The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

7.-ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์-251_บทบาท อำนาจหน้าที่ ของ อปท. ตามกฎหมายกระจายอำนาจ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mangkorntusport, 2022-09-03 22:43:28

7- -251_บทบาท อำนาจหน้าที่ ของ อปท. ตามกฎหมายกระจายอำนาจ.-ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์

7.-ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์-251_บทบาท อำนาจหน้าที่ ของ อปท. ตามกฎหมายกระจายอำนาจ

บทบาท อานาจหน้าท่ี
ของ อปท. ตามกฎหมายกระจายอานาจ

โดย
ศาสตราจารย์ ดร.สมคดิ เลิศไพฑรู ย์
คณะนติ ิศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

หมอประเวศ
การปฏริ ปู ประเทศ
หัวใจอยู่ท่กี ารกระจายอานาจส่ทู ้องถ่นิ

2

รฐั VS องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ (อปท.)

ข้อมูลเบ้อื งต้น 1. เรามี อปท. 5 รูปแบบ คอื เทศบาล อบจ. อบต. กทม. พัทยา
2. อปท. ท้งั หลายเกดิ ข้นึ ภายหลังรัฐ
รัฐเกดิ ข้นึ ต้งั แต่สโุ ขทยั อปท. เกดิ คร้ังแรก พ.ศ. 2476
3. รัฐไทยเป็นรัฐท่รี วมศนู ยอ์ านาจ (Centralization)
4. รัฐไทยกระจายอานาจให้ อปท. น้อย
กลัว ไม่ไว้วางใจการกระจายอานาจ กลวั กระทบการเมืองระดับประเทศ

3

กฎหมายท่เี ก่ยี วข้องกบั หน้าท่แี ละอานาจของ อปท.

1. รัฐธรรมนูญ
2. กฎหมายจดั ต้งั องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ

2.1 พระราชบัญญตั ิเทศบาล พ.ศ. 2496
2.2 พระราชบญั ญตั ิสภาตาบลและองคก์ ารบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537
2.3 พระราชบัญญัตอิ งคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั พ.ศ. 2540
2.4 พระราชบญั ญัตริ ะเบยี บบริหารราชการกรงุ เทพมหานคร พ.ศ. 2528
2.5 พระราชบัญญตั ริ ะเบยี บบริหารราชการเมอื งพัทยา พ.ศ. 2542

3. พระราชบัญญตั ิกาหนดแผนและข้นั ตอนการกระจายอานาจให้แก่องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ
พ.ศ. 2542 (กฎหมายกระจายอานาจ)

4. พระราชบญั ญัตอิ ่นื ๆ ท่เี ก่ยี วข้องกบั อปท.

4

มาตรา 250 รัฐธรรมนูญ 2560

องค์กรปกครองส่วนท้ องถ่ินมีหน้ าท่ีและอานาจดูแลและจัดทาบริการสาธารณะและกิจกรรม
สาธารณะเพ่ือประโยชน์ของประชาชนในท้องถ่นิ ตามหลักการพัฒนาอย่างย่ังยืน รวมท้งั ส่งเสริมและสนับสนุน
การจดั การศกึ ษาให้แก่ประชาชนในท้องถ่นิ ท้งั น้ี ตามท่กี ฎหมายบญั ญัติ

การจดั ทาบริการสาธารณะและกจิ กรรมสาธารณะใดท่สี มควรให้เป็นหน้าท่แี ละอานาจโดยเฉพาะของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินแต่ละรูปแบบ หรือให้องค์กรปกครองส่วนท้อถ่ินเป็ นหน่วยงานหลักในการ
ดาเนินการใด ให้เป็นไปตามท่กี ฎหมายบัญญัติซ่ึงต้องสอดคล้องกับรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ตามวรรคส่ี และกฎหมายดังกล่าวอย่างน้อยต้องมีบทบัญญัติเก่ีวกบั กลไกและข้ันตอนในการกระจายหน้าท่ี
และอานาจ ตลอดจนงบประมาณและบุคลากรท่ีเก่ียวกับหน้าท่ีและอานาจดังกล่าวของส่วนราชการให้แก่
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ ด้วย

5

“บริการสาธารณะ” หมายความว่า การดาเนินการใด ๆ ท่ีมุ่งต่อประโยชน์ ความสุข
การอานวยความสะดวก ความปลอดภัย การศึกษา การสาธารณสุข และการพัฒนาหรือ
สงเคราะห์ความเป็นอยู่ของประชาชนเป็นส่วนรวม และให้หมายความรวมถึงกจิ กรรมสาธารณ
ด้วย

“กจิ กรรมสาธารณะ” หมายความว่า กจิ กรรมท่จี ัดทาข้ึนเพ่ือให้ประชาชนหรือชุมชนเข้า
มามีส่วนร่วมหรือเพ่ือจูงใจให้ ประชาชนหรือชุมชนมีส่วนร่วมในการดาเนินการอั นเป็ นประโยชน์
ต่อการอยู่ร่วมกันของประชาชนท้ังในด้านความสามัคคี การรักษาความสงบเรียบร้อย การ
บารุงรักษาประเพณี วัฒนธรรม ศาสนา การท่องเท่ยี ว กฬี า และกจิ กรรมอ่นื ใดท่เี ป็นประโยชน์
ต่อสาธารณะ

6

พ.ร.บ. สภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537

มาตรา 67 ภายใต้บงั คบั แห่งกฎหมาย องคก์ ารบริหารสว่ นตาบล มหี น้าทต่ี ้องทาในเขตองค์การบริหารส่วนตาบล ดงั น้ี
(1) จัดให้มีและบารุงรักษาทางนา้ และทางบก
(1/1) รักษาความเป็นระเบยี บเรียบร้อย การดูแลการจราจร และส่งเสริมสนับสนุนหน่วยงานอ่นื ในการปฏบิ ตั หิ น้าท่ดี งั กล่าว
(2) รักษาความสะอาดของถนน ทางนา้ ทางเดนิ และท่ธี ารณะ รวมท้งั กาจัดมูลฝอยและส่งิ ปฏกิ ูล
(3) ป้ องกนั โรคและระงบั โรคติดต่อ
(4) ป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั
(5) จัดการ ส่งเสริม และสนบั สนุนการจัดการศกึ ษา ศาสนา วฒั นธรรม และการฝึกอบรมให้ประชาชน รวมท้งั การจดั การหรือ
สนับสนุนการดูแลและพัฒนาเดก็ เลก็ ตามแนวทางท่เี สนอแนะจากกองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศกึ ษา
(6) สง่ เสริมการพัฒนาสตรี เดก็ เยาวชน ผู้สงู อายุ และผู้พิการ
(7) คุ้มครอง ดแู ล และบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม
(8) บารงุ รักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ และวัฒนธรรมอนั ดขี องท้องถ่นิ
(9) ปฏบิ ตั หิ น้าท่อี ่นื ตามท่ที างราชการมอบหมายโดยจัดสรรงบประมาณหรือบุคลากรให้ตามความจาเป็นและสมควร

7

พ.ร.บ. สภาตาบลและองคก์ ารบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537

มาตรา 68 ภายใต้บงั คับแห่งกฎหมาย องค์การบริหารส่วนตาบลอาจจัดทากจิ การในเขตองค์การบริหารส่วนตาบล ดังต่อไปน้ี
(1) ให้มีนา้ เพ่ือการอปุ โภค บริโภค และการเกษตร
(2) ให้มีและบารงุ การไฟฟ้ าหรือแสงสว่างโดยวิธอี ่นื
(3) ให้มีและบารงุ รักษาทางระบายนา้
(4) ให้มีและบารงุ สถาบนั ท่ปี ระชุม การกฬี า การพักผ่อนหย่อนใจและสวนสาธารณะ
(5) ให้มแี ละส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรและกจิ การสภากรณ์
(6) ส่งเสริมให้มีอตุ สาหกรรมในครอบครัว
(7) บารงุ และส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร
(8) การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สนิ อนั เป็นสาธารณสมบัตขิ องแผ่นดิน
(9) หาผลประโยชน์จากทรัพยส์ นิ ขององคก์ ารบริหารส่วนตาบล
(10) ให้มตี ลาด ทา่ เทยี บเรือ และท่าข้าม
(11) การทอ่ งเท่ยี ว
(12) การผงั เมอื ง

8

พระราชบญั ญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 50

ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย เทศบาลตาบลมหี น้าท่ตี ้องทาในเขตเทศบาล ดงั ต่อไปน้ี
(1) รักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน
(2) ให้มีและบารงุ ทางบกและทางนา้
(3) รักษาความสะอาดของถนน หรือทางเดนิ และท่สี าธารณะ รวมท้งั การกาจัดมูลฝอยและส่งิ ปฏกิ ูล
(4) ป้ องกนั และระงับโรคติดต่อ
(5) ให้มเี คร่ืองใช้ในการดับเพลิง
(6) ให้ราษฎรได้รับการศกึ ษาอบรม
(7) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เดก็ เยาวชน ผู้สงู อายุ และผู้พิการ
(8) บารุงศลิ ปะ จารีตประเพณี ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ และวฒั นธรรมอนั ดีของท้องถ่นิ
(9) หน้าท่อี ่นื ตามท่กี ฎหมายบญั ญัตใิ ห้เป็นหน้าท่ขี องเทศบาล

9

พระราชบญั ญัตเิ ทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 51

ภายใต้บงั คับแห่งกฎหมาย เทศบาลตาบลอาจจดั ทากจิ การใด ๆ ในเขตเทศบาล ดงั ต่อไปน้ี
(1) ให้มนี า้ สะอาดหรือการประปา
(2) ให้มีโรงฆ่าสตั ว์
(3) ให้มีตลาด ท่าเทยี บเรือและท่าข้าม
(4) ให้มสี สุ านและฌาปนสถาน
(5) บารุงและส่งเสริมการทามาหากนิ ของราษฎร
(6) ให้มีและบารงุ สถานท่ที าการพิทกั ษ์รักษาคนเจบ็ ไข้
(7) ให้มีและบารงุ การไฟฟ้ าหรือแสงสว่างโดยวิธอี ่นื
(8) ให้มีและบารงุ ทางระบายนา้
(9) เทศพาณชิ ย์

10

พระราชบญั ญัตเิ ทศบาล พ.ศ. 2496

มาตรา 53 ภายใต้บังคบั แห่งกฎหมาย เทศบาลเมอื งมีหน้าท่ตี ้องทาในเขตเทศบาล ดงั ต่อไปน้ี

(1) กจิ การตามท่รี ะบุไว้ในมาตรา 50
(2) ให้มีนา้ สะอาดหรือการประปา
(3) ให้มีโรงฆ่าสตั ว์
(4) ให้มีและบารงุ สถานท่ที าการพิทกั ษ์และรักษาคนเจบ็ ไข้
(5) ให้มีและบารุงทางระบายนา้
(6) ให้มแี ละบารงุ ส้วมสาธารณะ
(7) ให้มีและบารุงการไฟฟ้ า หรือแสงสว่างโดยวิธอี ่นื
(8) ให้มกี ารดาเนนิ กจิ การโรงรับจานาหรือสถานสนิ เช่ือท้องถ่นิ
(9) จดั ระเบยี บการจราจร หรือร่วมมอื กบั หน่วยงานอ่นื ในการปฏบิ ัติหน้าท่ดี งั กล่าว

11

พระราชบัญญัตเิ ทศบาล พ.ศ. 2496 12

มาตรา 54 ภายใต้บงั คับแห่งกฎหมาย เทศบาลเมืองอาจจัดทากจิ การใด ๆ ในเขตเทศบาล ดังต่อไปน้ี

(1) ให้มตี ลาด ท่าเทยี บเรือและทา่ ข้าม
(2) ให้มสี สุ านและฌาปนสถาน
(3) บารงุ และส่งเสริมการทามาหากนิ ของราษฎร
(4) ให้มแี ละบารงุ การส่งเคราะห์มารดาและเดก็
(5) ให้มีและบารุงโรงพยาบาล
(6) ให้มกี ารสาธารณปู การ
(7) จดั ทากจิ การซ่ึงจาเป็นเพ่ือการสาธารณสขุ
(8) จดั ต้งั และบารงุ โรงเรียนอาชีวศึกษา
(9) ให้มีและบารุงสถานท่สี าหรับการกฬี าและพลศกึ ษา
(10) ให้มแี ละบารุงสวนสาธารณะ สวนสตั ว์และสถาท่พี ักผ่อนหย่อนใจ
(11) ปรับปรงุ แหล่งเส่อื มโทรม และรักษาความสะอาดเรียบร้อยของท้องถ่นิ
(12) เทศพาณชิ ย์

พระราชบญั ญัตเิ ทศบาล พ.ศ. 2496

มาตรา 56 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย เทศบาลนครมีหน้าท่ตี ้องทาในเขตเทศบาลดังต่อไปน้ี

(1) กจิ การตามท่รี ะบุไว้ในมาตรา 53
(2) ให้มแี ละบารุงการสงเคราะห์มารดาและเดก็
(3) กจิ การอย่างอ่นื ซ่ึงจาเป็นเพ่ือการสาธารณสขุ
(4) การควบคุมสขุ ลักษณะและอนามยั ในร้านจาหน่ายอาหาร โรงมหรสพ และสถานบริการอ่นื
(5) จัดการเก่ยี วกบั ท่อี ยู่อาศยั และการปรับปรงุ แหล่งเส่อื มโทรม
(6) จัดให้มีและควบคุมตลาด ทา่ เทยี บเรือ ทา่ ข้าม และท่จี อดรถ
(7) การวางผังเมอื งและการควบคุมการก่อสร้าง
(8) การส่งเสริมกจิ การการท่องเท่ยี ว

13

พระราชบญั ญัตเิ ทศบาล พ.ศ. 2496

มาตรา 57 เทศบาลนครอาจจดั ทากจิ การอ่นื ๆ ตามาตรา 54 ได้

14

15

กฎหมายของรัฐท่มี ีผลต่อกฎหมายองค์กรปกครองท้องถ่นิ

1. ตัดอานาจ กฎหมายเดินเรือในน่านนา้ ไทย
2. จากดั อานาจ กฎหมายทางหลวง
3. ยนื ยนั อานาจ กฎหมายรักษาความสะอาดเรียบร้อยของบ้านเมือง

16

มาตรา 30 พ.ร.บ. กาหนดแผนและข้นั ตอนการกระจายอานาจ
ให้แก่ อปท. พ.ศ. 2542

แผนการกระจายอานาจให้แก่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ ให้ดาเนนิ การดังน้ี

(1) ให้ดาเนินการถ่ายโอนภารกิจการให้บริการสาธารณะท่ีรัฐดาเนินการอยู่ในวันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ
แก่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ ภายในกาหนดเวลา ดังน้ี

(ก) ภารกิจท่ีเป็ นการดาเนินการซ้าซ้อนระหว่างรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือภารกิจท่ีรัฐ
จัดให้บริการในเขตขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ ให้ดาเนินการให้เสรจ็ ส้นิ ภายในส่ปี ี

(ข) ภารกิจท่ีรัฐจัดให้บริการในเขตขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและกระทบถึงองค์กรปกครอง
สว่ นท้องถ่นิ อ่นื ให้ดาเนินการให้เสรจ็ ส้นิ ภายในส่ปี ี

(ค) ภารกจิ ท่เี ป็นการดาเนินงานตามนโยบายของรัฐบาล ให้ดาเนินการให้เสรจ็ ส้นิ ภายในส่ปี ี

(2) กาหนดขอบเขตความรับผดิ ชอบในการให้บริการสาธารณะของรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ และระหว่าง

องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินด้วยกันเองตามอานาจและหน้าท่ที ่กี าหนดไว้ในพระราชบัญญัติน้ีให้ชัดเจน โดยในระยะแรกอาจ

กาหนดภารกจิ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ ให้แตกต่างกนั ได้ โดยให้เป็นไปตามความพร้อมขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ

แต่ละแห่ง ซ่ึงต้องพิจารณาจากรายได้และบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินน้ัน จานวนประชากร ค่าใช้ จ่าย

ในการดาเนินงาน ตลอดจนคุณภาพในการให้บริการท่ปี ระชาชนจะได้รับ ท้งั น้ี ต้องไม่เกนิ ระยะเวลาสบิ ปี 17

18

19

20

21

มาตรา 16 พ.ร.บ. กาหนดแผนและข้นั ตอนการกระจายอานาจ
ให้แก่ อปท. พ.ศ. 2542

ให้เทศบาล เมืองพัทยา และองคก์ ารบริหารสว่ นตาบลมอี านาจและหน้าท่ใี นการจดั ระบบการบริการสาธารณะเพ่ือ
ประโยชน์ของประชาชนในท้องถ่นิ ของตนเองดังน้ี

(1) การจดั ทาแผนพัฒนาท้องถ่นิ ของตนเอง
(2) การจดั ให้มแี ละบารงุ รักษาทางบก ทางนา้ และทางระบายนา้
(3) การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทยี บเรือ ท่าข้าม และท่จี อดรถ
(4) การสาธารณปู โภคและการก่อสร้างอ่นื ๆ
(5) การสาธารณปู การ
(6) การสง่ เสริม การฝึก และประกอบอาชีพ
(7) การพาณชิ ย์ และการสง่ เสริมการลงทนุ
(8) การส่งเสริมการท่องเท่ยี ว
(9) การจดั การศกึ ษา
(10) การสงั คมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชวี ิตเดก็ สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส

22

มาตรา 16 พ.ร.บ. กาหนดแผนและข้นั ตอนการกระจายอานาจ
ให้แก่ อปท. พ.ศ. 2542

(11) การบารงุ รักษาศลิ ปะ จารีตประเพณี ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ และวฒั นธรรมอนั ดีของท้องถ่นิ
(12) การปรับปรงุ แหล่งชุมชนแออดั และการจดั การเก่ยี วกบั ท่อี ยู่อาศยั
(13) การจัดให้มแี ละบารงุ รักษาสถานท่พี ักผ่อนหย่อนใจ
(14) การสง่ เสริมกฬี า
(15) การส่งเสริมประชาธปิ ไตย ความเสมอภาค และสทิ ธเิ สรีภาพของประชาชน
(16) ส่งเสริมการมสี ว่ นร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถ่นิ
(17) การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง
(18) การกาจดั มูลฝอย ส่งิ ปฏกิ ูล และนา้ เสยี
(19) การสาธารณสขุ การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล
(20) การจดั ให้มแี ละควบคุมสสุ านและฌาปนสถาน

23

มาตรา 16 พ.ร.บ. กาหนดแผนและข้นั ตอนการกระจายอานาจ
ให้แก่ อปท. พ.ศ. 2542

(21) การควบคุมการเล้ยี งสตั ว์
(22) การจดั ให้มแี ละควบคุมการฆ่าสตั ว์
(23) การรักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบยี บเรียบร้อย และการอนามยั โรงมหรสพ และสาธารณสถานอ่นื ๆ
(24) การจดั การ การบารงุ รักษา และการใช้ประโยชน์จากป่ าไม้ ท่ดี ิน ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม
(25) การผงั เมือง
(26) การขนส่งและการวิศวกรรมจราจร
(27) การดูแลรักษาท่สี าธารณะ
(28) การควบคุมอาคาร
(29) การป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภัย
(30) การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนบั สนุนการป้ องกนั และรักษาความปลอดภัยในชวี ติ และทรัพยส์ นิ
(31) กจิ การอ่นื ใดท่เี ป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถ่นิ ตามท่คี ณะกรรมการประกาศกาหนด

24

มาตรา 17 พ.ร.บ. กาหนดแผนและข้นั ตอนการกระจายอานาจ
ให้แก่ อปท. พ.ศ. 2542

ภายใต้บังคับมาตรา 16 ให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดมีอานาจและหน้าท่ีในการจัดระบบบริการสาธารณะเพ่ือ

ประโยชน์ของประชาชนในท้องถ่นิ ของตนเอง ดังน้ี

(1) การจดั ทาแผนพัฒนาท้องถ่นิ ของตนเอง และประสานการจดั ทาแผนพัฒนาจงั หวดั ตามระเบยี บท่คี ณะรัฐมนตรี

กาหนด

(2) การสนับสนุนองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ อ่นื ในการพัฒนาท้องถ่นิ

(3) การประสานและให้ความร่วมมอื ในการปฏบิ ตั หิ น้าท่ขี ององค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ อ่นื

(4) การแบ่งสรรเงินซ่งึ ตามกฎหมายจะต้องแบ่งให้แก่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ อ่นื

(5) การคุ้มครอง ดูแล และบารงุ รักษาป่ าไม้ ท่ดี ิน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม

(6) การจดั การศกึ ษา

(7) การส่งเสริมประชาธปิ ไตย ความเสมอภาค และสทิ ธเิ สรีภาพของประชาชน

(8) การสง่ เสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถ่นิ

(9) การส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีท่เี หมาะสม

(10) การจัดต้งั และดูแลระบบบาบัดนา้ เสยี รวม

25

มาตรา 17 พ.ร.บ. กาหนดแผนและข้นั ตอนการกระจายอานาจ
ให้แก่ อปท. พ.ศ. 2542

(๑๑) การกาจดั มูลฝอยและส่งิ ปฏกิ ลู รวม
(๑๒) การจัดการส่งิ แวดล้อมและมลพิษต่าง ๆ
(๑๓) การจดั การและดแู ลสถานีขนสง่ ท้งั ทางบกและทางนา้
(๑๔) การส่งเสริมการท่องเท่ยี ว
(๑๕) การพาณชิ ย์ การส่งเสริมการลงทนุ และการทากจิ การไม่ว่าจะดาเนินการเองหรือร่วมกบั บคุ คลอ่นื หรือจากสหการ
(๑๖) การสร้างและบารงุ รักษาทางบกและทางนา้ ท่เี ช่ือมต่อระหว่างองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ อ่นื
(๑๗) การจัดต้งั และดูแลตลาดกลาง
(๑๘) การสง่ เสริมการกฬี า จารีตประเพณี และวัฒนธรรมอนั ดงี ามของท้องถ่นิ
(๑๙) การจัดให้มีโรงพยาบาลจงั หวดั การรักษาพยาบาล การป้ องกนั และควบคุมโรคตดิ ต่อ
(๒๐) การจดั ให้มพี ิพิธภณั ฑแ์ ละหอจดหมายเหตุ

26

มาตรา 17 พ.ร.บ. กาหนดแผนและข้นั ตอนการกระจายอานาจ
ให้แก่ อปท. พ.ศ. 2542

(21) การขนสง่ มวลชนและการวิศวกรรมจราจร
(22) การป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั
(23) การจัดให้มีระบบรักษาความสงบเรียบร้อยในจงั หวดั
(24) จดั ทากจิ การใดอนั เป็นอานาจและหน้าท่ขี ององค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ อ่นื ท่อี ยู่ในเขต และกจิ การน้นั เป็นการ
สมควรให้องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ อ่นื ร่วมกนั ดาเนนิ การหรือให้องค์การบริหารสว่ นจงั หวดั จดั ทา ท้งั น้ี ตามท่คี ณะกรรมการ
ประกาศกาหนด
(25) สนับสนุนหรือช่วยเหลอื ส่วนราชการ หรือองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ อ่นื ในการพัฒนาท้องถ่ิน
(26) การให้บริการแก่เอกชน สว่ นราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกจิ หรือองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ อ่นื
(27) การสงั คมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเดก็ สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส
(28) จดั ทากจิ การอ่นื ใดตามท่กี าหนดไว้ในพระราชบญั ญัตนิ ้หี รือกฎหมายอ่นื กาหนดให้เป็นอานาจและหน้าท่ขี อง
องค์การบริหารส่วนจังหวัด
(29) กจิ การอ่นื ใดท่เี ป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถ่นิ ตามท่คี ณะกรรมการประกาศกาหนด

27

มาตรา 18 พ.ร.บ. กาหนดแผนและข้นั ตอนการกระจายอานาจ
ให้แก่ อปท. พ.ศ. 2542

ให้กรงุ เทพมหานครมีอานาจและหน้าท่ใี นการจัดระบบบริการสาธารณะเพ่ือประโยชน์ของประชาชน
ในท้องถ่นิ ของตนเองตามมาตรา 16 และมาตรา 17

28

มาตรา 89 พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกรงุ เทพมหานคร
พ.ศ. 2528

ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายอ่ืน ให้กรุงเทพมหานครมีอานาจหน้าท่ีดาเนินกิจการในเขตกรุงเทพมหานครในเร่ือง
ดังต่อไปน้ี

(1) การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน ท้งั น้ี ตามข้อบญั ญตั ิกรงุ เทพมหานคร และตามกฎหมายอ่นื ท่ี
กาหนดให้เป็นอานาจหน้าท่ขี องกรงุ เทพมหานคร

(2) การทะเบยี นตามท่กี ฎหมายกาหนด
(3) การป้ องกนั และบรรเทาสาธารณภยั
(4) การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมอื ง
(5) การผงั เมือง
(6) การจดั ให้มแี ละบารุงรักษาทางบก ทางนา้ และทางระบายนา้
(7) การจัดการจราจรและการวิศวกรรมจราจร
(8/1) การส่งเสริมและสนบั สนุนสถานตี ารวจ และหน่วยงานอ่นื ในการปฏบิ ตั ิหน้าท่ตี าม (1) และ (7)
(8) การขนสง่

29

มาตรา 89 พ.ร.บ. ระเบยี บบริหารราชการกรงุ เทพมหานคร

พ.ศ. 2528

(9) การจัดให้มแี ละควบคมุ ตลาด ทา่ เทยี บเรือ ทา่ ข้ามและท่จี อดรถ
(10) การดูแลรักษาท่สี าธารณะ
(11) การควบคุมอาคาร
(12) การปรับปรงุ แหล่งชุมชนแออดั และจัดการเก่ยี วกบั ท่อี ยู่อาศยั
(13) การจดั ให้มแี ละบารงุ รักษาสถานท่พี ักผ่อนหย่อนใจ
(14) การพัฒนาและอนุรักษ์ส่งิ แวดล้อม
(14 ทวิ) บารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ และวัฒนธรรมอนั ดีของท้องถ่นิ
(15) การสาธารณปู โภค
(16) การสาธารณสขุ การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล
(17) การจัดให้มีและควบคุมสสุ านและฌาปนสถาน
(18) การควบคุมการเล้ยี งสตั ว์
(19) การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสตั ว์
(20) การควบคุมความปลอดภัย ความเป็นระเบยี บเรียบร้อยและการอนามยั ในโรงมหรสพ และสาธารณสถานอ่นื ๆ

30

มาตรา 89 พ.ร.บ. ระเบยี บบริหารราชการกรุงเทพมหานคร
พ.ศ. 2528

(21) การจดั การศกึ ษาให้สอดคล้องกบั แผนการศึกษาของชาติ รวมท้งั สง่ เสริมและสนบั สนุนการจดั การศึกษา
(22) การสาธารณปู การ
(23) การสงั คมสงเคราะห์
(24) การส่งเสริมการกฬี า
(25) การสง่ เสริมการประกอบอาชีพ
(26) การพาณชิ ย์ของกรงุ เทพมหานคร
(27) หน้าท่อี ่ืน ๆ ตามท่กี ฎหมายระบุให้เป็นอานาจหน้าท่ขี องผู้ว่าราชการจังหวัด นายอาเภอ เทศบาลนคร หรือ
ตามท่ีคณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมอบหมาย หรือท่ีกฎหมายระบุเป็ นหน้าท่ีของ
กรงุ เทพมหานคร
บรรดาอานาจหน้าท่ใี ดซ่ึงเป็นของราชการส่วนกลางหรือราชการส่วนภมู ิภาคจะมอบให้กรุงเทพมหานครปฏบิ ัติกไ็ ด้
โดยให้ทาเป็นพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ข้อบังคับ หรือประกาศ แล้วแต่กรณี ในกรณีท่ที าเป็นข้อบังคับหรือประกาศต้อง
ได้รับความเหน็ ชอบจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

31

องคป์ ระกอบของความเป็ น อปท.

นิติบุคคล เขตพ้ นื ที่ องคก์ รเลอื กต้งั อานาจหนา้ ที่ การคลงั การกากบั ดูแล
ม.7 ว.2 ม.66 ม.71 – 75
เทศบาล ม.10, 11, 12 ม.14, 15 48 ทวิ ม.50 – 51
ม.43 ม.40 ม.44, 45, 58 ม.53 – 54 ม.74 – 82 ม.90-92
อบต. ม.56 – 57
อบจ. ม.66 – 68
เมอื งพทั ยา
ม.8 ม.8 ว.2 ม.9, 35 ม.45 ม.61 – 67 ม.77 – 80

ม.7 ว.2 ม.7 ว.3 ม.8, 9, 41 ม.62 ม.80 – 89 ม.94 - 99

กทม. ม.6 ม.6 ว.2 ม.9, 10, 44 ม.89 ม.109 – 112 ม.121 - 123
ทวิ

32

ตวั อย่างที่ 1 อานาจหนา้ ทีข่ อง อปท.

- อปท. ไทยมอี านาจหน้าท่นี ้อยมาก เทยี บกบั ประเทศท่เี จริญแล้ว เช่น
การศกึ ษา ตารวจ ถนน สาธารณปู โภคพ้ืนฐาน รัฐรวมอานาจไว้หมด
โดยอ้าง อปท. ไม่พร้อม

- เทคนกิ ของรัฐ คือ เขียนให้กฎหมาย อปท. อยู่ภายใต้กฎหมายของรัฐ เช่น
มาตรา 50 พรบ. เทศบาล พ.ศ. 2496 “ภายใต้บงั คบั แห่งกฎหมาย
เทศบาลตาบลมหี น้าท่ตี ้องทาในเขตเทศบาลดงั ต่อไปน้ี ...”

33

ตวั อย่างท่ี 2 การแจกแจงอานาจหน้าท่ขี อง อปท.

ประเทศไทยเขยี นแจกแจง เทศบาลตาบลมีอานาจหน้าท่ี 18 อย่างท่เี หลือเป็นของรัฐ
ต่างประเทศเขียนให้ อปท. มอี านาจท่วั ไป จากดั อานาจรัฐ
อปท. จึงมอี านาจหน้าท่อี ย่างกว้างขวางท่เี ก่ยี วกบั ผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถ่นิ

34

4. ปฏิรูปหนา้ ทีแ่ ละอานาจ

35

มาตรา 50 พระราชบญั ญตั ิเทศบาล พ.ศ. 2496

ภายใต้บงั คับแห่งกฎหมาย เทศบาลตาบลมหี น้าท่ตี ้องทาในเขตเทศบาล ดงั ต่อไปน้ี
(1) รักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน
(2) ให้มีและบารงุ ทางบกและทางนา้
(3) รักษาความสะอาดของถนน หรือทางเดนิ และท่สี าธารณะ รวมท้งั การกาจดั

มูลฝอยและส่งิ ปฏกิ ลู
(4) ป้ องกนั และระงับโรคตดิ ต่อ
(5) ให้มเี คร่ืองใช้ในการดบั เพลงิ
(6) ให้ราษฎรได้รับการศึกษาอบรม
(7) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เดก็ เยาวชน ผู้สงู อายุ และผู้พิการ
(8) บารงุ ศลิ ปะ จารีตประเพณี ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ และวัฒนธรรมอนั ดขี องท้องถ่นิ
(9) หน้าท่อี ่นื ตามท่กี ฎหมายบญั ญัติให้เป็นหน้าท่ขี องเทศบาล

36

37

ตวั อย่างท่ี 3 การระบอุ านาจของ อปท. เฉพาะเจาะจงในกฎหมาย

ทาให้แก้ไขยาก
ปรกติบริการสาธารณะมคี วามเคล่ือนไหวตลอดเวลา ดูรถเมล์ ดูเคร่ืองบนิ

38

ตวั อย่างท่ี 4 การทกั ท้วงของ สตง.

สานักงานการตรวจเงนิ แผ่นดินทกั ท้วงว่า การใช้จ่ายเงนิ กรณีดงั กล่าวไม่ใช่อานาจหน้าท่ี
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ เน่ืองจากไม่ปฏบิ ัติตามระเบียบการใช้จ่ายเงนิ หรือไม่มีระเบียบ
การใช้จ่ายเงินให้ใช้จ่ายกรณีน้ัน ๆ ได้ เช่น การจัดส่งรถรับส่งนักเรียน การฉีดวัคซีนป้ องกัน
โรคพิษสนุ ัขบ้า การจัดไวไฟ (WiFi) บริการสาธารณะ การก่อสร้างโรงงานแปรรูปนา้ ยางพารา
การเข้าช่วยเหลือเกษตรกร การทาโรงผลิตป๋ ุยจาหน่ายแก่เกษตร เป็นต้น

การทาพิธสี หุ นัตของชาวมุสลิมในพ้ืนท่สี ามจังหวัดชายแดนภาคใต้ การจัดราวงย้อนยุค
ในงานวันประเพณีต่าง ๆ โดยสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินเข้าทักท้วงว่าเป็นกรณีความเช่ือ
ส่วนบุคคล หรือเป็ นกรณีมิใช่ส่งเสริมสนับสนุนหรือบารุงจารีตประเพณี หรือวัฒนธรรมอันดี
ของท้องถ่นิ โดยศาลปกครองสงู สดุ ได้มีคาวินิจฉัยในคดีหมายเลขแดงท่ี 880/2561 ว่าการให้
คาแนะนาลักษณะดังกล่าวไม่ถูกต้องและไม่สอดคล้องกบั กฎหมาย

39

ตวั อย่างที่ 5 อปท. ทอ้ งถนิ่ รูปแบบพิเศษ

รูปแบบพิเศษ คอื มอี านาจมากข้นึ มีรายได้มากข้นึ มอี งค์กรแตกต่าง
(เช่นมสี ภาท่ปี รึกษา) เรามี อปท. รปู แบบพิเศษ คือ กทม. พ.ศ. 2518
(ปัจจุบนั พ.ศ. 2528) พัทยา พ.ศ. 2521 (ปัจจุบนั คอื พ.ศ. 2542)
หลังจากน้นั ไม่มอี กี เลย

มีข้อเรียกร้องท่ี
สมุย แม่สอด แหลมฉบัง
ภเู กต็ เชียงใหม่

แต่ไม่เกดิ

40

ร่างพระราชบญั ญตั ิระเบียบบริหารราชการนครสมุย พ.ศ. ....

มาตรา 76 นครสมุยมีอานาจหน้าท่ดี าเนินการ ในเขตนครสมุยในเร่ืองดังต่อไปน้ี
(1) การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน
(2) การจดั ทาแผนพัฒนานครสมุย
(3) การป้ องกนั และบรรเทาสาธารณะภยั
(4) การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบยี บเรียบร้อยของบ้านเมือง
(5) การจัดให้มีและบารุงรักษาทางบก ทางนา้ และทางระบายนา้
(6) การวศิ วกรรมจราจร
(7) การขนส่ง
(8) การจดั การและดูแลสถานีขนส่งท้งั ทางบกและทางนา้
(9) การกาจดั มูลฝอย ส่งิ ปฏกิ ลู และนา้ เสยี รวมถงึ การจดั ต้ังและดูแลระบบบาบดั นา้ เสยี
(10) การจัดให้มีนา้ สะอาด หรือการประปา

41

ร่างพระราชบญั ญตั ิระเบียบบริหารราชการนครสมุย พ.ศ. ....

(11) การจัดให้มแี ละกากบั ดูแลตลาด ท่จี อดรถ ท่าข้าม และทา่ เทยี บเรือ

(12) การดูแลและรักษาท่สี าธารณะ

(13) การคุ้มครองและดูแลรักษาทรัพย์สนิ อนั เป็นสาธารณะสมบตั ิของแผ่นดินร่วมกบั นายอาเภอ

(14) การจัดการ การบารุงรักษา การคุ้มครอง และการใช้ประโยชน์จากป่ าไม้ ท่ดี ิน ทรัพยากร ธรรมชาติและ
ส่งิ แวดล้อม

(15) การควบคุมอาคาร

(16) การปรับปรงุ แหล่งชุมชนและการจัดการเก่ยี วกบั ท่อี ยู่อาศยั

(17) จดั ให้มีและบารงุ รักษาสถานท่พี ักผ่อนหย่อนใจ

(18) การบารงุ รักษาศิลปะ จารีต ประเพณี ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ ศาสนาและวัฒนธรรมอนั ดขี องท้องถ่นิ

(19) การจดั การและส่งเสริมการท่องเท่ยี ว

(20) การส่งเสริมการกฬี า กจิ กรรมตามประเพณีและวัฒนธรรมอนั ดีงามของท้องถ่ิน การแลกเปล่ียนด้านกีฬา

และกจิ กรรมตามประเพณขี องท้องถ่นิ กบั ประเทศเพ่ือนบ้าน

42

ร่างพระราชบญั ญตั ิระเบยี บบริหารราชการนครสมุย พ.ศ. ....

(21) การจัดให้มโี รงพยาบาล การรักษาพยาบาล การป้ องกนั และควบคุมโรคติดต่อ และการสาธารณสขุ
(22) การจัดให้มีและควบคุมการเล้ยี งสตั ว์
(23) การจดั ให้มแี ละควบคุมการฆ่าสตั ว์
(24) การจดั ให้มีและควบคุมสสุ านและฌาปนสถาน
(25) การควบคุมความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย สุขลักษณะ และอนามัยในร้านจาหน่ายอาหาร
โรงแรมและท่พี ัก โรงมหรสพ และสาธารณสถานอ่นื ๆ
(26) การจดั การส่งิ แวดล้อมและมลพิษต่างๆ
(27) การผงั เมอื ง และการจัดระเบยี บการใช้พ้ืนท่ี
(28) การสาธารณปู โภค และการก่อสร้างอ่นื ๆ
(29) การสาธารณปู การ
(30) การจดั ให้มีและบารุงส้วมสาธารณะ

43

ร่างพระราชบญั ญตั ิระเบียบบริหารราชการนครสมุย พ.ศ. ....

(31) การจัดให้มแี สงสว่างในท่สี าธารณะหรือสาธารณสถาน
(32) การจัดให้มกี ารดาเนินกจิ การโรงรับจานาหรือสถานสนิ เช่ือ
(33) การจดั ให้มแี ละบารุงการสงเคราะห์มารดาและเดก็
(34) การจดั การศึกษาและสง่ เสริมการศึกษาของเดก็ เยาวชน ผู้ด้อยโอกาสและประชาชนท่วั ไป
(35) การสงั คมสงเคราะห์และการพัฒนาคุณภาพชีวิต สตรี เดก็ คนชรา คนด้อยโอกาส
(36) การสง่ เสริม และการฝึกอบรมเพ่ือการประกอบอาชีพ
(37) การจัดให้มีระบบรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุนการป้ องกันและการรักษาความ
ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยส์ นิ
(38) การพาณชิ ย์ การสง่ เสริมการลงทุน และการกจิ การไม่ว่าจะดาเนนิ การเองหรือร่วมกบั บุคคลอ่ืนหรือสหการ
(39) การจัดให้มพี ิพิธภัณฑแ์ ละหอจดหมายเหตุ
(40) การส่งเสริมและสนบั สนุนให้ประชาชนมสี ว่ นร่วมในการพัฒนาท้องถ่นิ

44

ร่างพระราชบญั ญตั ิระเบยี บบริหารราชการนครสมุย พ.ศ. ....

(41) การสง่ เสริมประชาธปิ ไตย ความเสมอภาค และสทิ ธเิ สรีภาพของประชาชน
(42) การสนบั สนุนและส่งเสริม และพัฒนาเทคโนโลยที ่เี หมาะสม
(43) การจัดทาข้อมูลสาระสนเทศเพ่ือการพัฒนานครสมุย
(44) กิจการอ่ืนใดตามท่ีกาหนดไว้ในพระราชบัญญัติน้ี และกฎหมายอ่ืนกาหนดให้เป็นอานาจและหน้าท่ขี อง
องค์กรบริหารสว่ นจังหวดั
(45) กิจการอ่ืนใดท่ีเป็ นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถ่ินตามท่ีคณะกรรมการการกระจายอานาจให้แก่
องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ ประกาศกาหนดหรือหน้าท่แี ละอานาจอ่นื ใดท่กี ฎหมายกาหนดให้เป็นของ
นครสมุย
(46) หน้าท่ีและอานาจอ่ืน ๆ ตามท่ีกฎหมายระบุให้เป็ นอานาจหน้าท่ีของผู้ว่าราชการจังหวัด นายอาเภอ
เทศบาลนคร หรือตามท่คี ณะรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยมอบหมายหรือท่กี ฎหมาย
ระบุเป็นหน้าท่ขี องนครสมุย

45

ร่างพระราชบญั ญตั ิระเบียบบริหารราชการนครสมุย พ.ศ. ....

มาตรา 77 นอกจากหน้าท่ตี ามมาตรา 76 นครสมุยอาจจดั ทาบริการสาธารณะในเร่ืองดงั ต่อไปน้ไี ด้
(1) กจิ การอ่นื ใดท่ไี ด้รับมอบหมายจากส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกจิ ให้กระทาการแทน
(2) กจิ การอ่นื ตามท่กี ฎหมายกาหนด
นครสมุยจะจดั ทาบริการสาธารณะอย่างใดตามวรรคหน่งึ ได้ ต้องมีศกั ยภาพ ความสามารถและรายได้เพียงพอท่จี ะทาได้

46

ร่างพระราชบญั ญตั ิระเบียบบริหารราชการนครสมุย พ.ศ. ....

มาตรา 78 เม่อื นครสมุยมีความพร้อมหรือมีความจาเป็นอย่างย่งิ นายกนครสมุยโดยความเหน็ ชอบของ
สภานครสมุยอาจเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพ่ือตราพระราชกฤษฎีกากาหนดให้นครสมุยมีอานาจหน้าท่ตี ามกฎหมาย
ดงั ต่อไปน้ี กไ็ ด้

(1) กฎหมายว่าด้วยการลงทุน
(2) กฎหมายว่าด้วยการทางานของคนต่างด้าว
(3) กฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกจิ ของคนต่างด้าว
(4) กฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมอื ง
(5) กฎหมายว่าด้วยธุรกจิ นาเท่ยี วและมัคคุเทศก์
(6) กฎหมายว่าด้วยส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่งิ แวดล้อม
(7) กฎหมายว่าด้วยการผงั เมอื ง
(8) กฎหมายว่าด้วยโรงงาน

47

ร่างพระราชบญั ญตั ิระเบียบบริหารราชการนครสมุย พ.ศ. ....

มาตรา 78 (ต่อ)
(9) กฎหมายว่าด้วยการจราจรทางบก
(10) กฎหมายว่าด้วยการขนส่งทางบก
(11) กฎหมายว่าด้วยการดูแลพ้ืนท่ชี ายฝ่งั ทะเล พ้ืนท่ที ะเล และหมู่เกาะ
(12) กฎหมายว่าด้วยการจดั การ การบารงุ รักษาการคุ้มครองและการใช้ประโยชนจ์ ากป่ าไม้และท่ดี ิน
(13) กฎหมายว่าด้วยการจดทะเบยี นยานพาหนะขนส่ง

(14) กฎหมายว่าด้วยการจัดการและดูแลสถานขี นสง่ ท้งั ทางบก ทางนา้ และทางอากาศ
(15) กฎหมายว่าด้วยการควบคุมดูแลและการใช้ท่ดี ินสาธารณะประโยชน์
(16) กฎหมายว่าด้วยการออกใบอนุญาตโรงแรมและท่พี ัก
(17) กฎหมายว่าด้วยการดูแลเขตอตุ สาหกรรมและพาณชิ ย์

48

ร่างพระราชบญั ญตั ิระเบียบบริหารราชการนครสมุย พ.ศ. ....

มาตรา 78 (ต่อ)
(18) กฎหมายว่าด้วยการนิคมอตุ สาหกรรม
(19) กฎหมายว่าด้วยการทา่ เรือ
(20) กฎหมายว่าด้วยการศลุ กากร
เม่อื มีพระราชกฤษฎกี ากาหนดให้นครสมุยมีอานาจหน้าท่ตี ามวรรคหน่ึงแล้ว ให้นครสมุยมีอานาจหน้าท่ี
ในการอนุมัติ อนุญาต พิจารณา หรือปฏบิ ัติการเร่ืองใด ๆ เฉพาะท่กี าหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกาดงั กล่าว โดยให้
กาหนดหลักเกณฑ์และเง่ือนไขการใช้อานาจและอานาจหน้าท่ีในการกากับดูแลของหน่วยงานของรฐั ท่ีมีอานาจ
หน้าท่ตี ามกฎหมายน้ัน ๆ ไว้ในพระราชกฤษฎีกาด้วย
ในกรณที ่นี ครสมุยมีอานาจอนุมัติ อนุญาต หรือพิจารณาเร่ืองใดตามวรรคหน่ึงและกฎหมายในเร่ืองน้ัน
กาหนดให้เรียกเกบ็ ค่าธรรมเนียม ให้ค่าธรรมเนียมท่เี รียกเกบ็ ได้จากการอนุมัติ อนุญาต หรอื พิจารณาในเร่ืองน้ัน
ตกเป็ นของนครสมยุ

49

ทิศทางการปฏิรูประบบราชการของไทย

ราชการส่วนกลาง ราชการ
ส่วน
ราชการส่วนภูมภิ าค ปฏิรูประบบราชการ กลาง
ราชการส่วนภูมภิ าค
ราชการ
ส่วน ราชการส่วนทอ้ งถนิ่
ทอ้ งถนิ่

สภาพปัจจุบนั ทิศทางในอนาคต

50


Click to View FlipBook Version