The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

5. อ.นิษฐ์วดี - การสมาคม ปรับล่าสุด- PDF

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mangkorntusport, 2022-07-27 06:50:33

5. อ.นิษฐ์วดี - การสมาคม ปรับล่าสุด- PDF

5. อ.นิษฐ์วดี - การสมาคม ปรับล่าสุด- PDF

ผศ.ดร.นษิ ฐ์วดี จิรโรจนภ์ ญิ โญ

❖ ปริญญาตรี ศกึ ษาศาสตรบัณฑติ (ศษ.บ.) วิชาเอกภาษาไทย มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร
❖ ปรญิ ญาตรี นิติศาสตรบณั พิต (น.บ.) มหาวิทยาลยั รามคาแหง
❖ ปรญิ ญาโท ศึกษาศาสตรม์ หาบณั ฑิต (ศษ.ม.) สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา

มหาวิทยาลยั ศิลปากร
❖ ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต(ปร.ด.) สาขาบริหารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั

ศิลปากร

ผศ.ดร.นษิ ฐ์วดี จริ โรจนภ์ ญิ โญ

ตาแหนง่ และผลงาน

 ปัจจุบันดารงตาแหนง่ ผอู้ านวยการหลักสตู รการศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิตและดษุ ฎีบณั ฑิต และผู้ช่วย
คณบดีฝ่ายแผนและประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยกรุงเทพธนบรุ ี

 ผูบ้ รหิ ารโรงเรียนวดั พระศรีอารย์ วัดเขาชะง้มุ วัดใหญน่ ครชมุ น์
 ผบู้ ริหารดีเด่น 3 ปีซ้อน ปกี ารศกึ ษา 2554 - 2556
 “หนงึ่ แสนครูด”ี ประจาปีพุทธศักราช 2555
 กรรมการและผ้ทู รงคุณวฒุ ิในการสอบวทิ ยานพิ นธ์นักศึกษาปริญญาโท มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร มหาวทิ ยา

วทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม และมหาวทิ ยาลัยราชภฏั จอมบงึ
 อาจารย์พเิ ศษ ม.ราชภฏั นครปฐม ปกี ารศึกษา 2558
 วทิ ยากรพเิ ศษ สถาบนั พัฒนาบุคลากรท้องถิน่ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
 กรรมการการเลอื กตั้ง (กกต.)ประจาจงั หวดั ราชบุรี

ตาแหนง่ และผลงาน

 ศิษย์เก่ามหาวิทยาลยั ศิลปากร ดีเด่น ปี 2557
 อปุ นายกสมาคมผบู้ ริหารจงั หวดั ราชบรุ ี
 ประธานกลุ่มโรงเรียนเครือข่ายโพธารามที่ 2
 ผตู้ รวจสอบกจิ การฌาปนกิจสงเคราะห์สหกรณ์ออมทรัพย์ครรู าชบรุ ี
 กรรมการสมาคมศษิ ย์เก่า ภาคบริหารการศึกษา มหาวิทยาลยั ศิลปากร ปกี ารศกึ ษา 2557
 กรรมการสมาคมศิษยเ์ กา่ และผู้ปกครอง โรงเรียนรัตนราษฎร์บารุง
 งานวิจยั

“พฤตกิ รรมการบริหารสถานศึกษาของผ้บู รหิ ารสตรี”
“ความสมั พันธร์ ะหว่างการบรหิ ารแบบมีสว่ นร่วมกบั ธรรมภบิ าลของผ้บู รหิ ารในสถานศึกษา
สงั กดั สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 2”

...การศึกษาดูงานดา้ นการศกึ ษา…

ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ประเทศมาเลเซีย

ประเทศนิวซแี ลนด์ ประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพพมา่

ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศกมั พชู า

ประเทศเวียดนาม ประเทศสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชน
ประเทศสงิ คโปร์ ลาว

ความหมายของการสมาคม

การสมาคม คอื “การท่ีบุคคลมาชมุ นมุ กนั มาอยูร่ ่วมกันเปน็ พวกในท่ีใดที่หนึ่ง
หรือในโอกาสใดโอกาสหน่ึง เช่น ในงานพิธีต่าง ๆ หรือการพบปะสังสรรค์กัน มีการ
สนทนาวิสาสะกับบุคคลอ่ืน ๆ ทั้งบุคคลซ่ึงเคยรู้จักกันแล้วและยังไม่เคยรู้จัก ”
(ดร.กมล ชูทรัพยแ์ ละคณะ :มปป : 1)

สรุป การสมาคม คือการพบปะพูดคุย โดยมีวัตถุประสงค์หรือเป้าหมาย
เดียวกันของคน กลุม่ คนตามโอกาสและสถานที่ท่กี าหนดไว้

ทักษะทางสงั คมคืออะไร?

ทกั ษะทางสังคม (Social Skill) คอื การแสดงพฤติกรรม การพดู หรือ
การแสดงท่าทางในการสอ่ื สารกับผู้อ่นื ให้เกิดประสทิ ธภิ าพอยา่ งสูงสดุ

หากขาดทกั ษะทางสงั คมส่งผลร้ายหรือไม่
ทกุ คนจะเหน็ ไดอ้ ยา่ งชดั เจนถึงข้อดใี นการเขา้ สังคม คือการสรา้ งเครอื ขา่ ย (connection) ให้แก่ตัวเองในหลายๆ

ด้าน และการมที กั ษะการเข้าสังคมท่ดี ีจาเป็นต้องมคี วามกลา้ เป็นสว่ นประกอบหลัก ซ่งึ สว่ นนเ้ี ป็นส่ิงทม่ี นษุ ยไ์ มส่ ามารถสร้าง
ไดอ้ ย่างเท่าเทยี มพอขาดความกลา้ ก็จะสรา้ งความวิตกกังวลขา้ งในจติ ใจ หลายคนรสู้ ึกไมส่ บายใจทต่ี อ้ งถูกประเมินจากผูอ้ ืน่
ทาให้ความเชอ่ื ทม่ี ตี อ่ ตวั เองลดลง และพร้อมหลกี เล่ยี งการเข้าสังคม ซงึ่ การมีความวิตกกงั วลตดิ ต่อกนั เปน็ มากกวา่ 6 เดอื น
จะส่งผลกระทบตอ่ การดาเนินชวี ิตของคณุ เชน่
•การทางาน
•การเรียน
•ความสมั พันธก์ ับคนรอบข้าง

ดงั น้ันทกั ษะการเขา้ สังคมจงึ มคี วามสาคัญทีไ่ มค่ วรขาด แมจ้ ะยากในระยะแรกสาหรบั คนทไี่ มม่ ีความมั่นใจ แตถ่ ้าได้
ลองปรับตวั ทลี ะนิด เพ่ิมความกลา้ ทีละหนอ่ ย คณุ จะสามารถก้าวข้ามความวิตกกังวลเหล่าน้ีไดอ้ ยา่ งแนน่ อน

พื้นฐานสาคญั ของการเข้าสงั คม จาเปน็ ตอ้ งมกี ารพฒั นาบคุ ลิกภาพทด่ี ี โดยใช้ 2 ปัจจัยใน
การเสริมศักยภาพเปน็ หลัก ดังน้ี
1. ภายในจติ ใจ
สภาวะภายในจติ ใจมีผลอย่างมากต่อการแสดงออก ดงั นัน้ การเสรมิ สรา้ งความมน่ั ใจ เปน็ ส่งิ

สาคญั และเรม่ิ ไดจ้ ากตวั คุณเองทตี่ อ้ งรู้จกั ตัวเอง เข้าใจตวั เอง รู้จุดดี – จุดดอ้ ยของตวั เอง
เป็นอย่างดี

2. ปจั จัยภายนอก
การพฒั นาทกั ษะทางสงั คม จะเกดิ ขึน้ เม่อื คุณมีโอกาสเข้าสังคมบ่อยๆ เช่น ไปงาน
สงั สรรคต์ ่างๆ ซึง่ คณุ ควรเปิดโอกาสให้ตัวเองไดเ้ ข้าไปอยใู่ นงานเหล่านน้ั กบั เพื่อนหรอื คน
รู้จกั เพือ่ เรยี นรกู้ ารเขา้ สังคมจากการสังเกต ว่าในงานน้ันเขาแตง่ ตวั อย่างไร เรมิ่ ต้นบท
สนทนาอย่างไร ตอ้ งวางตวั อยา่ งไร

7 เทคนคิ การเขา้ สงั คม

1. มองตาค่สู นทนาเป็นเรอ่ื งดี
การสบตากบั ผ้พู ูดหรอื ผฟู้ ังนน้ั สร้างความมนั่ ใจกบั คุณอยา่ งแนน่ อน อกี ทั้งยงั แสดงถึงความ
จรงิ ใจทคี่ ณุ มตี อ่ คสู่ นทนาอีกดว้ ย

2. งดใช้สรรพนามแล้วเรียกชอ่ื

มัน่ ใจได้เลยว่าคุณจะรู้สกึ ดี เมื่อมีคนมาทักทายคุณด้วยการเอ่ยชื่อ แตถ่ ้าคุณจาช่ือคน

ไม่เก่ง ลองใช้วิธีจดชื่อ หรือใช้วิธีจาด้วยภาพท่ีส่ือถึงชื่อบุคคลนั้น ซึ่ง Howard
Lee ได้ไกด์เทคนิคการจาไว้ว่า “พูดทวนชื่อของอีกฝ่ายในคร้ังแรกที่รู้จักกันและ
ทวนซา้ อกี ครัง้ สองคร้งั ในหวั เพอื่ ใหจ้ าได้ดีข้นึ ”

3. รอยยม้ิ สรา้ งความประทบั ใจ
การย้ิมนั้นมีพลังมากกว่าที่คุณคิด ไม่ว่าจะการยิ้ม หัวเราะ การคิดในแง่บวก หรือ

แสดงสหี น้าตามเร่อื งทค่ี ่สู นทนาไดส้ าธยาย การแสดงออกเหล่านีส้ ะทอ้ นว่าคุณให้ความสนใจ
โดยไม่ต้องพูดอะไร และการใช้ภาษาท่าทางประกอบ จะทาให้คนฟงั สนใจคุณโดยไม่ตอ้ งร้อง
ขอ เป็นเทคนิคง่ายๆ ทน่ี าไปใช้ได้หากคณุ ตอ้ งการใหค้ นสนใจเรอื่ งทค่ี ุณกาลังพดู อยู่

4. ตง้ั ใจฟงั เพื่อเปน็ ผู้ฟังท่ดี ี

“เรามี 2 หู 1 ปาก ดังนั้นเราควรที่จะฟังมากกวา่ พดู ” อกี หนึ่งคาแนะนาของ Mark
Bridgeman ท่ีเราสามารถสรา้ งความประทับใจแก่คู่สนทนาไดอ้ ยา่ งา่ ยได้ คณุ สมบัติ
ของผู้ฟังทด่ี ีนนั้ มที ้งั หมด 4 ขนั้ ตอนตอ่ ไปนี้คอื
1.ฟงั
2.ตคี วาม
3.ประเมินคา่
4.ตอบสนองกบั สงิ่ ทีไ่ ด้ฟัง

5. ให้ความสนใจอยา่ งทั่วถึง
การให้ความสนใจผอู้ น่ื ในวงสนทนา คอื การเปดิ โอกาสใหค้ นอน่ื ได้แสดงความคดิ เหน็
และเปน็ ส่วนหน่ึงในวงสนทนา ซึ่งการพูดคยุ น้ันควรตั้งถามคาถามปลายเปดิ เพ่อื ให้
บุคคลนนั้ ๆ มีสว่ นร่วม ไม่รสู้ ึกโดดเด่ียว เพราะใหค้ วามสนใจเขาอยู่ นอกจากนค้ี ุณยงั จะ
ไดร้ ับความคดิ เหน็ รวมไปถงึ สงิ่ ใหมๆ่ จากพวกเขาด้วยอกี ด้วย

6. พูดเรอ่ื งสบายหู ไมต่ เิ ตยี น
ใครๆ ล้วนอยากจะฟังแต่เรื่องราวดีๆ ท้ังน้ัน การทาให้คนฟังย้ิม หัวเราะ หรือ

มีความสุข จะยิ่งสร้างความประทับใจให้แก่ผู้สนทนามากย่ิงข้ึน ซ่ึงวิธีการทาให้เขามี
ปฏิกิรยิ าร่วมดว้ ยได้ คณุ ตอ้ งสงั เกตการณ์ถงึ ความสนใจบุคคลนั้น และการติชมเกิดขึ้น
ไดเ้ สมอในสังคม

7. หา้ มตัดสินผอู้ ื่นในทันที
ทุกคนจาเป็นต้องมีความเคารพผู้อ่ืนเสมอ บางครั้งเราอาจจะเจอคนดีๆ ที่เข้ามามอบ

โอกาสในเส้นทางอาชีพให้ได้ ดังนั้น อย่าพึ่งตัดสินใครจากการเจอกันคร้ังแรก ภาพลักษณ์
ภายนอก วุฒิการศึกษา หรือฐานะทางสังคม ลองเปิดใจสนทนากับบุคคลนั้น ไม่แน่ในอนาคต
เขาอาจจะกลายเป็นคนที่นาพาอนาคตทีด่ ีมากให้คุณกเ็ ปน็ ได้

สรุป ทักษะการเขา้ สงั คมถอื ว่าเป็นพื้นฐานของการดาเนนิ ชวี ิต ทที่ าให้หลายคนประสบ

ความสาเรจ็ มาอยา่ งมากจากการนาไปประยกุ ต์ใช้ แตถ่ ้าใครยังเริ่มตน้ ไม่ถูก หลกั สูตร Whole
Brain® Thinking กเ็ ปน็ อีกทางเลอื กหนึง่ ที่จะช่วยเสรมิ สร้างหลักการคิดทีส่ ง่ ผลต่อการ
ส่อื สารให้มปี ระสิทธภิ าพสงู
การเข้าสังคมถอื เป็นหน่งึ ในกุญแจสาคญั ตอ่ การสร้างเครอื ขา่ ยการทางานให้เติบโตย่งิ ขนึ้ อีกทง้ั ยงั
สร้างภาพลกั ษณ์ รวมไปถงึ บุคลกิ ภาพให้คุณในหน้าที่การงานอกี ด้วย ซง่ึ ทกั ษะเหลา่ นค้ี ุณสามารถ
ฝึกฝนได้ทุกวันจนกลายเปน็ นสิ ัย อยา่ รอช้าทจี่ ะพัฒนาตนเอง เพราะอนาคตขึ้นอย่กู ับเสน้ ทางที่
คณุ เลือก

วธิ กี าร เขา้ สงั คม เปน็ คนสนกุ สนานและหาเพ่อื นใหม่

ปล่อยให้บคุ ลกิ ภาพของคุณไดเ้ ฉดิ ฉาย

•เปน็ ตัวของตัวเอง. อย่ากลวั ทจี่ ะแสดงความเห็นสว่ นตัว
•หากคณุ สนใจการเล่นกฬี า ใชท้ ักษะทางกฬี าของคณุ เพ่ือเพม่ิ ความมั่นใจใหต้ วั เอง
•หากคุณเปน็ คนฉลาดหลักแหลม ลองพยายามทาตัวใหเ้ ข้าถึงง่ายข้นึ ดู

เร่มิ พัฒนาทกั ษะการเขา้ สงั คม.

• สบตาอกี ฝา่ ย การสบตากบั อกี ฝา่ ยเป็นเรอ่ื งสาคญั เพราะดวงตาจะชว่ ยถา่ ยทอดส่งิ ทีค่ ุณตอ้ งการจะส่อื สาร และการที่
คุณไม่สบตาคนอนื่ จะส่ือให้เหน็ ว่าคณุ กาลงั โกหกหรอื ไมส่ นใจอีกฝา่ ย “มีการพสิ ูจนท์ างจติ วิทยาแล้ววา่ การสบตาคู่
สนทนาเป็นทักษะการเขา้ สังคมทยี่ อดเยี่ยม ซง่ึ จะชว่ ยให้คณุ พัฒนาความสัมพันธ์ท่ยี ัง่ ยนื กับคนอ่ืนๆ ได้”
• ร้จู กั ให้อภัยคนอนื่
•เปน็ คนคงเสน้ คงวา
• คอยอยเู่ คียงขา้ งเพือ่ น หากเพอ่ื นคนใดคนนึงมเี รือ่ งทะเลาะกบั คนอนื่ พยายามเขา้ ไปหา้ มปรามให้เหตกุ ารณส์ งบ
• อยา่ ข้นี ินทา. การนินทาก็เหมอื นบมู เมอแรงท่ีสดุ ท้ายแลว้ จะเหวีย่ งกลบั มาทาร้ายคุณเอง

มองโลกในแงด่ .ี แมว้ า่ คุณจะร้สู กึ แย่มาก จาไวว้ า่ โลกนม้ี เี รื่องทีท่ าให้ยิม้ ไดเ้ สมอ การท่คี ุณมองโลกในแงด่ จี ะ

ทาใหค้ นอยากรูใ้ กลค้ ุณมากขนึ้ อย่างไรกด็ ี คณุ ต้องร้จู ักระมดั ระวงั เพราะหากมองโลกในแง่ดเี กนิ ไปก็อาจจะ

ทาใหค้ นราคาญได้ อย่าทาตัว “โลกสวย” เกินไปใหค้ วามสาคญั กับเรอ่ื งดๆี มากกวา่ เรอ่ื งแย่ๆ ทกุ เรื่องมที งั้
ดา้ นดีและด้านไม่ดเี สมอแตก่ ล็ องพยายามมองทกุ อย่างในแงด่ เี ข้าไว้
•คุณตอ้ งเชอ่ื วา่ สดุ ท้ายแลว้ ปัญหาทกุ อย่างจะคลคี่ ลายลงเอง
•ใหค้ วามสาคญั กบั สง่ิ ท่คี ณุ สามารถแกไ้ ขได้และอยา่ พยายามแกไ้ ขสิง่ ที่แก้ไม่ได้

รกั ตัวเอง. การชอบคนอนื่ เปน็ เรอ่ื งยากหากคณุ ยังไมร่ จู้ กั คุณค่าของตัวเอง พยายามฝกึ รกั ตัวเองเพ่ือสรา้ ง

ความภาคภมู ใิ จในตัวเอง เร่มิ ตน้ การเดนิ ทางเพื่อ “ค้นพบตัวเอง” เสยี ตง้ั แตต่ อนนี้เลยเขยี นรายการสิง่ ท่ี
คุณต้องทาในแตล่ ะสัปดาหแ์ ละตรวจดวู ่าทาอะไรสาเร็จไปแลว้ บา้ ง เม่อื จบสัปดาห์น้นั ๆ คณุ จะรสู้ กึ ดกี บั สิ่ง

ทคี่ ณุ ทาสาเรจ็
•หาเรอ่ื งทที่ าให้ขาออก กลับไปดูหนงั ตลกเร่อื งโปรด ไปหาเพ่อื นท่เี ฮฮาและทาใหค้ ณุ หวั เราะไดเ้ สมอ
•เปิดโอกาสให้คนเขา้ หา เปดิ โอกาสให้กบั คนทุกคนได้เขา้ มาทาความรู้จกั คุณ
•ดูแลตัวเองดๆี บางทีโลกกย็ ุง่ เหยงิ วุ่นวายจนพลอยทาใหเ้ ราเครียด
•อยา่ โทษตัวเองมากเกินไปเมอื่ ทาพลาด

กจิ กรรมเขา้ จงั หวะ



ประวตั ิกจิ กรรมเข้าจังหวะ
การเตน้ ราไดม้ ีมาตง้ั แต่สมยั ดึกดาบรรพ์แล้ว และลักษณะของการเต้นราจะเป็นไปใน

รปู ใดน้ันย่อมแตกตา่ งกันไปตามประเพณแี ละวัฒนธรรมของแตล่ ะประเทศ บางประเทศก็มกี ารเตน้ รา
หลายแบบหลายวธิ ี ท้ังนย้ี อ่ มข้ึนควบคไู่ ปกบั พิธกี ารเฉลิมฉลองของการมชี ยั ชนะจากการตอ่ สู้ ในสมัย
แรกๆ นน้ั การเต้นรา ไดเ้ กดิ ขึน้ ควบคูไ่ ปกบั พิธีการเฉลิมฉลองของการมชี ัยชนะจากการตอ่ สู้ จากการ
แข่งขนั งานเลย้ี ง งานชุมนมุ ตา่ งๆ ตลอดจนพธิ กี ารทางศาสนา โดยมีการร้องราทาเพลง กระโดดโลด
เตน้ ไปตามจงั หวะเสียงกลอง เสียงตบมอื เสยี งเคาะ และเสียงดีดสตี ีเปา่ ต่างๆ ต่อมาจึงไดก้ ลายเปน็
การละเลน่ การเต้นราพ้นื เมอื งของแต่ละเผ่าชนชาติ และตา่ งกย็ ดึ ถอื เปน็ ขนบธรรมเนียมประเพณี
ติดตอ่ กันเรอ่ื ยมาเป็นศลิ ปะ

เพลงภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

กิจกรรมเข้าจังหวะหมายถึง กิจกรรมที่มีการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของ
ร่างกายตามจังหวะ ต่าง ๆ โดยให้มีอารมณ์ หรือ ความรู้สึกร่วมกับการ
เคลอ่ื นไหวนนั้ ๆ

ความมุ่งหมายของกิจกรรมเข้าจังหวะ

1. เพอ่ื ใหม้ ที กั ษะในการเคล่ือนไหวของส่วนต่างๆ
2. เพอ่ื ใหม้ ีความคดิ ริเร่มิ สรา้ งสรรค์ มีเจตคติท่ดี ตี อ่ กิจกรรมเข้าจงั หวะและมีการเคล่อื นไหวท่ถี กู ตอ้ ง
3. เพื่อให้มีความรแู้ ละเขา้ ใจระเบยี บ ประเพณี และมารยาทเก่ยี วกบั การเขา้ ร่วมกจิ กรรมเขา้ จังหวะ
4. เพอ่ื ใหม้ คี วามรคู้ วามเข้าใจในหลกั การของกิจกรรมเข้าจงั หวะ
5. เพื่อก่อใหเ้ กิดคณุ ลักษณะประจาตวั ตา่ ง ๆ เชน่ ความเช่อื ม่นั ในตนเอง

ความหมายของกิจกรรมเข้าจงั หวะ

กจิ กรรมเข้าจังหวะ (Rhythmic Activities) มาจากการประสมประสานระหวา่ งคา 2 คา คอื จังหวะ (Rhythm)
กบั การเคลอ่ื นไหวรา่ งกาย (Body Movement)

จังหวะ หมายถงึ ความสมา่ เสมอของเสยี ง ซง่ึ อาจเป็นเสียงดนตรี เสียงการตีเกราะ เคาะไม้ ฯลฯ
การเคลอื่ นไหวรา่ งกาย หมายถึง การแสดงออกของรา่ งกายในรูปการเคลอ่ื นไหวอวยั วะสว่ นต่างๆ
จากคา 2 คาดังกลา่ ว สามารถสรปุ รวมความหมายของกิจกรรมเขา้ จงั หวะได้ดังน้ี
กจิ กรรมเข้าจงั หวะ หมายถึง การเคล่อื นไหวอวัยวะของร่างกายในรปู แบบต่างๆ ใหเ้ ขา้ กับจงั หวะหรือดนตรที ี่
นามาประกอบ

ประโยชนข์ องกจิ กรรมเข้าจังหวะ

1. ทางด้านรา่ งกาย ชว่ ยให้รา่ งกายแขง็ แรง มีความคล่องตวั ในการเคล่อื นไหว ระบบประสาทและ
กลา้ มเน้ือทางานประสาสัมพันธ์กนั อย่างมีประสทิ ธิภาพ
2. ทางด้านสังคม ชว่ ยให้เรียนรู้บคุ คลทีอ่ ยูร่ อบตัว สามารถปรบั ตวั ให้เขา้ กบั บุคคลอ่ืนๆ ไดแ้ ละช่วย
ให้ได้เรยี นร้ถู งึ มารยาทในการเข้าสังคมในงานสังสรรค์ตา่ งๆได้อยา่ งดี
3. ทางด้านอารมณ์ ชว่ ยใหเ้ กิดความสนุกสนาน ผ่อนคลายความเครียดได้ ทง้ั ทางดา้ นจิตใจและ
รา่ งกาย รวมทั้งช่วยให้มบี ุคลกิ ภาพทีด่ ีได้

กิจกรรมเขา้ จังหวะแบง่ ตามลกั ษณะโครงสร้างใหญ่ๆ จดั ออกเปน็ 4 ประเภท คือ

1. การเตน้ ราพืน้ เมอื ง (Folk Dance) เปน็ การเต้นราตามความนยิ มของทอ้ งถ่นิ เป็นเอกลักษณข์ อง
ทอ้ งถ่ินน้นั ท่าทางการเต้นราจะแสดงถงึ ขนบธรรมเนยี มประเพณี ความเป็นอยู่ ศาสนา สภาพภูมิอากาศ
ความเชอื่ และระบบของสงั คมนน้ั ๆ ซึง่ การเตน้ ราพนื้ เมอื งโดยทัว่ ไปจะแบง่ ออกเป็น 2 ลกั ษณะคือ การ
เตน้ ราตามแบบชนบท และการเตน้ ราตามแบบของชาวเมือง

2 .การเตน้ ราแบบจตรุ สั (Square Dance) เปน็ การเตน้ ราในรูปแบบส่เี หล่ยี มจัตุรสั
โดยการเตน้ ราจะมีการจับคู่จดั เป็นรปู สเี่ หล่ียม เต้นราตามคาบอกหรือคารอ้ งของเน้ือหา

3. การเต้นราสมยั ใหม่ (Modern Dance) เป็นการเต้นราทใี่ ช้ส่วนตา่ งๆ ของร่างกาย
แสดงออกด้านความรู้สึก ความนกึ คดิ สภาพเหตุการณ์และอารมณ์ ซงึ่ ขึ้นอยกู่ ับบทละคร และ
การละเล่นนั้นๆ

4. การลีลาศ (Social dance) เปน็ การเคลือ่ นไหวรา่ งกายใหเ้ ขา้ กับจังหวะมี
รูปแบบการเตน้ ราท่ีเป็นระเบียบชดั เจน เปน็ ศิลปะการเคลือ่ นไหวแบบสากลเป็น
ทนี่ ยิ มและเปน็ ทีย่ อมรบั ของบคุ คลท่ัวทงั้ โลก ซ่งึ แบ่งออกเป็น 2 ลกั ษณะ คือแบบ
บอลรูม และแบบลาตนิ

กิจกรรมเข้าจังหวะจึงเป็นส่ิงสาคัญท่ีจะต้องเรียนรู้ เพราะมนุษย์ตั้งแต่เกิดมาจะต้อง
เคลอื่ นไหวรา่ งกายและการเคลอ่ื นไหวรา่ งกายประกอบจังหวะดนตรี ในดา้ นการเรียนการสอนก็
มีมาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนถึงระดับปริญญาตรี ดังนั้นผู้เขียนจึงเห็นว่าวิชากิจกรรมเข้าจังหวะ
เป็นสว่ นสาคญั สาหรับมนุษย์ชว่ ยใหม้ นุษยไ์ ด้เคล่ือนไหวรา่ งกายได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และช่วย
ให้เกิดการเรียนรู้ไปส่เู รื่องอน่ื นอกจากน้ันกิจกรรมเขา้ จังหวะยังสามารถนามาใช้ในเร่ืองการเขา้
สงั คมและการออกกาลงั กายไดอ้ กี ด้วย

การเคล่ือนไหวของร่างกาย
การเคลอื่ นไหวของรา่ งกายนนั้ แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ดงั นี้

1.การเคลื่อนไหวอยูก่ บั ที่
ส่นั ศีรษะ สัน่ แขน ผลัก ดนั บิดตวั ยกเท้า นั่งลง ลุกขน้ึ กระทืบเทา้ เหยยี ดเท้าและเหยียด
แขนออกไป เป็นตน้ การเคล่ือนไหวอยูก่ บั ที่ หมายถึงการเคล่อื นไหวส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกายใน
ขณะท่ยี ืนอยู่หรอื น่งั อยูก่ ับท่ี เชน่ ตบมอื ก้มเงย ผงกศีรษะ

2.การเคลอื่ นไหวแบบเคลื่อนท่ี
การเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่ หมายถึงการเคลื่อนไหวที่ต้องเคลื่อนออกจากจุดยืนเดิม
การเคลอื่ นไหวแบบนี้ข้ึนอยกู่ บั
การใชเ้ ท้าเป็นสาคญั โดยการกา้ วเท้าออกไปในลักษณะตา่ ง ๆ กัน เช่น การเดิน การ
วิ่ง การกระโดดไปข้างหน้าและข้างหลัง เปน็ ตน้

เพลงภาคใต้

การร้องเพลง

การร้องเพลง หรอื การขบั ร้อง คือการทาให้เกิดเสียงดนตรีจากเสยี งและเสรมิ ด้วยถ้อยคาทั้งระบบเสยี งสูงตา่
และจังหวะ คนทีข่ บั รอ้ งเพลงเรียกวา่ นักร้อง และนกั ร้องจะแสดงการขับร้องเพลง ซ่งึ อาจจะร้องแบบ
อะแคปเปลา (ร้องโดยไมใ่ ช้ดนตรี) หรอื มนี ักดนตรี เคร่อื งดนตรปี ระกอบ ไมว่ า่ จะเป็นเคร่อื งดนตรตี ัวเดยี วหรือ
เต็มวง การร้องน้ันสว่ นใหญ่จะร้องร่วมการแสดงกับนักดนตรีกลุ่มอน่ื ไม่วา่ จ่ะเปน็ กลุ่มคอรัสทรี่ ้องในเสียงท่ี
แตกต่างกนั หรอื กลุ่มนกั เลน่ ดนตรี อยา่ งเชน่ วงรอ็ กเปน็ ต้น

การร้องเพลงนั้นอาจรอ้ งแบบไม่เปน็ ทางการ รอ้ งเพื่อความบนั เทงิ หรือในบางกรณรี อ้ งอย่างเป็น
ทางการ เชน่ รอ้ งในระหว่างพิธที างศาสนา หรือนักร้องอาชีพร้องเพื่อแสดงบนเวทหี รือรอ้ งในสตดู ิโอ

10 เทคนคิ การร้องเพลงใหไ้ พเราะ นา่ ฟงั ดูดีมสี ไตล์

1. ปรบั คยี ์ดนตรีให้เขา้ กบั เสยี งรอ้ งของตวั เอง
2. รอ้ งถูกตอ้ งตามอักขระภาษาในบทเพลงนนั้ และร้องเสียงดังกงั วาน ฟังชดั เจนทุกคา
3. สไตลก์ ารรอ้ งตอ้ งเป็นเสยี งของตวั เองให้มากท่สี ดุ
4. ทาเสียงให้กลมไม่แบนและนมุ่ นวล
5. ถ่ายทอดอารมณแ์ ละความรสู้ กึ ในแต่ละท่อนเพลงใหไ้ ด้มากทส่ี ดุ เทา่ ทจ่ี ะทาได้
6. แบ่งวรรคหายใจใหถ้ ูกตอ้ ง
7. ยนื รอ้ ง อกผาย ไหลผ่ ง่ึ ลักษณะทา่ ทางขณะรอ้ งเพลงตอ้ งดดู ี



เพลงภาคเหนอื

8. Dynamic ของแต่ละทอ่ นตอ้ งร้องใหแ้ ตกตา่ งกัน Dynamic เป็นตัวแสดงถึงความแตกตา่ งในแต่
ละทอ่ นเพลง ในแตล่ ะท่อนเพลงจะใช้ Dynamic ท่ีแตกตา่ งกัน ขณะกาลงั ร้องก็ควรจะรอ้ งให้มี
Dynamic ดว้ ย เช่น ทอ่ น Verse ไม่ต้องรอ้ งดงั มาก ทอ่ น Pre chorus ใหร้ อ้ งดงั ข้ึน และทอ่ น
Hook ให้รอ้ งดงั กว่าทุก ๆ ท่อน ถ้าทาตามลกั ษณะทีก่ ลา่ วมาน้ี เพลงที่เราร้องจะไมแ่ บน และจะฟงั
ไพเราะมากยงิ่ ขน้ึ
9. รูปปากสาคัญมากๆ ควรอา้ ปากกวา้ งๆ
ตอนรอ้ งตอ้ งอา้ ปากกว้าง ๆ เพือ่ ใหเ้ สยี งกงั วาน อ้าปากกว้าง ๆ เหมอื นตอนเราตะโกน แตไ่ ม่ต้อง
ตะโกนนะ ให้อา้ ปากกวา้ งๆเหมือนตอนเราตะโกนแต่นา้ เสียงยังนมุ่ และน่าฟัง

10. ซ้อมรอ้ งและแก้ไขขอ้ ผดิ พลาดของตัวเองทุกวนั
การแก้ไขขอ้ ผดิ พลาดเปน็ อีกหนง่ึ เร่อื งท่ีสาคญั สาหรับการรอ้ งเพลงใหเ้ กดิ ความไพเราะมากยิง่ ขน้ึ เพราะ
ถา้ หากเราไม่ฝึกซ้อมตามท่ีได้กลา่ วมา ก็จะไม่สามารถทาใหเ้ รารอ้ งเพลงเพราะข้นึ ไดเ้ ลย เมื่อเรารูต้ ัวว่า
ทอ่ นไหนยังไมด่ ใี หร้ บี แก้ เช่น มีปญั หาเรอ่ื งของการออกเสยี งคาควบกลา้ ก็ให้เรม่ิ จากการอ่านคานน้ั ให้
ชัดเจนเสียก่อน แล้วจงึ ใสท่ านองลงไป แล้วซอ้ มรอ้ งให้ชดั เจนเหมือนตอนทีเ่ รากาลงั ฝกึ อา่ น

การเตน้ รา

การเต้นรา คือการเคล่ือนไหวร่างกายและการขยับตัวไปตามจังหวะเพลง มันมีการเตน้ ราท่ี
หลากหลายรปู แบบไมว่ ่าจะเปน็ การเตน้ ราหมู่ การเต้นแจซ๊ บลั เลต์ เต้นแท็ป บอลล์
รมู ฟังก์ การเต้นเบรกแดนซ์ หรอื การเต้นแบบไทยเช่นการราวง การราฟ้อน การเต้นราแสดงถึง
การมคี วามแข็งแกร่งและความอ่อนแอในจังหวะทีเ่ ป็นไปตามเพลง แสดงถงึ ความโรแมนติค
ความเป็นสุภาพบรุ ุษ สภุ าพสตรี และการ มวี ัฒนธรรม
การเต้นราเปน็ การเคลื่อนไหวของมนุษยท์ แ่ี สดงออกทางสังคม และจติ วิญญาณ และเป็นท้ัง
ศาสตร์และศิลป์ เป็นศาสตร์คือมกี ฎทค่ี วบคุมแนน่ อน ตายตวั เป็นศิลป์คือเราแสดงตัวตนที่
แท้จริง การแสดงถึงจนิ ตนาการ การเต้นราอาจทาเป็นกลุ่ม อยา่ งน้อย 2-3 คน

การเต้นแบง่ ออกได้กี่แนวมีอะไรบา้ ง

การเตน้ เป็นการแสดงออกอย่างหนงึ่ ทีท่ าให้คนเราเกิดความสขุ ความสนุกสนาน เป็นกิจกรรมทีผ่ คู้ นรสู้ กึ วา่
ไดป้ ลดปลอ่ ยตัวเอง ได้แสดงออกและยงั เปน็ การออกกาลังกายที่ดีด้วย การเตน้ เรม่ิ ต้นขั้นตงั้ แต่เม่ือไรน่ ัน้
อาจไม่มีใครทราบได้ แตส่ นั นษิ ฐานได้ว่าการเตน้ คงมมี าต้ังแต่ยคุ ของมนุษยค์ ู่แรกของโลก เมือ่ พวกเขารสู้ ึก
เริงโลดมคี วามสขุ กเ็ ตน้ ออกมาอยา่ งเปน็ ธรรมชาติ การเต้นน้ันนอกจากสาหรบั เทศกาลและโอกาสที่ร่าเรงิ
ตา่ ง ๆ แลว้ การเตน้ ก็ยงั เขา้ ไปอยู่ในส่วนหนงึ่ ของพธิ กี รรม ประเพณีท้งั เกี่ยวกับศาสนาตา่ ง ๆ และ
วัฒนธรรมทอ้ งถนิ่ ท่วั ทง้ั โลกด้วย การเตน้ รานน้ั แยกออกมาเปน็ ประเภทใหญ่ ๆ ได้ 3 ประเภทก็คอื


Click to View FlipBook Version