.3.3 หนา้ ท่ีใหค้ วามถูกตอ้ ง รวดเรว็ ในการขาย

22

6.3.4 หนา้ ทรี่ ักษาส่ิงแวดลอ้ ม
6.3.5 หน้าทใ่ี นการรณรงคเ์ ร่อื งต่างๆ เช่น กินของไทยใช้ของไทย ส่งเสริมการ
ทอ่ งเท่ียว
6.4 หลกั การออกแบบบรรจบุ รรจุภัณฑ์ ประกอบด้วยการออกแบบทส่ี าํ คญั 2 สว่ นคอื
6.4.1 การออกแบบโครงสร้าง เน้นคุณสมบัติของวัสดุใช้ทําบรรจุภัณฑ์และ
รูปแบบบรรจภุ ณั ฑ์
6.4.2 การออกแบบกราฟิก เน้นการสื่อความหมายด้วยภาพวาดสัญลักษณ์
ตา่ งๆ ที่ชว่ ยสง่ เสรมิ การขาย
6.5 เนือ้ หาการนาํ เสนอบนบรรจภุ ณั ฑ์
6.5.1 แสดงผลิตภัณฑ์และการใช้
6.5.2 แสดงเคร่อื งปรุงและสว่ นผสม
6.5.3 เนน้ ประโยชนอ์ ยา่ งนา่ สนใจ
6.5.4 แสดงวฒั นธรรมและแหล่งกําเนดิ
6.5.5 แสดงอารมณแ์ ละบุคลกิ ของสินค้า/ผใู้ ช้
6.5.6 แสดงชนิด/กลุ่มสนิ ค้า
6.5.7 แสดงผลของการรวมหมู่
6.5.8 แสดงความเป็นเทศกาล โอกาสพเิ ศษ

7. ทฤษฏีกลไกราคา

7.1 กลไกราคา หมายถึง ภาวะการณ์เปลี่ยนแปลงในระดับราคาสินค้าและบริการอัน
เกิดจากแรงผลักดันของอุปสงค์และอุปทาน เมื่อผู้ผลิตพยายามปรับปรุงการผลิตและบริการให้
สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค ดังนั้นจะเห็นได้ว่าราคาสินค้าและบริการเป็นตัวแปรสําคัญ
ในการกําหนดอุปสงค์และอุปทาน ตลอดจนเป็นกระบวนการปรับเปลี่ยนราคาให้เข้าสู่จุดดุลยภาพ
เช่น เมื่อราคาสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น โดยทั่วไปแล้วความต้องการซื้อหรืออุปสงค์ก็จะลดลง แต่
อุปทานของสินค้าและบริการจะเพิ่มขึ้นกลไกราคาจะพบได้ในทุกตลาด ยกเว้น ตลาดแบบผูกขาด
เพราะกลไกราคาจะเกิดได้เฉพาะตลาดที่มีการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจในลักษณะของตลาดเสรี

23

หรือประเทศที่ใชร้ ะบบเศรษฐกจิ แบบทุนนิยมหรือเสรีนิยม หรือระบบเศรษฐกิจแบบผสมเท่านั้น โดย
ระบบเศรษฐกิจเหลา่ นจ้ี ะมีกลไกราคาเป็นตัวกําหนดวา่ จะผลติ สินค้าปริมาณเท่าใดและราคาเท่าใด

7.2 การกาํ หนดราคาสนิ คา้ และบริการในทางเศรษฐกจิ กําหนดไว้ 2 วธิ ี คอื
7.2.1 ให้กลไกราคาเป็นเครื่องมือในการกําหนดราคาสินค้าและบริการ ซึ่งจะ

เปล่ียนแปลงไปตามแรงผลกั ดันของอุปสงค์และอุปทาน
7.2.2 รัฐบาลกําหนดราคาสินค้าและบริการด้วยการควบคุมและแทรกแซง

ราคาสินค้าและบริการด้วยวิธีกําหนดราคาเมื่อสินค้าที่จําเป็นขาดตลาด เพื่อช่วยเหลือผู้บริโภค การ
ประกนั ราคาขั้นต่าํ เพอื่ ช่วยเหลอื ผผู้ ลิต การพยงุ ราคาสินคา้ ไม่ให้ตกตํา่ มากเกินไป เพ่อื ช่วยเหลือผู้ผลิต
หรอื ผู้ขายไม่ใหข้ าดทุน

7.3 อุปสงค์ (Demand) หมายถึง ปริมาณความต้องการซื้อสินค้าและบริการชนิดใด
ชนิดหนึ่งของผู้บริโภคที่เต็มใจจะซื้อและซื้อหามาได้ ณ ระดับราคาต่างๆที่ตลาดกําหนดให้ กล่าวคือ
เมื่อผูบ้ ริโภคมีความต้องการที่จะซื้อสินค้าและบริการนั้นแล้ว ก็จะสามารถมีกําลังซื้อสินค้านั้นได้ แต่
ถ้าผู้บริโภคไม่สามารถที่จะซื้อหรือไม่มีกําลังซื้อ ก็จะไม่ถือว่าเป็นอุปสงค์ตามความหมายในทาง
เศรษฐศาสตร์

7.3.1 กฎของอุปสงค์ (Law of Demand) หมายถึง ผู้บริโภคมีความต้องการ
ซ้ือสนิ คา้ และบรกิ ารในราคาตา่ํ (ราคาถกู ) ในปริมาณมากกว่าซ้อื สนิ ค้าในราคาสูง(ราคาแพง)

7.4 อุปทาน (Supply) หมายถึง ปริมาณสินค้าและบริการที่ผู้ขายหรือผู้ผลิตยินดีขาย
หรือผลิตให้แก่ผู้ซื้อ ณ ระดับราคาต่างๆตามที่ตลาดกําหนดให้ กล่าวคือ เมื่อราคาสินค้าชนิดใดชนิด
หนง่ึ เพ่ิมสูงขน้ึ ผ้ผู ลติ ก็ยนิ ดีทจี่ ะเสนอขายมากขึ้น แต่ถ้าราคาสินค้าชนิดนั้นลดลงปริมาณของอุปทาน
ก็จะลดลงตามไปด้วย

7.4.1 กฎของอปุ ทาน (Law of Supply) หมายถึง ผผู้ ลิตมีความต้องการเสนอ
ขายสินค้าและบริการในราคาสินค้าและบริการที่สูง(ราคาแพง) ในปริมาณมากกว่าราคาสินค้าและ
บรกิ ารท่ตี า่ํ (ราคาถกู )

7.5 ดุลยภาพ (Equilibrium) กลไกราคาทํางานโดยได้รับอิทธิพลจากทั้งผู้ผลิตและ
ผ้บู รโิ ภค ซ่งึ เราจะสังเกตเห็นไดว้ า่ ณ เวลาใด เวลาหนึ่ง ถ้าปริมาณความต้องการหรือปริมาณอุปสงค์
ต่อสินค้าในตลาดมีมากเกินกว่าปริมาณสินค้าที่ผู้ผลิตจะยินดีขายให้ ราคาสินค้าก็มีแนวโน้มที่จะ
ปรับตัวสูงขึ้น เนื่องจากการขาดแคลนของสินค้า แต่ถ้าปริมาณสินค้าที่ผู้ผลิตประสงค์จะขายให้

24

ผ้บู รโิ ภค หรือปรมิ าณอปุ ทานของสินค้ามีมากกว่าปริมาณสินค้าที่ผู้บริโภคประสงค์จะซื้อ ราคาสินค้า
น้ันกจ็ ะมแี นวโน้มลดตํ่าลง เมอื่ ปริมาณอปุ สงคแ์ ละปรมิ าณอุปทานเท่ากันราคาสินค้าจึงจะอยู่นิ่ง หรือ
ที่เรียกว่า มีเสถียรภาพไม่ปรับขึ้นลงอีก ยกเว้นว่า จะมีปัจจัยอื่นๆที่ทําให้ตลาดต้องเปลี่ยนแปลงไป
สรปุ การทาํ งานของกลไกราคาจะทาํ ให้การจดั สรรทรัพยากรสามารถดําเนนิ ไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โดยที่รัฐบาลไมจ่ าํ เป็นต้องเปน็ ผตู้ ัดสนิ ใจแทนผู้อื่น เพราะการแข่งขันระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย จะทําให้
สินค้ามีราคาที่สะท้อนความขาดแคลนของสินค้าหรือ ทรัพยากรนั้นๆ ผู้ซื้อย่อมทราบดีถึงความ
ต้องการที่แท้จริงของตน เช่นเดียวกับผู้ผลิตก็ย่อมทราบดีกว่าผู้อื่นว่าต้นทุนการผลิตของตนเองเป็น
อย่างไร และสมควรตอบสนองความต้องการสินคา้ ในท้องตลาดอย่างไร

7.6 อปุ สงค์ส่วนเกนิ และอุปทานส่วนเกิน
7.6.1 ภาวะอุปสงค์ส่วนเกินหรืออุปทานส่วนขาด คือ ถ้าสินค้าใดเป็นที่

ต้องการมาก จะทาํ ให้ราคาสินค้าและบริการสูง ส่งผลให้สินค้าและบริการขาดตลาด อุปสงค์ส่วนเกิน
จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อราคาสินค้าตํ่ากว่าจุดดุลยภาพ ซึ่งหมายถึง ความต้องการซื้อมีมากกว่าปริมาณ
สินค้าและบริการทผ่ี ้ผู ลิตทําการผลติ ออกมาขาย

7.6.2 ภาวะอุปทานส่วนเกินหรืออุปสงค์ส่วนขาด คือ ถ้าสินค้าใดเป็นท่ี
ต้องการน้อยจะทําให้การบริโภคสินค้าและบริการตํ่า ส่งผลให้สินค้าและบริการล้นตลาด อุปทาน
ส่วนเกินจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อราคาสินค้าอยู่เหนือจุดดุลยภาพ ซึ่งหมายถึงความต้องการซื้อสินค้าและ
บริการมีนอ้ ยกวา่ ปรมิ าณสนิ ค้าและบรกิ ารท่ผี ูผ้ ลติ ผลติ ออกมาขาย

8. แนวความคดิ ของหลักการบัญชีต้นทุน

8.1 การบัญชีต้นทุน (Cost Accounting) จัดเป็นวิธีการทางบัญชีที่ทําหน้าที่รวบรวม
ข้อมูลทางด้านตน้ ทุนของธุรกิจ ประเภทอตุ สาหกรรม โดยมีวัตถุประสงค์พื้นฐานในการจัดทํารายงาน
ทางการเงินตลอดจนวิเคราะห์ และจําแนกข้อมูลเพื่อใช้ในการบริหารต้นทุน (Cost Management)
ตามความต้องการของผู้บริหาร ในปัจจุบันนี้ไม่ใช่แต่กิจประเภทอุตสาหกรรมเท่านั้น ที่จะต้องใช้
วธิ ีการทางบญั ชหี รือข้อมูลของบัญชีต้นทุน แต่ยังมีธุรกิจอีกหลายประเภท เช่น โรงแรม โรงพยาบาล
โรงเรียน มหาวทิ ยาลัย ธนาคาร บรษิ ัทเงนิ ทนุ บริษทั สายการบนิ และกิจการอนื่ ๆ อีกมากมายที่ได้มี
การนําวิธีการบัญชีต้นทุนไปประยุกต์ใช้เพื่อการตัดสินใจของผู้บริหาร อย่างไรก็ตามวัตถุประสงค์ท่ี
สําคญั ของขอ้ มลู ทางบญั ชีตน้ ทนุ พอสรุปไดด้ ังนี้

25

8.1.1 เพื่อให้ทราบถึงต้นทุนการผลิต ตลอดจนต้นทุนขาย (Cost of goods
sold) ประจํางวด ซึ่งจะนําไปหักออกจากรายได้ในงบกําไรขาดทุน เพื่อช่วยให้ผู้บริหารได้ทราบผล
การดาํ เนนิ งานของกิจการว่ามผี ลกาํ ไรหรือขาดทนุ อย่างไร

8.1.2 เพื่อใช้ในการตีราคาสินค้าคงเหลือ (Inventory Evaluation) ในธุรกิจ
อตุ สาหกรรม สินค้าคงเหลอื ท่ีจะปรากฏในงบดุลจะประกอบด้วย วัตถดุ ิบ งานระหว่างผลิต และสินค้า
สาํ เร็จรูป ซึ่งการแสดงมลู ค่าของสนิ คา้ คงเหลอื เหล่านี้ได้อย่างถูกต้อง หรือใกล้เคียงความเป็นจริงมาก
ท่สี ดุ จําเปน็ ตอ้ งอาศัยวธิ ีการทางบัญชีตน้ ทนุ ทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ

8.1.3 เพอื่ ให้ขอ้ มลู เกี่ยวกับการตัดสินใจวางแผนและควบคุม (Planning and
Control) ซึ่งจะช่วยให้ผู้บริหารสามารถดําเนินธุรกิจไปอย่างมีแบบแผน และบรรลุเป้าหมายตาม
ความต้องการของธุรกิจในที่สุด นอกจากนี้ข้อมูลทางบัญชีต้นทุนยังช่วยให้ผู้บริหารได้ทราบถึงความ
ผดิ พลาดหรอื จดุ บกพร่องในการดาํ เนินธุรกิจ เพื่อหาทางกําหนดวธิ ีการปฏิบัติเพื่อแก้ไขเหตุการณ์ที่ไม่
พึงประสงคไ์ ดอ้ ย่างทันท่วงที

8.1.4 เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ปัญหาเพื่อตัดสินใจ(Decision
Making) ทั้งนี้ในการดําเนินธุรกิจ ผู้บริหารมักจะต้องประสบปัญหาที่จะต้องทําการแก้ไขอยู่
ตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นปัญหาในระยะสั้น หรือปัญหาที่จะส่งผลกระทบในระยะยาวก็ตาม เช่น การ
ตัดสินใจเกี่ยวกับการรับใบสั่งซื้อพิเศษ การปิดโรงงานชั่วคราว การเพิ่ม – ลดรายการผลิต การตั้ง
ราคาสินค้า การวเิ คราะหก์ ําไร การกําหนดกลยทุ ธ์ในการประมูลงาน เป็นตน้

8.2 ขอบเขตของหลักการบัญชี ได้ถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ บัญชีการเงิน
(Financial accounting ) และบัญชตี ้นทนุ (Cost Accounting)

8.2.1 บัญชีการเงิน นั้นค่อนข้างที่จะมีขอบเขตกว้าง เนื่องจากเป็นบัญชีท่ี
เกย่ี วข้องกบั การจัดทํางบการเงินเพื่อเสนอต่อบุคคลภายนอก เช่น ผู้ถือหุ้น นักลงทุน เจ้าหนี้ เป็นต้น
การวิเคราะห์งบการเงินจึงเป็นเครื่องมือที่จะให้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจแก่บุคคลต่าง ๆ ดังกล่าว เช่น
นกั ลงทนุ ก่อนทีจ่ ะตัดสินใจลงทุนในธุรกิจใดก็จะต้องทําการวิเคราะห์งบการเงินของกิจการหรือธุรกิจ
นน้ั ๆ เสียก่อน ทัง้ นี้ เพอ่ื จะไดท้ ราบถงึ ความเสี่ยง และความเป็นไปได้ที่จะตัดสินใจลงทุนในธุรกิจนั้น
เป็นต้น และด้วยเหตุผลที่ว่า งบการเงินนี้จะต้องจัดทําขึ้นเพื่อเสนอต่อบุคคลภายนอก ซึ่งจะนําไปใช้
ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของการตัดสินใจที่แตกต่างกัน ดังนั้น งบการเงินนี้จึงต้องจัดทําขึ้นตาม

26

หลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป (Generally Accepted Accounting Principles : GAAP) และ
จากการจัดทํางบการเงินภายใต้หลักการบัญชีที่ยอมรับกันทั่วไปนี้เอง จึงทําให้ข้อมูลทางการเงินท่ี
ปรากฏในงบการเงินเปน็ ข้อมูลในอดีตทงั้ สิน้ ทงั้ นี้เพราะการจดั ทํางบการเงินที่เสนอต่อบุคคลภายนอก
นี้ควรจะมีความถูกต้องแน่นอน มหี ลักฐาน และเชอ่ื ถือไดน้ น่ั เอง

8.2.2 บัญชีต้นทุน เป็นหลักการบัญชีที่เกี่ยวกับการสะสมและวิเคราะห์ข้อมูล
เพ่ือการตดั สินใจของฝ่ายบริหาร ทั้งเพ่ือการวางแผน ควบคุม และการตัดสินใจในเรื่องอื่น ๆ โดยปกติ
แล้วการบัญชีต้นทุนจะทําหน้าที่หลักในการสะสมข้อมูลทางด้านต้นทุนที่เป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นแล้วใน
อดตี เพอ่ื คาํ นวณหาต้นทุนของผลิตภัณฑ์ รวมทั้งใช้ประมาณมูลค่าของสินค้าคงเหลือ นอกจากนี้การ
บัญชีตน้ ทุนยงั เป็นสว่ นทเี่ กีย่ วข้องกับการประมาณหรือการพยากรณ์ต้นทุนที่จะเกิดขึ้นในอนาคตเพื่อ
การตดั สินใจอกี ด้วย ซง่ึ ในส่วนนเ้ี องจึงทําให้การบัญชีต้นทุนเข้ามามีบทบาทเพื่อการตัดสินใจของฝ่าย
บรหิ าร ในปัจจบุ ันนกี้ ารพัฒนาทางดา้ นอตุ สาหกรรมและการผลิตได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปอย่าง
มาก เช่น การนําเครื่องจกั รกล เครื่องคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในกระบวนการผลิต เป็นต้น การนําบัญชี
ต้นทุนเขา้ มาใช้เพ่ือทาํ หน้าที่ในการเก็บรวบรวมข้อมูลทางด้านต้นทุนที่ถูกต้อง และมีความสามารถที่
จะให้ขอ้ มลู เพ่ือการตัดสนิ ใจแกฝ่ า่ ยบรหิ ารไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ทันสมัย และเชื่อถือได้จึงเป็นสิ่งที่นักบัญชี
ต้นทุนจะต้องมีความเข้าใจ และสามารถที่จะประยุกต์การบัญชีต้นทุนให้ใช้ได้กับลักษณะของธุรกิจ
ตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ

9. งานวิจัยที่เกีย่ วขอ้ ง

MadameDeutsch (2564) ได้ศึกษาเกี่ยวกับวิธีรับประทานอโวคาโดแบบลดนํ้าหนัก
ผลการศกึ ษาพบวา่ วธิ ีทานอะโวคาโดที่ดที ีส่ ดุ คือ ทานวนั ละครึง่ ถึง 1 ผลไมท่ าํ ให้อว้ นแนน่ อน ซึ่งต่อผล
มีประมาณ 160 -190 แคลอรี่ สามารถทานได้ทั้งแบบสุกและดิบ ทานกับอาหารเป็นมื้อเช้า ตอน
กลางวนั ของวา่ งหรอื มือ้ เยน็ ก็ได้ไม่มีข้อจํากัด ด้วยรสชาติที่นัวและครีมมีจึงแนะนําว่าสามารถใช้เป็น
ทัง้ ส่วนผสมหลักของอาหารหรอื ใช้ทาขนมปงั แทนเนยได้เลย เมนูอโวคาโดที่เราแนะนําว่าเฮลตี้สุดเริ่ด
ก็คือเมนอู โวคาโดดิบ รบั รองว่าอร่อยถูกปากแน่นอน

ดร.อัจฉรา ภาวศุทธิ์ (2563) ได้ศึกษาการปลูกอโวคาโด ผลการศึกษาพบว่าอโวคาโด
เป็นผลไม้ที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง และเป็นไม้ผลยืนต้นที่มีใบเขียวตลอดปี ทําให้ปลูกเป็นป่าได้
โดยเฉพาะบนพ้ืนที่สงู และปลกู ได้ต้ังแต่พ้นื ราบจนถึงพื้นที่สูงมากกว่า 1,000 เมตรจากระดับนํ้าทะเล

27

(MSL) ซง่ึ อโวคาโดมหี ลากหลายพนั ธทุ์ ่ีให้ผลที่มคี ณุ ภาพดี จึงควรเลือกพันธุ์ให้เหมาะสมกับพื้นที่ เช่น
พันธุ์ Peterson, Ruehle, Buccaneer, ปากช่อง 3-3 สามารถปลูกได้ในพื้นที่ราบ (ตํ่ากว่า 250
MSL) สําหรับพันธุ์ Buccaneer, Booth 7, Booth 8, Pinkerton, Hall และ Hass เป็นพันธุ์ท่ี
เหมาะสมสําหรับพื้นที่สูง อย่างไรก็ตาม ในช่วงที่ผ่านมาเกษตรกรมักพบปัญหาเรื่องต้นอโวคาโดที่
มักจะตายในช่วงปีแรกหลังปลูก ซึ่งมีสาเหตุหลายอย่าง เช่น ความสมบูรณ์ของต้น โรคที่ติดมา กับ
เมลด็ ทนี่ าํ มาเพาะ ชว่ งท่เี วลาปลกู การดแู ลต้นหลังปลูก

Zee (2558) ได้ศึกษาปริมาณไขมันในอโวคาโด ผลการศึกษาพบว่าหลายคนได้ยินว่า
ไขมันอาจทําให้รู้สึกว่าอโวคาโดจะทานแล้วมีประโยชน์หรือไม่ซึ่งจริงอยู่ในเนื้อของอโวคาโคปริมาณ
100 กรัม (ประมาณครึ่งลูก) จะมีไขมันอยู่ถึง 14.66 g กรัมซึ่งมากกว่าผลไม้ชนิดอื่น ๆ ที่มีน้อยกว่า
หรือแทบไม่มีเลย แต่เจ้าตัวไขมันที่อยู่ในอโวคาโดนั้นไม่น่ากลัวอย่างที่คิดและไม่ได้ทําให้อ้วนขึ้น
เหมือนไขมันชนิดอื่น ๆ เนื่องจากไขมันชนิดนี้เป็นไขมันชนิดไม่อิ่มตัวที่เป็นประโยชน์กับร่างกายช่วย
เพม่ิ ระดบั ไขมันตัวดี (HDL) และลดไขมนั ตวั เลวท่เี ป็นผลเสียกบั ร่างกายอย่าง (LDL) อีกด้วยเมื่อไขมัน
ทั้งสองตัวอยู่ในระดับที่สมดุลก็จะทําให้ระบบการทํางานของหลอดเลือดและหัวใจทํางานได้ดีขึ้น
นอกจากเนื้อโวคาโดยังถือว่าเป็นผลไม้ที่เป็นตัวช่วยสําหรับการลดนํ้าหนักด้วยที่มีปริมาณ
คาร์โบไฮเดรต (แป้งและนํ้าตาล) ตํ่าแม้แต่ผู้ป่วยโรคเบาหวานก็สามารถทานอโวคาโดได้มีโปรตีนสูง
(สูงกว่าผลไม้สดอื่น ๆ ประมาณ 0.8-1.79% และมีกรดอะมิโนที่เป็นประโยชน์สําหรับร่างกายใช้ใน
การชว่ ยย่อยโปรตนี ทดี่ ีขน้ึ

28

บทที่ 3

วธิ ีการดาเนินการศึกษา

อโวคาโดนมสด เปน็ การพฒั นาผลติ ภัณฑแ์ ละบรรจุภัณฑ์และเป็นทางเลือกใหแ้ กผ่ ู้บรโิ ภค
ศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเปา้ หมายทม่ี ีต่ออโวคาโดนมสด โดยผศู้ กึ ษาไดด้ ําเนินงานตามลาํ ดบั
ข้นั ตอนดงั ต่อไปนี้

1. ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง
2. เคร่อื งมือที่ใช้ในการศึกษา
3. ข้นั ตอนในการสร้างเคร่ืองมอื
4. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
5. การวเิ คราะห์ข้อมลู และสถติ ิท่ใี ชใ้ นการศึกษา

1. ประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง

นกั ศึกษาประกาศนยี บตั รวิชาชพี ช้นั สงู (ปวส.) ชนั้ ปที ่ี 2 แผนกวชิ าการบญั ชี ภาคเรียนที่ 1
ปกี ารศกึ ษา 2564 วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาชลบรุ ี จํานวน 84 คน

2. เครื่องมอื ท่ีใช้ในการศึกษา

เครอื่ งมอื ท่ีใช้ในการศึกษาครง้ั น้ีเปน็ แบบสอบถาม ซ่งึ ประกอบดว้ ยแบบตรวจรายการ แบบ
มาตราส่วนประมาณ และแบบคําถามปลายปดิ และปลายเปดิ จาํ นวน 3 ตอนมรี ายละเอียด ดังน้ี

ตอนที่ 1 สอบถามข้อมูลท่วั ไป
ตอนท่ี 2 ศึกษาความพงึ พอใจของกล่มุ เป้าหมายทม่ี ตี ่อผลติ ภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ ลักษณะ
แบบสอบถามเปน็ แบบมาตราส่วน 5 ระดบั
ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะและความคดิ เห็น

29

3. ขัน้ ตอนในการสร้างเครอ่ื งมือ

การสร้างเครื่องมือจากแบบสอบถาม ซึ่งมรี ายละเอียดแบง่ เปน็ 3 ตอน ดงั น้ี

ตอนที่ 1 สอบถามขอ้ มลู ท่ัวไป

ข้อ 1 เพศ

ข้อ 2 อายุ

ข้อ 3 กลุ่มเรียน

ตอนที่ 2 ศกึ ษาความพึงพอใจของกลมุ่ เป้าหมายทมี่ ตี ่อผลติ ภัณฑแ์ ละบรรจุภณั ฑ์ ลกั ษณะ

แบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วน 5 ระดับ

ระดับ 5 หมายถึง มีความพึงพอใจมากที่สดุ

ระดบั 4 หมายถงึ มีความพงึ พอใจมาก

ระดับ 3 หมายถึง มีความพงึ พอใจปานกลาง

ระดับ 2 หมายถึง มคี วามพึงพอใจนอ้ ย

ระดับ 1 หมายถึง มีความพงึ พอใจนอ้ ยท่สี ุด

โดยมกี ารกําหนดเกณฑ์การแปลความหมายข้อมูลทเ่ี ป็นค่าเฉล่ียตา่ งๆ คือ

ค่าเฉลยี่ ระหว่าง ความหมาย

4.21 - 5.00 ความพงึ พอใจในระดบั มากที่สดุ

3.41 – 4.20 ความพึงพอใจในระดบั มาก

2.61 – 3.40 ความพงึ พอใจในระดบั ปานกลาง

1.81 – 2.60 ความพึงพอใจในระดบั นอ้ ย

1.00 – 1.80 ความพึงพอใจในระดบั นอ้ ยท่ีสุด

ตอนท่ี 3 เป็นแนวคาํ ถามปลายเปดิ สาํ หรบั ผตู้ อบแบบสอบถามแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม

และให้ข้อเสนอแนะต่างๆ

4. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล

คณะผจู้ ักทาํ ไดด้ ําเนนิ การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ตามลําดับขน้ั ตอน ดงั น้ี

4.1 ดาํ เนนิ การแจกแบบสอบถาม อโวคาโดนมสด โดยแจกแบบสอบถามให้กลุ่มเปา้ หมาย

ผา่ นทางออนไลน์ โดยใช้ Google From

4.2 เก็บรวบรวมแบบสอบถาม อโวคาโดนมสด เพื่อนําข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ต่อไป

30

5. การวเิ คราะหข์ ้อมลู และสถติ ิที่ใช้ในการศกึ ษา

การวิเคราะห์ข้อมลู เก่ียวกับลักษณะของผู้ตอบแบบสอบถาม สถิตเิ ปน็ ร้อยละ (Percentage)
คา่ เฉลีย่ (Arithmetic Mean) สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation S.D.) โดยรวบรวม
ขอ้ มูลการหาค่าสถติ ิพ้ืนฐาน คือ รอ้ ยละ คา่ เฉลย่ี และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของคะแนนทไี่ ด้โดยใช้
สูตร ดังน้ี

5.1 ค่าร้อยละ

เมือ่ P =
5.2 ค่าเฉล่ีย P แทน รอ้ ยละ
F แทน ความถ่ีท่ีต้องแปลคา่ ให้เป็นรอ้ ยละ
n แทน จํานวนความถ่ที งั้ หมด

=

เมอ่ื แทน ค่าเฉล่ยี
แทน ผลรวมทง้ั หมดของความถี่

n แทน ผลรวมทั้งหมดของความถ่ีซงึ่ มีคา่ เท่ากับจํานวนข้อมูล
ท้ังหมด

5.3 สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน

S.D. =√ ()
()

เมอ่ื S.D. แทน สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน

n แทน จาํ นวนค่ทู ้ังหมด

x แทน คะแนนแต่ละตัวในกลุ่มข้อมูล

แทน ผลรวมของความแตกต่างของคะแนนแต่ละคู่

31

บทท่ี 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

โครงการอโวคาโดนมสด เปน็ การพฒั นาผลิตภณั ฑ์และบรรจุภณั ฑ์ให้มีคุณภาพเหมาะสมตอ่
ความตอ้ งการของผู้บริโภค และศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายท่ีมีตอ่ ผลติ ภณั ฑ์และบรรจุ-
ภัณฑอ์ โวคาโดนมสด ในครั้งน้ีผู้ศึกษาเสนอตามลาํ ดับ ดังน้ี

4.1 สัญลักษณ์ท่ใี ช้ในการบันทกึ ขอ้ มูล
N แทน จาํ นวนคนในกลุ่มเปา้ หมาย
แทน คะแนนเฉล่ยี
S.D. แทน ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน

4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู
การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ในการศกึ ษานี้ ผศู้ ึกษาได้ดําเนนิ การวเิ คราะห์ออกเปน็ 3 ตอนดังนี้
ตอนท่ี 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนท่ี 2 ศึกษาความพงึ พอใจจอ่ ผลิตภัณฑ์และบรรจภุ ณั ฑข์ องอโวคาโดนมสด แบง่ เป็น
4 ด้าน คอื ด้านคุณภาพผลิตภณั ฑ์ ด้านบรรจภุ ณั ฑ์ ด้านราคา ดา้ นส่งเสริมการจดั จาํ หน่าย
ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะและความคิดเห็น

32

ตอนที่ 1 ข้อมลู ทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

ตารางท่ี 1 แสดงความถี่และรอ้ ยละกล่มุ เป้าหมาย จําแนกตามเพศ

กล่มุ เปา้ หมาย N = 84

สถานภาพ จาํ นวน ร้อยละ

เพศ

ชาย 5 6.00

หญงิ 79 94.00

รวม 84 100.00

จากตารางท่ี 1 พบว่านกั ศึกษาจากกลมุ่ เป้าหมายสว่ นใหญเ่ ปน็ เพศหญงิ จํานวน

84 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 94.00 และเพศชายจาํ นวน 5 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 6.00

6%

ชาย
หญงิ

94%

ภาพที่ 1 แสดงความถ่ีร้อยละของกลมุ่ เป้ าหมาย จาแนกตามเพศ

33

ตารางที่ 2 แสดงความถี่และรอ้ ยละของกลุ่มเป้าหมาย จําแนกตามชว่ งอายุ

กลมุ่ เปา้ หมาย N = 84

สถานภาพ จาํ นวน รอ้ ยละ

อายุ

15 - 17 ปี 1 1.20

18 - 20 ปี 78 92.90

21 ปขี ึ้นไป 5 6.00

รวม 84 100.00

จากตารางที่ 2 พบวา่ นักศึกษาสว่ นใหญอ่ ยใู่ นช่วงอายุ 18 – 20 ปี จาํ นวน 78
คน คิดเป็นร้อยละ 92.90 อายุ 21 ปีข้ึนไป จาํ นวน 5 คน คดิ เป็นร้อยละ 6.00 อายุ 15 – 17
ปี จํานวน 1 คน คิดเปน็ ร้อยละ 1.20

1%
6%

15 - 17 ปี
18 - 20 ปี
21 ปี ขนึ ้ ไป
93%

ภาพท่ี 2 แสดงความถี่และร้อยละของกลุ่มเปา้ หมาย จําแนกตามชว่ งอายุ

34

ตารางท่ี 3 แสดงความถีแ่ ละร้อยละของนักศกึ ษา จาํ แนกตามกลุ่มเรยี น

กลมุ่ เป้าหมาย N = 84

สถานภาพ จํานวน ร้อยละ

ระดบั ชัน้

ปวส.2/1 28 33.30

ปวส.2/2 29 34.50

ปวส.2/3 27 32.10

รวม 84 100.00

จากตารางท่ี 3 พบวา่ นักศึกษาสว่ นใหญ่เป็นนักศึกษาระดับ ปวส.2/2 จาํ นวน 29
คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 34.50 นกั ศกึ ษาระดับ ปวส.2/1 จํานวน 28 คน คดิ เป็นร้อยละ 33.30
นักศึกษาระดบั ปวส.2/3 จาํ นวน 27 คน คดิ เป็นร้อยละ 32.10

32% 33% ปวส.2/1
ปวส.2/2
35% ปวส.2/3

ภาพที่ 3 แสดงความถีแ่ ละร้อยละของนักศึกษา จําแนกตามกลุ่มเรยี น

35

ตอนท่ี 2 ศึกษาความพงึ พอใจต่อผลติ ภณั ฑ์และบรรจุภัณฑ์ของอโวคาโดนมสด แบ่งเป็น 4 ด้าน คือ

ด้านคณุ ภาพผลติ ภัณฑ์ ดา้ นบรรจภุ ัณฑ์ ดา้ นราคา ดา้ นส่งเสริมการจดั จําหน่าย

ตารางท่ี 4 แสดงคา่ เฉล่ีย และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจต่อผลิตภณั ฑ์และบรรจุภณั ฑ์

ของอโวคาโดนมสด สรุปเป็นรายดา้ นคณุ ภาพผลิตภณั ฑ์

ระดบั ความพึงพอใจ

รายการประเมิน S.D. แปลผล

1. ความหวานมนั ของผลิตภัณฑ์ 3.64 0.79 มาก

2. กลิ่นอโวคาโดของผลติ ภณั ฑ์ 3.58 0.73 มาก

3. ปริมาณความเหมาะสมของผลิตภัณฑ์ 3.67 0.83 มาก

4. ความสะอาดของผลติ ภณั ฑ์ 3.64 0.79 มาก

5. ผลติ ภัณฑม์ ปี ระโยชน์ต่อการสุขภาพ 3.64 0.79 มาก

รวม 3.64 0.66 มาก

จากตารางที่ 4 พบวา่ ความพงึ พอใจต่อผลิตภัณฑ์และบรรจภุ ณั ฑข์ องอโวคาโดนม

สด ด้านคุณภาพผลติ ภัณฑ์ โดยรวมมคี วามพึงพอใจในระดับมาก ( = 3.64 และS.D. = 0.66 ) เม่อื

พจิ ารณาเป็นรายข้อแลว้ ปรมิ าณความเหมาะสมของผลติ ภณั ฑ์ มีความพงึ พอใจในระดบั มาก ( =

3.67 และ S.D. = 0.83 ) ความหวานมันของผลิตภณั ฑ์ มีความพึงพอใจในระดบั มาก ( = 3.64 และ

S.D. = 0.79 ) ความสะอาดของผลิตภณั ฑ์ มีความพึงพอใจในระดบั มาก ( = 3.64 และ S.D. =

0.79 ) ผลิตภัณฑ์มปี ระโยชนต์ อ่ การสขุ ภาพ มีความพงึ พอใจในระดับมาก ( = 3.64 และ S.D. =

0.79 ) กลน่ิ อโวคาโดของผลิตภณั ฑ์ มีความพงึ พอใจในระดับมาก ( = 3.58 และ S.D. = 0.73 )

ตามลาํ ดับ

60
50
40
30
20
10

0
1. ความหวานมนั 2. กลน่ิ อโวคาโด 3. ปริมาณความ 4. ความสะอาด 5. ผลิตภณั ฑ์มี

ของผลิตภณั ฑ์ ของผลติ ภณั ฑ์ เหมาะสมของ ของผลิตภณั ฑ์ ประโยชน์ต่อ

ผลิตภณั ฑ์ สขุ ภาพ

มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยท่ีสดุ

ภาพท่ี 4 แสดงค่าเฉลยี่ และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน ความพงึ พอใจของกลุ่มเปา้ หมาย สรปุ เป็นราย
ด้านคณุ ภาพผลิตภณั ฑ์

36

ตารางท่ี 5 แสดงค่าเฉล่ยี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของผลติ ภณั ฑแ์ ละบรรจุภัณฑ์

ของอโวคาโดนมสด สรปุ เปน็ รายดา้ นบรรจภุ ัณฑ์

ระดบั ความพงึ พอใจ

รายการประเมิน S.D. แปลผล

1. บรรจภุ ณั ฑม์ ีความสวยงาม 3.73 0.75 มาก

2. บรรจภุ ัณฑ์มีความเหมาะสมกบั ผลิตภณั ฑ์ 3.77 0.81 มาก

3. ความทันสมัยของบรรจุภณั ฑ์ 3.70 0.75 มาก

4. โลโก้บรรจภุ ณั ฑม์ ีความสวยงาม 3.68 0.82 มาก

รวม 3.72 0.64 มาก

จากตารางท่ี 5 พบว่าความพึงพอใจต่อผลิตภณั ฑ์และบรรจุภัณฑ์ของอโวคาโดนม
สด ด้านบรรจุภัณฑ์ โดยรวมมีความพงึ พอใจในระดับมาก ( = 3.72 และ S.D. = 0.64 ) เมื่อ
พจิ ารณาเปน็ รายข้อแล้ว บรรจุภัณฑม์ คี วามเหมาะสมกบั ผลิตภณั ฑ์ มีความพึงพอใจในระดบั มาก (
= 3.77 และ S.D. = 0.81 ) บรรจุภัณฑม์ คี วามสวยงาม มคี วามพงึ พอใจในระดบั มาก ( = 3.73
และ S.D. = 0.75 ) ความทนั สมยั ของบรรจภุ ณั ฑ์ มีความพึงพอใจในระดับมาก ( = 3.70 และ S.D.
= 0.75 ) โลโก้บรรจภุ ัณฑม์ ีความสวยงาม มคี วามพึงพอใจในระดบั มาก ( = 3.68 และ S.D. =
0.82) ตามลาํ ดบั

50

45

40

35 มากที่สดุ
มาก
30 ปานกลาง
น้อย
25 น้อยท่ีสดุ

20

15

10

5

0
1. บรรจภุ ณั ฑ์มคี วาม 2. บรรจภุ ณั ฑ์มคี วาม 3. ความทนั สมยั ของบรรจุ 4. โลโก้บรรจภุ ณั ฑ์มคี วาม

สวยงาม เหมาะสมกบั ผลติ ภณั ฑ์ ภณั ฑ์ สวยงาม

ภาพที่ 5 แสดงค่าเฉลยี่ และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของกลุม่ เป้าหมาย
สรุปเปน็ รายดา้ นบรรจภุ ัณฑ์

37

ตารางท่ี 6 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจต่อผลิตภณั ฑ์และบรรจุภัณฑ์

ของอโวคาโดนมสด สรปุ เป็นรายด้านด้านราคา

ระดบั ความพึงพอใจ

รายการประเมิน S.D. แปลผล

1. ราคาสินค้ามีความคมุ้ ค่าเมอื่ เทียบกับ 3.77 0.85 มาก

สนิ คา้ และบริการทไ่ี ด้รับ

2. ราคาสินค้ามคี วามเหมาะสมกบั 3.67 0.86 มาก

ประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับ

3. ปา้ ยแสดงราคามีรายละเอียดชดั เจน 3.89 0.73 มาก

รวม 3.78 0.68 มาก

จากตารางท่ี 6 พบว่าความพงึ พอใจต่อผลิตภัณฑ์และบรรจภุ ัณฑข์ องอโวคาโดนม
สด ดา้ นราคา โดยรวมมีความพงึ พอใจในระดบั มาก ( = 3.78 และ S.D. = 0.68 ) เม่ือพิจารณาเปน็
รายขอ้ แลว้ ป้ายแสดงราคามีรายละเอยี ดชัดเจน มคี วามพึงพอใจในระดบั มาก ( = 3.89 และ S.D.
= 0.73 ) ราคาสนิ คา้ มคี วามคุ้มคา่ เมื่อเทียบกับสนิ คา้ และบรกิ ารทีไ่ ด้รบั มีความพึงพอใจในระดบั มาก
( = 3.77 และ S.D. = 0.85) ราคาสินค้ามีความเหมาะสมกับประโยชน์ทไ่ี ด้รบั มีความพึงพอใจใน
ระดบั มาก ( = 3.67 และ S.D. = 0.86 ) ตามลําดับ

50

45

40

35 มากที่สดุ
มาก
30 ปานกลาง
น้อย
25 น้อยท่ีสดุ

20

15

10

5

0

1. ราคาสินค้ามคี วามค้มุ ค่าเมอ่ื 2. ราคาสนิ ค้ามีความเหมาะสม 3. ป้ ายแสดงราคามีรายละเอียด

เทียบกบั สนิ ค้าและบริการท่ีได้รับ กบั ประโยชน์ท่ีได้รับ ชดั เจน

ภาพท่ี 6 แสดงค่าเฉลีย่ และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของกล่มุ เปา้ หมาย สรปุ
เป็นรายดา้ นด้านราคา

38

ตารางท่ี 7 แสดงคา่ เฉลย่ี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพงึ พอใจต่อผลิตภัณฑ์และบรรจุภณั ฑ์

ของอโวคาโดนมสด สรปุ เป็นรายดา้ นดา้ นส่งเสริมการจดั จําหน่าย

ระดบั ความพงึ พอใจ

รายการประเมิน S.D. แปลผล

1. การจดั ส่งตามเวลาทีก่ ําหนด 3.89 0.71 มาก

2. ราคาสินคา้ เป็นราคามาตรฐาน 3.92 0.68 มาก

3. สามารถสงั่ สนิ ค้าผ่านอนิ เตอร์เน็ตได้ 3.92 0.76 มาก

รวม 3.91 0.56 มาก

จากตารางที่ 7 พบว่าความพงึ พอใจต่อผลิตภณั ฑ์และบรรจุภณั ฑ์ของอโวคาโดนม
สด ด้านส่งเสรมิ การจดั จาํ หน่าย โดยรวมมีความพงึ พอใจในระดบั มาก ( = 3.91 และ S.D. = 0.56 )
เมอ่ื พิจารณาเป็นรายข้อแลว้ ราคาสินค้าเปน็ ราคามาตรฐาน มคี วามพึงพอใจในระดับมาก ( = 3.92
และ S.D. = 0.68 ) สามารถส่งั สินค้าผา่ นอนิ เตอร์เนต็ ได้ มีความพึงพอใจในระดบั มาก ( = 3.92
และ S.D. = 0.76 ) การจดั สง่ ตามเวลาทีก่ ําหนด มีความพงึ พอใจในระดับมาก ( = 3.89 และ S.D.
= 0.71 ) ตามลาํ ดับ

60

50

40

30
มากที่สดุ

20 มาก
ปานกลาง

10 น้อย

0 น้อยท่ีสดุ
1. การจดั สง่ ตามเวลาที่กาหนด 2. ราคาสินค้าเป็ นราคามาตรฐาน 3. สามารถสงั่ สนิ ค้าผา่ นอินเตอร์เน็ต

ภาพที่ 7 แสดงค่าเฉลี่ย และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน ความพงึ พอไใดจ้ ของกลุ่มเป้าหมาย

สรปุ เป็นรายด้านดา้ นสง่ เสรมิ การจัดจําหน่าย

39

บทท่ี 5

สรุปผลการศกึ ษา อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ

ในการศึกษาเร่ืองอโวคาโดนมสด มวี ัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อพัฒนาผลิตภณั ฑ์อโวคาโดนมสด 2.
เพอื่ พัฒนาบรรจภุ ณั ฑ์และเป็นทางเลือกใหแ้ ก่ผบู้ รโิ ภค 3. เพอ่ื ศึกษาความพึงพอใจของกล่มุ เป้าหมาย
ท่ีมีต่ออโวคาโดนมสด กลุ่มเป้าหมายได้แก่ นกั ศึกษาระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพช้ันสูง (ปวส.) ช้นั ปี
ท่ี 2 สาขาวิชาการบญั ชี ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาชลบุรี จํานวน 84 คน
เครือ่ งมือท่ีใช้ในการศกึ ษาแบบสอบถามความพึงพอใจ โดยแบ่งเป็น 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ ดา้ นคุณภาพ
ผลิตภัณฑ์ ดา้ นบรรจุภณั ฑ์ ด้านราคา และด้านส่งเสริมการจัดจําหน่าย และสถติ ทิ ่ีใชใ้ นการวเิ คราะห์
ได้แก่ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลย่ี (Arithmetic Mean) ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard
Deviation S.D.)
สรปุ ผลการศกึ ษา

ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลในการศึกษาครัง้ น้ี สรุปได้ดังนี้
ตอนที่ 1 ข้อมลู ทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่านักศกึ ษาจากกล่มุ เป้าหมายส่วนใหญ่
เป็นเพศหญิง จาํ นวน 84 คน คิดเป็นร้อยละ 94.00 และเพศชายจํานวน 5 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ
6.00 สว่ นใหญ่อยใู่ นช่วงอายุ 18 – 20 ปี จาํ นวน 78 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 92.90 รองลงมาอายุ
21 ปีข้ึนไป จาํ นวน 5 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 6.00 และอายุ 15 – 17 ปี จํานวน 1 คน คิดเป็นรอ้ ย
ละ 1.20 และส่วนใหญ่เปน็ กล่มุ เปน็ นกั ศึกษาระดับ ปวส.2/2 จํานวน 29 คน คิดเปน็ ร้อยละ
34.50 รองลงมานกั ศึกษาระดบั ปวส.2/1 จํานวน 28 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 33.30 และนักศึกษา
ระดับ ปวส.2/3 จาํ นวน 27 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 32.10
ตอนที่ 2 ศกึ ษาความพงึ พอใจท่ีมตี อ่ ผลติ ภณั ฑ์และบรรจภุ ัณฑอ์ โวคาโดนมสด โดยแบง่ เปน็ 4
ด้าน ได้แก่ ด้านคุณภาพผลิตภณั ฑ์ ดา้ นบรรจุภณั ฑ์ ดา้ นราคา ด้านส่งเสรมิ การจดั จาํ หน่าย

ด้านคุณภาพผลติ ภัณฑ์ โดยรวมความพึงพอใจในระดบั มาก ( = 3.64 และS.D.
= 0.66 ) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อแล้ว ปรมิ าณความเหมาะสมของผลิตภณั ฑ์ มีความพึงพอใจในระดบั
มาก ( = 3.67 และ S.D. = 0.83 ) ความหวานมนั ของผลิตภณั ฑ์ มีความพงึ พอใจในระดับมาก (
= 3.64 และ S.D. = 0.79 ) ความสะอาดของผลิตภัณฑ์ มีความพงึ พอใจในระดบั มาก ( = 3.64
และ S.D. = 0.79 ) ผลติ ภัณฑม์ ปี ระโยชน์ต่อการสขุ ภาพ มีความพึงพอใจในระดับมาก ( = 3.64


Click to View FlipBook Version