The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Suppaath Thammarath, 2022-04-28 02:54:55

3 (2)

3 (2)

วาลวเรงระบายลม (Quick Exhaust Valve)

วาลวชนดิ นจ้ี ะทําหนา ท่เี รงระบายลม เพ่ือใหก า นสบู เคลอื่ นทไี่ ดเร็ว

กวาปกติ ประโยชนข องวาลวชนดิ น้ีจะใชก บั งานทตี่ อ งการใหกานสูบเคลอ่ื น

ท่ีเรว็ กวาปกติ A A
ล้นิ เลอื่ น

P RP R

ตัวเรอื น สญั ลกั ษณ

การทํางาน
เมอื่ ปอ นลมเขา ทาง P แรงดนั ลมจะดันลน้ิ วาลวใหปด รู R ลมจาก P จะออกไป A ได
เมือ่ มีลมระบายออกท่ีรู A ล้นิ วาลวจะเล่ือนไปปด รู P ทําใหลมจาก A ระบายออกที่รู
R ไดอยางรวดเรว็

การใชว าลวเรง ระบายลมในวงจรนวิ แมติกส

เมื่อตองการใหก านสบู เคล่ือนท่กี ลบั ดว ยความเรว็ สูงกวา ปกติ

A R
P

AB

RS
P.

หลกั การทํางานของวงจร

เม่ือกดวาลว 5/2 ลมจะผานไปดนั ใหก า นสูบเคลอื่ นทีอ่ อก
ดว ยความเร็วปกติ และเมอื่ ปลอ ยมอื กดสปริงจะดนั ใหวาลว
กลบั สตู ําแหนง เดมิ ลมจะผานวาลว 5/2 ไปดนั ใหก านสบู เคลอื่ น
ที่เขา ลมจะถกู ระบายออกที่รู R ของวาลวเรงระบายลม
ทําใหระยะทางการคายไอเสยี สัน้ และเร็วกวาการคายไอเสยี ออก
ท่ีรู R ของวาลว 5/2 ทําใหกา นสบู วงิ่ กลับดว ยความเร็ว
สงู กวา ปกติ

วาลวความดนั สองทาง (Two Pressure Valve)

วาลวชนดิ น้ีมที อ ลมเขา สองทางและทอ ลมออกทางเดียวโดยท่วี าลว
ชนดิ นจ้ี ะยอมใหล มผานไปไดจ ะตองมีลมเขาทง้ั สองทาง

ตวั เรือน A ล้นิ เลอื่ น A
X Y XY

สัญลกั ษณ

โครงสรา งภายใน

วาลว ความดนั สองทาง (Two Pressure Valve)

การทํางาน
เมอ่ื ปอนลมเขา ท่ี X หรอื Y ลมจะไมสามารถผา นไปที่ A ได

ลมจะผานไป A ได กต็ อ เม่อื ตองปอนลมเขา 2 ทาง ทง้ั ดาน X และ Y

การใชวาลว ความดนั สองทางในวงจรนิวแมติกส

เมื่อตองการใหก านสบู เลื่อนออกจะตอ งปอนลมเขา ท้งั 2 ทาง
จึงจะทาํ ใหม ลี มผานไปดันใหกานสบู ทาํ งานได

1.2 A X AY
A 1.4

. PR PR

หลกั การทํางานของวงจร

เมอ่ื ตอ งการใหกา นสบู เคลอ่ื นท่ีออกจะตอ งกดวาลว 1.2 และ
วาลว 1.4 ทั้งสองตวั พรอมกนั ลมจึงจะสามารถออกไปท่ีรู A
ของวาลวความดนั สองทางและไปดนั ใหกานสบู เคลอื่ นทอ่ี อกได
ถากดวาลวเพียงตวั ใดตวั หนึง่ ลม จะไมส ามารถไหลผา นวาลว
ความดนั สองทางไดทําใหลกู สบู ไมท ํางาน

วาลว หนวงเวลา (Time Delay Valve)

วาลว หนว งเวลาจะมีหนา ที่ควบคมุ การทํางานของกา นสูบใหเ คล่ือนท่ี
กลับ ซ่ึงสามารถปรบั ตง้ั เวลาหรอื หนวงเวลาในการเคล่อื นกลับของกา นสบู ได

ล้นิ กนั กลับ หองเกบ็ ลม

สกรปู รับอตั ราไหล ชุดลูกสบู Z A
Z R
A PR
กานวาลว
P ลนิ้ สัญลักษณ

โครงสรา งภายใน

หลกั การทํางานของวงจร

ในตาํ แหนง ปกติเม่ือยงั ไมมีลมเขาทางรู Z ลมจากรู Pจะไมสามารถ
ผานไปรู A ได เมือ่ มีลมเขา มาทางดานรู Z แรงดนั ลมจะผานทางวาลว
ควบคมุ อัตราไหลไปยงั หอ งเก็บลม เมือ่ ปรมิ าณลมไหลเขาไปสะสมจน
เต็มถงั ทําใหเ กดิ แรงดันลมดันใหว าลว เปด ลมจาก รู P จะผานไปรู
A ได เมอ่ื ตดั การจา ยลมทรี่ ู Z ลมจากหอ งเกบ็ ลมจะถกู ระบายออก
โดยผานวาลวกันกลับและระบายลมออกท่รี ู Z ในการหนวงเวลาการ
เลอ่ื นล้ินของวาลว นั้นข้ึนอยูกับการปรับอตั ราไหลของลมท่เี ขาถังเก็บลม

วาลวควบคมุ ความดนั ลม (Pressure Control Valve)

วาลว ควบคมุ ความดนั ลมจะมีหนา ทค่ี วบคมุ ความดันลมของ
วงจรใหคงที่ นอกจากน้ียงั สามารถควบคมุ การทํางานแบบตอ เน่อื ง
ของเคร่ืองจักรไดอีกดว ย

1. วาลว จํากดั ความดนั (Pressure Relief Valve)

วาลว แบบนมี้ หี นาที่ คอื วาลว จํากดั ความดันจะระบายลมสวน
ที่เกินออกไป ทาํ ใหค วามความดนั ในระบบลดลง การปรบั ตง้ั ความดัน
สามารถทําไดโดยการปรบั สปริง ตวั อยางการนําไปใชง าน เชน ตดิ ต้งั
ไวท่ถี ังเกบ็ ลม

โครงสรา ง และสญั ลักษณว าลวจํากดั ความดนั (Pressure Relief Valve)

AA
PP

โครงสรา งภายใน
สัญลกั ษณ

A

2. 2ว.าวลาว ลจวดั จลดั ําดลับาํ ดควบั าคมวดาันมด(Pนั res(sPurreessSuerqeueSnecqeuVenaclvee)Valve)

วาลวชนิดนจ้ี ะใชก บั วงจรนิวแมตกิ ส ซ่งึ จะชวยในการออกแบบการ
ทาํ งานแบบตอเน่ืองโดยมหี ลักการทาํ งาน คือ ลมอัดทเ่ี ขาสูวาลวจะยังไม
สามารถผานไปใชงานไดท นั ที จนกระทัง่ ความดนั ท่สี ะสมไวมคี าตามที่
ตองการ ลมอัดจึงสามารถผา นไปใชงานได

โครงสรา งภายใน ZA
PR

สญั ลักษณ

หลกั การทํางานของวงจร P

Z

A

ในตําแหนงปกติลมจากรู P ไมส ามารถผานไปรู A ไดเ ม่อื มีแรงดนั ลม
เขามาทางดานรู Zแรงดนั ลมจะเอาชนะแรงสปรงิ กานลนิ้ ทต่ี ดิ อยูก บั แผน
ไดอะแฟรมจะดันใหวาลว เปด ลมจาก รู P จะผา นไปรู A ได ในการ
เลอ่ื นลิน้ ของวาลว ใหเปดสามารถปรบั ความดันของลมได โดยการปรับ
ความแขง็ ของสปริง

วาลวบังคับทศิ ทางลมแบบ3/2 แบบลูกกลิ้ง (Roller)

การใชว าลวแบบลูกกล้ิง (Roller) ควบคุมทาํ งานของกานสบู โดยตดิ ต้ังไวท่ี ปลาย
กา นสูบเมื่อกา นสบู เคล่ือนทม่ี ากดทาํ ใหว าลวสามารถทํางานได

..

PR

R A สัญลักษณ

P
โครงสรางภายใน

วาลว บังคบั ทศิ ทางลมแบบ 3/2 แบบ Roller Trip

.. A A
. . PR
.
PR

สัญลกั ษณ

การทาํ งาน
ในขณะท่ีกา นสบู เลอ่ื นออกวาลวกลไกท่ีปลายกา นสูบจะไปเตะวาลว 3/2

แบบ Roller trip แตวาลวจะไมท าํ งาน ซ่งึ วาลวจะทํางานไดทางเดียวใน
จังหวะท่ีกา นสบู เคลื่อนท่ีกลับ

วงจรแบบกานสบู เลื่อนเขา - ออกโดยอตั โนมตั ิ

1.4 1.3

1.6 A Y 1.1 A B
X RP . S

1.2 A 1.4 A 1.3 A
PR .
0.1 P R. R
.P A P

หลกั การทํางานของวงจร

ในขณะกอ นที่จะเรม่ิ ทํางานจะตองเปด วาลว 0.1 เพื่อมีใหล มผาน
เขาไปในวงจรเสยี กอน เมื่อกดวาลว 1.2 ลมจะผา นวาลว1.6ไปดนั ใหว าลว 1.1
เปลย่ี นตาํ แหนง กานสบู เล่ือนออก ในจงั หวะท่ีกานสบู เล่อื นออกกจ็ ะไปเตะวาลว
1.4 แตไมม ผี ลอะไรเนอ่ื งจากเปนวาลวกลไกแบบ Roller Trip ซ่ึงจะทํางาน
ไดท างเดียวในจังหวะทกี่ านสบู เคล่อื นทีก่ ลับ เมอ่ื กานสูบเลอ่ื นออกไปจนถงึ ปลาย
ชว งชัก จะไปกดวาลว 1.3 ทําใหวาลว 1.1 เลื่อนกลับตําแหนง เดิมกานสบู ก็จะ
เลอ่ื นเขา ในขณะทก่ี า นสบู เล่อื นเขาจะไปกดวาลว 1.4 ทําใหกา นสบู เคล่ือนที่
ออกอีกครงั้ หนง่ึ การทํางานของลูกสบู กจ็ ะว่ิงเขา – ออกตอ เนื่องกันไปตลอด
เวลาแบบอัตโนมัติ เมื่อตองการหยดุ การทาํ งานสามารถทาํ ไดโดยปด วาลว
0.1 ทําใหไ มม ลี มจายเขา ไปในวงจร

วงจรแบบท่ี 2

1.2 1.3

1.1 A B

0.1 1.2 A RS . 1.3 A
. P

.PA PR PR

หลกั การทํางานของวงจร

ในตาํ แหนงปกติวาลว 1.2 จะถูกกลไกกานสูบกดอยตู ลอดเวลา
เมือ่ กดวาลว 0.1 ลมจะผา นเขาไปทีว่ าลว 1.2 ไปดันใหวาลว1.1 เปลี่ยน
ตาํ แหนงกานสูบเลื่อนออก ในจังหวะทีก่ านสบู เลื่อนออกนีก้ ็จะปลดวาลว
1.2 และเคลอ่ื นท่ีไปกดวาลว 1.3 ปลายชวงชัก ทาํ ใหลมผานวาลว 1.3
ไปดันใหวาลว 1.1 เลอ่ื นกลับตําแหนงเดิม กา นสูบก็จะเลื่อนเขา ในขณะ
ทกี่ า นสูบเล่ือนเขาจะไปกดวาลว 2ทาํ ใหกา นสูบเคลื่อนที่ออกอกี ครั้งหนง่ึ
การทํางานของลกู สูบกจ็ ะว่งิ เขา – ออกตอ เนือ่ งกันไปตลอดเวลาแบบ
อัตโนมตั ิ เมอ่ื ตองการหยดุ การทาํ งานสามารถทําไดโ ดยปด วาลว 0.1
ทาํ ใหไ มม ีลมจา ยเขาไปในวงจร


Click to View FlipBook Version