The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by artatdesign, 2021-01-06 02:31:40

รวม

รวม

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ธรรมชาติของสง่ิ มชี วี ติ

1. ส่ิงมีชีวติ คอื อะไร
ชีวิต (life) เป็นสภาพท่ีมีองค์ประกอบหลายอย่าง เช่น อินทรีย์สาร และ อนินทรีย์สาร ประกอบกัน

เข้าเป็นหน่วยหรือโครงสร้างที่สามารถดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ได้ จากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์ทาให้
ทราบถงึ ความแตกต่างของสิ่งมชี ีวิต และไมม่ ชี ีวติ

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธบิ ายและสรุปสมบตั ทิ ่ีสาคัญของสิ่งมชี ีวติ และความสมั พันธ์ของการจดั ระบบใน
สิ่งมชี ีวติ ทท่ี าใหส้ ิ่งมีชวี ิตดารงอยไู่ ด้
2. อธบิ ายและบอกความสาคญั ของการระบุปญั หา ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งปัญหา สมมติฐาน
และวธิ ีการตรวจสอบสมมตฐิ าน รวมทั้งออกแบบการทดลองเพื่อตรวจสอบสมมตฐิ าน

กิจกรรมก่อนเรียน

1. ให้นกั เรยี นเตมิ เคร่อื งหมายถูก(/) หรือผิด(x) หน้าข้อความทก่ี าหนดให้
……………………1. การสืบพันธ์ุเป็นคุณสมบัติท่ีสาคัญที่สุดของสิ่งมีชีวิต นักวิทยาศาสตร์จัดไวรัสเป็น ส่ิงมีชีวิต

เน่อื งจากสามารถเพิ่มจานวนได้
……………………2. พชื เป็นสิง่ มีชวี ิตที่มขี นาดและอายุขยั ไม่จากดั แตกตา่ งจากสตั วท์ มี่ ีขนาดและอายุขัย จากดั
……………………3. สิ่งมีชวี ิตทกุ ชนดิ จาเปน็ ต้องได้รบั อาหารและออกซเิ จนเพือ่ ใชใ้ นกระบวนการเมตาบอลซิ ึม
……………………4. จรรยาบรรณในการศึกษาในการศึกษาทางชีววิทยา หากมีการใช้สัตว์ทดลองควรใช้สัตว์ท่ีมี

รา่ งกายซับซอ้ นนอ้ ยแทนสตั ว์ทีม่ ที มี่ ีร่างกายซับซ้อนมาก
……………………5. การสังเกตเปน็ จุดเร่มิ ต้นของการค้นพบปัญหา ผู้ที่มีความละเอยี ดรอบคอบในการ สังเกตจะ

ช่วยให้สามารถแกป้ ญั หาไดอ้ ย่างรวดเร็ว
……………………6. ทฤษฎีคือสมมติฐานที่ได้รับการตรวจสอบแล้วหลายครั้งซ่ึงเป็นจริง และสามารถนาไป

ประยุกตใ์ ช้ไดอ้ ย่างกวา้ งขวาง โดยไม่มีการโต้แย้ง
……………………7. การออกแบบการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ต้องออกแบบให้สอดคล้องกับสมมติฐานที่ต้ังไว้

เพอ่ื ให้สมมตฐิ านถกู ตอ้ งเสมอทุกครง้ั
……………………8. ชวี วิทยาต่างจากวิทยาศาสตร์คอื ประกอบดว้ ย 2 ส่วนคือ ความรู้ และ

ทักษะกระบวนการ
……………………9 การต้ังปัญหาเป็นข้ันตอนท่ีสาคัญของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ และกระบวนการออกแบบ

ทางวศิ วกรรม
……………………10 วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ และกระบวนการ ออกแบบทางวศิ วกรรม มี ข้ั น ต อ น ท่ี ส าคั ญ

เหมือนกนั

- 2 - ชีววิทยาพนื้ ฐาน ม.4
คณุ สมบัติของส่งิ มชี วี ิต
1. สิง่ มชี ีวติ มีการจดั ระบบโครงสรา้ งทแี่ น่นอน (Specific organization)
สิ่งมีชีวิตมีการจัดระบบท่ีแน่นอนเป็นผลให้สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีรูปร่างและลักษณะท่ีแตกต่างกัน
นักวิทยาศาสตร์พบว่าส่ิงมีชีวิตมีการจัดระบบของโครงสร้างคล้ ายคลึงกันดังน้ีสิ่งมีชีวิตประกอบไปด้วยเซลล์
(Cell) ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต เซลล์ทุกเซลล์จะมีองค์ประกอบท่ีเหมือนกันคือ ไซโทพลาสซึม ( cytoplasm)
ทุกอย่างจะถูกห่อหุ้มด้วยเย่ือหุ้มเซลล์ (Cell membrane) ภายใน ไซโทพลาสซึมจะมีโครงสร้างเล็กๆหลาย
ประเภท เรียกรวมกันว่า ออร์แกเนล (organells) และมีนิวเคลียสสาหรับทาหน้าที่ควบคุมการทางานของ
เซลล์ เซลล์หลายๆเซลล์ท่ีเป็นชนิดเดียวกันจะมารวมกันเป็นเน้ือเย่ือ (tissue) เพ่ือทาหน้าที่เฉพาะอย่าง เช่น
เนื้อเย่ือประสาท เนื้อเยื่อบุผิว ฯลฯ เนื้อเยื่อหลายๆชนิดจะมารวมกันเป็นอวัยวะ (organ) เช่น ปอด หัวใจ
ฯลฯ และอวัยวะตา่ งๆจะทาหน้าท่ีรวมกนั เปน็ ระบบอวัยวะ (organ system)
การจัดระเบียบในการศึกษาสิ่งมีชีวิต เมื่อการศึกษาส่ิงมีชีวิตในธรรมชาติได้ดาเนินมา
นักวิทยาศาสตร์ท่ีศึกษา ในท่ีน้ีจะขอเรียกว่า นักชีววิทยา (Biologist) ได้จัดสภาพความคงอยู่ของสิ่งมีชีวิตให้
เป็นระบบ โดยพจิ ารณาจากองคป์ ระกอบต้งั แต่ขนาดเล็กสุดไปใหญข่ ึน้ เปน็ ลาดับขนั้ ไดด้ ังนี้

ภาพที่ 1.1 การจดั ระบบภายในร่างกายของสิ่งมีชีวติ
(ดัดแปลงจาก: https://theanatomyofyourbody.wordpress.com/2015/01/23/levels-of-structural-

organization-in-the-human-body/)

Q: ทดสอบความเขา้ ใจที่ 1.1 คาช้ีแจง จงเรยี งลาดับ level of biological organization

Atoms , Ecosystem, Biosphere ,Community, Cell ,Molecule, Tissue ,Organism , Body system
, Organelle, Population

ชวี วิทยาพื้นฐาน ม.4 - 3 -

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. สง่ิ มชี ีวิตต้องการสารอาหารและพลังงาน เพือ่ ใชใ้ นกิจกรรมต่างๆของสิ่งมีชวี ติ เอง

สิ่งมีชีวิตมีการบริหารจัดการสสารและพลังงานให้เหมาะสมกับความต้องการในการดารงชีพ โดยใช้
ปฏิกิริยาทางเคมีเพ่ือเปล่ียนสารอาหาร เพื่อให้ได้พลังงานและหน่วยย่อยของชีวโมเลกุล (biomolecules) เช่น
นา้ ตาลโมเลกุลเด่ียวท่เี ป็นหนว่ ยยอ่ ยของคาร์โบไฮเดรต หน่วยยอ่ ยของชีวโมเลกุลเหลา่ นจี้ ะถกู นาส่งไปตามความ
ต้องการของแต่ละเซลล์ เพ่ือนาไปผลิตพลังงานต่อไปหรือผลิตชีวโมเลกุลต่าง ๆ ตามความต้องการของแต่ละ
เซลล์หรือแต่ละส่วนประกอบของร่างกาย กระบวนการดังกล่าวประกอบด้วยกระบวนการเปลี่ยนโมเลกุลใหญ่ให้
เป็นหน่วยย่อย (catabolism) และ การนาหน่วยย่อยมาเรียงตัวเป็นโมเลกุลใหญ่ (anabolism) เรียก
กระบวนการทงั้ สองท่ีเกดิ ข้ึนน้ีวา่ เมแทบอลซิ ึม (metabolism)

ตัวอยา่ งเช่น สัตวไ์ ดส้ ารอาหารโดยการกนิ อาหาร เชน่ กินโปรตีน แลว้ มกี ารย่อยสลายโปรตีนได้หน่วยยอ่ ย
คือ กรดอะมิโน ซ่ึงกรดอะมิโน นอกจากจะนาไปสลายเพื่อให้ได้พลังงานแล้วยังนาไปใช้ในการผลิตเป็นโปรตีน
หรือเอนไซม์ เพ่ือนาไปใช้ผลิตชีวโมเลกุลอ่ืนๆ เพ่ือการเติบโต และ ซ่อมแซมส่วนท่ีมีการเสื่อม รวมทั้งการสร้าง
สิ่งมีชีวิตหน่วยใหม่ เมื่อกรดอะมิโนและชีวโมเลกลุ อ่ืนๆ ผ่านกระบวนการเมแทบอลิซึมแลว้ จะมีของเสียเกิดข้ึนซ่ึง
ต้องมีกระบวนการเพอ่ื กาจดั ออกจากเซลล์หรอื รา่ งกายเป็นต้นสว่ น

พืชมีโครงสร้างภายในเซลล์ท่ีสามารถนาพลังงานจากแสงมาใช้ในการสังเคราะห์โมเลกุลน้าตาลได้ใน
กระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง (photosynthesis) ซง่ึ โมเลกุลนา้ ตาลที่ได้จะเปน็ สารตง้ั ตน้ สาหรับการสรา้ ง
ชีวโมเลกุลชนดิ อ่ืนๆ ตอ่ ไปไดใ้ นทานองเดียวกนั กบั เมแทบอลิซึมในสตั ว์

Q: ทดสอบความเข้าใจที่ 1.2
คาช้แี จง จงอธบิ ายความหมาย พร้อม ยกตัวอย่าง อย่างน้อย 3 ชนดิ

1. สรา้ งอาหารเองได้(Autotroph) เช่น ………………………………………………………………………………….…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. สรา้ งอาหารเองไม่ได้(Heterotroph) เช่น ………………………………………………………………………………
2.1 Herbivore ………………………………………………………………………………………………………………………
2.2 Carnivore ……………………………………………………………………………………………………………………….
2.3 Omnivore…………………………………………………………………………………………………….…………………
2.4 Scavenger………………………………………………………………………………………………………………………
2.5 Decomposer………………………………….………………………………………………………………………………

3. ส่ิงมีชีวติ มกี ารเจรญิ เติบโต มอี ายุขัยและขนาดท่ีจากัด
การเจรญิ เติบโตประกอบดว้ ยกระบวนการต่างๆ 4 กระบวนการคือ

- 4 - ชีววิทยาพน้ื ฐาน ม.4

1. การเพ่ิมจานวนเซลล์ (cell multiplication) ในส่ิงมีชีวิตท่ีเป็นเซลล์เดียวการเพ่ิมจานวนเซลล์จัด
ว่าเป็นการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ ส่วนในส่ิงมีชีวิตหลายเซลล์การเพิ่มจานวนเซลล์ถือเป็นการเจริญเติบโต
อย่างหน่งึ

2. การเพิ่มของโพรโทพลาสซึม(growth) ในส่ิงมีชีวิตเซลล์เดียวการเพ่ิมของโพรโทพลาสซึมจัดว่า
เป็นการเจริญเติบโตเม่ือเซลล์ของสิ่งมีชีวิตแบ่งเซลล์ในตอนแรกจะมีขนาดเล็กในเวลาต่อมาเซลล์สร้างสาร
ต่างๆ ได้เพม่ิ ขึน้ ให้ขนาดของเซลลข์ ยายเพ่มิ ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็

3. การเปลี่ยนแปลงเซลล์เพ่ือไปทาหน้าท่ีเฉพาะอย่าง (cell differentiation) ในสิ่งมชี ีวิตเซลล์เดียว
การเปลี่ยนแปลงรูปร่างเซลล์จะคล้ายกันเช่นมีการสร้างเซลล์ที่ทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้ดี
ส่วนในส่ิงมีชีวิตหลายเซลล์ หรือในส่ิงมีชีวิตท่ีมีการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ เซลล์ท่ีพัฒนามาจากไซโกตจะ
เปลย่ี นแปลงไปเพือ่ ทาหน้าทเี่ ฉพาะอย่าง เช่น เป็นเซลล์กลา้ มเนอื้ เซลล์ประสาท เซลล์ต่อมไรท้ อ่ เป็นตน้

4. การเกิดรูปร่างท่ีแน่นอน (morphogenesis) เป็นผลจากการเพ่ิมจานวนเซลล์ การเจริญเติบโต
และการเปลี่ยนแปลงเซลล์เพ่ือไปทาหน้าที่เฉพาะอย่าง กระบวนการเหล่านี้ทาให้ เอมบริโอสร้างอวัยวะขึ้น
อัตราเร็วในการสร้างอวัยวะแต่ละแห่งไม่เท่ากัน ทาให้เกิดรูปร่างของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดข้ึนโดยมีลักษณะ
เฉพาะตัว สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดเมื่อเจริญเติบโตระยะหน่ึงแล้วก็ตายไป อายุของส่ิงมีชีวิตแต่ละชนิดเรียกว่า
อายขุ ัย (life span) ซง่ึ แตกตา่ งกนั ไป

กข
ภาพท่ี 1.2 การเกดิ morphogenesis ของสิง่ มีชวี ิต ก. ผีเส้อื ข. กบ
ทม่ี า http://www.digitalschool.club/digitalschool/science1_2_2/science9_3/biology9_3.php
4. สงิ่ มชี ีวิตมกี ารสืบพันธ์ุ (reproduction)
เป็นการผลิตหน่วยใหม่ของส่ิงมีชีวิตเพื่อให้ดารงเผ่าพันธ์ุอยู่ต่อไป การสืบพันธ์ุระดับเซลล์เป็นการ
สังเคราะห์และสะสมสารอนินทรีย์และสารอินทรีย์ต่าง จากนั้นจึงมีการแบ่งท้ังนิวเคลียสและไซโทพลาสซึม
การแบง่ นวิ เคลยี ส มี 2 แบบ คือ
1. ไมโทซิส (mitosis) เป็นการแบ่งนิวเคลียสของเซลล์ร่างกาย นิวเคลียสของเซลล์ใหม่ท่ีได้จะ
เหมือนกับนิวเคลียสของเซลล์เดิมทุกประการ ไมโทซิสของเซลล์พืช และเซลล์สัตว์มีหลักการเหมือนกัน
แตกต่างกนั เพยี งรายละเอยี ดบางประการ

ชีววิทยาพน้ื ฐาน ม.4 - 5 -

2.ไมโอซิส (meiosis) เป็นการแบ่งนิวเคลียสของเซลล์ที่จะเจริญไปเป็นเซลล์สืบพันธุ์ในสัตว์
หรือเซลล์ที่จะเจริญเป็นสปอร์ในพืช นิวเคลียสใหม่ท่ีได้จะมีจานวนชุดของโครโมโซมลดลงจากเดิมคร่ึงหน่ึง
การสืบพันธเุ์ พอ่ื สรา้ งสิ่งมีชีวิตใหมม่ ี 2 แบบ คอื

4.1 การสืบพันธ์ุแบบไม่อาศยั เพศ (asexual reproduction) ได้แก่ การฟิสชั่น (fission) ของพารามีเซยี ม
การแตกหน่อของไฮดรา การแบ่งเซลล์ของแบคทีเรีย หรือการแตกไหลของพืชบางชนิด ซ่ึงส่ิงมีชีวิตท่ีได้จาก
การสืบพันธุ์แบบน้ีอาศัยการแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิส จึงมีข้อมูลทางพันธุกรรมเช่นเดียวกับต้นกาเนิด
การ cloning ก็ถอื เป็นการสืบพันธ์ุแบบนี้ไดเ้ ชน่ กนั

ภาพท่ี 1.3 การงอกใหม่ของพลานาเรีย ภาพท่ี 1.4 การแตกหน่อของไฮดรา

ทม่ี า: https://s-media- ทีม่ า: http://www.saburchill.com/ans02/images2/2108

heak0.pinimg.com/736x/4a/fb/23/ 07004.jpg

4afb23ee1684612aa03d7e4cd762f2a4.jpg
2. การสืบพนั ธุ์แบบอาศยั เพศ (sexual reproduction)

เกิดโดยสิ่งมีชีวิตมีการสรา้ งเซลล์สืบพันธ์ุเพศผู้ และเซลล์สืบพันธ์ุเพศเมีย ซ่ึงจะเป็นเซลล์ที่มีจานวน

โครโมโซมลดลงครง่ึ หนึ่ง เมอ่ื เกิดการรวมตัวของเซลล์สืบพันธท์ุ ั้งสองชนิด หรือ การเกิดปฎิสนธิ ( fertilization) จะได้

เซลล์ 1 เซลล์ ที่เรียกว่า ไซโกต (zygote) ซึ่งจะเจริญไปเป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ สิ่งมีชีวิตท่ีได้จากการสืบพันธ์ุ

แบบนจ้ี ะมีข้อมูลทางพนั ธุกรรมทแ่ี ตกตา่ งจากเซลลร์ ่างกายของพ่อและแม่

ภาพที่ 1.5 การสบื พนั ธแ์ุ บบอาศัยเพศของมนษุ ย์
ที่มา: http://bio1152.nicerweb.com/Locked/media
/ch13/13_05HumanLifeCycle.jpg

- 6 - ชวี วิทยาพืน้ ฐาน ม.4

Q:จทงดยสอบความเขา้ ใจที่ 1.3

คาชแ้ี จง จงตัวอย่างส่ิงมชี วี ิตท่สี ืบพันธ์ุ ตามขอ้ ความท่กี าหนด ใหอ้ ย่างน้อย 3 ชนิด

1. การแตกหน่อ (Budding)………………………………………………………………………………..………………………….
2. การงอกใหม่ (Regeneration)……………………………………….……………………………………………………………
3. การสร้างสปอร์ (Sporulation) ……………………..……………………………………………….………………………….
4. แฟรกเมนเตชัน (Fragmentation) …………………………………………………………...……………………………….
5. พารท์ ีโนจนิ ิซิส (Parthenogenesis) ………………………………………..………………….…………………………….
6. คอนจูเกชนั (Conjugation) ……………………………………………………….…………………………………………….
7. การปฏสิ นธิ (Fertilization) …………………………………………………………………………………………………….
8. การแบง่ ออกเปน็ 2 ส่วน (Binary fission)………………….………………………………………………………………

5. สง่ิ มชี ีวิตการตอบสนองต่อส่งิ เร้า (responsiveness)
ส่ิ ง มี ชี วิ ต ส า ม า ร ถ รั บ รู้ แ ล ะ ต อ บ ส น อ ง ต่ อ สิ่ ง เร้ า ห รื อ ก า ร เป ล่ี ย น แ ป ล ง ข อ ง สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ไ ด้

(responsiveness to the environment) สามารถรับรู้ว่าสิ่งใดเป็นอาหาร ส่ิงใดเป็นศัตรู รับรู้ความสว่าง
ความมืด ความเยน็ ความรอ้ น มนี า้ หรือแห้งแลง้ เพ่อื ตนเองจะได้ปรับตัวให้ตอบสนองได้ถกู ต้องและเหมาะสม
สิ่งมชี วี ิตแต่ละชนิดตอบสนองต่อสิ่งเรา้ ไม่เหมือนกัน เชน่ แมลงบางชนิดบนิ เข้าหาแสงไฟในขณะท่บี างชนิดบิน
หนีแสงไฟ โดยทั่วไปการตอบสนองของส่ิงมีชีวิตต่อสิ่งแวดลอ้ มก็เพื่อให้สามารถดารงชีวิตอยู่ได้การตอบสนอง
ตอ่ สงิ่ เร้าของส่ิงมีชวี ติ ใดอาจจะเกิดข้นึ ทันทีทนั ใด เช่น ผเี ส้อื กลางคนื บินหนีเมอื่ สามารถรบั รู้ไดว้ ่ามคี า้ งคาวบิน
อยู่ใกล้เคียง หรือเรารับลูกบอลทันทีที่มีคนโยนลูกบอลมาที่เรา ซ่ึงเป็นการทางานอย่างรวดเร็วของระบบ
ประสาทของสัตว์ การตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมอาจค่อยเป็นค่อยไปและเปลี่ยนไปตามฤดูกาล เช่น ฝูงนก
นางแอ่นอพยพไปยังที่อบอุ่นกว่า เม่ือช่วงเวลากลางวันส้ันลงในฤดูหนาว ซึ่งเป็นการทางานของระบบต่อมไร้
ทอ่ ร่วมกับระบบประสาทของสัตว์

นอกจากการตอบสนองต่อส่ิงเร้าที่อยู่ในสง่ิ แวดล้อมภายนอกแล้วส่ิงมีชีวติ ยังสามารถตอบสนองต่อส่ิง
เร้าภายในร่างกายได้อีกด้วย เช่น เมื่ออากาศร้อน เหงื่อออกมาก ปริมาณน้าในร่างกายลดลง ปริมาณน้าใน
รา่ งกายท่ีลดลงนี้จะเป็นส่ิงเร้าไปกระตุ้นให้รู้สึกกระหายน้า ด้วยการตอบสนองโดยการดื่มน้า เม่ือได้รับน้ามา
ทดแทนน้าที่หายไป เราก็จะเลิกตอบสนองต่อการกระหายน้า สิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่ตอบสนองส่ิงเร้าภายใน
ร่างกายเพื่อให้สภาพแวดล้อมภายในร่างกายอยู่ในภาวะ homeostasis ซ่ึงเหมาะสมต่อการทางานของ
เอนไซม์ในกระบวนการเมแทบอลซิ ึมของร่างกาย ดงั น้นั การตอบสนองต่อสิ่งเร้าจงึ เป็นเสมอื นกบั ระบบควบคุม
การทางานของร่างกายให้เป็นปกติอยู่เสมอ

ชีววิทยาพนื้ ฐาน ม.4 - 7 -

6. ส่ิงมีชีวิตมีการปรับตวั ใหเ้ ขา้ กับส่ิงแวดลอ้ ม (adaptation)
การปรับเปล่ียนตัวเองเกิดข้ึนเพ่ือให้สามารถดารงชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม

ซ่ึงส่ิงมีชีวิตแต่ละชนิดก็มีวิธีการเฉพาะตัวในการปรับตัว ซึ่งการปรับตัว นี้นอกจากจะนาเอาสารและพลังงาน
จากสิ่งแวดล้อมมาเพ่ือใช้ดารงชีวิตแล้วยังมีการปรับเพื่อ การสืบพันธุ์การเจริญ เพื่อให้มีโอกาสมีลูกหลาน
ต่อไปในแต่ละรุ่นของส่ิงมีชีวิตชนิดใดๆ จะผ่านกระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติ หรือ natural selection
โดยแต่ละรุ่น สิ่งมีชีวิตแต่ละตัวหรือแต่ละต้นที่มีลักษณะที่เหมาะสมกับส่ิงแวดล้อมในแหล่งที่อยู่อาศัยนั้น
มากกว่าตัวอื่น จะมีโอกาสอยู่รอดเพื่อผลิตลูกหลานได้ดีกว่าส่ิงมีชีวิตชนิดเดียวกันที่มีลักษณะท่ีเหมาะสมกับ
ส่ิงแวดล้อมน้ันๆ น้อยกว่า เมื่อผ่านไปหลายๆ รุ่น จึงพบส่ิงมีชีวิตที่มีลักษณะเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่ใช้
ดารงชวี ิตนน้ั ๆ มากข้ึน

การปรับตัวเป็นกระบวนการที่สาคัญในการเกิดวิวัฒนาการของส่ิงมีชีวิต เช่น หมีขาวที่อาศัยใน
แถบขั้วโลก มีขนหนาสีขาวเพ่ือให้ร่างกายอบอุ่นและกลมกลืนกับสีขาวของหิมะ ยีราฟ ในอดีตจากซาก
ฟอสซิลพบว่า มีคอส้ัน ต่างจากยีราฟในปัจจุบันท่ีคอยาวช่วยทาให้กินใบไม้ท่ีอยู่บนต้นไม้สูงได้โดยไม่
จาเป็นต้องไปแย่งอาหารกับสัตว์กินพืชชนิดอื่น พืชทะเลทรายลดจานวนและขนาดของใบลงเพื่อป้องกันการ
สญู เสยี น้าซง่ึ เป็นปจั จยั จากัดในทะเลทราย

7. สิ่งมีชีวิตมีการรกั ษาดุลยภาพของรา่ งกาย (homeostasis)
ส่ิงมีชีวิตสามารถดารงชีวิตอยู่ได้แม้มีการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมท่ีเกิดอย่างต่อเน่ือง เช่น การ

เปลี่ยนแปลงของแสงและอุณหภูมิในแต่ละช่วงของวันการที่สิ่งมีชีวิตยังคงดารงชีวิตอยู่ได้นั้นเกิดเพราะ
สิ่งมีชีวติ สามารถรักษาภาวะธารงดุลภายในร่างกาย (homeostasis) ไวไ้ ด้

Homeostasis หมายถึง การท่ีสิ่งมีชีวิตสามารถรักษาสภาพแวดล้อมภายในร่างกายให้อยู่ในสภาพ
สมดุลได้ แม้ว่าสภาพแวดล้อมภายนอกจะเปล่ียนแปลงไป แต่อย่างไรก็ดีการรักษาสภาพสมดุลสาหรับแต่ละ
ปัจจัยในสภาพแวดล้อมของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดน้ันทาได้ภายในขอบเขตจากัด กล่าวคือการเปล่ียนแปลงของ
สภาพแวดล้อมน้ันๆ จะต้องไม่น้อยหรือมากไปกวา่ ขอบเขต (range) ที่ส่ิงมชี ีวิตจะสามารถรักษาสภาพภายใน
ไว้ได้ ตัวอย่างเช่น คนเรามีกลไกการรักษาอุณหภูมิของร่างกายปกติท่ีอุณหภูมิประมาณ 36 – 38 ๐C ถ้า
อุณหภูมิร่างกายสูงข้ึนกว่าปกติ เช่น เมื่ออยู่บริเวณอากาศร้อนหรือออกกาลังกาย ก็จะระบายความร้อนออก
โดยการขับเหงื่อ เพ่ือให้อุณหภูมิร่างกายอยู่ในภาวะปกติ หรือเม่ืออุณหภูมิร่างกายลดลงกว่าปกติ เช่น เมื่ออยู่
ในบริเวณท่ีมีอากาศเย็น ก็จะเพิ่มอุณหภูมิในร่างกาย โดยเพ่ิมอัตราเมแทบอลิซึม หรือเมือ่ พืชอยู่ในสภาพแล้ง
ปากใบของพชื กจ็ ะปดิ เพ่ือป้องกันการสูญเสียนา้

- 8 - ชวี วิทยาพ้นื ฐาน ม.4

ชีววิ ภาพท่ี 1.6 การเปิด-ปดิ ปากใบของพชื
ทม่ี า: http://www.cpiagrotech.com/knowledge-076/

แหล่งเรียนร้เู พ่ิมเตมิ

ขอ้ มูลสว่ นตัวนักเรียน สดั สว่ นคะแนนชวี วทิ ยาพื้นฐานพน้ื ฐาน การตอบสนองของกระสนุ พระอนิ ทร์

ชีววิทยาพ้นื ฐาน ม.4 - 9 -

Q: ทดสอบความเขา้ ใจท่ี 1.4 เร่อื ง ธรรมชาติของสิง่ มชี ีวติ

1. จงนาตวั อกั ษรทก่ี าหนดให้มาเตมิ ลงในชอ่ งวา่ งที่กาหนดให้ A การเจริญเติบโต

1……… ลกู ออ๊ ดมีลักษณะแตกต่างจากตวั เตม็ วยั B การสืบพันธุ์
2………แมวเลียองุ้ เทา้ ในชว่ งที่มีอากาศร้อน C การจัดระบบในสง่ิ มชี วี ติ
3……… การยกเทา้ หนีทันทีเม่ือเหยยี บของมีคม D การตอบสนองต่อส่ิงเร้า
4……… ไซเล็ม และโฟลเอม็ เป็นเน้อื เย่อื ทชี่ ว่ ยในการลาเลียงของพชื E มีการควบคุมสมดลุ ในร่างกาย
5……… ไขข่ องผ้ึงเจรญิ เป็นตวั ได้ แม้ไมม่ ีการปฏสิ นธิ
6……… แมวมีอายุไขประมาณ 25 ปี
7……… นักว่ิงมาราธอนด่มื น้าและเกลือแร่ หลงั แข่งขัน
8……… เสอื ว่ิงไลม่ า้ ลายในทุ่งหญา้
9……… การสะบน้ั เม่ือในบริเวณท่มี ีอากาศหนาวเย็น
10……..ตับอ่อน สร้างเอนไซน์และฮอรโ์ มน เกี่ยวข้องกับระบบยอ่ ยอาหารและระบบต่อมไร้ท่อ

คาสั่ง จงเติมคาลงในชอ่ งว่าง

2. นักเรยี นจะมีวธิ ีการในการตรวจสอบวา่ ส่งิ ๆ นัน้ เปน็ สงิ่ มชี ีวติ หรือไม่ ได้อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. อธบิ ายความสมั พันธร์ ะหวา่ ง metabolism, catabolism และ anabolism
........................................................................................................................................... ......................
.................................................................................................................................................................

............................................................................................. ....................................................................
................................................................................................................................................................
4. reproduction แบง่ เป็น ………………แบบ sexual reproduction และ sexual reproduction คือ
อะไร จงอธิบายความแตกต่าง พรอ้ มยกตวั อย่าง ประกอบ
………………………………………………………………………………………………………………………….……………………
…………………...…………………………….………………………………………………………………………..…………………
………………….……………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………….…………………………………………………………

- 10 - ชวี วิทยาพื้นฐาน ม.4

5. นักเรยี นจงสงั เกตการณ์เปล่ยี นแปลงของสิ่งมชี วี ติ ในแผนภาพขา้ งลา่ งน้ี

การเปล่ยี นแปลงของส่งิ มชี ีวิตในภาพ ก.และ ข. มีลักษณะท่ีเหมือนหรอื แตกต่างกันอย่างไร
การงอกใหม่ของสตั ว์ทง้ั 2 จัดเปน็ การสืบพนั ธห์ุ รอื ไม่
………………………………………………………………………………………………………………………….…………………
……………...…………………………….……………………………………………………………….…………..…………………
……….……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………….………………………………………………………………………………………………
6. development ในสิ่งมีชวี ิตมีกระบวนการใดบ้าง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
7. หลงั จากออกกาลงั กาย ร่ายกายมีการสูญเสียน้าออกมาในรูปเหง่ือ จากนั้นจงึ รสู้ ึกกระหายน้า
นักเรียนคดิ ว่าสถานการณ์ดงั กลา่ วเกยี่ วข้องกับสมบัติของสง่ิ มีชวี ิตขอ้ ใด จงอธบิ าย
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
8. จงบอกความหมายของวชิ าชีววิทยา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
9. จงยกตัวอย่างวชิ าแขนงต่างๆ หรือวชิ าเฉพาะดา้ นทางชีววิทยา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ชีววิทยาพื้นฐาน ม.4 - 11 -

10. จงบอกความหมาย ของชวี วิทยากบั การดารงชวี ิต พรอ้ มทั้งยกตัวอยา่ งสถานการณ์ประกอบ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

11. การซอื้ ขายอวยั วะของมนุษย์ การขโมยอวัยวะของมนุษย์ เพอ่ื ประโยชนท์ างดา้ นการแพทยใ์ นการ

รักษาคนไข้ ผิดหลกั ชีวจรยิ ธรรมหรือไม่อยา่ งไร ให้นักเรยี นวเิ คราะหถ์ ึงสาเหตุและผลกระทบทเี่ กิดขึ้น

โดยใหเ้ หตผุ ลประกอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

12. .สารใดไมใ่ ชส่ ารพันธกุ รรมของส่งิ มชี ีวติ

ก. RNA ข. Nucleic acid ค. Protein ง. DNA

13. สาเหตทุ ่ีจัด ไวรสั และไวรอยด์ เปน็ สิ่งมชี ีวิต เนอ่ื งจากคุณสมบัตขิ ้อใด

ก. ประกอบด้วยโปรตนี

ข. มีเย่ือห้มุ เซลล์

ค. สามารถเพ่ิมจานวนตัวเองไดเ้ ม่อื อยู่ในเซลลต์ ัวให้อาศัย

ง. ประกอบด้วย DNA และRNA

14. ข้อใดเปน็ การสืบพนั ธแุ์ บบไม่อาศยั เพศ (asexual reproduction)

ก. Parthenogenesis และ Binary ข. Conjugation และ Fertilization

ค. Binary และ Budding ง. Conjugation และ Parthenogenesis

15. การทดลองเกี่ยวกบั อทิ ธิพลและบทบาทของฮอร์โมนออกซิน (auxin) ต่อการเจรญิ เตบิ โตของพชื เป็น

การศกึ ษาชีววทิ ยาแขนงใด

ก. สรีรวิทยา ข.กายวิภาคศาสตร์

ค. ชวี เคมี ง.อนุกรมวิธาน

16. คาถามการศึกษาเก่ียวกับแบคทเี รีย ไวรัส อยู่ในแขนงใดของชีววิทยา

ก. Histology ข. Parasitology

ค. Microbiology ง. Acarology

- 12 - ชวี วิทยาพ้ืนฐาน ม.4

17. กระบวนการใด พบเฉพาะในส่งิ มชี วี ติ

ก. การใชพ้ ลังงาน ข. การปลอ่ ยของเสยี

ค. Metabolism ง. การเคลื่อนไหว

18. กลมุ่ ของสง่ิ มชี วี ติ ชนดิ เดยี วกัน อาศยั อยู่บรเิ วณหนึง่ บริเวณใดในช่วงหนึ่ง เรียกว่าอะไร

1= ประชากร (population) 2 = สกุล(genus) 3 = กลุม่ สิ่งมชี วี ิต (community)

ก. ข้อ 1 ข. ขอ้ 2

ค. ข้อ 3 ง. ขอ้ 1และ3

19. สตั วใ์ นขอ้ ใด ท่ีมโี อกาสทาให้ลูกมีลักษณะพนั ธุก์ รรมเหมือนเดมิ

ก. ผึง้ มด ข. พยาธิตัวตืด พยาธิใบไม้

ค. ดาวทะเล ปลิงทะเล ง. ไฮดรา แมงกะพรุน

20. ไวรสั มีสารใดเปน็ องคป์ ระกอบ(1 คะแนน)

ก. RNA ข.DNA

ค.Nucleic acid และ Protein ง.Protein

21. “คัพภะวทิ ยา” เป็นการศึกษาเก่ยี วกับ

ก. ลักษณะของสิง่ มีชีวติ

ข. พฤตกิ รรมของสง่ิ มชี วี ิต

ค. โครงสร้างรา่ งกาย

ง. พัฒนาการของเอม็ บรโิ อ

22. วิวัฒนาการเกดิ ขนึ้ ได้เรว็ ในส่งิ มีชวี ติ ท่สี บื พันธ์ุแบบอาศัยเพศมากกว่าพวกทส่ี ืบพันธแ์ุ บบไมอ่ าศยั เพศ

เปน็ เพราะเหตใุ ด

ก. ผลิตลกู หลานได้มากกวา่

ข. มโี อกาสอยู่รอดไดด้ ีกว่า

ค. ก่อใหเ้ กดิ การแปรผันทางพันธุกรรมได้มากกวา่

ง. กอ่ ใหเ้ กดิ มิวเตชันของยีนได้มากกว่า

23. การสืบพันธุของสง่ิ มชี ีวติ ในข้อใดท่ลี ูกมีโอกาสแตกตา่ งไปจากพ่อแม่มากทสี่ ุด

ก. มะมว่ งที่เจรญิ มาจากการเพาะเมล็ด

ข. มะม่วงท่ีเจรญิ มาจากการกิง่ ตอน

ค. หน่อของไฮดราที่แยกมาตัวเดิม

ง. พารามเี ซยี มที่แบ่งตัวออกเปน็ 2 ตัวเทา่ ๆกัน

24. การสบื พันธแุ บบไม่อาศยั เพศ(Asexual reproduction) แบบใดท่เี หมาะสมทส่ี ดุ สาหรบั การดารงชีวติ

ในสภาพแวดล้อมบนบก

ก. การแบง่ ออกเป็นสอง สว่ นเทา่ ๆกนั

ข. การสรา้ งสปอร์

ค. การแตกหน่อ

ง. 1 หรือ 2 หรือ 3 ก็ได้

ชวี วิทยาพืน้ ฐาน ม.4 - 13 -

25. ขอ้ ใดท่ีเกี่ยวข้องกับการเพิม่ ความหลากหลายทางพนั ธกุ รรมของส่งิ มีชวี ิต

1. ทาใหป้ ระชากรของสงิ่ มชี ีวติ มีขนาดใหญ่ข้นึ

2. ทาให้ส่ิงมีชีวติ มีสุขภาพดีและอายยุ นื ยาวขึ้น

3. ทาให้ส่งิ มีชวี ติ ปรับตวั และเพิม่ ความอยูร่ อด

4. ทาใหส้ ่ิงมชี วี ิตมีความสามารถสูงเหมอื นกนั

5. ชว่ ยรกั ษาสมดลุ ให้ระบบนเิ วศ

ก. 1 และ 3 ค. 3 และ 5

ข. 2 และ 4 ง. 1, 3และ5

26. ความแตกต่างของนวิ โอไทด์ใน DNA ของสิง่ มชี วี ิตสนบั สนนุ แนวความเช่ือในขอ้ ใด

1. ความสัมพันธ์ใกลช้ ดิ ของส่ิงมีชีวติ

2. การเกดิ ววิ ฒั นาการ

3. ความแตกต่างของฟโี นไทป์

ก. ข้อ 1 ค. ขอ้ 1 และ 2

ข. ข้อ 2 และ 3 ง. ข้อ 1 ,2 และ 3

27. หลักฐานใดท่ีบ่งให้ทราบว่า สิ่งมชี ีวติ สองชนิดมีลาดบั ววิ ฒั นาการใกลเ้ คยี งกนั มากที่สดุ

ก. หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์ของสิ่งมีชวี ติ

ข. หลกั ฐานการเปรยี บเทยี บโครงสร้าง

ค. หลักฐานทางการเจรญิ เตบิ โตของเอมบรโิ อ

ง. หลกั ฐานการศึกษาในระดบั โมเลกุล

28. ส่ิงมชี ีวติ ทอ่ี าศัยในแหล่งท่ีอยู่แบบใด ทมี่ ปี ัญหาเรอื่ งการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดลอ้ มน้อยทสี่ ุด

ก. ในทะเลทราย ค. ในมหาสมุทร

ข. ในปา่ โปรง่ ง. บริเวณชายฝ่งั

29. การจาศลี ของสตั วเ์ ป็นการกระทาเพอ่ื กาจดั ปัญหาเกี่ยวกบั

ก. ชะลอการเพ่ิมจานวนประชากร

ข. พักผอ่ นร่างกายให้ชว่ งชวี ิตยนื ยาวข้นึ กว่าเดมิ

ค. ปรับและรักษาสภาวะสมดุล ของระบบต่างๆภายในรา่ งกาย

ง. หลบหลกี สภาวะขาดแคลนอาหารและสภาพภูมิอากาศที่ไม่เหมาะสม

30. การท่ีมีจานวนตั๊กแตนเป็นจานวนมากข้ึน และฝูงต๊ักแตนนี้อพยพผ่านไปในที่มีต้นไม้เขียว ก็เกิดการ

กดั กินจนราบเรียบ ผลจากปรากฏการณ์นี้ทาให้เกิดขอ้ ใดมากที่สุด

ก. การคดั เลือกตามธรรมชาติ ค. การแปรผนั ในรุน่ ลูก

ข. การเสยี สมดลุ ในธรรมชาติ ง. การเปลีย่ นโครงสรา้ งในพชื

- 14 - ชีววิทยาพน้ื ฐาน ม.4

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 การศกึ ษาชีววทิ ยา

ชวี วิทยา (Biology) คือ ศาสตรแ์ ขนงหน่ึงของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ที่ศึกษาเกี่ยวกับเรือ่ งต่าง ๆ ของ
สง่ิ มีชีวิตชนดิ ต่าง ๆ อยา่ งมเี หตุและผล โดยจะใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการศึกษาคน้ คว้าอย่างมีเหตุ
มผี ลในทกุ แง่ทกุ มุมของส่ิงมชี ีวติ โดยละเอยี ด

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
เม่อื นกั เรยี นเรียนจบแลว้ นักเรียนสามารถ

1. อธบิ ายวิธีทางวิทยาศาสตร์ และยกตัวอย่างนกั วิทยาศาสตร์ของไทยและผลงานที่ศกึ ษา

2. อภปิ รายและระบคุ วามสาคญั ของการตง้ั ปญั หา ความสัมพันธร์ ะหว่างปัญหา สมมฐิ าน

และวิธีการตรวจสอบสมมตฐิ าน

3. ออกแบบและดาเนินการทดลองตามวธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์

แบบทดสอบก่อนเรียน

คาชี้แจง จงเติมเครอื่ งหมาย(/)หน้าข้อท่ีถูกและเตมิ เครือ่ งหมายผดิ (x)หน้าข้อทผี่ ดิ
……………… 1. ในการวจิ ัยทางวทิ ยาศาสตร์ เพ่ือแก้ขอ้ สงสัยว่าคนทีบ่ ริโภคอาหารทะเลมโี อกาสเปน็ โรคคอ
พอกน้อยกวา่ คนที่ไม่รบั ประทานอาหารทะเล ควรเรมิ่ ตน้ โดยการเก็บข้อมลู และวิเคราะห์ข้อมลู
……………… 2. ข้อมลู ทไี่ ด้จากการสงั เกต และสืบคน้ ข้อมลู มีความสาคญั ต่อการตงั้ สมมุตฐิ าน
……………… 3. การตรวจสอบความถูกตอ้ ง ของทฤษฏีเป็นข้ันตอนหน่ึงในวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์
……………… 4. สรีรวิทยา(Physiology) เปน็ สาขาของชีววทิ ยาท่ศี กึ ษาโครงสร้างรา่ งกาย
……………… 5. การพนั ของมือเกาะของต้นตาลงึ เปน็ การตอบสนองตอ่ สงิ่ เร้าของพืช
……………….6. การออกแบบวิธีการตรวจสอบสอบสมมติฐาน เปน็ ขน้ั ตอนที่สาคัญในกระบวนการ

ออกแบบเชิงวศิ วกรรม
……………….7. ถ้าพืช A เปน็ พชื ทนเคม็ ดังน้ันพืช A จะเจริญไดด้ ใี นบรเิ วณป่าชายเลนซง่ึ ดนิ มปี ริมาณของ

เกลือ NaCl เยอะ ตวั แปรต้นคอื การเจริญเติบโตของพืช A และตวั แปรตามคือปริมาณ
NaCl ท่ีพืชได้รับ
……………….8. ทดลอง เลยี้ งปลา 2 กลุม่ เปน็ ปลานลิ สายพนั ธเุ์ ดียวกนั มอี ายุ ขนาดเท่ากัน เลยี้ งใน
บอ่ ท่ลี ักษณะเดียวกนั ใหอ้ าหารสตู รเดยี วกนั แตว่ ิธใี นการใหอ้ าหารแตกต่างกัน
กลุ่มท่ี 1 ใหอ้ าหารวนั ละ 1 ครงั้ กลุ่มท่ี 2 ให้อาหารวนั ละ 3 คร้ัง แต่ละคร้ังมปี รมิ าณ
อาหารเพียง 1/3 เท่าที่กลุ่มที่ 1 ได้รบั จากน้นั สุ่มน้าหนกั ปลาท้งั 2 กลมุ่ มาช่ังทกุ ๆ สัปดาห์
เป็น ระยะเวลา 5 สัปดาห์ ตัวแปรต้นคอื จานวนครง้ั ในการให้อาหารต่อวัน
……………….9. มีนวทิ ยา (Ichthyology) เป็นสาขาของชีววทิ ยาทศ่ี ึกษาเกย่ี วกับแมลง
………………10. คพั ภะวทิ ยา (Embryology) ศึกษาเก่ยี วกับตวั ออ่ นของสิง่ มีชวี ิต

ชีววิทยาพน้ื ฐาน ม.4 - 15 -

คาว่า ชีววิทยา (Biology) เป็นคาที่มาจากภาษากรีก จากคาว่า “bios” ท่ีแปลว่า ส่ิงมีชีวิต และ “logos” ท่ี
แปลว่า วิชา หรือการศึกษาอย่างมีเหตุผล เนื่องจากแต่ละเร่ืองในเน้ือหาของชีววิทยามีกระบวนการและ
ขน้ั ตอนการศึกษาท่ีค่อนข้างยุง่ ยากและซับซ้อนมีหลายขั้นตอน ชีววิทยาจงึ แตกแขนงเป็นสาขาวิชาต่าง ๆ อีก
มากมาย
การศึกษาชีววิทยาในแขนงต่าง ๆ

วชิ าชีววิทยาเป็นศาสตรส์ าขาชีวภาพ ทป่ี ระกอบด้วยสาขาวิชามากมาย ตวั อยา่ งเช่น
1) การศกึ ษาส่ิงมีชวี ติ และกลุ่มของสิ่งมีชีวติ

1.1 สตั ว์มกี ระดูกสนั หลัง (vertebrate)
1.2 สัตว์ไม่มกี ระดกู สนั หลัง (invertebrate)
1.3 วทิ ยาหนอนพยาธิ (Helminthology) ศึกษาเกยี่ วกับหนอนพยาธิ
1.4 สงั ขวิทยา (Malacology) ศกึ ษาเกีย่ วกับหอย
1.5 กฏี วทิ ยา (Entomology) ศกึ ษาเกี่ยวกับแมลง
1.6 มนี วทิ ยา (Ichthyology) ศึกษาเกย่ี วกบั ปลา
1.7 ปกั ษวี ิทยา (Ornithology) ศกึ ษาเกย่ี วกับนก
1.8 วิทยาเหบ็ ไร (acrology) ศกึ ษาเกยี่ วกับเห็บและไร
2) พฤกษศาสตร์ (botany) ศึกษาเรอ่ื งราวตา่ ง ๆ ของพืช เชน่
2.1 พืชชน้ั ต่า (lower plant)
2.2 พชื มที อ่ ลาเลียง (vascular plant)
2.3 พชื มดี อก (angiosperm)
3) จุลชีววิทยา (microbiology) คือการศกึ ษาเรอื่ งราวตา่ ง ๆ ของจุลนิ ทรีย์ เช่น
3.1 ราวิทยา (mycology) ศึกษาเกี่ยวกบั รา เห็ด ยสี ต์
3.2 ไวรสั วทิ ยา (Virology) ศึกษาเกยี่ วกับไวรัส
3.3 แบคทเี รียวทิ ยา (Bacteriology) ศกึ ษาเก่ียวกบั แบคทเี รีย
3.4 วิทยาสตั ว์เซลล์เดยี ว (Protozoology) ศึกษาเก่ียวกับโพรโทซัว
4) การศึกษาจากโครงสร้างหน้าทแี่ ละการทางานของส่ิงมชี วี ิต
4.1 สัณฐานวทิ ยา (Morphology) ศกึ ษาเกย่ี วกับโครงสร้าง รูปร่างของรา่ งกายและ อวัยวะต่าง ๆ
4.2 กายวภิ าคศาสตร์ (Anatomy) ศกึ ษาเกยี่ วกบั โครงสร้างและอวัยวะ ต่าง ๆ ภายในรา่ งกาย
4.3 สรีรวทิ ยา (Physiology) ศกึ ษาเก่ยี วกับการทางานของอวัยวะตา่ ง ๆ ภายในร่างกาย
4.4 ชีวเคมี (Biochemistry) ศกึ ษาเกย่ี วกับโครงสร้างและการเปลย่ี นแปลงสารชวี โมเลกลุ สง่ิ มชี วี ติ
4.5 เซลล์วิทยา (Cytology) ศึกษาเก่ียวกบั เซลล์ของสิ่งมชี ีวติ
4.6 นเิ วศวิทยา (Ecology) ศึกษาเกยี่ วกับความสมั พันธ์ของกลุม่ สิ่งมชี ีวิต และสิง่ แวดล้อม
4.7 พนั ธศุ าสตร์ (Genetics) ศกึ ษาเกีย่ วกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
4.8 ปรสติ วิทยา (Parasitology) ศึกษาเกยี่ วกับความสัมพันธ์ระหวา่ งปรสิต ต่าง ๆ และโฮสต์
4.9 คพั ภะวิทยา (Embryology) ศึกษาเกี่ยวกับตัวอ่อนของส่งิ มีชีวิต
4.10 มญิ ชยวทิ ยาหรือเน้ือเย่ือวิทยา (histology) ศึกษาลักษณะของเน้อื เยื่อ ทง้ั ทางดา้ น โครงสรา้ งและ

หนา้ ท่กี ารทางาน

- 16 - ชวี วิทยาพน้ื ฐาน ม.4

5) การศกึ ษาเร่ืองราวของส่ิงมชี ีวติ
5.1 อนกุ รมวธิ าน (Taxonomy) ศกึ ษาเก่ียวกบั การ จดั จาแนกสงิ่ มีชวี ติ ออกเป็นหมวดหมู่
5.2 วิวฒั นาการ (Evolution) ศึกษาเกยี่ วกบั การเปลย่ี นแปลงของสง่ิ มีชีวติ ตัง้ แตอ่ ดีตจนถึงปัจจบุ ัน
5.3 บรรพชีวนิ วทิ ยา (Paleontology) ศึกษาเก่ยี วซากโบราณของสิ่งมชี วี ติ

ชวี วิทยากับการดารงชีวิต
ในการดารงชีวิตของมนุษย์ เช่น การดูแลสุขภาพของร่างกายการป้องกันรกั ษาโรค การผลิตอาหาร

การอนุรักษ์ส่ิงแวดลอ้ ม การประกอบอาชพี การเรียนรู้เกี่ยวกบั ร่างกายของคน การรจู้ ักพฤติกรรมของสัตว์
ต่าง ๆ ล้วนมีความเกี่ยวข้องกับชีวิวิทยาท้ังสิ้น นักวิชาการซ่ึงเป็นผู้เชี่ยวชาญแต่ละสาขาได้ใช้กระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ในการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต จึงทาให้ได้พันธ์ุของส่ิงมีชีวิตหรือผลผลิตตามความ
ต้องการ เช่น พันธ์ุพืชท่ีต้านทานโรคและแมลงผลไม้ท่ีมีรสชาติอรอ่ ย ผลที่มีขนาดใหญ่ สัตว์ที่เจริญเติบโต
เร็ว ให้ผลิตภัณฑ์ในปริมาณมาก เช่น นม หรือไข่ ทาให้มนุษย์มีอาหารอย่างพอเพียงหรือเป็นสินค้าทา
รายได้เป็นอย่างดี ถ้าได้ติดตามการทางานตามโครงการพระราชดาริ โครงการส่วนพระองค์ หรือโครงการ
หลวง ทาให้ทราบวา่

มีการขยายพันธุ์พืชที่ควรอนุรักษ์ โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือ เช่น ขนุนไพศาลทักษิณและการ
ปรบั ปรงุ พนั ธุ์ เชน่ เมลด็ ถวั่ แดงหลวงจากเมล็ดทมี่ ขี นาดเลก็ ใหไ้ ดเ้ มลด็ ที่มขี นาดใหญข่ นึ้

นักวิชาการทางด้านการเกษตร ได้พัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพต่าง ๆ มาใช้ให้เกิดประโยชน์อีก เช่น
การถ่ายฝากตวั ออ่ นของสตั ว์การผลิตปุ๋ยชีวภาพ การผสมเทียมปลา ฯลฯ

การศึกษาวัฎจักรชีวิตและโครงสร้าง รูปร่างลักษณะและพฤติกรรมของส่ิงมีชีวิตชว่ ยให้สามารถเข้าใจ
การปรับตัวจากสิ่งมีชีวิตนาไปสู่การศึกษาวิจัยตัวยาท่ีนาใช้รักษาโรค และวิธีป้องกันโรคเทคโนโลยีชีวภาพ
สมัยใหม่ทางการแพทย์ส่วนใหญไ่ ดม้ าจากความรู้ทางชีววิทยา การศึกษาในปัจจบุ ันก้าวหน้าจนสามารถตดั ต่อ
ยืนจากสิ่งมีชีวิต ในกระบวนการพันธุวิศวกรรม (genetic engineering) ซึ่งนามาใช้ทางการแพทย์ เช่น
สามารถใช้ยีสต์ผลิตฮอร์โมนอินซูลินเพ่ือรักษาโรคเบาหวาน สามารถใช้สุกรสร้างโกรทฮอร์โมน (GH :
Growth hormone) เพ่ือรกั ษาเด็กท่ีมีความสูงหรอื ต่ากว่าปกติ และใช้ยีนบาบัด (gene therapy) ในการ
รักษาโรคทางพันธุกรรมบางชนดิ เปน็ ต้น

ความรู้จักการศึกษาคุณลักษณะของพืชชนิดต่าง ๆ โดยแพทย์แผนโบราณสามารถนามาปรุงยา
สมุนไพรใช้รกั ษาโรค นับเป็นภูมิปัญญาไทยท่ีนา่ ภาคภูมิใจ และปัจจุบันไดม้ ีการศึกษาวิจัยผลิตภัณฑ์เหล่านีใ้ ห้
ไดม้ าตรฐานสากล

การเรียนรู้เร่ืองราวเก่ียวกับร่างกายของเรา ทาให้เข้าใจการทางานของอวัยวะต่าง ๆ และเข้าใจ
วิธีการดูแลรักษาสุขภาพของตนและผูใ้ กลช้ ิด ความรทู้ างชีววิทยาอาจนามาใช้ในการขยายพนั ธ์ุสัตวเ์ ศรษฐกิจ
และอนุรกั ษส์ ตั วท์ ่หี ายาก เชน่ การโคลน (cloning) สัตวช์ นิดตา่ ง ๆ

ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม ทาให้เราตระหนักถึงความสาคัญของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อ
มวลมนษุ ยชาติ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวภูมพิ ลอดุลยเดชฯ ทรงค้นพบว่า หญา้ แฝกเปน็ พชื ท่ีมีรากยาว
มาก แข็งแรงและหนาแน่น สามารถปลูกเพื่อช่วยป้องกันการกัดเซาะและการพังทลายของดินได้

การขาดความร้ทู างด้านชวี วิทยา เกี่ยวกบั การดูแลรักษาสง่ิ แวดล้อมก็จะนาไปสปู่ ญั หาส่ิงแวดล้อม มี
ผลเสียต่าง ๆ ดังเหตุการณ์อุทกภัยที่เกิดข้ึนท่ีอาเภอวังชิ้นจังหวัดแพร่ ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2544 ถ้า
วิเคราะห์แล้วจะพบว่า สาเหตุสาคัญเน่ืองมาจากการตัดไม้ทาลายป่า นักอนุรักษ์จึงต้องช่วยกันรณรงค์ให้

ชีววิทยาพน้ื ฐาน ม.4 - 17 -

ประชาชนเข้าใจถึงความสาคัญของป่า ซ่ึงเป็นแหล่งของต้นน้าลาธาร และแหล่งซับน้าในดินถ้าเราไม่ช่วยกัน
ควบคมุ ดูแลภยั ต่าง ๆ ก็จะบังเกิดข้ึน
ชีวจริยธรรม

หมายถึงการปฏิบัติต่อสิ่งมีชีวิตอย่างมีคุณธรรม ไม่ทาร้าย หรือทาอันตรายต่อสัตว์หรือมนุษย์เพื่อ
การศึกษาหรือการวิจัย จรรยาบรรณในการใช้สัตว์ทดลอง สานักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ ได้
กาหนดจรรยาบรรณการใช้สตั ว์เพอ่ื งานวิจยั งานสอน งานทดสอบ และงานผลิตชีววตั ถไุ ว้ ดังน้ี

1. ผู้ใช้สตั วต์ อ้ งตระหนกั ถึงคุณค่าของชีวติ สัตว์
2. ผู้ใช้สัตวต์ ้องตระหนกั ถึงความแมน่ ยาของผลงานโดยใชส้ ัตว์จานวนนอ้ ยทีส่ ุด
3. การใชส้ ัตวป์ ่าต้องไม่ขดั ต่อกฎหมายและนโยบายการอนุรักษป์ ่า
4. ผูใ้ ช้สตั วต์ อ้ งตระหนกั ว่าสตั ว์เปน็ สง่ิ มีชวี ติ เชน่ เดียวกบั มนุษย์
5. ผูใ้ ชส้ ตั วต์ ้องบนั ทกึ การปฏิบัตติ ่อสัตว์ไว้เปน็ หลกั ฐานอย่างครบถว้ น

การกากับดูแลให้ผู้ใช้สัตว์ปฏิบัติตามจรรยาบรรณการใช้สัตว์ ทั้งระดับองค์กร และระดับชาติต้องจัด
ให้มีคณะกรรมการกากับติดตามดูแลรับผิดชอบ เช่น ในระดับชาติได้แก่ สานักงานคณะกรรมการการวิจัย
แห่งชาติ และกองบรรณาธกิ ารของวารสารที่ตีพิมพผ์ ลงานวจิ ัย

อาวธุ ชวี ภาพ
เปิดตัวอาวธุ ชีวภาพที่ใช้ในการสงคราม มีท้งั อาวุธเชือ้ โรคและอาวุธสารพิษชีวภาพ อาวุธประเภทน้ีมี

ฤทธ์ิเดชสามารถคร่าชวี ติ ผ้คู นเป็นจานวนมากได้ไมแ่ พข้ ีปนาวธุ และเชอ่ื กนั ว่าอิรักสะสมอาวุธชีวภาพรวมทั้ง
อาวุธเคมไี วเ้ พ่อื ใชก้ อ่ สงคราม

การโคลน
โคลนนิ่ง (cloning) หรอื การโคลน หมายถึงการคัดลอกหรอื การทาซา้ (copy) ในทางชีววิทยา

หมายถงึ การสรา้ งส่ิงมีชีวิตใหมท่ ีม่ ีลกั ษณะทางพันธกุ รรมเหมอื นเดมิ ทกุ ประการ ประโยชนข์ องการโคลน ชว่ ย
ให้สรา้ งสัตวท์ ี่มีลกั ษณะทางพันธกุ รรมตามที่เราตอ้ งการไดเ้ ปน็ จานวนมาก เชน่ สัตว์ท่ใี ห้นา้ นมมาก มคี วาม
ต้านทานโรคสงู สัตวท์ ใ่ี กล้จะสูญพันธ์ุ ขอ้ เสยี ของการโคลนก็คอื สถติ คิ วามสาเรจ็ มีน้อยมาก ในการโคลน
แกะดอลลี่ ใชไ้ ขถ่ งึ 277 เซลล์ แต่ประสบผลเพียง 1 เซลล์ คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.4 แตน่ ักวทิ ยาศาสตรแ์ ละกลมุ่ คน
ที่ชอบยังคงมคี วามหวงั บางกลุ่มสนใจท่ีจะใหโ้ คลนมนษุ ย์ ซงึ่ เปน็ ประเดน็ ทวี่ ิพากษ์วิจารณ์กันมาก เพราะ
มนษุ ยท์ เ่ี กดิ จากการโคลนไม่มีพอ่ และแม่ทแ่ี ทจ้ ริง และอาจมีอุปนสิ ยั ใจคอต่างไป แม้จะมรี ูปร่างหน้าตา
เหมือนกับบุคคลเจา้ ของเซลล์ตน้ กาเนดิ อาจก่อให้เกิดปญั หาทางสงั คม แตใ่ นวงการแพทยม์ ีการวจิ ยั การโคลน
เอม็ บรโิ อของคนโดยมีเป้าประสงค์เพ่อื นาอวยั วะไปทดแทนผ้ปู ่วย เช่น ไต เปน็ ต้น แต่ ก็เป็นการทาให้มนุษย์
โคลนมอี วัยวะไม่ครบ บางประเทศจึงไม่สนบั สนุน โดยเหตุน้ที ุกประเทศท่ัวโลกจึงหา้ มการโคลนมนษุ ย์ แต่บาง
ประเทศได้รา่ งกฎหมายเกี่ยวกับชีวจรยิ ศาสตร์เพ่ือขออนญุ าตให้ใชต้ ัวออ่ นมนษุ ยใ์ นการทาวจิ ัย เชน่ ฝรง่ั เศส
อังกฤษ จีน และญ่ปี ุน่

- 18 - ชวี วิทยาพ้นื ฐาน ม.4

การทาแท้ง
ตามหลักศาสนา ถือว่าการทาแท้งเปน็ สิ่งไม่ดี ผิดศลี ธรรม เป็นบาป แตเ่ มื่อไมน่ านในสหรฐั อเมรกิ ามี

บางกล่มุ ถือวา่ การท้องเป็นเร่ืองส่วนตวั และกล่าววา่ เด็กในครรภ์เป็นส่วนหน่ึงของอวัยวะสตรี จึงมสี ทิ ธทิ จ่ี ะ
เลือกให้เด็กอยู่ในครรภ์หรือไม่ กล่มุ น้เี รียกวา่ พวก pro-choice ส่วนกล่มุ ตรงข้ามมีความเห็นว่าเด็กในครรภ์
เปน็ สงิ่ มีชวี ติ ที่จะถือกาเนดิ มาเป็นมนุษย์ การทาแทง้ ถอื เป็นฆาตกรรมอย่างหนงึ่ ความเหน็ ของกลุ่มน้เี รยี กว่า
pro-life ในประเทศไทยมีการอนมุ ตั ใิ ห้ขายยา RU 486 ที่ทาให้เกิดการแท้ง และมีกฎหมายอนญุ าตให้ทาแทง้
ได้ 2 กรณี คอื

1. สุขภาพกาย สุขภาพจติ ของหญงิ ผ้เู ป็นแม่ และสุขภาพของทารกในครรภ์ ไมด่ ี เช่น ตดิ เช้ือ HIV
2. เปน็ โรคตอ่ ม ไร้ท่อ โรคหวั ใจ โรคเบาหวาน โรคมะเร็งโรคธาลสั ซีเมยี มีภาวะปัญญาอ่อน

2. การตัง้ ครรภเ์ พราะถูกขม่ ขืน
สง่ิ มีชวี ติ GMOs

สิ่งมีชีวิต GMOs หรือสิ่งมีชีวิตตัดแต่งพันธุกรรม GMOs ย่อมาจากคาว่า genetically
modified organisms หมายถงึ สิง่ มชี วี ิตที่มีการตดั และต่อยนี ด้วยเทคนิคพนั ธุวิศวกรรม (genetic
engineering) ทาใหม้ ลี ักษณะพนั ธกุ รรมตามทีต่ ้องการมปี ระโยชนด์ งั เช่น

1. สารท่ผี ลติ โดยจุลนิ ทรยี แ์ ปลงพันธ์ุ มหี ลายชนิดมีประโยชน์ เช่น ชว่ ยขยายหลอดเลอื ด ฟืน้ ฟูกระดูก
ภายหลงั การปลกู ถ่ายไขกระดกู ลดนา้ หนองในปอดของคนไข้ กระตุ้นการสรา้ งเนื้อเย่ือทเ่ี กิดจาก
บาดแผลไฟไหม้ กระตนุ้ การสร้างเซลลเ์ มด็ เลือดแดง ชว่ ยแกค้ วามเปน็ หมนั

2. สารทีผ่ ลิตโดยพืชแปลงพันธุ์ มีหลายชนิด เชน่ แครอท ทาให้เน้ือเหนียวขนึ้ มะเขือเทศ ช่วยควบคมุ การ
สุกของผล มะละกอมีความทนทานต่อไวรัสโรคใบด่าง ผกั กาดหอมตา้ นทานต่อโรค ทานตะวนั ทาให้
เมล็ดมีโปรตีนเพ่ิมขึ้น ขา้ วโพดทนทานต่อยาปราบวัชพืช ฯลฯ

3. สารที่ผลติ โดยสตั วแ์ ปลงพันธ์ุ มหี ลายชนดิ เช่น วัวผลติ GH ฮอร์โมนช่วยเพ่ิมผลผลติ นา้ นม หนูผลิต
GH ของคนชว่ ยเพิ่มความสูงของคนเตีย้ แคระ กระต่ายผลติ สาร EPO กระต้นุ การสรา้ งเซลลเ์ ม็ดเลอื ด
แดงสาหรบั คนป่วยโรคโลหิตจางเนอื่ งจากไตวาย เปน็ ตน้

กจิ กรรมเกมส์

1. เกมบันไดงู เร่ือง ชวี วิทยากับการดารงชีวิตและชีวจริยธรรม เป็นเกมทเ่ี ล่าเรื่องราวในชีวิตประจาวันท่ี

เกิดข้ึนต้ังแต่ตื่นนอนตอนเช้าจนถึงเข้านอนตอนดึก ของตัวละครสมมติซ่ึงเป็น นักชีววิทยา ชื่อ แซม

ในเกมประกอบด้วยช่องที่กาหนดให้เดินท้ังหมด 20 ช่อง โดยแต่ละช่องจะประกอบด้วยสถานการณ์

ตา่ ง ๆ และมคี ะแนนกากับ ดังนี้

- ครูให้ตัวแทนนกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ จบั สลาก เพ่อื เรยี งลาดับการเล่นเกมก่อนหลัง

- ให้ตัวแทนนักเรียนกลุม่ แรกทอยลกู เต๋า แล้วเดินตามจานวนชอ่ งของจานวนแต้มบนหนา้ ลูกเต๋า

เมือ่ เจอสถานการณ์ท่ีกาหนดในเกมใหส้ มาชิกในกล่มุ ระดมสมองและช่วยกนั ตอบเพ่ือท่ีจะเก็บ

คะแนนในข้อนั้น

-เกมจะสิ้นสุดลงเมื่อ มีกลุ่มที่สามารถเดนิ จนครบ 20 ชอ่ ง หรือ อาจจะครบตามเวลาที่กาหนด

ชีววิทยาพื้นฐาน ม.4 - 19 -

วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ (Scientific method)

1. สังเกตและการต้ังปัญหา (observation and problem)
การสังเกตจะต้องใช้ประสาทสัมผัส การเห็น การได้ยิน สิ่งท่ีได้จากการสังเกตอาจนาไปสู่การสงสัย

อาทิ นกบินได้อย่างไร ทาไมหิ่งห้อยจงึ เรืองแสงได้ในเวลากลางคืน ตาของสุนัขสามารถจาแนกสีที่แตกต่างกัน
ไดห้ รือไม่ คาถามทีส่ งสัยกอ่ ให้เกดิ ปญั หาทีต่ ้องการคน้ หาคาตอบขน้ึ

การตั้งปัญหาต้องยึดข้อเท็จจริงที่ได้รวบรวมจากการสังเกตหรือค้นคว้าจากแหล่งต่าง ๆ เราจะต้ัง
ปญั หานอกเหนือจากข้อเท็จจริงไม่ได้โดยเด็ดขาด ปัญหาเป็นส่ิงท่ีเกิดขึ้นเสมอ แต่การตั้งปัญหาให้ชัดเจนและ
สัมพนั ธก์ ับความรู้เดมิ ของผตู้ ้ังปัญหานั้นไม่ใชส่ ง่ิ ท่ีทาไดง้ ่ายๆ
ดงั ท่ี อัลเบิรต์ ไอสไตน์ (Albert Einstein) ได้กลา่ วว่า “การตัง้ ปัญหาสาคัญกวา่ การแกป้ ญั หา”

กข

ภาพท่ี 2.1 แบบทดสอบทักษะการสงั เกต
ที่มา : www.bloggang.com/mainblog.php?id=tmr19&month

Q: ทดสอบความเข้าใจท่ี 2.1

จากภาพ ก นกั เรยี นมองเห็นใบหนา้ ทั้งหมดกใ่ี บหนา้ .....................................................................................
จากภาพ ข นกั เรยี นมองเหน็ สัตวท์ ้ังหมดกชี่ นดิ .............................................................................................

ถ้ากาหนดปัญหาได้อย่างชัดเจนและมีความสัมพันธ์กับความรู้เดิมหรือข้อเท็จจริงที่รวบรวมได้ ผู้ต้ัง
ปญั หายอ่ มมองเห็นลู่ทางทจี่ ะค้นหาคาตอบได้ ทดลองทาให้สามารถแก้ปัญหาได้ จงึ ถอื ว่า “การตั้งปัญหาเป็น
ความกา้ วหนา้ ทางวิทยาศาสตรอ์ ยา่ งแทจ้ รงิ ”
การต้งั ปญั หา

อเลกซานเดอร์เฟลมมิง (Alexander Fleming) ได้สงั เกตเกีย่ วกับการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย
ในจานเพาะเชอื้ พบว่าถ้ามีราเพนนิซิเลียม (Penicillium notatum) อยู่ในจานเพาะเลี้ยงเช้ือแบคทีเรียจะ
ไมเ่ จริญดี ผลของการสงั เกตของ อเลกซานเดอร์ เฟลมมิง นาไปสูป่ ระโยชนม์ หาศาลในวงการแพทย์

- 20 - ชีววิทยาพน้ื ฐาน ม.4

Q: ทดสอบความเข้าใจท่ี 2.2

1. ให้นกั เรยี นเลอื กศึกษาสิ่งมีชีวิตชนิดใดชนิดหนง่ึ จากภาพทกี่ าหนดให้
2. สงั เกตสง่ิ ทีเ่ กิดข้ึนให้มากทสี่ ดุ
3. บนั ทึกสงิ่ ท่ีนักเรยี นสังเกตไดภ้ ายใน 5 นาที
4. เขยี นคาถามท่ีอย่างน้อย 2 ข้อ เก่ียวกับทน่ี ักเรยี นสังเกตได้
5. เปรยี บเทียบและแลกเปลี่ยนข้อมลู กับเพ่ือน

กข


ภาพที่ 2.2 พฤติกรรมของสงิ่ มีชวี ติ ก. การเกยต้ืนของปลาบางชนดิ ข. สณั ฐานของใบเฟิน

ทมี่ า: www.bloggang.com/mainblog.php?id=tmr19&month

2. การตง้ั สมมติฐาน ไดม้ าจากการต้ังปัญหา
สมมตฐิ านไดม้ าจากไหน? ได้มาจากการสังเกต
ปญั หาไดม้ าจากไหน?

การสังเกตเปน็ ทักษะสาคัญที่นาไปสู่การคน้ พบปญั หา ทักษะการสงั เกตจึงเป็นทักษะทส่ี าคัญของ
นกั วิทยาศาสตร์ ปัญหา (Problem) เกิดจากการสงสัยท่ีได้จากการสังเกตปรากฏการณ์ และข้อเทจ็ จริงต่าง ๆ
ท่เี กิดขึ้น การคดิ หาคาตอบที่อาจเปน็ ไปไดข้ องปัญหาเรยี กว่าการต้งั สมมติฐาน

เม่ือได้รับข้อเท็จจริงหรือข้อมูลมากพอ ทาให้เห็นคาถามชัดเจน นักเรียนจะสามารถตั้งสมมติฐานได้
สาหรับคาที่คิดหลายแง่หลายมุมคาถามนั้นก็จะเกิดสมมติฐานได้หลายสมมติฐาน สาหรับคนท่ีไม่ได้ฝึกการ

ชีววิทยาพ้ืนฐาน ม.4 - 21 -

ต้งั สมมติฐานมักจะคิดว่าสมมติฐานที่ตั้งไว้เป็นสมมติฐานท่ีถูกต้องเสมอ สมมติฐาน คือ ผลหรือคาตอบที่อาจ
เปน็ ไปได้หรอื คาอธบิ ายท่เี ป็นไปไดข้ องปญั หาใด ๆ การต้งั สมมติฐานอาจใชค้ าวา่

ถ้า...... (อ้างองิ ปญั หา) ดังนัน้ ...... (แนะลทู่ างการตรวจสอบสมมติฐาน)สมมติฐานทีด่ ี ควร
- กะทัดรัด ชัดเจน เข้าใจง่าย
- แนะชอ่ งทางตรวจสอบสมมตฐิ าน
- มคี วามสัมพนั ธ์กับปัญหาและข้อเทจ็ จรงิ ทร่ี วบรวมไดจ้ ากการสงั เกต
นักเรียนอาจเคยสังเกตว่าต้นไม้ชนิดเดียวกันที่ปลูกอยู่ในบริเวณที่ร่มไม่เจริญเท่ากับต้นไม้ท่ีอยู่กลางแจ้ง
นักเรียนอาจสงสัยว่าอะไรทาให้ต้นไม้มีลักษณะเช่นน้ี ซ่ึงข้อสงสัยอาจเป็นไปได้หลากหลาย ถ้านักเรียนได้
สังเกตปจั จัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเจรญิ เติบโตของพืชชนิดนน้ั ๆ อย่างละเอยี ด เช่น ความช้ืน ธาตุอาหารในดิน
ไมน่ ่าจะเปน็ สาเหตทุ ่ที าใหพ้ ชื เจรญิ เติบโตแตกต่างกนั
ตัวอยา่ งสมมตฐิ าน
นักเรียนคนที่ 1 ต้ังสมมติฐานว่า “ถ้าความเข้มแสงมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช ดังนั้นพืชที่อยู่
กลางแจง้ จะมกี ารเจริญเตบิ โตกวา่ พืชทเ่ี จรญิ เติบโตในท่รี ม่ ”
นักเรียนคนที่ 2 ต้ังสมมติฐานว่า “ถ้าความเข้มแสงมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช ดังน้ันพืชท่ีอยู่
กลางแจง้ จะสูงกวา่ พชื ท่ีเจรญิ เติบโตในรม่ ”
นักเรียนคนที่ 3 ตั้งสมมติฐานวา่ “ถ้าเช้ือราเพนิซิเลียมมีผลต่อยับยั้งการเติบโตของแบคทีเรยี ดังน้ัน
ใสเ่ ช้ือราเพนซิ ิเลยี มเข้าไปในปริมาณท่ีตา่ งกนั จะทาให้แบคทเี รียเตบิ โตไดต้ า่ งกนั ”

3. การตรวจสอบสมมติฐาน

วิธีการตรวจสอบสมมติฐาน ได้แก่ การสังเกต และรวบรวมข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่เกิดจาก
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ อีกวิธีหน่ึง โดยการทดลอง ซึ่งเป็นวิธีการที่นิยมใช้มากท่ีสุด เพื่อทา การ
ค้นคว้าหาข้อมูล รวบรวมข้อมูลเพื่อตรวจสอบดูว่าสมมติฐานข้อใดเป็นคาตอบท่ีถูกต้องท่ีสุด ในการ
ตรวจสอบโดยการทดลองน้ัน ควรจะมีการวางแผนลาดับขั้นตอน การทดลองก่อนหลัง ออกแบบการ
ทดลองอย่างดี

กระบวนการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ผู้ทดลองจะต้องควบคุมปัจจัยที่มีผลต่อ การทดลอง เรียกว่า
ตัวแปร (Variable) คือสิ่งที่มีอิทธิพลต่อการทดลอง ซ่ึงควรจะมีตัวแปรน้อยที่สุด ตัวแปรแบ่ง
ออกเปน็ 3 ชนิด คือ

1) ตัวแปรต้น /ตัวแปรอิสระ (Independent variable) คือ ตัวแปรท่ีต้องศึกษาทาการ
ตรวจสอบและดูผลของมัน เป็นตัวแปรท่ีเรากาหนดขึ้นมา เป็นตัวแปรท่ีไม่อยู่ในความควบคุมของตัวแปร
ใด ๆ

2) ตัวแปรตาม (Dependent variable) คือ ตัวแปรท่ีไม่มีความเป็นอิสระในตัวมันเอง
เปลี่ยนแปลงไปตามตวั แปรอิสระ เพราะเป็นผลของตวั แปรอิสระ

3) ตัวแปรควบคุม (Controlled variable) หมายถึง สิ่งอื่น ๆ นอกจากตัวแปรต้น ท่ีทา
ใหผ้ ลการทดลอง คลาดเคลอ่ื นแตเ่ ราควบคุมใหค้ งท่ตี ลอดการทดลอง เน่อื งจากยงั ไม่ต้องการศึกษา ในการ

- 22 - ชีววิทยาพ้ืนฐาน ม.4

ตรวจสอบสมมติฐาน นอกจากจะควบคุมปัจจัยที่มีผลต่อการทดลอง จะต้องแบ่งชุดของการทดลองเป็น
กลมุ่ ทดลองและกลมุ่ ควบคมุ

- กลุ่มทดลอง หมายถงึ กลมุ่ ท่ีเราใช้ศึกษาผลของตัวแปรอสิ ระ
- กลุ่มควบคุม หมายถึง ชุดของการทดลองที่ใช้เป็นมาตรฐานอ้างอิง เพื่อเปรียบเทียบ
ข้อมูลท่ไี ด้จากการทดลอง กลุ่มควบคุมจะแตกต่างจากกลมุ่ ทดลองเพียง 1 ตวั แปรเทา่ นน้ั คอื ตัวแปรที่เรา
จะตรวจสอบหรือตัวแปรอิสระ ในขั้นตอนนี้ จะต้องมีการบันทึกข้อมูลท่ีได้จากการสังเกตหรือการ
ทดลอง แล้วนาข้อมูลที่ได้มาจัดกระทาข้อมูลและสื่อความหมาย ซ่ึงจะต้องมีการออกแบบการบันทึก
ขอ้ มลู ใหอ้ า่ นเขา้ ใจง่ายอาจจะบันทึกในรูปตาราง กราฟ แผนภูมิ
4. การเก็บรวบรวมข้อมลู และวเิ คราะห์ข้อมูล
เปน็ การนาข้อมูลจากการทดลองมาหาความสมั พันธ์กนั เพอ่ื อธิบายว่ามีความเป็นไปได้ตาม
สมมติฐานหรอื ไม่
5. การสรปุ ผลการทดลอง
เม่อื เก็บขอ้ มูลแล้วจงึ แปลผล และสรปุ ผลการทดลองเพื่อเป็นคาตอบของปญั หาตอ่ ไป

ทฤษฎี (Theory)
คือ สมมติฐานที่ได้รับการตรวจสอบและทดลองหลายคร้ัง จนสามารถอธิบายข้อเท็จจริงอื่น ๆ ที่

คลา้ ยกันได้ ทฤษฎีอาจเปลย่ี นแปลงได้หากได้รบั ขอ้ มูลหรือข้อเท็จจรงิ ใหม่ ๆ เพ่ิมขึ้น เช่น ทฤษฎีเซลล์ ทฤษฎี
วิวัฒนาการ ทฤษฎีการคัดเลือกตามธรรมชาติ เป็นข้อสรุปที่ได้รับการยืนยันจากผลการทดลอง (แต่อาจ
เปลย่ี นแปลงได้ ถ้าผลการทดลองครัง้ ใหม่ เปล่ยี นไปจากเดิม)

กฎ (Law)
คอื ความจรงิ พ้นื ฐาน สามารถทดลอบไดแ้ ละได้ผลเหมือนเดิมทกุ ครั้งโดยไม่มีข้อโต้แยง้ เช่น กฎของ

เมนเดล กฎความทนของเชลฟอร์ด เป็นข้อสรุปที่ได้รับการพิสจู นย์ ืนยนั หลายๆครัง้ ในสภาวะท่แี ตกตา่ งกัน

ชีววิทยาพ้นื ฐาน ม.4 - 23 -

Q: ทดสอบความเข้าใจท่ี 2.2

คาช้ีแจง นักเรียนคั้นน้าสับปะรด จากสับปะรด 2 ลูก ใส่ในขวดแยกกนั ขวดทั้ง 2 ขวด โดยมีการผสมน้าเช่อื ม
เพ่อื เพ่มิ รสชาติ หลงั จากนั้นเกบ็ ไว้เพื่อดม่ื พบว่าน้าสับปะรดทั้ง 2 ขวดมีฟองตา่ งกนั และเมื่อเปิดฝาออกพบว่า
ขวดท่มี ฟี องมากกวา่ มกี ลน่ิ แอลกอฮอล์ในปริมาณที่มากกวา่
1. จงตง้ั ปญั หากบั เหตุการณ์ท่ีเกิดขึน้

1.1 ………………………………………………………………………..……………………………………………………………..
1.2……………………………………………………………………………..…………………………………………….…………..
1.3………………………………………………………………………………………………………………………………………..
2. จงนาปญั หาทไ่ี ดม้ าตงั้ สมมตุ ฐิ าน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

แหลง่ เรยี นรู้เพม่ิ เติม

การเขียนเค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์ สะเต็มและโครงงานวิทยาศาสตร์

- 24 - ชวี วิทยาพ้ืนฐาน ม.4

ความร้ทู างชีววทิ ยาได้มาอยา่ งไร
ให้นกั เรียนแบ่งออกเป็นกล่มุ ๆละ 4-5 คน ศกึ ษาการทดลองของอเล็กซานเดอร์ เฟลมมง่ิ ต่อไปน้ีแล้ว
ตอบถามถามดา้ นล่าง อเล็กซานเดอร์ เฟลมม่ิง (Alexander Fleming) นักจุลชวี วทิ ยาชาวอังกฤษ ได้
ทดลองเลยี้ งเชอื้ แบคทเี รยี ในจานเพาะเลี้ยงเช้อื ทุกคร้ังท่ีทดลองเขาสงั เกตว่ามเี ชื้อราเจรญิ อยู่ในจานเลยี้ งเช้ือ
แบคทีเรยี และยังสังเกตเหน็ อีกว่าแบคทีเรยี ทเี่ พาะเลยี้ งไว้ไม่เจริญใกลบ้ ริเวณที่มีเช้ือรา จากการสังเกตทาให้
เกดิ ปัญหาว่า เม่ือมเี ช้ือราเกิดข้นึ ทาไมแบคทเี รียจึงไมเ่ จริญ เขาจงึ ให้ข้อสังเกตวา่ ราท่ีเจริญในจานเพาะเล้ยี ง

เชอื้ นา่ จะมีส่วนทาให้แบคทเี รียตายได้

ภาพท่ี 2.3 ปฏกิ ิรยิ าของราเพนซิ ลิ เลยี มที่มตี ่อเชือ้ แบคทเี รีย
ท่มี า:http://bio1152.nicerweb.com/Locked/

ภายหลังจากการค้นพบของอเล็กซานเดอร์ เฟลมมิ่ง ทาให้ได้ความรู้ใหม่ว่า ราท่ีเจริญในจานพาะ
เลี้ยงเชื้อแบคทีเรียน้ัน มีชื่อวิทยาศาสตรว์ ่า เพนิซิเลียม (Penicillium sp.) ซ่ึงเป็นราที่ก่อใหเ้ กิดประโยชน์ทาง
การแพทย์ โดยนามาทายาปฏิชีวนะท่ีชื่อว่า เพนิซิลลินซึ่งสามารถทาลายเชื้อแบคทีเรียที่ทาให้เกิดโรคต่าง ๆ
ได้หลายชนดิ

ชวี วิทยาพืน้ ฐาน ม.4 - 25 -

Q: ทดสอบความเข้าใจท่ี 2.4

คาชี้แจง จงตอบคาถามต่อไปน้ใี หส้ มบูรณ์

1. ปัญหาการทดลองน้คี ืออะไร และได้มาอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ในเบื้องต้น ของอเลก็ ซานเดอร์ เฟลมมิง่ ได้ใหค้ าตอบของปัญหาน้ีวา่ อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……….…………………………………………………………………………………………………………………….…………..…

3. การทดลองนสี้ รปุ ไดว้ ่าอยา่ งไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. ผลการทดลองน้ีเกิดประโยชนใ์ นดา้ นใด
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

5. ใหน้ ักเรียนเขยี นแผนภาพข้นั ตอนการศึกษาของอเลก็ ซานเดอรต์ ามลาดับ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

6. สะเต็มศึกษากับวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตรม์ คี วามแตกต่าง กันอย่างไร
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
......................................................................................... ............................................. .....................

7. จากวิธกี ารทางวิทยาศาสตรท์ ี่ได้เรียนมา ให้นักเรียนจบั กลมุ่ เพอื่ ทาโครงงาน
ชือ่ โครงงาน

........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
................................................................................. ...........................................................................
กาหนดปัญหา....................................................................................................................................
.......................................................................................... .................................................................
................................................................................. ...........................................................................
สมมุตฐิ านคอื ......................................................................................................................................
.......................................................................................... .................................................................
............................................................................................................................................................

- 26 - ชวี วิทยาพน้ื ฐาน ม.4

กล้องจลุ ทรรศน์

กล้องจุลทรรศน์เป็นเคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการศึกษาส่ิงมีชีวิตขนาดเลก็ ท่ไี ม่สามารถเห็นได้ด้วยตาเปล่าและ
รายละเอียดโครงสร้างของเซลล์ กล้องจุลทรรศน์จาแนกได้ 2 ชนิดคือ กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงและกล้อง
จุลทรรศน์อิเล็กตรอน ซึ่งมีประสิทธิภาพในการใช้งานท่ีแตกต่างกัน ซึ่งกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงจะแบ่ง
ออกเปน็ กลอ้ งจลุ ทรรศนแ์ บบใชแ้ สงธรรมดาและกลอ้ งจุลทรรศนแ์ บบใชแ้ สงแบบสเตอริโอ

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เมอ่ื นกั เรียนเรยี นจบแล้ว นักเรียนสามารถ
1. บอกวิธีการและเตรียมตัวอย่างส่ิงมีชีวิตเพ่ือศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง วั ดขนาด
โดยประมาณและวาดภาพและปรากฏภายใต้กล้อง บอกวิธีการใช้ และการดูแลกล้องจุลทรรศน์
ใช้แสงท่ีถกู ตอ้ ง

ประวัตขิ องกลอ้ งจลุ ทรรศน์

สงิ่ มชี วี ิตขนาดเลก็ ที่ไมส่ ามารถมองเห็นด้วยตาเปล่านะ เดมิ ใชเ้ พียงแวน่ ขยายและเลนส์อันเดยี วส่องดู
คงเช่นเดียวกับการใช้แว่นขยายส่องดูลายมือ ในระยะต่อมา กาลิเลอิ กาลิเลโอ ได้สร้างแว่นขยายส่องดู
ส่ิงมชี วี ิตเลก็ ๆ ในราวปี พ.ศ. 2153

ในช่วงปี พ.ศ. 2133 ช่างทาแว่นตาชาวฮอลันดาชื่อ แจนเสน ประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ชนิดเลนส์
ประกอบ ประกอบดว้ ยแวน่ ขยายสองอนั

ในปี พ.ศ. 2208 โรเบริ ต์ ดาวฮ์ กุ ไดป้ ระดิษฐ์กลอ้ งจลุ ทรรศนช์ นิดเลนส์ประกอบทม่ี ีลากลอ้ งรูปร่าง
สวยงาม ปอ้ งกนั การรบกวนจากแสงภายนอกได้ และไม่ตอ้ งถือเลนสใ์ ห้ซ้อนกัน เขาส่องดูไมค้ อรก์ ทฝ่ี านบางๆ
แล้วพบช่องเล็ก ๆ มากมาย เขาเรียกชอ่ งเหลา่ นน้ั ว่าเซลล์ ซ่ึงหมายถึงหอ้ งวา่ งๆ หรือห้องขัง เซลล์ท่ีดาว์ฮุก
เหน็ เป็นเซลลท์ ี่ตายแลว้ เหลือแต่ผนังเซลลข์ องพืชซึ่งแขง็ แรงกวา่ เยือ่ หุม้ เซลล์ในสัตว์ จงึ ทาให้คงรปู รา่ งอยไู่ ด้ ฮุ
กจึงไดช้ ื่อวา่ เปน็ ผทู้ ี่ตง้ั ชือ่ เซลล์

ในปี พ.ศ. 2215 แอนโทนี แวน เลเวนฮุค ชาวฮอลนั ดา สรา้ งกลอ้ งจุลทรรศน์ชนดิ เลนสเ์ ดียวจากแว่น
ขยายทเี่ ขาฝนเอง แว่นขยายบางอันขยายได้ถงึ 270 เท่า เขาใช้กล้องจลุ ทรรศนต์ รวจดูหยดน้าจากบงึ และ
แมน่ ้า และจากนา้ ฝนที่รองไว้ในหม้อ เหน็ สงิ่ มชี วี ติ เล็ก ๆ มากมายนอกจากน้นั เขายังส่องดูสง่ิ มชี วี ติ ต่าง ๆ เชน่
เม็ดเลือดแดง, เซลล์สบื พนั ธเุ์ พศผู้, กลา้ มเน้ือ เป็นตน้ เมื่อเขาพบสิง่ เหลา่ นี้ เขารายงานไปยังราชสมาคมแหง่
กรุงลอนดอน จงึ ไดร้ บั การยกย่องวา่ เป็นผูป้ ระดิษฐก์ ลอ้ งจุลทรรศน์

ปี พ.ศ. 2367 ดูโธรเชต์ นักพฤกษศาสตร์ชาวฝรั่งเศสศึกษาเนื้อเยื่อพืช และสัตว์พบว่าประกอบด้วย
เซลล์

ปี พ.ศ. 2376 โรเบิร์ต บราวน์ นักพฤกษศาสตร์ชาวอังกฤษ เป็นค้นแรกท่ีพบว่าเซลล์และพืชมี
นวิ เคลียสเป็นกอ้ นกลม ๆ อยูภ่ ายในเซลล์

ชีววิทยาพื้นฐาน ม.4 - 27 -

ปี พ.ศ. 2378 นุก นะดือจาร์แดง นักสัตวศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ศึกษาจุลินทรีย์และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ
พบว่าภายในประกอบด้วยของเหลวใสๆ จึงเรียกว่า ซาร์โคด ซึ่งเป็นภาษาฝรั่งเศสมาจากศัพท์กรีกว่า ซารค์
(Sarx) ซงึ่ แปลวา่ เนอ้ื

ปี พ.ศ. 2381 ชไลเดน นักพฤกษศาสตร์ชาวเยอรมัน ศึกษาเนื้อเย่ือพืชชนิดต่าง ๆ พบว่าพืชทุกชนิด
ประกอบด้วยเซลล์

ปี พ.ศ. 2382 ชไลเดนและชวาน จึงร่วมกันตั้งทฤษฎีเซลล์ ซึ่งมีใจความสรุปได้ว่า "ส่ิงมีชีวิตทุกชนิด
ประกอบไปด้วยเซลลแ์ ละผลติ ภณั ฑจ์ ากเซลล"์

ปี พ.ศ. 2382 พัวกินเย นักสัตว์วิทยาชาวเชคโกสโลวาเกีย ศึกษาไข่และตัวอ่อนของสัตว์ชนิดต่าง ๆ
พบวา่ ภายในมีของเหลวใส เหนยี ว ออ่ นนมุ่ เป็นวุ้น เรยี กวา่ โปรโตพลาสซึม

ต่อจากน้ันมีนักวิทยาศาสตร์อีกมากมายทาการศึกษาเก่ียวกับเซลล์ด้วยกล้อง จุลทรรศน์ชนิดเลนส์
ประกอบ และได้พัฒนาให้ดียิ่งข้ึน จนกระทั่งปี พ.ศ. 2475 นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน คืออี.รุสกา และ
แมกซ์นอลล์ ได้เปลีย่ นแปลงกระบวนการของกลอ้ งจุลทรรศน์ทีใ่ ช้แสงและเลนส์มาใช้ลาอิเล็กตรอน ทาให้เกิด
กล้องจลุ ทรรศนอ์ เิ ล็กตรอนขึ้นในระยะต่อ ๆ มา ปจั จุบนั มกี าลงั ขยายกว่า 5 แสนเท่า
ชนดิ ของกล้องจลุ ทรรศน์

กลอ้ งจุลทรรศน์แบ่งออกเปน็ 2 ประเภทใหญๆ่ คือ
1. กลอ้ งจุลทรรศน์แบบใชแ้ สง ซึ่งมีอยู่ 2 แบบ คอื กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบธรรมดาและ

แบบสเตอริโอ
2. กล้องจุลทรรศน์แบบอิเล็กตรอน ซงึ่ มอี ยู่ 2 แบบ คือ กล้องจลุ ทรรศน์อเิ ลก็ ตรอนแบบส่องผา่ น

และแบบส่องกราด
1. กลอ้ งจุลทรรศนแ์ บบใชแ้ สง

เปน็ กล้องท่ไี ดร้ บั การพัฒนาจากในอดตี อยา่ งมาก และใช้แสงทีด่ ที ่ีสุดในปจั จบุ ัน ที่มีกาลังขยายถงึ
2,000 เทา่ และเป็นกล้องท่รี าคาถกู สามารถใช้ในงานทีล่ ะเอียดพอประมาณ แบง่ ไดเ้ ป็น 2 ประเภท

1.1) กลอ้ งจุลทรรศนท์ ใ่ี ช้แสงแบบธรรมดา
ประกอบด้วยเลนส์ 2 ชนดิ คอื เลนสใ์ กลว้ ัตถแุ ละเลนส์ใกลต้ า โดยใชแ้ สงผ่านวตั ถุแลว้ ขนึ้ มาที่เลนส์จนเห็น
ภาพวตั ถอุ ยา่ งชดั เจน

กข
ภาพท่ี 2.4 ก.ภาพเทาภายใต้กล้องจลุ ทรรศน์ ข.กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง

ทมี่ า: https://www.google.com/search?q=stereo+microscope

- 28 - ชวี วิทยาพน้ื ฐาน ม.4

สว่ นประกอบของกล้องจุลทรรศนท์ ี่ใชแ้ สงแบบธรรมดา ประกอบด้วย

1. ลากล้อง (Body tube) เปน็ ส่วนทีเ่ ชื่อมโยงอยู่ระหว่าง เลนสใ์ กล้ตากับเลนส์ใกลว้ ตั ถุ มหี นา้ ทป่ี ้องกันไม่ให้
แสงจากภายนอกรบกวน
2. แขน (Arm) คือสว่ นทีท่ าหน้าทย่ี ึดระหว่างสว่ นลากล้องกับฐาน เปน็ ตาแหน่งท่จี บั เวลายกกลอ้ ง
3. แทน่ วางวัตถุ (Speciment stage) เปน็ แท่นใช้วางแผ่นสไลด์ทีต่ ้องการศึกษา
4. ท่หี นบี สไลด์ (Stage clip) ใชห้ นบี สไลดใ์ ห้ตดิ อย่กู บั แท่นวางวตั ถุ ในกล้องรุ่นใหม่จะมี Mechanical stage
แทนเพื่อควบคุมการเล่ือนสไลดใ์ หส้ ะดวกขึ้น
5. ฐาน (Base) เป็นส่วนทใ่ี ช้ในการต้งั กล้อง ทาหน้าทรี่ ับน้าหนักตัวกลอ้ งทงั้ หมด
6. กระจกเงา (Mirror) ทาหน้าทสี่ ะท้อนแสงจากธรรมชาตหิ รือแสงจากหลอดไฟภายในหอ้ งใหส้ ่องผ่านวัตถุ
โดยทวั่ ไปกระจกเงามี 2 ด้าน ดา้ นหนงึ่ เป็นกระจกเงาเว้า อีกดา้ นเป็นกระจกเงาระนาบ สาหรบั กลอ้ งรุ่นใหม่จะ
ใชห้ ลอดไฟเปน็ แหล่งกาเนิดแสง ซ่ึงสะดวกและชัดเจนกวา่
7. เลนส์รวมแสง (condenser) ทาหน้าทร่ี วมแสงใหเ้ ข้มขึ้นเพ่ือส่งไปยงั วัตถุท่ตี ้องการศึกษา
8. ไดอะแฟรม (diaphragm) อย่ใู ต้เลนสร์ วมแสงทาหน้าทป่ี รบั ปริมาณแสงให้เข้าสูเ่ ลนส์
9. ปุม่ ปรับภาพหยาบ (Coarse adjustment) ทาหนา้ ท่ีปรับภาพโดยเปลีย่ นระยะโฟกัสของเลนสใ์ กล้วตั ถุ
(เลอ่ื นลากล้องหรอื แทน่ วางวัตถุข้นึ ลง) เพอ่ื ทาใหเ้ หน็ ภาพชัดเจน
10. ปุ่มปรับภาพละเอียด (Fine adjustment) ทาหน้าท่ีปรบั ภาพ ทาใหไ้ ดภ้ าพทีช่ ดั เจนมากขึน้
11. เลนสใ์ กล้วัตถุ (Objective lens) จะติดอยกู่ ับจานหมุน (Revolving nose piece) ซงึ่ จานหมนุ นท้ี า
หน้าท่ีในการเปลี่ยนกาลงั ขยายของเลนส์ใกลว้ ัตถุ ตามปกตเิ ลนส์ใกล้วตั ถมุ กี าลงั ขยาย 3-4 ระดับ คือ 4x 10x
40x 100x ภาพทเี่ กิดจากเลนส์ใกล้วัตถุเป็นภาพจริงหวั กลบั
12. เลนส์ใกลต้ า (Eye piece) เปน็ เลนส์ทีอ่ ยบู่ นสุดของลากลอ้ ง โดยท่ัวไปมกี าลังขยาย 10x หรอื 15x ทา
หนา้ ทข่ี ยายภาพท่ไี ด้จากเลนส์ใกลว้ ัตถใุ ห้มขี นาดใหญ่ขึน้ ทาให้เกิดภาพทตี่ าผู้ศึกษาสามารถมองเหน็ ได้ โดย
ภาพทไี่ ดเ้ ปน็ ภาพเสมือนหวั กลบั

การใช้งานกล้องจุลทรรศนท์ ีใ่ ชแ้ สงแบบธรรมดา

1. การจบั กล้อง ใช้มือหนงึ่ จบั ท่ีแขนของกล้อง และใช้อกี มือหนึ่งรองรบั ทฐ่ี าน
2. ต้งั ลากลอ้ งใหต้ รงเสมอเพื่อป้องกันไมใ่ ห้ส่วนประกอบตา่ ง ๆ เลอ่ื นหลุดจากตาแหน่ง
3. หมุนเลนสใ์ กล้วัตถใุ หเ้ ป็นเลนสท์ ี่มีกาลังขยายต่าสดุ ให้อยใู่ นตาแหน่งแนวของลากล้อง
4. ปรบั กระจกเงา หรอื เปิดไฟเพอ่ื ให้แสงเข้าลากลอ้ งไดเ้ ต็มที่
5. นาแผ่นสไลดท์ จี่ ะศึกษาวางบนแท่นวางวัตถุ ให้วัตถุอยูบ่ รเิ วณกง่ึ กลางบรเิ วณทแ่ี สงผ่าน
6. มองด้านข้างตามแนวระดับแท่นวางวัตถุ ค่อยๆหมุนปุ่มปรับภาพหยาบให้เลนส์ใกล้วัตถุเลื่อนลงมาอยู่

ใกล้ๆกระจกปิดสไลด์ (แต่ต้องระวังไม่ให้เลนส์กับสไลด์สัมผัสกัน เพราะจะทาให้ทั้งคู่แตกหักหรือ
เสยี หายได)้
7. มองทเี่ ลนสใ์ กล้ตาค่อยๆปรับปุ่มปรับภาพหยาบให้กลอ้ งเลอื่ นขนึ้ ช้า ๆ เพื่อหาระยะภาพ เมอ่ื ไดภ้ าพแล้ว
ให้หยดุ หมุน ตรวจดแู สงวา่ มากหรอื นอ้ ยเกนิ ไปหรอื ไม่ ให้ปรบั ไดอะแฟรมเพื่อให้ไดแ้ สงท่ีพอเหมาะ

ชวี วิทยาพ้นื ฐาน ม.4 - 29 -

8. มองที่เลนส์ใกล้ตาหมุนปุ่มปรับภาพละเอียดเพื่อให้ได้ภาพที่ชัดเจนยิ่งข้ึน ถ้าวัตถุที่ศึกษาไม่อยู่ตรงกลาง
ให้เลื่อนแผ่นสไลดเ์ ล็กนอ้ ยจนเหน็ วตั ถอุ ยู่ตรงกลางพอดี

9. ถ้าต้องการให้ภาพขยายใหญ่ข้ึนก็หมุนเลนส์อันท่ีกาลังขยายสูงขึ้นเข้าสู่แนวลากล้อง แล้วปรับความ
คมชดั ด้วยปมุ่ ปรับภาพละเอียดเทา่ น้ัน

10. บนั ทกึ กาลังขยายโดยหาได้จากผลคณู ดังท่ีกล่าวไว้แลว้
11. หลังจากใช้กลอ้ งจุลทรรศน์แล้ว ให้ปรบั กระจกเงาให้อย่ใู นแนวดิ่ง ต้งั ฉากกบั ตัวกล้อง เล่ือนทีห่ นีบสไลด์

ให้ต้ังฉากกับท่ีวางวัตถุ หมุนเลนส์ใกล้วัตถุให้เป็นอันที่มีกาลังขยายต่าสุดอยู่ในตาแหน่งของลากล้อง
และเล่ือนลากล้องให้อยู่ในตาแหน่งต่าสุด เช็ดทาความสะอาดส่วนที่เป็นโลหะด้วยผ้านุ่มๆและสะอาด
แล้วจึงนากล้องเข้าเก็บในตาแหน่งที่เก็บกล้อง กาลังขยายเราสามารถคานวณกาลังขยายของกล้องได้
โดย กาลงั ขยายของเลนส์ใกล้ตา x กาลังขยายของเลนส์ใกล้วตั ถุ

1.2) กล้องที่ใช้แสงแบบสเตอรโิ อ
เป็นกล้องท่ีประกอบดว้ ยเลนสท์ ี่ทาใหเ้ กดิ ภาพแบบ 3 มิตใิ ชศ้ กึ ษาวตั ถุท่มี ขี นาดใหญ่แต่ตาเปล่าไม่

สามารถแยกรายละเอยี ดไดจ้ ึงต้องใช้กล้องชนดิ น้ีช่วยขยาย กลอ้ งชนดิ นีม้ ีข้อแตกตา่ งจากกลอ้ งทวั่ ๆ ไป คอื
1. ภาพทเ่ี หน็ เปน็ ภาพเสมือนมีความชดั ลกึ และเป็นภาพสามมติ ิ
2. เลนส์ใกล้วัตถุมกี าลังขยายตา่ คอื น้อยกว่า 1 เทา่
3. ใช้ศึกษาไดท้ งั้ วัตถโุ ปรง่ แสงและวัตถทุ ึบแสง
4. ระยะหา่ งจากเลนส์ใกลว้ ตั ถุกบั วตั ถทุ ่ีศึกษาอยู่ในช่วง 63-225 มลิ ลิเมตร

กข

ภาพท่ี 2.5 ก.กลอ้ งสเตอริโอ ข.ภาพแมลงภายใต้กล้องสเตอรโิ อ
ที่มา https://www.google.com/search?q=stereo+microscope
วิธใี ชก้ ลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ช้แสงแบบสเตอริโอ
1. ตัง้ ระยะหา่ งของเลนสใ์ กล้ตาใหพ้ อเหมาะกับนัยนต์ าของผใู้ ช้กลอ้ งท้ังสองขา้ ง จะทาให้จอภาพที่
เหน็ อยูใ่ นวงเดยี วกัน
2. ปรับโฟกสั เลนสใ์ กลต้ าทีละขา้ งจนชัดเจน ถา้ หากตอ้ งการศกึ ษาจดุ ใดจุดหน่งึ ของตวั อย่างใหป้ รับ
โฟกสั ของเลนสใ์ กล้วตั ถทุ ่ีมีกาลงั ขยายสูงก่อน เพราะจะทาให้เห็นภาพวัตถุได้ชัดเจนท้ังกาลงั ขยายสงู และ
กาลงั ขยายต่า

- 30 - ชวี วิทยาพนื้ ฐาน ม.4
Q: ทดสอบความเขา้ ใจที่ 2.5
คาสั่ง จากภาพจงเตมิ ข้อความใหส้ มบูรณ์ และเตมิ หมายเลขให้สอดคลอ้ งกบั หนา้ ทตี ามส่วนประกอบของ
กล้อง
................1.1 หมนุ เพือ่ เปล่ยี นกาลังขยายของเลนส์ใกลว้ ตั ถุ
................1.2 ปรบั ปริมาณแสงทผ่ี ่านไปยังวัตถุ
................1.3 ขยายภาพวตั ถใุ หใ้ หญข่ นึ้ เกดิ เปน็ ภาพจริงหวั กลับ
................1.4 ขยายภาพวัตถุให้ใหญ่ขน้ึ เกิดเป็นเสมอื นจริงหัวกลบั
................1.4 ปรบั ภาพใหเ้ หน็ ได้ชดั เจนขึน้ เมื่อเปลยี่ นกาลังขยาย 40x เปน็ ตน้ ไป

ภาพที่ 2.6 กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง
ที่มา : http://www.oknation.net/blog/home/user_data/file_data/201212/06/619382689.jpg

ชวี วิทยาพนื้ ฐาน ม.4 - 31 -

กลอ้ งจุลทรรศนอ์ เิ ลก็ ตรอน (Electron Microscope)

หรือเรียกส้ันๆ ว่า E.M. ประดิษฐ์ขึ้นครั้งแรก ในประเทศเยอรมนี เม่ือปี พ.ศ. 2475 โดย
นักวิทยาศาสตร์ 2 ท่าน คือ แมกซ์ นอลล์ (Max Knoll) และเอิร์นสต์ รุสกา (Ernst Ruska) โดยแสงท่ีใช้เป็น
ลาแสงอิเล็กตรอน ซ่ึงมีขนาดเล็กมาก ทาให้มีกาลังขยายสูงมาก ลาแสงอิเล็กตรอนมีความยาวคลื่นประมาณ
0.025 อังสตรอม ( oA ) (1 oA = 10-4 ไมโครเมตร) ดังน้ันจึงทาให้กล้องจุลทรรศน์มีค่ารีโซลูช่ัน ประมาณ
0.0004 ไมโครเมตร และมีกาลังขยายถงึ 500,000 เทา่ หรือมากวา่

แหล่งกาเนิดแสงอิเล็กตรอน คอื ปนื ยิงอเิ ล็กตรอน (Electron fun) ซ่ึงเปน็ ขดลวดทังสเตน มีลกั ษณะ
เป็นรูปตัววี เม่ือขดลวดทังสเตนร้ันขึ้นโดยการเพิ่มกระแสไฟฟ้าเข้าไปในขดลวด ทาให้อิเล็กตรอนถูกปล่อย
ออกมาจากขดลวด เน่อื งจากอเิ ล็กตรอนมขี นาดเล็กมาก เพื่อปอ้ งกนั การรบกวนของลาแสงอิเล็กตรอน จึงตอ้ ง
มีการดูดอากาศออกจากตัวกล้องให้เป็นสุญญากาศ เพื่อป้องกันการชนกันของมวลอากาศกับลาแสง
อิเล็กตรอน ซงึ่ ทาให้เกิดการหกั เหได้

ระบบเลนส์เป็นเลนส์ระบบแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic lens) แทนเลนส์แก้วในกล้อง
จลุ ทรรศน์ธรรมดา เลนส์แม่เหล็กไฟฟ้าประกอบด้วยขดลวดพันรอบแท่งเหล็ก เม่ือกระแสไฟฟ้าผ่านเขา้ ไปทา
ให้เกิดสนามแม่เหล็กข้ึน สนามแม่เหล็กไฟฟ้าทาให้ลาแสงอิเล็กตรอนเข้มข้นข้ึน เพ่ือไปตกที่ตัวอย่างวัตถุท่ีจะ
ศึกษา เลนส์ของกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนประกอบด้วยเลนส์รวมแสง (Objective) และ Projector lens
โดย Projector lens ทาหน้าท่ีฉายภาพ จากตัวอย่างที่จะศึกษาลงบนจอภาพ (ทาหน้าที่คล้ายกับ Eyepiece
ของกล้องจุลทรรศน์ธรรมดา) จอภาพฉาบดว้ ยสารเรืองแสงพวกฟอสฟอรัส เมอื่ ลาแสงอิเลก็ ตรอนตกลงบนจอ
จะเกดิ การเรืองแสงเปน็ แสงสีเขียวแกมเหลือง ท่มี องเห็นได้ด้วยตาเปล่า

ผศู้ ึกษาก็สามารถเห็นภาพบนจอได้ และกส็ ามารถบันทกึ ภาพน้ันด้วยกล้องถ่ายรูปซึ่งประกอบอยู่กับ
กลอ้ งจลุ ทรรศนอ์ เิ ล็กตรอนได้

1. กล้องจุลทรรศนอ์ เิ ล็กตรอนชนดิ ส่องผา่ น (Transmission electron microscope)
เรยี กย่อว่า TEM ซ่ึงเอิร์น รสุ กา ไดส้ ร้างเป็นคนแรก เมื่อปี พ.ศ. 2475 ใชใ้ นการศึกษาโครงสร้าง

ภายในของเซลล์ โดยลาแสงอิเล็กตรอนจะส่องผา่ นเซลล์หรือตัวอยา่ งท่ีศึกษา ซง่ึ ต้องมีการเตรยี มกันเปน็ พเิ ศษ
และบางเป็นพิเศษ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบTEM เป็นกล้องท่ีใช้ศึกษาโครงสร้างหรือ
องค์ประกอบของเซลล์และเนื้อเยื่อในระดับโมเลกุล การใช้ต้องมีการเตรียมตัวอย่างด้วย เทคนิคพิเศษ
โดยเฉพาะ เรียกว่า ไอออนทิชชง่ิ (Ionteching) เป็นการนาเอาวัตถุตัวอย่างมาฉาบผวิ ดว้ ยโลหะ เพือ่ ให้ภาพ
ออกมามีความชดั เจน สาหรบั ใชด้ ตู ัวอยา่ งในลกั ษณะภาพตัดขวาง (cross section)

2. กลอ้ งจลุ ทรรศน์อเิ ลก็ ตรอนชนิดสอ่ งกราด (Scanning electron microscope)
เรยี กย่อว่า SEM เอ็ม วอน เอนเดนนี (M. Von Andenne) สรา้ งสาเร็จเมอื่ ปี พ.ศ. 2481 โดยใช้

ศกึ ษาผิวของเซลล์หรือผิวของตวั อย่างวัตถุทน่ี ามาศึกษา โดยลาแสงอิเล็กตรอนจะส่องกราดไปบนผิวของ
วตั ถุ ทาให้ได้ภาพซง่ึ มีลักษณะเปน็ ภาพ 3 มติ ิกล้องจุลทรรศนอ์ ิเล็กตรอนแบบส่องกราด SEM เป็นกลอ้ งทใี่ ช้

- 32 - ชวี วิทยาพน้ื ฐาน ม.4

ศกึ ษาโครงสร้างหรือองค์ประกอบพ้นื ผิวของเซลลเ์ นื้อเย่ือ เละวัตถุได้ โดยทาใหอ้ งคป์ ระกอบตา่ งๆ ของเซลล์
หรอื วตั ถุใหม้ ีความเข้มของเงาแตกตา่ งกนั

ภาพที่ 2.7 ไดจ้ ากกลอ้ งจุลทรรศน์อเิ ล็กตรอนแบบส่องกราด (SEM)
ที่มา: http://www.oknation.net/blog/home/user_data/file_data/201212/06/619382689.jpg

ตารางเปรียบเทียบความแตกตา่ งของกล้องจุลทรรศน์แบบใชแ้ สงและกลอ้ งจุลทรรศน์อิเล็กตรอน

สิ่งเปรยี บเทยี บ กลอ้ งจุลทรรศนแ์ บบใช้แสง กลอ้ งจุลทรรศนอ์ ิเล็กตรอน

ชวี วิทยาพน้ื ฐาน ม.4 - 33 -

การหาขนาดจริงของวตั ถุทศ่ี ึกษา หรือขนาดของภาพจากกล้องจุลทรรศน์
1. อา่ นค่ากาลังขยายของเลนส์ใกลต้ า และเลนสใ์ กล้วัตถุ
2. คานวณกาลงั ขยายของกล้องจากสตู ร

กาลงั ขยายรวมของกล้อง = กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา X กาลงั ขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ

= ขนาดของภาพ
ขนาดจรงิ ของวตั ถุ

3. บันทึกค่าตามที่ตอ้ งการ

ตัวอย่างท่ี 1 ถ้าวตั ถยุ าว 4 ไมโครเมตร เม่ือนามาศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศนจ์ ะมีความยาว 4 มิลลิเมตร
กล้องนี้มีกาลังขยายเทา่ ใด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ตวั อย่างที่ 2 พารามีเซียมในเลนส์ใกลต้ า 2 มิลลเิ มตร โดยทใี่ ช้กาลงั ขยายของเลนสใ์ กล้ตา 10X และเลนส์
ใกลว้ ตั ถุ 40X อยากทราบวา่ ขนาดจรงิ ของพารามเี ซยี มตวั นีม้ ีขนาดเท่าไหร่
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
การเปลี่ยนหนว่ ย

คาอุปสรรคจะใช้เมื่อค่าในหน่วยมูลฐานหรอื หนว่ ยอนุพันธ์น้อยหรอื มากเกนิ ไปเราอาจจะเขยี นค่านั้นอยู่ใน
รปู ตัวเลขคณู ดว้ ยเลขสบิ ยกกาลงั บวกหรือลบ ได้ เพือ่ ให้เหมาะสมและกะทดั รัด สวยงาม ซึ่งในทาง
ชีววิทยา คาอปุ สรรคท่ใี ชบ้ ่อยๆ ไดแ้ ก่

- เซนติ (c) ซึ่งมีค่าเท่ากบั 0.01 หรือ 10-2
- มลิ ลิ (m) ซงึ่ มคี ่าเทา่ กับ 0.001 หรอื 10-3
- ไมโคร (µ) ซึง่ มีคา่ เทา่ กบั 0.000 001 หรือ 10-6

- 34 - ชีววิทยาพนื้ ฐาน ม.4

- นาโน (n) ซึง่ มีค่าเท่ากับ 0.000 000 001 หรอื 10-9

- อังสตรอม (Å) ซึง่ มีคา่ เทา่ กับ 0. 000 000 0001 หรอื 10–10

ตวั อย่าง การเปลีย่ นหนว่ ย เช่น ภาพขนาด 0.7 มลิ ลเิ มตร มีขนาดก่ีไมโครเมตร

ต้องการเปล่ยี น mm µm

จาก 0.7 mm = 0.7 X 10-3 m
=

=

= 0.7 X 103

ถา้ ต้องการกาลังขยายของภาพในหนว่ ยเซนตเิ มตร จะมขี นาดก่ีเซนติเมตร

(แนวคาตอบ 8,000 µm = ? cm

=

= 8,000 X 10-4 cm หรอื 0.8 cm

ดังน้นั ภาพที่ได้จะมีขนาด 0.8 cm ทก่ี าลงั ขยาย 400 เท่า

ถ้าต้องการทราบขนาดจรงิ ของภาพในหน่วยนาโนเมตรจะหาไดอ้ ย่างไร

(แนวคาตอบ 5 X 10-2 µm = ? nm

=

= 50 nm ดังนั้น
ขนาดจริงของวตั ถุนม้ี ีขนาด 50 nm

แหล่งเรยี นรู้เพิ่มเติม

การใช้กล้องจลุ ทรรศน์ใชแ้ สง การใชก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์สเตอริโอ

ชวี วิทยาพื้นฐาน ม.4 - 35 -
Q: ทดสอบความเขา้ ใจที่ 2.6 เร่ือง กล้องจุลทรรศน์

ตอนท่ี 1 ภาพจากการเปล่ียนกาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ ให้นักเรียนวาดภาพท่ีเห็นบนจอภาพจากกล้อง
จลุ ทรรศน์เลนส์ประกอบแบบใชแ้ สงทก่ี าลงั ขยาย 4X, 10X และ 40X

กาลังขยายของ 4X ภาพที่เห็น 40X
เลนส์ใกลว้ ัตถุ 10X

อกั ษร “ p ”

สไลด์ตวั อยา่ ง

กาลงั ขยายของเลนสใ์ กลว้ ัตถุ
1. เม่ือเลื่อนสไลด์ไปทางขวาภาพที่ปรากฏมีทิศทางไปทางใด...........................................และเม่ือเลื่อน
สไลด์ออกจากตวั ภาพจะเล่ือนไปทางใด...............................................................................................
...................................................................................................................... ........................................
2. ภาพทีไ่ ดจ้ ากกลอ้ งจลุ ทรรศน์ เปน็ ภาพ.......................... มที ิศทาง.......................................................
ขนาด................................................................................ ....................................................................

. .............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
........................................................................................................................................... ...................
................................................................................................................ ..............................................

- 36 - ชีววิทยาพื้นฐาน ม.4 จานวน รายละเอียด ความสว่าง
ขอบเขตภาพ

กาลังขยายต่า

กาลังขยายสงู

3. ถา้ ภาพตัวอกั ษร “ม” มขี นาดจริง 20 ไมครอน ถ้ามองผ่านกลอ้ งจลุ ทรรศน์ โดยใชก้ าลงั ขยายของเลนสใ์ กล้
ตา = 10X และ เลนส์ใกลว้ ตั ถุ = 40X ภาพท่ีเหน็ จะมีลกั ษณะอย่างไร และมีขนาดภาพเทา่ ใด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
4. ภาพขนาด 50 ไมโครเมตร ที่กาลังขยายของเลนส์ใกลต้ า = 10X และ เลนสใ์ กล้วัตถุ = 100X ขนาดจริงกี่
นาโนเมตร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………..........………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………
5. เซลล์เยอื่ ผวิ ของใบเรยี งติดกัน 8 เซลล์ มขี นาด 0.15 มิลลิเมตร ที่กาลงั ขยายของเลนสใ์ กล้ตา = 10X และ
เลนส์ใกล้วตั ถุ = 10X ถา้ เปลยี่ นกาลังขยายเป็น 400 เทา่ จะเหน็ เซลล์เยอ่ื ผวิ ของใบก่เี ซลล์
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………..........................…………

ชีววิทยาพ้ืนฐาน ม.4 - 37 -

8. ถ้าพารามเี ซยี มมขี นาดยาว 100 ไมโครเมตร เมื่อนามาศึกษาภายใตก้ ล้องจลุ ทรรศน์ท่ีมีเลนสใ์ กล้ตา 10x
เลนสใ์ กล้วัตถุ 10x จะเห็นภาพพารามีเซยี มมขี นาดความยาวเท่าใด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
.................…………………………………………………………………………………………………………………………………………
คาส่งั ให้นกั เรียนเลือกคาตอบท่ถี ูกต้อง

1. ในการตรวจรักษาผู้ป่วย ทางโรงพยาบาลจะมีแบบฟอร์มให้ผู้ป่วยกรอกประวัติส่วนตัว แบบฟอรม์ นจ้ี ัดเป็น

สิ่งใดทางวทิ ยาศาสตร์

ก. ขอ้ สรุป ข. ข้อเท็จจริง

ค. สมมติฐาน ง. กฎ

2. ขอ้ ใด หมายถึงสมมตฐิ านในทางวทิ ยาศาสตร์

ก. การระบุปัญหา ข. การสังเกต

ค. การพยายามตอบปัญหา ง. การทดลอง

3. จากคากลา่ วของนักโภชนาการคนหนง่ึ ทีว่ า่ “มะนาวน่าจะช่วยป้องกันและทาให้อาการของ

โรคลกั ปดิ ลักเปิดลดลงได้” คากลา่ วนี้จดั เป็น

ก. สรปุ ผล ข. ทฤษฎี

ค. สมมตฐิ าน ง. ขอ้ เทจ็ จริง

4. เมื่อนักเรียนไปหาหมอมักจะสอบถามอาการของนักเรียนก่อนท่ีจะทาการรักษา นักเรียน ว่าในข้ันตอน

การสอบถามอาการของคนไขน้ นั้ จดั เป็นขนั้ ใด

ก. ต้ังสมมติฐาน ข. สงั เกต

ค. รวบรวมข้อมลู ง. ตรวจสอบสมมตฐิ าน

5. สงิ่ ใดทช่ี ่วยกาหนดแนวทางใหส้ ามารถตั้งปญั หาได้อย่างถกู ต้อง

ก. ขอ้ เทจ็ จรงิ ข. สมมตฐิ าน

ค. ขอ้ สรปุ ง. ประสบการณ์

6. ขอ้ ใดหมายถึงสมติฐานในทางวิทยาศาสตร์

ก. การระบุปญั หา ข. คาตอบท่เี ป็นจริง

ค. คาตอบที่เปน็ ไปได้ ง. การทดลอง

7. นาย ชัดเจน ต้องการศึกษาว่า ปุ๋ยมีผลต่อการออกดอกของกุหลาบหนูหรือไม่ ตัวแปรอิสระ ตัว แปรท่ีต้อง

ควบคมุ และตวั แปรตามในการทดลองนี้คอื อะไร ตามลาดบั

ก. ปุย๋ ชนดิ กหุ ลาบ การออกดอก

ข. น้า ชนิดกหุ ลาบ ปยุ๋

ค. ปุ๋ย การออกดอก ปริมาณปุ๋ย

ง. การออกดอก ปุ๋ย ชนดิ กุหลาบ

- 38 - ชีววิทยาพ้นื ฐาน ม.4

8. ถ้าใช้กล้องจลุ ทรรศน์ส่องดูโปรโตซวั โดยใช้เลนส์ตาที่มีกาลังขยาย 10 เทา่ และเลนส์ วตั ถุท่มี ี กาลงั ขยาย

40 เท่า สามารถมองเหน็ โปรโตซวั ในสเกลเลนสต์ ามคี วามยาว 2 mm ขนาดจริงของโปรโตซัวคอื

ก. 0.5 ไมครอน ข. 5 ไมครอน

ค. 50 ไมครอน ง. 0.5 mm

9. ถ้าท่านใช้กล้องจุลทรรศน์ส่องดูจุลินทรีย์ชนิดหนึ่ง โดยใช้เลนส์ใกล้ตาทีมีกาลังขยาย 20 เท่า และ เลนส์

ใกล้วัตถุท่ีมีกาลังขยาย 100 เท่า สามารถมองเห็นจุลินทรีย์ดังกล่าวยาว 100 ไมโครเมตรขนาดจริงของ

จุลินทรยี เ์ ป็นเทา่ ใด

ก. 0.5 นาโนเมตร ข. 5 นาโนเมตร

ค. 50 นาโนเมตร ง. 0.5 ไมโครเมตร

10. จากการสารวจเซลลข์ องแบคทีเรยี ชนดิ คอกคัสจากกล้องจุลทรรศนท์ ่ีมกี าลงั ขยาย เลนสใ์ กล้ตา X20

และเลนสว์ ตั ถุ X50 วัดได้ขนาดเส้นผา่ นศูนย์กลางเฉล่ยี 2.1 มลิ ลเิ มตร ปรมิ าตรโดยประมาณของแบคทเี รยี

ชนดิ นคี้ วรจะเปน็ เท่าไร

ก. 3.0 ไมโครลติ ร

ข. 4.5 ไมโครลิตร

ค. 0.006 ลกู บาศก์มลิ ลิเมตร

ง. 0.009 ลกู บาศก์มิลลิเมตร

11. กาหนดให้ 1 = เปล่ียนเลนส์ใกล้วัตถุจาก 10X เป็น 40X

2 = หมุนปุ่มปรับภาพหยาบ

3 = หมนุ ปุ่มปรบั ภาพละเอียด

4 = ตามองทเี่ ลนสใ์ กล้วตั ถุ

เมอื่ ดูภาพด้วยกลอ้ งจุลทรรศน์โดยใช้เลนสใ์ กล้วัตถุ 10X และปรบั จนเห็นภาพชัดดี หาก

ต้องการจะดรู ายละเอียดเพิ่มขึ้น จะมขี ั้นตอนในการปฏบิ ตั ิอยา่ งไร

ก. 1 4 3 ข. 1243

ค. 2143 ง. 2143

12. อกั ษร “ง” มีขนาดจรงิ 20 ไมครอน เมื่อมองผ่านกล้องจุลทรรศนซ์ ่ึงมีกาลงั ขยายเลนส์ ใกลต้ า 10 เท่า

เลนส์ใกล้วัตถุ 40 เทา่ จะเห็นภาพเปน็ อยา่ งไร

ก. ขนาด 8 มิลลิเมตร ข. ขนาด 0.4 มลิ ลิเมตร

ค. ขนาด 8 มลิ ลิเมตร ง. ขนาด 0.4 มลิ ลเิ มตร

13. เสน้ ผา่ นศูนย์กลางของอาณาเขตที่เหน็ จากกล้องจลุ ทรรศน์ ซ่งึ ใช้เลนส์ใกล้ตา 10X และเลนส์วตั ถุ 10X

วดั ได้ 1, 200 ไมโครเมตร เม่ือเปลี่ยนเลนสว์ ัตถุเป็น 40X จะเห็นภาพของวตั ถุเปน็ สัดส่วนกับอาณาเขตที่เหน็

ได้ดงั ภาพซา้ ยมือ วัตถทุ ่เี ห็นมีความยาวจรงิ เทา่ ไร

ก. 50 ไมโครเมตร

ข. 100 ไมโครเมตร

ค. 200 ไมโครเมตร

ง. 300 ไมโครเมตร

ชีววิทยาพืน้ ฐาน ม.4 - 39 -

14. ภาพที่แสดงเปน็ แมลงชนิดหน่ึงทปี่ รากฏในวงภาพของกล้องจุลทรรศน์แบบเลนส์ ประกอบที่ใชก้ าลงั ขยาย

ปานกลาง ท่านจะปรับกล้องอยา่ งไรให้ได้รายละเอียดของ แมลงทัง้ ตวั ในวงภาพ

ก. เลอื่ นสไลด์ไปทางซา้ ย-ไมเ่ ปลี่ยนกาลงั ขยาย

ข. เลอ่ื นสไลดไ์ ปทางขวา-ไม่เปลีย่ นกาลงั ขยาย

ค. เลือ่ นสไลดไ์ ปทางซ้าย-ใช้กาลงั ขยายสูง

ง. เลื่อนสไลด์ไปทางขวา-ใชก้ าลังขยายสงู

15. สมมตฐิ านควรมีลักษณะเปน็ อยา่ งไร

1. ทดสอบไดด้ ว้ ยการทดลอง

2. ครอบคลมุ ตวั แปรหลายๆตัว

3. ชดั เจน เขา้ ใจง่าย และสมั พนั ธ์กับปัญหา

4. สามารถอธบิ ายปัญหาต่างๆได้

ก. 1 2 ข. 1 3

ค. 2 3 ง. 1 4

16.ท่กี าลงั ขยายของกล้องจุลทรรศน์ทีก่ าลังขยาย 4x10 เห็นเสน้ ผา่ นศูนย์กลางความยาว 4 มลิ ลิเมตรถา้

เปลย่ี นกาลังขยายเป็น 10x10 จะเห็นไมบ้ รรทัดสว่ นทีพ่ าดผ่านศนู ย์กลางมีความยาวเทา่ ใด

ก. 1.6 มิลลเิ มตร ข. 1.0 มลิ ลิเมตร

ค. 4.0 มลิ ลิเมตร ง. 2.5 มลิ ลิเมตร

17.ขณะทีม่ องไปในจอภาพของกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง ข้อความใดถูกต้อง(มข.50)

ก. ถา้ เล่อื นสไลดไ์ ปทางขวา จะเหน็ วัตถุทผี่ นกึ บนสไลด์เลอื่ นไปทางซ้าย

ข. ถา้ เลื่อนสไลดห์ า่ งจากตวั จะเห็นวัตถทุ ผี่ นกึ บนสไลด์เลื่อนห่างออกไปจากตัว

ค. ถา้ เปลย่ี นไปใช้เลนสใ์ กล้วัตถกุ าลงั ขยายสูงข้นึ จะเห็นพืน้ ทบี่ นวัตถุเพมิ่ ขน้ึ

ง. ถา้ เล่อื นไปใชเ้ ลนส์ใกล้วตั ถกุ าลงั ขยายสูงขน้ึ ความสว่างในจอภาพจะเพิม่ ข้ึน

18.กล้องจุลทรรศน์ชนิดใช้แสงธรรมดา (Compound light microscope) มีขีดจากัดในการศึกษาวัตถุที่มี

ขนาดเล็กทส่ี ดุ เทา่ ใด(มอ.50 )

ก. 0.1 มลิ ลเิ มตร ข. 0.2 ไมโครเมตร

ค. 0.5 มลิ ลเิ มตร ง. 10 มิลลเิ มตร

19. กล้องจลุ ทรรศน์ในขอ้ ใดใหก้ าลงั ขยายเป็นภาพ 3 มิต(ิ A-net 2551)

1. กลอ้ งจลุ ทรรศน์แบบใช้แสงแบบสเตอรโิ อ(Steoscopic microscope)

2. กลอ้ งจุลทรรศน์แบบใชแ้ สงธรรมดา( Compound light microscope)

3. กล้องจุลทรรศนอ์ เิ ล็กตรอนชนิดสอ่ งกราด(Scanning electron microscope)

4. กล้องจลุ ทรรศน์อิเลก็ ตรอนชนดิ สอ่ งผ่าน(Transmission electron microscope)

ก. 1 และ 3 ข. 1 และ 4

ค. 2 และ 3 ง. 2 และ 4

- 40 - ชีววิทยาพื้นฐาน ม.4 เคมที ่ีเป็นพืน้ ฐานของสง่ิ มชี วี ติ

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3

สารอนนิ ทรีย์ที่สาคัญ คือ น้า และแร่ธาตบุ างชนดิ ในร่างกายมนี า้ เป็นองค์ประกอบมากที่สุด น้าเป็นตัว
ทาละลายท่ดี ี ช่วยลาเลียงสารต่าง ๆ ไปทว่ั ร่างกาย น้ามีความจุความร้อนสูงจึงชว่ ยรักษาอุณหภูมิของรา่ งกาย
ใหค้ งที่ สาหรับแร่ธาตเุ ป็นส่วนประกอบของเซลลแ์ ละเนือ้ เย่ือ และช่วยให้เกิดปฏกิ ิริยาเคมตี า่ ง ๆ

สารอินทรีย์มีธาตุคาร์บอนและธาตุไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบหลัก สารอินทรีย์ท่ีพบมากในสิ่งมีชีวติ มี
4 กลุ่ม ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ลิพิด และกรดนิวคลีอิก สารเหล่าน้ีเป็นโครงสร้างของเซลล์ ช่วยให้
ร่างกายเจริญเติบโต เป็นสารท่ีให้พลังงาน กรดนิวคลีอิกทาหน้าท่ีเก็บและถ่ายทอดข้อมูลทางพันธุกรรม
นอกจากน้ียังมวี ติ ามนิ ซึ่งไม่ให้พลงั งาน แต่ร่างกายจาเป็นต้องไดร้ บั จึงจะดารงชวี ิตได้อยา่ งปกติ

ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต มี 2 ประเภท คือ ปฏิกิริยาคายพลังงานและปฏิกิริยาดูดพลังงาน
ปฏิกิริยาเหล่าน้ีจาเป็นต้องอาศัยเอนไซม์ช่วยเร่งปฏิกิริยา ความเป็นกรด-เบส อุณหภูมิ ความเข้มข้นของสาร
ตง้ั ต้น และความเข้มข้นของเอนไซม์มีผลต่อปฏิกริ ิยาต่าง ๆ ในเซลล์ ปฏิกิริยาอาจชะงักหรือหยดุ ไปถ้ามีสารที่
มสี มบัตยิ บั ยงั้ การทางานของเอนไซม์เข้ารวมกบั เอนไซม์หรือสารต้ังต้น

จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. สืบค้นข้อมูล อธิบายเกี่ยวกับสมบัติของน้าและบอกความสาคัญของน้าที่มีต่อส่งมีชีวิต และยกตัวอย่าง
ธาตชุ นิดต่างๆ ทมี่ ีความสาคัญต่อรา่ งกายสงิ่ มีชีวิต

2. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างของคาร์โบไฮเดรต ระบุกลุ่มของคาร์โบไฮเดรต รวมทั้งความสาคัญของ
คาร์โบไฮเดรตท่ีมตี ่อส่งิ มีชีวติ

3. สืบค้นขอ้ มูล อธิบายโครงสรา้ งของโปรตีน และความสาคัญของโปรตีนท่มี ีต่อสงิ่ มชี วี ติ
4. สบื คน้ ข้อมลู อธิบายโครงสรา้ งของลิพิด และความสาคัญของลิพิดทม่ี ตี อ่ สิง่ มีชีวิต
5. อธิบายโครงสรา้ งของกรดนิวคลิอิก และระบุชนิดของกรดนิวคลิอิกและความสาคัญของกรดนวิ คลอิ ิกที่มี

ตอ่ สิง่ มชี ติ
6. สบื คน้ ข้อมลู และอธบิ ายปฏิกริ ยิ าเคมที ่ีเกิดข้ึนในสง่ิ มีชวี ิต
7. อธิบายการทางานของเอนไซมใ์ นการเรง่ ปฏิกิริยาเคมีในสิ่งมีชีวิตและระบุปัจจัยท่มี ีผลต่อการทางานของ

เอนไซม์

ชวี วิทยาพื้นฐาน ม.4 - 41 -

แบบทดสอบก่อนเรียน

คาชแ้ี จง ให้นักเรียนเตมิ เครื่องหมายถูก(/) หรอื ผิด(x) หน้าข้อความทีก่ าหนดให้
1.1 ………………. ตัวเลขทแี่ สดงจานวนโปรตอนในอะตอม เรยี กวา่ เลขมวล ผลรวมของจานวนโปรตรอนกบั

นวิ ตรอนเรยี กวา่ เลขอะตอม
1.2……………..…. อเิ ลก็ ตรอนที่อย่ใู นระดบั พลังงานช้นั นอกสดุ ท่เี คลอ่ื นที่รอบนวิ เคลยี ส เรยี กว่า เวเลนซ์

อเิ ล็กตรอน
1.3………….…… โปรตอนและนิวตรอนมปี ระจไุ ฟฟา้ บวก สว่ นอเิ ลก็ ตรอนมปี ระจุไฟฟา้ เปน็ ลบ
1.4 ………..…… ปฏกิ ริ ิยาเคมเี ปน็ กระบวนการท่ที าให้สารเกดิ การเปลยี่ นแปลงทางเคมีแลว้ มีสารใหม่เกิดข้ึน
1.5 ……………… การเกิดปฏิกริ ิยาเคมีอาจสังเกตได้จากการเปล่ียนแปลง ของสี และ กลิน่ ต่างไปจากเดิม การ

มฟี องแก๊ส หรือตะกอนเกิดขึน้ หรือมกี ารเพิม่ หรือลดอุณหภมู ิ
1.6 …………..…… การหลอมเหลวของนา้ แข็ง หรอื การระเหยกลายเปน็ ไอนา้ จัดเป็นปฏกิ ิรยิ าเคมี
1.7 ……………..…สารประกอบคาร์บอนทุกชนิดเปน็ สารอินทรีย์
1.8 ……………… สารชวี โมเลกลุ คือสารทุกชนิดที่พบและเป็นองค์ประกอบในสงิ่ มีชวี ิต
1.9 ……………… เอนไซม์เปน็ สารอนิ ทรยี ์ประเภทโปรตนี ทีส่ ามารถเร่งปฏกิ ิรยิ าให้เกิดไดเ้ ร็วขน้ึ
1.10 …….………. .สารอนนิ ทรีย์ ท่ีทาหน้าทค่ี วบคมุ การถา่ ยทอดทางพนั ธกุ รรมในสงิ่ มชี วี ิตคือ DNA และ RNA
1.11 ……………. .โปรตนี คาร์โบไฮเดรต ลพิ ดิ และกรดนิวคลีอิก เปน็ โมเลกุลทใี่ หญเ่ กดิ จากหน่วยย่อย

(Monomer) ต่อกนั
1.12 …………….. เซลลโู ลสจดั เป็นไดแซค็ คาไรค์ ทาหนา้ ทเ่ี ป็นส่วนประกอบหลักของผนังเซลล์
1.13 ……..…….. ฮีโมโกลบิล และเอนไซม์บางชนดิ เป็นโปรตนี
1.14………….….. ไตรเพปไทดป์ ระกอบด้วยกรดอะมโิ นมาเชอ่ื มต่อกันด้วยพนั ธะเพปไทด์ 3 พนั ธะ
1.15…….……….. ไหมละลายที่ใชเ้ ย็บแผลไดจ้ ากไคตนิ ซง่ึ เป็นสารจาพวกโปรตีนทพ่ี บในกุง้
1.16………..…… นิวคลโี อไทด์ ทมี่ เี บสไทมีนเปน็ องคป์ ระกอบ ของ DNA และ RNA

- 42 - ชีววิทยาพื้นฐาน ม.4

กขค
ภาพท่ี 3.1 ภาพธาตุและสารประกอบ ก. Sodium ข. Chlorine ค. Sodium chloride
ท่ีมา https://www.emaze.com/@AOIZQWZQ
สารประกอบท่ีสาคญั บางชนดิ ท่ีมีในส่ิงมชี วี ิต
ส่ิงมีชีวิตในโลกมีรูปร่างและโครงสร้างแตกต่างกันมากมาย เช่น พืช สัตว์ ทาให้เราสามารถแยก
สิง่ มชี ีวติ เป็นชนิดต่าง ๆ ได้ แต่ว่าถึงแม้จะแตกต่างกัน ส่ิงมชี วี ิตเหล่านนั้ ก็ลว้ นประกอบข้ึนดว้ ยหนว่ ยพ้ืนฐานที่
เล็กที่สุดเรียกว่า เซลล์ ภายในเซลลท์ ุกชนดิ มีโครงสรา้ ง ทป่ี ระกอบด้วยโมเลกลุ ของสารเคมีหลายชนิด โมเลกุล
ของสารเหล่าน้ีเกิดจากโครสร้างพื้นฐานที่เล็กที่สุด คืออะตอม ธาตุท่ีพบมากได้แก่ คาร์บอน ไฮโดรเจน
ไนโตรเจน ออกซิเจน ซ่ึงมีการรวมกันเป็นโมเลกุล โมเลกุลบางชนิดมีขนาดใหญ่มาก เช่น โปรตีน ลิพิด
คาร์โบไฮเดรตและกรดนวิ คลีอิก เป็นตน้ ประกอบกนั เป็นโครงสรา้ งทท่ี าหนา้ ที่ต่างกนั

นกั วทิ ยาศาสตร์มคี วามสนใจทจี่ ะศึกษาวา่ สิ่งมีชวี ิตประกอบดว้ ยสารใดบ้าง มากน้อยแค่ไหน จาก
การศึกษาพบว่าเซลล์ในร่างกายของคนประกอบด้วยสารหลายชนดิ และสารเหล่านม้ี ีปรมิ าณทแ่ี ตกต่างกนั
ดังภาพ

ภาพท่ี 3.2 ค่าร้อยละของสารต่าง ๆ ในรา่ งกายคน
ที่มา:http://www.scimath.org/socialnetwork/groups/viewbulletin

ชวี วิทยาพ้นื ฐาน ม.4 - 43 -
ในสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกัน จะมีปริมาณของสารแตกต่างกัน เช่น พืชและสัตว์ก็จะมีปริมาณของสารต่าง
ๆ ไม่เท่ากัน นอกจากน้ียังพบว่าสารเหล่าน้ี บางประเภทมีธาตุไฮโดรเจนและคาร์บอนเป็นองค์ประกอบและ
บางประเภทไม่มี นักวทิ ยาศาสตร์จึงไดจ้ าแนกสารออกได้เปน็ 2 ประเภท
คือ สารอนินทรีย์ (inorganic substance) เช่น น้า แร่ธาตุ สารอนิ ทรยี ์ (organic substance) เช่น แป้ง
ไกลโคเจน เซลลโู ลส นา้ ตาล วิตามิน ลิพิด โปรตีน และกรดนิวคลีอกิ เป็นต้น ซึ่งเปน็ สารท่มี ีธาตุคารบ์ อนและ
ไฮโดรเจนเป็นองคป์ ระกอบ
สารอนินทรยี ์
สารอนินทรีย์ ท่ีเป็นองค์ประกอบของเซลล์ของส่ิงมีชีวิตหลายชนิด สารบางอย่างมีปริมาณมาก เช่น
น้า บางอย่างมีปริมาณน้อยแต่ล้วนมีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของเซลล์ จะเห็นได้ว่า องค์ประกอบของ
เซลล์ของสง่ิ มีชีวติ หลายชนิด สารบางอยา่ งมีปริมาณมาก

ภาพที่ 3.3 พนั ธะไฮโดรเจนที่ยดึ ระหวา่ งโมเลกุลของน้า
ที่มา ttp://www.scimath.org/socialnetwork/groups/ %B8%B6%E0%B8%81)?groupid=142

นา้ (water)
ซ่ึงน้าประกอบด้วยอะตอมของไฮโดรเจนและออกซิเจนยึดเหน่ียวกันด้วยพันธะโคเวเลนซ์

(covalent bond) ซ่ึงเกิดจากการใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน อิเล็กตรอนวงนอกของอะตอมออกซิเจนยังมเี หลืออีก
4 อิเล็กตรอน ที่ยังไม่ได้ยึดเหน่ียวกับอะตอมของธาตุอ่ืน จึงทาให้อะตอมของออกซิเจนแสดงประจุลบ และ
อะตอมของไฮโดรเจนท้ัง 2 อะตอม แสดงประจุบวกทาใหโ้ มเลกุลของนา้ เป็นโมเลกุลทม่ี ี
ขั้ว (polar) นอกจากน้าเป็นโมเลกุลท่ีมีข้ัวแล้ว น้ายังมีสมบัติเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้องซ่ึงเกิดจากการยึด
เหนี่ยว

- 44 - ชวี วิทยาพื้นฐาน ม.4
ดว้ ยพนั ธะไฮโดรเจน (hydrogen bond) ระหวา่ งอะตอมของออกซเิ จนกบั อะตอมของไฮโดรเจนของ

น้าแตล่ ะโมเลกุล พนั ธะไฮโดรเจนเป็นพนั ธะที่ไม่แข็งแรงเทา่ พนั ธะโคเวเลนซ์ แต่กเ็ พียงพอทจี่ ะยึดเหนีย่ ว
โมเลกลุ ของนา้ ไวด้ ้วยกัน จึงทาใหน้ ้ามีสภาพเปน็ ของเหลว ดังภาพท่ี 3.3

สมบตั กิ ารมีขัว้ ของโมเลกุลของน้าและการเกดิ พันธะไฮโดรเจนกับโมเลกลุ ต่าง ๆ ทาให้สารตา่ ง ๆ ท่ีมี
ข้ัวละลายน้าไดด้ ี การทน่ี ้าแสดงท้งั ประจบุ วกและประจลุ บอยูใ่ นโมเลกลุ เดียวกนั น้าจงึ เปน็ ตัวทาละลายท่ดี ี
สาหรับโมเลกลุ ทลี่ ะลายน้าได้และแตกตวั ใหไ้ อออน เชน่ โซเดยี มคลอไรด์ เพราะ โซเดียมไอออน (Na+) เกาะ
กับอะตอมของออกซิเจนซึง่ เป็นข้ัวลบ ส่วนคลอไรด์ไอออน (Cl- ) เกาะอยู่กับอะตอมของไฮโดรเจนซง่ึ เป็น
ขวั้ บวก ดังภาพ

ภาพที่ 3.4 การแตกตวั ของตัวถกู ละลายโซเดียมคลอไรด์
ทีม่ า http://www.scimath.org/ebook/sci/sci-sec4/11/eBook/

ภาพที 3.5 การละลายนา้ ของน้าตาลเน่ืองจากคณุ สมบัติไฮโดรฟลิ กิ
ที่มา; http://www.scimath.org/ebook/sci/sci-sec4/11/eBook/
การทโ่ี มเลกลุ ของนา้ มีขั้วทาใหส้ ามารถยดึ จบั กับสารทมี่ ขี ้ัวได้ ทาใหน้ ้าสามารถเคล่ือนที่ในท่อเล็ก ๆ ได้
(capillary movement) และสามารถเป็นตวั ทาละลายที่ดีสาหรบั อิออนและโมเลกลุ ท่ีมีข้ัว (polar molecule)
โมเลกลุ ท่ีละลายในน้าไดเ้ รียกวา่ ไฮโดรฟิลกิ (hydrophilic) หรือ พวกทชี่ อบนา้ โมเลกลุ ที่ไม่มีขว้ั (nonpolar
molecule) ไม่สามารถละลายในนา้ และแยกตัวออกจากน้าเรียกว่า ไฮโดรโฟบิก (hydrophobic)

ชวี วิทยาพ้นื ฐาน ม.4 - 45 -

รา่ งกายของคนประกอบด้วยน้าประมาณร้อยละ 65 ในสมองมีน้าอยูร่ ้อยละ 80 แต่ในกระดูกมีเพยี งร้อยละ
25 เท่านน้ั ร่างกายตอ้ งการน้าวนั ละประมาณ 3 ลติ ร รา่ งกายไดน้ ้าในรปู ของน้าดม่ื น้าในผกั ผลไม้ และ
อาหารอนื่ ๆ ที่กนิ เข้าไป ความสาคัญของนา้ คือ

1. นา้ เป็นสว่ นประกอบของเซลล์และโพรโทพลาสซมึ ทาให้เกดิ การเคลอื่ นไหวของสารภายในเซลล์
และเกิดการผสมกนั

2. นา้ ช่วยในการลาเลยี ง คือ ลาเลียงสารอาหารตา่ ง ๆ แกส๊ ฮอรโ์ มน และของเสยี ตา่ ง ๆ ซึง่ ลาเลยี งมา
ตามหลอดเลือดของระบบไหวเวยี น (circulatory system)

3. นา้ เป็นตัวกลางใหส้ ารทาปฏกิ ิริยาทางเคมีและเปน็ ตวั รว่ มในปฏกิ ริ ยิ าดว้ ย เช่น ปฏกิ ิรยิ าการย่อย
สลาย (hydrolysis) ได้แก่ การย่อยอาหารต่าง ๆ

4. น้าชว่ ยควบคุมอุณหภมู ิ โดยน้ามีความจุความร้อนสูงในการระเหยของเหง่ือจากรา่ งกาย จะมีการ
นาความรอ้ นซ่ึงเกนิ จากร่างกายออกไป ทาให้อุณหภมู ิของรา่ งกายคงที่อยู่ได้

5. น้าชว่ ยในการขับถา่ ยกากอาหาร และของเสีย เช่น ชว่ ยในการขับถ่ายปสั สาวะและอจุ จาระ

คณุ สมบตั ขิ องน้าทีจ่ าเป็นต่อชีวิต
ชีวิตเกิดข้ึนจากน้า สงิ่ มีชวี ติ ทุกชนดิ มีองค์ประกอบคือน้า หลายชนดิ อาศยั อยใู่ นนา้ ปฏกิ ิริยาเคมีตา่ ง

ๆ ท่เี กิดขน้ึ ในรา่ งกายเกดิ ในน้า
น้าเป็นโมเลกุลทีม่ ขี ั้ว

คุณสมบัติพเิ ศษของน้าเริ่มตน้ จากพนั ธะโคเวเลนซ์ทมี่ ขี ั้วในน้าแต่ละโมเลกลุ โดยรวมแล้วโมเลกลุ ของ
น้าไม่มปี ระจไุ ฟฟา้ แต่ออกซิเจนจะดงึ อเิ ล็กตรอนคทู่ ใี่ ชร้ ว่ มกันมาใกลก้ ว่า ดังนั้นจึงทาให้อะตอมแต่ละดา้ น
ของโมเลกุลของนา้ มีประจอุ ่อนๆ โดยอะตอมของออกซเิ จนจะมีประจุลบอ่อนๆ และอะตอมของไฮโดรเจนจะ
มีประจุบวกออ่ นๆ การมีประจุไฟฟา้ ตา่ งกนั แสดงว่าน้าเปน็ โมเลกุลท่ีมีขว้ั การมีขวั้ ของน้าทาใหเ้ กิดแรงดึงดูด
ระหว่างโมเลกลุ ของนา้ ดังรูปที่ 1 พันธะไฮโดรเจนท่ีมากมายระหวา่ งโมเลกุลของน้าทาให้น้ามีคณุ สมบัตพิ ิเศษ
ที่ทาให้เป็นของเหลวที่มคี วามสาคญั ตอ่ ชวี ิต

ภาพท่ี 3.6 การมขี ้ัวของนา้ ทาให้เกดิ แรงดึงดูดระหวา่ งโมเลกลุ
ที่มา : http://www.personal.psu.edu/staff/m/b/mbt102/bisci4online/chemistry/chemistry3.htm
ttp://www.personal.psu.edu/staff/m/b/mbt102/bisci4online/chemistry/chemistry3.htm (26 มิ.ย. 58)

- 46 - ชีววิทยาพ้นื ฐาน ม.4

น้าเป็นตวั ทาละลายทด่ี เี ย่ยี ม
นา้ เป็นตัวทาละลาย (solvent) ซึ่งหมายถึงสาร (ส่วนใหญ่เป็นของเหลว) ที่สามารถละลายสารอ่ืนได้

เมื่อสารเกิดการละลาย โมเลกุลของสารจะกลายเป็นตัวถูกละลาย (solute) ซึ่งจะเกิดการกระจายตัว เกลือ
น้าตาล และสารประกอบอ่ืนๆ ที่ละลายน้าได้ดีเป็นสารท่ีมีขั้ว ทั้งน้ีเน่ืองจากเกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างสาร
เหล่านั้นกับโมเลกุลของนา้

เกลือ เป็นสารประกอบท่ีละลายน้าได้ดี โดยจะมีการปลดปล่อยไอออน นอกเหนือจาก H+ และ OH-
โซเดียมคลอไรด์ (NaCl) เป็นตัวอย่างของเกลือ น้าสามารถทาละลายเกลือและสารประกอบที่ชอบน้า
(hydrophilic) โดยจะเกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างน้าและโมเลกุลท่ีมีข้ัวของสารเหล่านั้น พันธะไฮโดรเจน
เหล่านี้ทาให้ตัวถูกละลายเกิดการละลาย โดยการดึงโมเลกุลหรือไอออนให้ออกห่างจากกันและรักษาให้
โมเลกลุ หรือไอออนเหล่านน้ั อยหู่ ่างกัน

เราสามารถเห็นปฏสิ ัมพนั ธข์ องน้ากับสารท่ีไมช่ อบนา้ (hydrophobic) จากการเขยา่ น้าผสมกับนา้ มัน
แล้วตั้งทิ้งไว้บนโต๊ะ เพื่อสังเกตการณ์เปลี่ยนแปลง น้ามันประกอบด้วยโมเลกุลที่ไม่มีขั้ว ซ่ึงไม่สามารถเกิด
พันธะไฮโดรเจนกับน้าได้ การเขยา่ ขวดทาให้พนั ธะไฮโดรเจนที่ยึดระหว่างโมเลกุลของนา้ บางส่วนสลาย ทาให้
น้ากลายเป็นหยดขนาดเล็กที่ผสมปนกับน้ามัน อย่างไรก็ตาม น้าจะรวมตัวกันใหม่อย่างรวดเร็ว ทาให้น้า
กลายเป็นหยดน้าที่ใหญ่ข้ึนเรื่อยๆ เมื่อเกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของน้า พันธะไฮโดรเจนเป็นตัว
ป้องกันโมเลกุลของน้ามัน ทาให้โมเลกุลของน้ามันเป็นหยดไขมันและลอยขึ้นเหนือผิวน้า ปรากฏการณ์
ดังกล่าวเกิดข้ึนท่ีเยื่อต่างๆ ของเซลล์ท่ีมีส่วนประกอบเป็นไขมัน และมีความบาง ซึ่งทาให้เกิดการกั้นระหว่าง
ของเหลวท่ีเป็นน้าภายในเซลล์กับภายนอกเซลล์ การกาเนิดของเยื่อต่างๆและการกาเนิดชีวิตเริ่มจากปฎิ
สัมพันธด์ งั กล่าว

การดงึ ดูดระหว่างโมเลกลุ
คณุ สมบัติของน้าประการหน่ึงคือ การดึงดูดระหว่างโมเลกุล (cohesion) ซึ่งหมายถึง การที่โมเลกุลของน้ายึด
เกาะกัน ไม่ยอมแยกออกจากกัน พันธะไฮโดรเจนจานวนมากจานวนมากส่งผลให้โมเลกุลของน้ายึดเกาะ
กนั เอง เราสามารถเหน็ ผลท่เี กดิ จากการดงึ ดูดระหวา่ งโมเลกลุ ของนา้ ได้จากปรากฏการณ์แรงตงึ ผวิ

การดึงดูดระหว่างโมเลกุลของน้าเป็นองค์ประกอบสาคัญสาหรับกระบวนการต่างๆ ของส่ิงมีชีวิต
หลายเซลล์ ตัวอย่างเช่น โมเลกุลของน้าหลุดจากผิวของน้าที่อยู่ในสถานะของเหลวออกไปในรูปของแก๊ส
เรียกกระบวนการดังกล่าว ว่า การระเหย (evaporation) พันธะไฮโดรเจนท่ีดึงดูดระหว่างโมเลกุลของน้าทา
ให้การระเหยของน้าเป็นไปได้ยาก อีกนัยหน่ึงคือ การทาลายการดึงดูดระหว่างโมเลกุลของน้าจาเป็นต้องใช้
พลังงาน ดงั นั้น การระเหยจะดงึ พลงั งานในรูปความรอ้ นออกจากน้าทเี่ ปน็ ของเหลว ทาใหน้ า้ บรเิ วณผิวมี
อณุ หภูมิต่าลง การระเหยของน้าทาให้มนุษย์และสัตว์อ่ืนๆ มีอุณหภูมิต่าลง เช่น การที่เหงอ่ื ออกในสภาวะที่มี
อากาศร้อนและแห้ง เป็นต้น เหง่ือซง่ึ ประกอบด้วยน้าร้อยละ 99 เมอ่ื ระเหยออกจากร่างกายจะทาให้ผิวหนังมี
อุณหภมู ิเยน็ ลง

ชวี วิทยาพน้ื ฐาน ม.4 - 47 -

ภาพท่ี 3.7 แรงดึงจากการคายน้าและการลาเลียงน้าของพชื
ท่ีมา : ttp://www.personal.psu.edu/staff/m/b/mbt102/bisci4online/chemistry/chemistry3.htm

น้าชว่ ยรักษาอุณหภูมใิ หค้ งท่ี
อุณหภมู ิ เปน็ วิธกี ารวัดพลังงานในการเคลือ่ นทข่ี องโมเลกุล โมเลกุลมีการส่นั อย่างตอ่ เน่ือง และจะสั่น

เร็วข้ึนหากได้รับความร้อน อย่างไรก็ตาม พันธะไฮโดรเจน จานวนมากขัดขวางการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของ
น้า ทาให้โมเลกุลของน้าไม่สามารถเคลื่อนท่ีได้ตามปกติ ดังนั้นจึงจาเป็นต้องใช้ความร้อนมากกว่าปกติเม่ือ
เทียบกับของเหลวอ่ืนๆในการเพิ่มอุณหภูมิของน้า การป้องกันการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของน้าเป็น
องค์ประกอบสาคัญของการปรับตัวให้เหมาะกับสภาพแวดล้อม ท้ังน้ีเน่ืองจากโมเลกุลต่างๆ ในสิ่งมีชีวิตจะ
สามารถทางานได้ในชว่ งอุณหภูมหิ นง่ึ ๆเทา่ นนั้

ในสภาวะท่ีอุณหภูมิต่ากวา่ 0๐ C โมเลกุลของน้าจะไม่สั่นจนเกิดการทาลายพันธะไฮโดรเจนระหว่าง
โมเลกุล จึงทาให้โมเลกุลของน้าถูกตรึงไว้ในรูปพันธะที่มีความแข็งซ่ึงมีความแข็งซึ่งมีลักษณะเป็นช้ัน ซ่ึงเป็น
รูปแบบพันธะท่ีเกิดข้ึนในน้าแข็ง โมเลกุลของน้าแต่ละโมเลกุลจะอัดตัวกันหนาแน่นน้อยกว่าเมอื่ อยู่ในสถานะ
ของเหลว ดังน้ันน้าแข็งจึงสามารถลอยบนผิวน้าได้ แผ่นน้าแข็งท่ีเกิดขึ้นบริเวณผิวของสระ ทะเลสาบและลา
ธารต่างๆ ช่วยป้องกันอุณหภูมิของน้าอยู่เบื้องล่างไม่ให้แข็งตัว การป้องกันอุณหภูมิของแผ่นน้าแข็งบรเิ วณผิว
นี้ ทาให้สตั วท์ อ่ี ยใู่ นนา้ สามารถดารงชีวติ อยไู่ ด้ในช่วงฤดหู นาวที่มีอากาศหนาวเยน็ มาก

แรธ่ าตุ หรอื เกลือแร่
เกลือแร่เป็นสารอนินทรีย์และเป็นสารอาหารที่จาเป็นในการเสริมสร้างความแข็งแรงของร่างกายและ

ควบคุมการทางานของส่วนประกอบต่างๆ ของร่างกาย มีอยู่ประมาณร้อยละ 4 ของน้าหนักตัว เกลือแร่มี
บทบาทและหน้าท่ีที่สาคัญในร่างกายโดยเฉพาะอย่างย่ิงการทาหน้าที่เป็นโครงสร้างของร่างกาย เป็น
องค์ประกอบของเซลล์ เนื้อเย่ือและเส้นประสาท เอนไซม์ ฮอรโ์ มนและวิตามิน นอกจากนี้ยังทาหน้าท่ีควบคุม
การทางานของกล้ามเน้ือในทุกอวัยวะ ควบคุมการทางานของฮอร์โมน และช่วยรักษาสมดุลของกระบวนการ
ออสโมชสิ ดว้ ย ความสาคัญหรือหน้าทข่ี องเกลอื แรท่ ม่ี ีต่อรา่ งกายโดยสรุปมดี ังนี้

- 48 - ชวี วิทยาพืน้ ฐาน ม.4

1. เป็นสว่ นประกอบของกระดูกและฟนั และเกยี่ วขอ้ งกับการสรา้ งกระดกู ฟัน ได้แก่
แคลเซียมฟอสฟอรสั แมกนีเซยี ม แมงกานสี และฟลอู อรีน

2. รกั ษาความสมดลุ ของกรดและด่างในรา่ งกาย เกลือแร่ทร่ี า่ งกายไดร้ บั จากอาหารมที งั้
ชนิดท่ีทาให้เกิดกรดและเบส ซึ่งกลไกของร่างกายจะทาหน้าที่ปรับภาวะเพื่อรักษาสมดุลความเป็นกลางของ
ร่างกายเพ่ือช่วยให้เซลล์มีชีวิตอยู่ได้ เช่น โซเดียม โพแทสเซียม คลอรีน แคลเซียม แมกนีเซียมและ
ฟอสฟอรสั

3. เปน็ ตวั เรง่ ปฏิกริ ิยาทางชวี เคมี เช่น เปน็ ตัวเรง่ ในกระบวนการเผาผลาญคารโ์ บไฮเดรต
ไขมันและโปรตีน ให้เป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ น้า และพลังงาน ส่งเสริมการดูดซึมอาหารและวิตามิน
และกระตุน้ การทางานของเอนไซม์ เป็นต้น เชน่ ทองแดง สังกะสี และโครเมียม

4. ควบคุมความสมดุลของน้าในร่างกาย รา่ งกายมีน้าอยูป่ ระมาณร้อยละ 60 การ
เคล่ือนย้ายของเหลวจากส่วนใดส่วนหน่ึงไปยังอีกส่วนหนึ่งนั้นจะขึ้นกับปริมาณความเข้มข้นของเกลือแร่ใน
บรเิ วณน้ันๆ

5. เป็นส่วนประกอบที่สาคัญของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย เช่น ไอโอดีนในฮอร์โมน-ไทรอกซิน
เอนไซม์ โคเอนไซม์ และยังเป็นองค์ประกอบในโมเลกุลของสารประกอบต่าง ๆ ที่สาคัญในร่างกาย เช่น
กรดอะมิโน และฟอสโฟลิปิด ได้แก่ กามะถันและฟอสฟอรัสหรือเป็นองค์ประกอบในโมเลกุลของฮีม คือ
เหล็ก เป็นตน้

6. มบี ทบาทเกยี่ วกบั การรับสง่ ความรูส้ กึ ของเสน้ ใยประสาท จากเซลลป์ ระสาทหนง่ึ ไป
สู่อีกเซลล์หนงึ่ เช่น โซเดียม โพแทสเซียม
7. ควบคุมการหดรดั ตวั ของกลา้ มเน้ือและการเจรญิ เตบิ โตของเนื้อเยื่อต่าง ๆ เชน่ แคลเซียม

กข
ภาพที่ 3.8 คา่ ร้อยละของสารตา่ งๆ ก.ในโลก ข.ในรา่ งกายมนุษย์
ทมี่ า;http://www.scimath.org/socialnetwork/groups/viewbulletin
ชนดิ ของเกลือแร่ทีพ่ บในอาหาร
เกลือแร่ท่ีพบในอาหารมีอยู่ประมาณ 60 ชนดิ และท่ีจาเป็นตอ่ รา่ งกายมีท้งั หมดประมาณ 17 ชนิด มี
อย่ใู นรา่ งกาย และในอาหารทร่ี ับประทาน แบ่งออกเปน็ 2 กลมุ่ ใหญ่ ๆ คือ
1. เกลือแรท่ ี่ร่างกายตอ้ งการเปน็ ปริมาณมาก(macronutriets หรอื majorminerals) ซ่งึ เปน็
เกลอื แร่ที่มีอยู่ในรา่ งกายมากกวา่ รอ้ ยละ 0.01 ของนา้ หนักตวั หรือมากกวา่ 5 กรัม และร่างกายต้องการเกลอื

ชีววิทยาพ้นื ฐาน ม.4 - 49 -

แรเ่ หล่านจี้ ากอาหารตั้งแต่ 100 มิลลิกรัมต่อวนั ขึ้นไป ไดแ้ ก่ แคลเซียม ฟอสฟอรัส แมกนเี ซียม โซเดียม
โพแทสเซียม และคลอไรด์

2. เกลือแร่ท่ีร่างกายต้องการเป็นปริมาณน้อย(micronutrients หรือ trace minerals) ซึ่งเป็น
เกลือแร่ท่ีมีอยู่ในร่างกายเล็กน้อย หรือน้อยกว่า 5 กรัม และร่างกายต้องการเกลือแร่เหล่าน้ีจากอาหารน้อย
กว่า 100 มลิ ลิกรัมต่อวัน เกลอื แร่ในกล่มุ นี้ ไดแ้ ก่ เหล็ก ทองแดง ไอโอดีน โคบอลต์
ฟลูออไรด์ แมงกานีส สังกะสี โมลิดินัม ซิลิเนียม และโครเมียม เกลือแรท่ ้ัง 2 กลุ่ม มีปริมาณท่ีแนะนาให้
รบั ประทานตอ่ วนั ดังตารางที่ 3.1

ตารางท่ี 3.1 ปรมิ าณท่ีแนะนาใหบ้ ริโภคตอ่ วัน (Thai RDI) ของผ้ทู ี่มีอายุ 6 ปีขน้ึ ไป

เกลอื แร่ ปรมิ าณทีแ่ นะนาใหบ้ รโิ ภค หนว่ ย

แคลเซยี ม 800 มิลลิกรมั
ฟอสฟอรสั 800 มิลลกิ รัม
เหล็ก 15 มิลลิกรมั
ไอโอดนี 150 ไมโครกรัม
แมกนเี ซยี ม 350 มิลลิกรัม
สงั กะสี 15 มิลลิกรมั
ทองแดง 2 มลิ ลิกรมั
คลอไรด์ 3400 มลิ ลกิ รัม
โพแทสเซยี ม 3500 มลิ ลิกรัม
โซเดยี ม 2400 มลิ ลิกรัม
แมงกานีส 3.5 มลิ ลกิ รมั
ซลิ ิเนยี ม 70 ไมโครกรัม
ฟลูออไรด์ 2 มลิ ลกิ รัม
โมลเิ ดนมั 160 ไมโครกรัม
โครเมียม 130 ไมโครกรัม

ท่มี า : Puwastein et al. (1999)

- 50 - ชวี วิทยาพื้นฐาน ม.4

แคลเซียม
แคลเซียมในอาหารได้จากวตั ถุดิบจาพวกธัญชาติ และนม ในการประกอบอาหารก็มีการใสเ่ กลือ

แคลเซียมลงไปด้วยในรูปของเกลือหรือด่าง เช่น แคลเซียมโบรเมต แคลเซียมคลอไรด์ แคลเซียมไอโอเดต
แคลเซียมเพอร์ออกไซด์ แคลเซียมซัลเฟต แคลเซียมคาร์บอเนต แคลเซียมกลูโคเนต แคลเซียมแลกเตต
แคลเซียมออกไซด์ แคลเซียมซัลเฟต แคลเซยี มซเิ ตรต แคลเซียมฟอสเฟต เป็นตน้

ฟอสฟอรสั
ฟอสฟอรัสในอาหารอยู่ในรูปของสารประกอบอินทรีย์และสารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบ

ฟอสฟอรัสท่ีอยู่ในรูปของสารอินทรีย์ที่พบมากคือ ADP, ATP, glucose-6-phosphate, fructose-6-
phosphate, 2-phosphoglycerate, phytate เป็นต้น ส่วนท่ีอยู่ในรูปของสารประกอบ อนินทรีย์คือ เกลือ
ฟอสเฟต หรอื พบในกระดูกในรูปของสารอะพาไทต(์ apatite) อาหารท่ีพบฟอสฟอรัสมากคือ นมโค ธัญชาติ
เนื้อสัตว์ และไข่ โดยอยู่ในรูปของสารเคซีน ไฟเตตเอสเทอร์ และวิเทลลิน ตามลาดับ ในการประกอบ
อาหารมีการใส่สารฟอสฟอรัสหลายชนิดลงไป เช่น แอมโมเนียมฟอสเฟต โพแทสเซียมฟอสเฟต แคลเซียม
ฟอสเฟต โซเดยี มฟอสเฟต กรดฟอสฟอริก ฟอสฟอรัสคลอไรด์ ฟอสฟอรัสออกซีคลอไรด์ เปน็ ต้น

แมกนเี ซียม
แหล่งของแมกนเี ซียมในอาหารคอื ผักสีเขียว เนื่องจากคลอโรฟลิ ลจ์ ะมแี มกนเี ซยี มเปน็ ส่วนหนึ่ง

ของโมเลกุล สาหรับแมกนีเซียมที่ใส่ลงในอาหารมักอยู่ในรูปของเกลือ เช่น แมกนีเซียมคาร์บอเนต
แมกนีเซียมคลอไรด์ แมกนีเซียมไซคลาเมต แมกนีเซียมไฮดรอกไซด์ แมกนีเซียมซัลเฟต แมกนีเซียม
ฟอสเฟต แมกนเี ซียมซิลิเกต เปน็ ต้น

โซเดียม
โซเดียมในอาหารอาจมาจากวัตถุดิบหรือใส่ลงไปในรูปของเกลือเช่นเดียวกับแคลเซียมหรือ

แมกนีเซียม สาหรับแหล่งโซเดียมในธรรมชาติประกอบด้วยผักและเน้ือสัตว์ทุกชนิด นอกจากนี้ยังพบในนา้ นม
สูงมาก เช่น น้านมโคมีโซเดียมสูงถึงร้อยละ 0.08-0.20 ระหว่างการประกอบอาหารมกี ารใส่โซเดยี มลงไปด้วย
ในรปู ของสารให้รส สารทาให้เปอ่ื ย สารกันเสยี สารชรู ส และเพื่อวัตถุประสงคอ์ ่ืนๆ อีกมากมาย สารโซเดยี มที่
ใช้ประกอบด้วยโซเดียมอาซิเตต โซเดียมไบซัลไฟต์ โซเดียมแอลจิเนต โซเดียมเบนโซเอต โซเดียมไบ
คาร์บอเนต โซเดียมคาร์บอเนต โซเดียมคาร์ซิ-เนต โซเดียมคลอไรด์ โซเดียมคลอไรด์ โซเดียมไซคลาเมต
โซเดยี มไฮดรอกไซด์ โซเดยี มเม-ตาไบซลั ไฟต์ โซเดยี มฟอสเฟต โซเดียมซอรเ์ บต โซเดยี มสเตยี เรต เป็นตน้
โพแทสเซียม

พืชต้องการโพแทสเซียมในการเจริญเติบโตด้วยเหตุน้ีท้ังผักและผลไม้จึงเป็นแหล่งของ
โพแทสเซยี มที่ดี ผลไม้จะมโี พแทสเซยี มเฉลี่ยประมาณร้อยละ 0.20 ส่วนผกั มีเฉลย่ี ประมาณร้อยละ 0.48 ผัก
และผลไม้แห้งจะมีโพแทสเซียมสูงข้ึน นมและไข่เป็นแหล่งโพแทสเซียมท่ีดี แต่เนื้อสัตว์มีโพแทสเซียมต่ามาก
ในการประกอบอาหารมีการใช้เกลือโพแทสเซียมหลายชนิด โดยมีวัตถุประสงค์การใช้ต่างๆ กัน เกลือ
โพแทสเซยี มทนี่ ิยมใชไ้ ด้แก่ โพแทสเซยี มแอลจเิ นต


Click to View FlipBook Version