The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นาวิกศาสตร์ฉบับเดือน พฤษภาคม ๒๕๖๔

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นาวิกศาสตร์, 2021-11-05 22:13:36

นาวิกศาสตร์ พฤษภาคม ๒๕๖๔

นาวิกศาสตร์ฉบับเดือน พฤษภาคม ๒๕๖๔





“…ในการปฏิบัติหน้าท่น้น มีข้อท่ควรคานึงหลายอย่าง. อย่างหน่งคือ หลักวิชา ซ่งแต่ละคน










จะต้องร้จักนามาปรับใช้ให้ถูกต้องเหมาะสม พร้อมท้งหม่นศึกษาเพ่มเติม ให้ย่งสูงข้นและกว้างขวางข้น



อย่เสมอ. อีกอย่างหน่งคือ วินัย ซ่งแต่ละคนจะต้องดารงไว้อย่างเคร่งครัดแน่วแน่ ในฐานะท่เป็นทหาร.




















อกอยางหนงคอ ศลธรรม ซ่งแตละคนจะตองยดมน เปนเครองกากบประคบประคองกาย วาจา ใจ



ให้เป็นไปในทางท่ดีท่ถูกต้อง. ถ้าทุกคนต้งใจพยายามปฏิบัติหน้าท่ ในกรอบขอบเขตของหลักวิชา


วนย และศลธรรม ใหครบถวน กเชอวาจะมความสาเรจในภารกจ สามารถสรางสรรคประโยชน์














ให้แก่ชาติบ้านเมืองได้ สมดังที่ตั้งใจมุ่งหมาย. …”
พระบรมราโชวาท
ในพิธีพระราชทานกระบี่และปริญญาบัตรแก่ผู้สำาเร็จการศึกษา
จากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า โรงเรียนนายเรือ
โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า
และสถาบันการศึกษาทางทหารต่างประเทศ
ประจำาปีการศึกษา ๒๕๖๒
ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต
วันอาทิตย์ ที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓

นายกกรรมการราชนาวิกสภา
พลเรือโท เคารพ แหลมคม

รองนายกกรรมการราชนาวิกสภา
พลเรือตรี จิรพล ว่องวิทย์
กรรมการราชนาวิกสภา
พลเรือโท อุทัย โสฬศ
พลเรือโท มนต์เดช พัวไพบูลย์
พลเรือตรี สุรสิงห์ ประไพพานิช
พลเรือตรี บัญชา บัวรอด
พลเรือตรี คณาชาติ พลายเพ็ชร์
พลเรือตรี วราณัติ วรรธนผล ปกหน้�
พลเรือตรี สรไกร สิริกรรณะ
พลเรือตรี วิสาร บุญภิรมย์
พลเรือตรี สุนทร คำาคล้าย
พลเรือตรี ดนัย สุวรรณหงษ์
พลเรือตรี อนุพงษ์ ทะประสพ
พลเรือตรี ประสาน ประสงค์สำาเร็จ

กรรมการและเลขานุการราชนาวิกสภา
นาวาเอก สุพจน์์ สารภาพ
เหรัญญิกราชนาวิกสภา
เรือเอก สุขกิจ พลัง
ที่ปรึกษาราชนาวิกสภา
พลเรือโท สมัย ใจอินทร์ ปกหลัง

พลเรอโท วรพล ทองปรีชา ข้อคิดเห็นในบทคว�มท่นำ�ลงนิตยส�รน�วิกศ�สตร์เป็นของผ้เขียน



พลเรอโท มนตรี รอดวิเศษ มิใช่ข้อคิดเห็นหรือนโยบ�ยของหน่วยง�นใดของรัฐและมิได้ผูกพัน



พลเรอโท อำานวย ทองรอด ต่อท�งร�ชก�รแต่อย�งใด ได้นำ�เสนอไปต�มท่ผ้เขียนให้คว�มคิดเห็น








พลเรอโท กตัญญู ศรีตังนันท์ เท�น้น ก�รกล�วถึงคำ�ส่ง กฎ ระเบียบ เป็นเพียงข�วส�รเบ้องต้น
บรรณาธิการ เพื่อประโยชน์แก่ก�รค้นคว้�
นาวาเอก สุพจน์์ สารภาพ ปกหน้า ภ�พกรมหลวงชุมพรฯ และก�รฝึก ทร.64
ผู้ช่วยบรรณาธิการ
นาวาเอกหญิง วรนันท์ สุริยกุล ณ อยุธยา ปกหลัง ภ�พมุมสูงศ�ลกรมหลวงชุมพรฯ ณ ห�ดทร�ยรี
ประจำากองบรรณาธิการ จังหวัดชุมพร
นาวาเอก ก้องเกียรติ ทองอร่าม
นาวาเอก ธาตรี ฟักศรีเมือง ออกแบบปก กองบรรณ�ธิก�ร
พิมพ์ที่ กองโรงพิมพ์ กรมส�รบรรณทห�รเรือ
นาวาเอกหญิง แจ่มใส พันทวี เจ้าของ ร�ชน�วิกสภ�
นาวาโทหญิง ศรุดา พันธุ์ศรี
นาวาโทหญิง อรณัฐ โพธิ์ตาด สำ�นักง�นร�ชน�วิกสภ�
เรือเอก เกื้อกูล หาดแก้ว ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงศิริร�ช เขตบ�งกอกน้อย
กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐ โทร. ๐ ๒๔๗๕ ๓๐๗๒
เรือเอกหญิง สุธิญา พูนเอียด ๐ ๒๔๗๕ ๔๙๙๘
เรือโท อัศฐวรรศ ปั่นจั่น ส่งข้อมูล/ต้นฉบับได้ที่ [email protected]
เรือโทหญิง อภิธันย์ แก่นเสน อ่�นบทคว�มเอกส�รอิเล็กทรอนิกส์ได้ที่ WWW.RTNI.ORG

สารบัญ



คลังความรู้ คู่ราชนาวี

ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ ประจำ เดือน พฤษภาคม ๒๕๖๔

ลำ ดับเรื่อง ลำ ดับหน้า

บรรณ�ธิก�รแถลง .................................................................๐๓
เรื่องเล่�จ�กปก ......................................................................๐๔

๑๙ พ.ค. วันอ�ภ�กร..............................................................0๕
พระอนุส�วรีย์กรมหลวงชุมพรฯ ที่ต้นหูกว�ง ณ ห�ดทร�ยรี.........07

มูลนิธิกรมหลวงชุมพรหาดทรายรี
ประมวลภ�พก�รฝึก ทร. 64.................................................27

ตอนที่ 3 ปัญห�ของเรือดำ�นำ� และก�รปฏิบัติก�รในย�มสงบ.......31
พลเรือเอก ไพศาล นภสินธุวงศ์ “พระอนุส�วรีย์กรมหลวงชุมพรฯ ที่ต้นหูกว�ง ณ ห�ดทร�ยรี”
(รางวัลบทความดีเด่น “พลเรือเอก กวี สิงหะ” ประจำาปี พ.ศ. 2563)
ผู้บัญช�ก�รเรือมือใหม่ (ตอนที่ 1)..........................................42
นาวาโท วีรุตม์ ฉายะจินดา
ย้อนรอยศึกบ้�นชำ�ร�ก “พลเรือเอก ธนก�ญจน์ ใคร่ครวญ”......50
พันทิวา

บอกผมที “แบบนี้ผิดหรือถูก”................................................64
สำ�นวนช�วเรือ .......................................................................65

“ตอนที่ 3 ปัญห�ของเรือดำ�นำ� และก�รปฏิบัติก�รในย�มสงบ”
เรื่องเล่�ช�วเรือ ......................................................................67
ข่�วน�วีรอบโลก ....................................................................68

ภ�พกิจกรรมกองทัพเรือ ........................................................72
ใต้ร่มประดู่ .............................................................................80

ก�รฌ�ปนกิจสงเคร�ะห์แห่งร�ชน�วี ....................................82

ม�ตร�นำ� เดือน กรกฏ�คม ๒๕๖๔
เวล�ดวงอ�ทิตย์ - ดวงจันทร์ ขึ้น - ตก
เดือน กรกฎ�คม - สิงห�คม ๒๕๖๔.........................................84 “ผู้บัญช�ก�รเรือมือใหม่ (ตอนที่ 1)”















“ย้อนรอยศึกบ้�นชำ�ร�ก พลเรือเอก ธนก�ญจน์ ใคร่ครวญ”

นาวิกศาสตร นิตยสารของกองทัพเรือ มีวัตถุประสงค เพ่อเผยแพร ่



วิชาการและข่าวสารทหารเรือท้งในและนอกประเทศ ตลอดจนวิทยาการอ่น ๆ

ทั่วไป และเป็นสื่อในการประชาสัมพันธ์ ของกองทัพเรือ



ขณะท่ก�ำลังเขียนบทบรรณำธิกำร สถำนกำรณ์โควิด ๑๙ ในบ้ำนเรำกลับมำเกิดข้นอีกระลอก ช่วงน้เรำยังต้อง



เข้มงวดกับชีวิต New Normal ซ่งก�ำลังกลำยเป็นชีวิต Normal กับกำรสวมหน้ำกำกอนำมัย หม่นล้ำงมือ
และรักษำระยะห่ำง ตัวเรำอำจจะอยู่ห่ำงกัน แต่ใจของเรำหลอมรวมเป็นหนึ่งเดียวได้ ไม่ว่ำมำตรกำรใด ๆ ที่ออกมำ
เพื่อยับยั้งกำรระบำดของโควิด ๑๙ บทเรียนที่ทั่วโลกพิสูจน์แล้วว่ำ ได้ผลดีที่สุดคือ กำรที่เรำเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน

เวลำน้ไม่ใช่ใครมีแต่เรำเท่ำน้นท่เปล่ยนแปลงมันได้ พลังสามัคคี พลังราชนาว ช่วยกันร่วมมือร่วมใจท�ำตำม





มำตรกำร ๑๘ ข้อของท่ำนผู้บัญชำทหำรเรือ เรำก็รอดจำกโควิดได้ ๒ รอบแล้ว และรอบ ๓ น้เรำก็จะไม่ตกรอบ


เพ่อต่อสู้ในรอบ ๔ ให้ได้ และแน่นอน รอบ ๔ จะไม่สำมำรถเกิดข้นได้เลยถ้ำเรำมีควำมรับผิดชอบต่อตัวเองและส่วนรวม
พฤษภำคม เดือนนี้มีวันส�ำคัญของทหำรเรือไทยคือ ๑๙ พฤษภาคม วันอาภากร เป็นวันคล้ำยวันสิ้นพระชนม์
พลเรือเอก พระเจ้ำบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ำอำภำกรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ องค์บิดำทหำรเรือไทย


ขอบำรมีของพระองค์ท่ำนช่วยรวมใจพวกเรำเป็นหน่ง และคุ้มครองให้ทุกท่ำนปรำศจำกโรคร้ำยท่ก�ำลังอุบัติในขณะน ี ้


และขอส่งก�ำลังใจให้บุคลำกรทำงกำรแพทย์ทุกท่ำนท่อดทน เสียสละ ต่อสู้กับไวรัสโควิด ๑๙ เพ่อคนไทยทุกคน
ขอบคุณมำก ๆ ครับ



ส�ำหรับฉบับน้ทำงนิตยสำรนำวิกศำสตร์ต้องขออภัยสมำชิกทุกท่ำนเป็นอย่ำงย่ง ท่มีควำมจ�ำเป็นต้องลดจ�ำนวนหน้ำ
กระดำษของนิตยสำรออกไป ๘ หน้ำ และปรับขนำดของปกบำงลงเล็กน้อย เนื่องจำกกระดำษมีรำคำสูงขึ้น ซึ่งส่งผล
กระทบต่องบประมำณในกำรด�ำเนินงำน จึงมีควำมจ�ำเป็นท่ต้องลดค่ำใช้จ่ำย เพรำะเรำพยำยำมคงรำคำค่ำสมำชิก











ซงไม่ได้ปรบข้นมำ ๑๕ ปี แต่เนอหำและสำระไม่ลดลงครับ ในฉบบได้นำบทควำมทได้รำงวลบทควำมดเด่น











พลเรอเอก กว สงหะ ทจดต่อเนองมำเป็นปีท ๒๖ นำมำลงอกครง เพอเป็นเกยรตกบผ้รบรำงวล กบบทควำมเรอง



















“ปัญหาของเรือดานา และการปฏิบัติการในยามสงบ” ได้น�ำเสนอปัญหำท่คำดว่ำเรือด�ำน้ำของกองทัพเรือต้องเผชิญ



ในอนำคต โดยเฉพำะกำรปฏิบัติในเขตน่ำนน้ำจ�ำกัดและต้นในภูมิภำคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เขียนโดย พลเรือเอก




ไพศำล นภสินธุวงศ์ เรำยังได้น�ำเสนอชุดควำมคิดท่ต้องใช้เวลำในกำรอ่ำนกับบทควำมท่น่ำสนใจในฉบับอีกหลำยเร่อง
เช่น ผู้บังคับการเรือมือใหม่ ซึ่งถ่ำยทอดประสบกำรณ์ในกำรปฏิบัติหน้ำที่ผู้บังคับกำรเรือซึ่งไม่ได้มีแต่ในต�ำรำเท่ำนั้น

ออกมำได้เป็นอย่ำงด เขียนโดย นำวำโท วีรุตม์ ฉำยะจินดำ โดยจะน�ำเสนอเป็น ๓ ตอนจบ และส�ำหรับผู้ท่ชอบ


แนวรบทัพจับศึก ก็มีบทควำมเร่อง ย้อนรอยศึกบ้านชาราก “พลเรือเอก ธนกาญจน์ ใคร่ครวญ” ผู้อ่ำน

จะได้ทรำบเรื่องรำวกำรรบในลักษณะสงครำมตำมแบบของนำวิกโยธินครั้งแรกบนแผ่นดินไทย จำกกำรถ่ำยทอดของ


อดีตผู้บัญชำกำรหน่วยบัญชำกำรนำวิกโยธินคนท ๒๖ ผ่ำนลีลำกำรจรดปำกกำของ พันทิวำ และท่ส�ำคัญยังมีบทควำม




พระอนุสาวรีย์กรมหลวงชุมพร ท่ต้นหูกวาง ณ หาดทรายร เพ่อเทิดพระเกียรติและเผยแพร่พระประวัติของเหตุกำรณ์



เร่องรำวควำมผูกพันท่พระองค์ท่ำนท่มีต่อหำดทรำยร และศรัทธำท่มีต่อพระองค์ท่ำน เขียนโดย พลเรือเอก จุมพล


ลุมพิกำนนท์ ขอให้ทุกท่ำนได้เพลิดเพลินและตักตวงควำมรู้จำกกำรอ่ำนเรื่องรำวในฉบับ พบกันใหม่ฉบับหน้ำครับ

กองบรรณาธิการ



ปกหน้า - ปกหลัง : ๑๙ พฤษภาคม วันอาภากร

























ปกหน้า
๑๙ พฤษภาคม วันอาภากร เป็นวันคล้ายวันสิ้นพระชนม์ พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากร

เกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักด์ องค์บิดาทหารเรือไทย ด้วยสายพระเนตรอันกว้างไกลของพระองค์ท่าน

ท่ทรงประพันธ์บทเพลงให้ลูกหลานทหารเรือไว้คือเพลง ดอกประดู่ ท่พวกเราร่วมกันร้องโดยพร้อมเพียงกัน






เพ่อเทิดพระเกียรติพระองค์ท่านในวันอาภากรท่อนหน่งท่ว่า ลับดาบไว้พลาง ช้างบนยอดกาฟฟ์จะนา เพ่อเตือนใจและให้



















เราตระหนกวา การฝกของกองทพเรอ มความสาคญและจาเปนอยางไร เพอใหสมกบคาวา เปนกองทพเรอทประชาชน






เช่อม่นและภาคภมิใจ จากปกหน้าได้นารูปของพระองค์ท่านประกอบกับภาพ การฝึกกองทัพเรือ ๒๕๖๔ คือ การฝึกยิง



อาวุธปล่อยนาวิถีแบบ Harpoon Block 1C โดยพ่งพาตนเองเป็นคร้งแรกของกองทัพเรือ ผลการยิงอาวุธปล่อยฯ


เข้าเป้ากลางทะเลอันดามันในระยะ ๕๕ ไมล์ อย่างแม่นย�า การฝึกท้งตอร์ปิโด MK 46 กลางอ่าวไทย คร้งประวัติศาสตร์

โดยเฮลิคอปเตอร์ปราบเรือด�าน�้าแบบ S-70 B ได้ท�าการ ยิงตอร์ปิโด แบบ MK 46 ไปยังเป้าหมาย ที่อยู่ห่างออกไป

๕๐๐ หลา ท่ความลึก ๒๕ เมตร ได้อย่างแม่นยา การฝึกปฏิบัติการยุทธสะเทนนาสะเทินบก ท่ค่ายจุฬาภรณ์





จังหวัดนราธิวาส การฝึกการยิงอาวุธทางยุทธวิธีและยิงเป้าอากาศยานของหน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน และ



หน่วยบัญชาการนาวิกโยธินการฝึกการสนธิกาลังดาเนินกลยุทธ์ด้วยกระสุนจริง ในการฝึกกองทัพเรือ ประจาปี ๒๕๖๔
ณ สนามฝึกกองทัพเรือ หมายเลข ๑๖ บ้านจันทเขลม อ�าเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี
ปกหลัง

ภาพมุมสงจาก drone ณ หาดทรายรี อ.เมือง จ.ชุมพร จากรูปจะเห็นศาลบนท่สร้างเป็นรูปทรงเรือรบและ





ศาลล่าง จะมีเรือหลวงชุมพรต้งเด่นเป็นสง่าอยู่หน้าหาดทรายรี ปัจจุบันเป็นสถานท่ท่องเท่ยวและเป็นส่วนหน่งของ
ค�าขวัญจังหวัดชุมพรคือ ประตูภาคใต้ ไหว้เสด็จในกรม ชมไร่กาแฟ แลหาดทรายรี ดีกล้วยเล็บมือ ขึ้นชื่อรังนก และ



เป็นท่น่าเสียดายเป็นอย่างมากสาหรับการจัดการแข่งขันไตรกีฬาเฉลิมพระเกียรติฯ สนามท่ ๓ ช่วงเดือนพฤษภาคม

ในปี พ.ศ ๒๕๖๓ ท่กองเรือยุทธการจะเป็นเจ้าภาพ ต้องยกเลิกการแข่งขันฯ เน่องจากสถานการณ์โควิด ๑๙ ถ้าสามารถ

จัดได้ในครั้งนั้นจะเป็นวันที่ทหารเรือไทยจะมาชุมนุมกันมากที่สุดเป็นประวัติการณ์ ในช่วงวันอาภากร ณ หาดทรายรี
สถานที่ที่พระองค์ท่านสิ้นพระชนม์
นาวิกศาสตร์ 4
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔

ค�ำประกำศพระเกียรติคุณ
พลเรือเอก พระเจ้ำบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ำอำภำกรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์
เนื่องใน “วันอำภำกร”
๑๙ พฤษภำคม ๒๕๖๔
**************************



ข้ำรำชกำร ทหำร ลูกจ้ำง และพนักงำนรำชกำรของกองทัพเรือที่รักทุกนำย (ใช้ในกำรแถวทหำร)
ข้ำรำชกำรกองทัพเรือ ผู้แทนหน่วยงำนทั้งภำครัฐ และเอกชน ทุกท่ำน (ใช้เป็นค�ำกล่ำว ณ อนุสำวรีย์ ฯ)




วันท่ ๑๙ พฤษภำคมของทุกปี เป็น “วันอำภำกร” ซ่งเป็นวันคล้ำยวันส้นพระชนม์ของ


พลเรือเอก พระเจ้ำบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ำอำภำกรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักด์ “องค์บิดำ




ของทหำรเรอไทย” ผมจงขอเชิญชวนให้ทกท่ำนร่วมกนรำลึกถงพระกรณำคณของพระองค์ ผ้ทรงวำงรำกฐำน





กำรทหำรเรือให้มีควำมเข้มแข็ง มั่นคงมำตรำบจนทุกวันนี้
พลเรือเอก พระเจ้ำบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ำอำภำกรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักด ์ ิ
ประสูติเม่อวันท่ ๑๙ ธันวำคม พุทธศักรำช ๒๔๒๓ เป็นพระรำชโอรสในพระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำ






เจ้ำอย่หว กบเจ้ำจอมมำรดำโหมด ภำยหลงเหตุกำรณ์รตนโกสนทรศก ๑๑๒ พระบำทสมเดจพระจลจอมเกล้ำ





เจ้ำอยู่หัวทรงเห็นว่ำกำรป้องกันประเทศจำกภัยทำงทะเลยังต้องพ่งพำชำวต่ำงชำติ ด้วยทรงหวัง

ให้กำรทหำรเรือเจริญม่นคงไม่ต้องพ่งพำชำวต่ำงชำติอีกต่อไป จึงได้มีพระมหำกรุณำธิคุณโปรดเกล้ำ

โปรดกระหม่อมให้พระองค์เจ้ำอำภำกรเกียรติวงศ์ เสด็จไปทรงศึกษำวิชำกำรทหำรเรือ ณ ประเทศอังกฤษ
ขณะมีพระชันษำเพียง ๑๓ ปี
ในปีพุทธศักรำช ๒๔๔๓ หลังจำกทรงส�ำเร็จกำรศึกษำแล้ว ทรงเข้ำรับรำชกำรในกรมทหำรเรือ
ซ่งขณะน้นกิจกำรในด้ำนต่ำง ๆ ของทหำรเรือยังมิได้มีควำมม่นคง ด้วยพระทัยอันแน่วแน่ท่จะปฏิรูปและพัฒนำกำร





ทหำรเรือให้มีควำมเข้มแข็ง เพ่อเป็นหลักส�ำคัญในกำรป้องกันประเทศได้อย่ำงแท้จริง พระองค์ได้ทรงทุ่มเท






พระวรกำย และพระสตปัญญำในกำรพฒนำและวำงรำกฐำนให้กรมทหำรเรอมควำมก้ำวหน้ำทดเทยมนำนำ


อำรยประเทศ โดยในปีพุทธศักรำช ๒๔๔๕ ขณะททรงด�ำรงตำแหน่งรองผู้บัญชำกำรกรมทหำรเรอ พระองค์ได้ทรง



จดระเบียบรำชกำรกรมทหำรเรือขนใหม่ ส่งผลให้กำรปฏิบตงำนไม่ซำซ้อน และกำรปกครองบงคบบญชำ









มีประสิทธิภำพมำกย่งข้น ทรงจัดท�ำโครงกำรป้องกันประเทศทำงด้ำนทะเล อันประกอบด้วยควำมต้องกำรก�ำลังรบ



ทำงเรือ และแนวควำมคิดในกำรใช้ก�ำลังทำงเรือ ซงถือเป็นแผนกำรทัพฉบับแรกของกรมทหำรเรือ ทรงปรบปรุง



หลักสูตรกำรศึกษำของโรงเรียนนำยเรือ ให้ทันสมัยย่งข้น และได้ทรงน�ำนักเรียนนำยเรือ ออกฝึกภำคต่ำงประเทศ

เป็นคร้งแรกในประวัติศำสตร์ เม่อคร้งทรงด�ำรงต�ำแหน่งเสนำธิกำรทหำรเรือ พระองค์ทรงเห็นกำรณ์ไกลว่ำบริเวณ



อ่ำวไทยตอนบนน้น จุดยุทธศำสตร์ทำงทะเลท่ดีท่สุดคือบริเวณอ่ำวสัตหีบ จังหวัดชลบุรี พระองค์จึงขอพระรำชทำน





















ทดนทสตหบจำกพระบำทสมเดจพระมงกฎเกล้ำเจ้ำอย่หวเพอใช้เป็นทตงของฐำนทพเรอ ซงได้ถกพฒนำให้





มีควำมเจริญก้ำวหน้ำเรื่อยมำ และเป็นที่ตั้งของหน่วยก�ำลังรบที่ส�ำคัญของกองทัพเรือจนถึงปัจจุบัน



นอกจำกพระปรีชำสำมำรถในด้ำนทหำรเรือแล้ว ทรงมุ่งม่นศึกษำเก่ยวกับต�ำรำแพทย์
แผนโบรำณ ช่วยเหลือผู้เจ็บป่วยโดยมิได้เลือกช้นวรรณะและมิได้รับส่งตอบแทนแต่อย่ำงใด พระเกียรติคุณ














ของพระองค์ท่ำนในนำม “หมอพร” จงได้ขจรขจำยไปทว อกท้งยงทรงเป็นจตรกรเขยนภำพลำยไทยทงำมวจตร


ดังปรำกฏฝีพระหัตถ์ท่ผนังโบสถ์วัดปำกคลองมะขำมเฒ่ำ จังหวัดชัยนำท นอกจำกน้พระองค์ได้ทรงพระนิพนธ์


เพลงทหำรเรือ เช่น เพลงดอกประดู่ เพลงเดินหน้ำ และเพลงดำบของชำติ ท่มีเน้อหำปลุกใจให้เข้มแข็ง



ยอมสละแม้ชวตเพอรกษำเอกรำชของชำต เป็นกำรปลกฝังให้ทหำรเรอทกยคทกสมยให้มควำมรกชำต ิ











และมีควำมสำมัคคีกันในหมู่คณะ อันเป็นเอกลักษณ์ที่ดีงำมของทหำรเรือสืบมำจนปัจจุบัน
ในโอกำสท่วันอำภำกรเวียนมำบรรจบครบรอบอีกวำระหน่งในวันน้ ผมขอให้ทุกท่ำน




ต้งจิตอธิษฐำนต่อดวงพระวิญญำณของ พลเรือเอก พระเจ้ำบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ำอำภำกรเกียรติวงศ์

กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักด์ ขอทรงสถิตเป็นม่งขวัญของทหำรเรือไทย รวมท้งผู้เคำรพรักท้งปวงช่วกำลนำน




ขอพระองค์ท่ำนได้โปรดประทำนก�ำลังกำย ก�ำลังใจแก่ทหำรเรือทุกนำย ในกำรสำนต่อพระปณิธำน

ของพระองค์ทได้ทรงวำงรำกฐำนไว้ และร่วมกนสร้ำงสรรค์กองทัพเรอให้มีควำมเจริญก้ำวหน้ำ เพ่อเป็นก�ำลังส�ำคัญ




ของประเทศชำติสืบไป
พลเรือเอก
(ชำติชำย ศรีวรขำน)
ผู้บัญชำกำรทหำรเรือ


พระอนุสาวรีย์กรมหลวงชุมพรฯ ท่ต้นหูกวาง ณ หาดทรายร ี


มูลนิธิกรมหลวงชุมพรหาดทรายรี





ณ หาดทรายรี สถานท่แห่งนี้ เป็นสถานท่ศักด์สิทธ์ และมีความสาคัญย่งในทางประวัติศาสตร์ของ





จังหวัดชุมพร ที่มีความผูกพันกับกรมหลวงชุมพรฯ มากที่สุด ดังค�าขวัญประจ�าจังหวัดชุมพร ดังนี้
ประตูภาคใต้ ไหว้เสด็จในกรม ชมไร่กาแฟ
แลหาดทรายรี ดีกล้วยเล็บมือ ขึ้นชื่อรังนก











เมอครงนายพลเรือตรี กรมหมนชุมพรเขตรอดมศกด์ ทรงดารงตาแหน่งรองผู้บัญชาการกรมทหารเรือ

และทาการในตาแหน่งเจ้ากรมยุทธศกษาทหารเรืออีกด้วย ได้ทรงนานกเรียนนายเรือไปฝึกภาคทะเลยังต่างประเทศ





ถึงเมืองปัตตาเวีย เกาะชวา (เมืองจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซียในปัจจุบัน) โดยทรงเป็นผู้บังคับการเรือมกุฎราชกุมาร


ด้วยพระองค์เอง มีทหารประจาเรือเป็นคนไทยท้งส้น ผู้ร่วมเดินทางประกอบด้วยนักเรียนนายเรือและนักเรียน

นายช่างกล มีนักเรียนนายเรือ บุญมี พันธุมนาวิน (นายพลเรือตรี พระยาหาญกลางสมุทร) นักเรียนนายเรือชั้น ๕
เพียงคนเดียว เป็นหัวหน้ากัปตัน (หัวหน้านักเรียน) นับว่าเป็นการอวดธงครั้งแรกของราชนาวีไทย
นาวิกศาสตร์ 7
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔


ขาไป ออกเดินทางจากกรุงเทพฯ วันท่ ๒๙ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๕๐ แวะท่อ่าวชุมพรเป็นแห่งแรก





เม่อเรือจอดทอดสมอท่บริเวณอ่าวชุมพรด้านหน้าหาดทรายรี มีเจ้าเมืองชุมพรมาเฝ้าท่เรือ นาเสบียงมาถวายด้วย
กรมหม่นชุมพรฯ ทรงบัญชาการฝึกหัดนักเรียนนายเรือด้วยพระองค์เอง ฝึกการเรือ ฝึกการตีกรรเชียง เพ่อให้




ร่างกายแข็งแรง มีความอดทน ให้รู้จักการปฏิบัติหน้าท่ต้งแต่พลทหารจนถึงนายทหาร จอดเรืออยู่ท่ชุมพร ๓ วัน

จึงเดินทางต่อไปยังสิงคโปร์



ท่สิงคโปร์ กรมหม่นชุมพรฯ ทรงให้ทาสีเรือมกุฎราชกุมารเสียใหม่จากเดิมซ่งตัวเรือสีขาว เสากระโดง
และปล่องสีเหลือง ท้องเรือสีแดง เป็นสีหมอกทั้งล�า เช่นเดียวกับเรือลาดตระเวนของอังกฤษ ท�าให้เรือมกุฎราชกุมาร
ดูแปลกตา และน่าเกรงขามยิ่งขึ้น จากนั้นจึงได้เดินทางตรงไปยังเมืองปัตตาเวีย เกาะชวา
ขากลบ เดินทางกลับตามเส้นทางเดิม จอดเรืออยู่ท่สิงคโปร์ ๓ วัน จึงออกเดินทางกลับสู่สยาม


และจอดทอดสมออยู่ที่บริเวณอ่าวชุมพร ด้านหน้าหาดทรายรี ข้าราชการและชาวปากน�้าชุมพรเห็นเรือมกุฎราชกุมาร
ทาสีหมอกท�าให้ตื่นเต้น และประหลาดใจมาก เพราะดูคล้าย ๆ กับเรือรบฝรั่ง นอกจากจะรับสั่งให้ฝึกยุทธวิธีทางเรือ
และการฝึกการเรือแล้ว ยังให้นักเรียนนายเรือฝึกท�าการประลองยุทธ์ทางบกบริเวณหาดทรายรีอีกด้วย โดยแบ่งออก

เป็น ๒ ฝ่าย ฝ่ายรุกและฝ่ายรับ ฝ่ายรุกตั้งอยู่ที่อ่าวหินดาษ ฝ่ายรับตั้งอยู่ที่หาดทรายรี เอาต้นหูกวาง ที่หาดทรายรี


เป็นท่พัก มีเจ้าเมืองพร้อมท้งข้าราชการและชาวบ้านมาดูกันอย่างมากมาย นักเรียนนายเรือฝึกซ้อมด้วยความว่องไว

เข้มแข็ง เป็นท่พอพระทัยของกรมหม่นชุมพรฯ การฝึกซ้อมคราวน้ มิใช่แต่นักเรียนนายเรือและนายทหาร








จะมีความลาบากตรากตรา และเหน่อยยากเท่าน้น แต่พระองค์ท่านก็ทรงลาบากตรากตราเช่นเดียวกัน เจ้าเมือง


ข้าราชการ และชาวบ้าน ต่างปีติยินดี พากันสรรเสริญกรมหม่นชุมพรฯ ว่า ทรงมีพระปรีชาสามารถเป็นยอดเย่ยม
ในการฝึกอบรมนักเรียนนายเรือที่จะเป็นนายทหารเรือของชาติในอนาคต
เรือมกุฎราชกุมารเดินทางกลับถึงกรุงเทพฯ เมื่อวันที่ ๑๘ กันยายน พ.ศ.๒๔๕๐
หลังจากที่ทรงแวะที่หาดทรายรีครั้งนั้นแล้ว พระองค์คงจะเสด็จไปที่หาดทรายรีอีกหลายครั้ง และในที่สุด
พระองค์ท่านได้ทรงจับจองท่ดินบริเวณหาดทรายรีด้านเหนือ เอาต้นหูกวางหาดทรายรเป็นเขตตลอดจนถึงเขาขวาง





ท่ต้งวัดปัจจุบันน้ ด้านใต้จดทุ่งมะขามน้อย เป็นป่าทึบท้งน้น เน่องด้วยเอาพระทัยใส่กับเมืองชุมพรเป็นพิเศษ








เพราะเป็นช่อท่พ้องกับพระนามกรมหม่นชุมพรเขตรอุดมศักดของพระองค์ท่าน พระองค์ทรงรักหาดทรายรมาก ทรงม ี

พระประสงค์จะต้งฐานทัพเรือข้นอีกแห่งหน่ง และต้งพระทัยว่าเม่อออกจากราชการทหารเรือแล้ว จะดาเนินชีวิต







แบบชาวบ้าน จะได้มาทาสวนมะพร้าวและกิจการอาหารทะเล ต้งพระทัยจะทะนุบารุงสอนชาวบ้านให้ทามาหากิน







ทุกคร้งท่เสด็จไปหาดทรายรี พระองค์จะใช้ต้นหูกวางท่หาดทรายรีต้นน้ เป็นท่ประทับพักผ่อนพระอิริยาบถและเป็น

ที่ประชุม อบรม สั่งสอน ตลอดจนมีกิจกรรมรื่นเริงต่าง ๆ กับบรรดาทหารเรือเป็นประจ�า
8
นาวิกศาสตร์
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔




เม่อคร้งกรมหม่นชุมพรฯ ยังทรงมีพระพลานามัยสมบูรณ์ดี พระองค์ท่านได้นาเรือหลวงเจนทะเลมาจอด


ท่หน้าเกาะมะพร้าว นาหม่อมเจ้าสิทธิพร กฤดากร กับพวกหลายคนมาด้วย เอาอุปกรณ์ในการประกอบ










เป็นรถแทรกเตอร์เพ่อบุกเบิกพ้นท่ ท่มากับเรือข้นท่หาดทรายรีตรงต้นหกวางท่อยู่ในปัจจุบันน้ เรือหลวงเจนทะเล

ได้ลาเลียงไม้เสา เคร่องไม้ต่าง ๆ เพ่อสร้างตาหนัก ส่วนรถแทรกเตอร์ท่นามาก็ทาการบุกเบิกริมป่าใกล้ ๆ ทะเล







ปลูกถ่วลิสง ส่วนป่าระหว่างเขาท่พักถึงเขาขวางท่ต้งวัดอยู่ปัจจุบันน้ ก็ปลูกของชาท่บรรทุกมากับเรือหลวงเจนทะเล






ปลูกเป็นหมู่ เป็นแถว พระองค์ประทับในเรือหลวงเจนทะเลที่จอดอยู่ระหว่างเกาะมะพร้าวกับหาดทรายร ี






เม่อจะเสด็จข้นบกก็ใช้เรือเล็กช่อเรือแสงอาทิตย์ขนาดยาว ๑๑ ศอก หรือ ๓ วา เป็นเรือเคร่อง สีนาทะเล อยู่ประมาณ

๙ - ๑๐ วัน พระองค์ก็เสด็จกลับ ต่อมาพระองค์ได้ส่งเจ้ากรมรังษี (รังษี ค�าอุไร) เจ้ากรมของพระองค์จากกรุงเทพฯ
มาดูแลแทน นอกจากน้ก็มีขุนพิพัฒน์เจริญพานิชกับขุนอารีย์ราชกิจ ท้งสองคนเป็นเถ้าแก่ใหญ่ บ้านปากนาชุมพร




เป็นผู้จัดส่งเสบียงอาหารจากปากนามายังหาดทรายรี นายขัน บ้านท่ายาง อาเภอเมืองชุมพร เป็นหัวหน้างาน








และป้องกันสัตว์ร้ายท่จะมาทาลายส่งท่ปลูกไว้ นายคงเป็นคนเล้ยงวัว เล้ยงแพะ นายสุวรรณ จากกรุงเทพฯ กับ

ลูกน้องคนพื้นบ้าน ๕ - ๖ คน เป็นคนสร้างต�าหนัก


ตาหนักท่สร้างข้นท่หาดทรายรีอยู่ใกล้กับต้นหูกวาง ค่อนไปทางซ้ายด้านหลัง เป็นเรือนไม้ช้นเดียว



กว้างประมาณ ๓ วา ขนาดสูงจากพ้นดิน ๕ ข้นบันได เป็นเรือนโล่งกว้างมาก หลังคามุงสังกะสี ทรงปลูกต้นไม้


ทั้งไม้ดอกไม้ผล เป็นแถวเป็นแนว



กรมหม่นชุมพรเขตรอุดมศักด์ ได้รับพระราชทานเลื่อนยศเป็น นายพลเรือเอก เม่อวันท่ ๒๓ เมษายน

พ.ศ.๒๔๖๓ และเลื่อนจากกรมหมื่นชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ เป็นกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ เมื่อวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน
พ.ศ.๒๔๖๓
ทรงด�ารงต�าแหน่งเสนาบดีกระทรวงทหารเรือ เมื่อวันที่ ๑ เมษายน พ.ศ.๒๔๖๖

จากการท่พระองค์ทรงงานหนักตรากตราภาระอันหนักมาเป็นเวลานานมาโดยตลอดเวลาท่รับราชการ



ทหารเรือ ทาให้พระองค์ทรงมีพระพลานามัยท่ไม่สมบูรณ์ และทรงมีพระอาการประชวร ต้องมีแพทย์ดูแลอย่างใกล้ชิด

วันท่ ๑๗ เมษายน พ.ศ.๒๔๖๖ กรมหลวงชุมพรฯ ได้กราบถวายบังคมลาราชการไปตากอากาศ





เพ่อพักผ่อนรกษาพระองค์ ณ หาดทรายร จังหวดชุมพร เป็นเวลา ๑ เดอน ตามคาแนะนาของนายพลเรือตร ี



หม่อมเจ้าถาวรมงคลวงศ์ ไชยันต์ นายแพทย์ใหญ่ทหารเรือ กระทรวงทหารเรือได้จัดเรือหลวงเจนทะเลเป็นพาหนะ
นายนาวาโท หลวงจรจบสมุทร (หนอ รัตนกุล) เป็นผู้บังคับการเรือ กรมแพทย์พยาบาลทหารเรือจัดแพทย์ประจาพระองค์

๑ นาย คือ นายเรือเอก บุญทรง บุณยชาต (นายนาวาโท หลวงทรงบุณยแพทย์) พร้อมด้วยพยาบาลตามเสด็จไปด้วย
นาวิกศาสตร์ 9
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔



ได้เสด็จออกจากกรุงเทพฯ เม่อวันท่ ๒๑ เมษายน พ.ศ.๒๔๖๖ เม่อถึงจังหวัดชุมพร กรมหลวงชุมพรฯ









ประทบบนบก ณ ตาหนักช่วคราว ทีหาดทรายร ผู้ทตามเสด็จในคราวน้ ได้แก่ เจ้าจอมมารดาโหมด พระมารดา
บรรดาหม่อม หม่อมเจ้าหญิงจารุพัตรา อาภากร (ท่านหญิงใหญ่/พระธิดาองค์ใหญ่) คุณประชิต เอกภูมิ ข้าหลวง
นายเรือเอก เจริญ ทุมมานนท์ นายธงคนสุดท้ายของกรมหลวงชุมพรฯ (พลเรือโท หลวงเจริญราชนาวา
อดีตรองผู้บัญชาการทหารเรือ) หลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ (เจ้ากรมรังษี/รังษี ค�าอุไร) และหม่อมเจ้ารัศมีสุริยัน สุริยง

กับหม่อมเจ้าหญิงสุริยนันทนา สุริยง ๒ พ่น้องหลานลุง (พระโอรสพระธิดา ของพระองค์เจ้าสุริยงประยูรพันธ์

กรมหม่นไชยาศรีสุริโยภาส พระอนุชาร่วมพระมารดาของกรมหลวงชุมพรฯ) รวมถึงนายเรือเอก บุญทรง บุณยชาต
แพทย์ประจ�าพระองค์
กรมหลวงชุมพรฯ คงประทับอยู่บนบก มีท่านหญิงใหญ่คอยดูแลอย่างใกล้ชิด ทรงสอนหลานลุง ๒ องค์

ให้รู้จักทาของเล่นเองและทรงสอนให้ดารงชีพในท่กันดาร สอนวิธีดักแย้ ท่หาดทรายรีมีแย้ชุกชุมมาก ทาเคร่องมือ





ดักแย้เอง พาหลานเดินเล่นตามป่าตามชายหาด เป็นที่สุนกสนาน และได้รับความรู้ไปด้วย

คืนวันหน่งชาวบ้านจัดหนังตะลุงมาแสดงถวายเป็นการต้อนรับ ด้วยความเกรงใจในความหวังดีของชาวบ้าน














จงต้องแขงพระทย ทอดพระเนตร ตกดกอากาศชน มนาค้างมาก ทอดพระเนตรหนงตะลงอย่จนดก หลงจากนน


พระอาการที่ประชวรอยู่แล้วก็ทรุดหนักขึ้นอีก (อยู่ได้ ๓ วัน ก็สิ้นพระชนม์)
วันที่ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๖๖ พระอาการทรุดหนัก ผู้ที่พยาบาลอยู่อย่างใกล้ชิด คือ เจ้าจอมมารดา
โหมด หม่อมเจ้าหญิงจารุพัตรา อาภากร เจ้ากรมรังษี นายเรือเอก บุญทรง บุณยชาต แพทย์ประจ�าพระองค์ ได้ถวาย


การพยาบาลอย่างเต็มกาลัง แต่พระอาการหาคลายไม่ การเสด็จไปหาดทรายรีในคราวน้น ก็ไม่ได้เตรียมยาอะไรไป
มากมายเลยเพราะกะว่า มาพักผ่อนรักษาพระองค์เพียง ๑ เดือน ก็จะกลับพระนคร และจะกลับมาหาดทรายร ี
ในภายหลัง กระทรวงทหารเรือได้จัดส่งนายพลเรือตรี หม่อมเจ้าถาวรมงคลวงศ์ ไชยันต์ นายแพทย์ใหญ่ทหารเรือ



ออกไปทางรถไฟ คร้นเม่อไปถึงก็ปรากฏว่ากรมหลวงชุมพรฯ พระอาการหนักมากเสียแล้ว เพียงไม่ถึงช่วโมง
ก็สิ้นพระชนม์ ณ ต�าหนักที่ประทับชั่วคราวหาดทรายรี เมื่อเวลา ๑๑ นาฬิกา ๔๐ นาที สิริพระชันษา ๔๒ ปี ๕ เดือน
ทรงเป็นเสนาบดีกระทรวงทหารเรือได้เพียง ๔๙ วัน

นายพลเรือเอก พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักด์ ทรงรับราชการทหารเรือ
จนวาระสุดท้ายแห่งพระชนมชีพ ในต�าแหน่งเสนาบดีกระทรวงทหารเรือ
นับว่า เป็นการสูญเสียอย่างส�าคัญของทหารเรือ ทหารเรือได้แสดงความรู้สึกในขณะนั้นว่า
จะหาผู้ใดมาแทนพระองค์ท่านไม่ได้อีกแล้ว







10
นาวิกศาสตร์
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔

ให้โลกทั้งหลายเขาลือ ว่าตัวเราคือทหารเรือไทย


นาวิกศาสตร์ 11
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔

เม่อกรมหลวงชุมพรฯ ส้นพระชนม์แล้ว ได้อัญเชิญพระศพมาพักไว้ท่ใต้ตนหกวาง หาดทรายรี เพ่อรอเรือรบ







หลวงพระร่วง มารับพระศพกลับกรุงเทพฯ รออยู่จนบ่ายเรือรบหลวงพระร่วงก็ยังมาไม่ถึง จึงอัญเชิญพระศพ







ข้นเรือหลวงเจนทะเล ท่ประจาอยู่ท่น่นแล้ว กรมหลวงชุมพรฯ อยู่ในเคร่องแบบนายพลเรือเอกมีธงชาติคลุมแค่








พระทรวง ดคลายบรรทมหลบ เหมอนกบยงมพระชนมชพอย เรอหลวงเจนทะเลไดพบกบเรอรบหลวงพระรวงทบรเวณ










ปากแม่น�้าเจ้าพระยาตอนเช้ามืด จึงถ่ายพระศพขึ้นสู่เรือรบหลวงพระร่วง เดินทางเข้ากรุงเทพฯ เรือรบหลวงพระร่วง
เปิดหวูดไซเรนดังโหยหวนไปตามลานาเจ้าพระยา หม่อมเจ้าหญิงจารุพัตราฯ และนายเรือเอก เจริญ ทุมมานนนท์






นายธงคนสดท้ายของกรมหลวงชมพรฯ นงเฝ้าพระศพมาตลอดทาง เรอรบหลวงพระร่วงได้จอดอย่ทท่าหน้า








วัดราชาธิวาส อัญเชิญพระศพข้นรถพยาบาลของสภากาชาดสยามไปประดิษฐาน ณ ตาหนักใหญ่ วังนางเล้ง
ของพระองค์ท่าน











กรมหลวงชมพรฯ สนพระชนม์ไปแล้ว แต่ต้นหูกวางหาดทรายร ซงเป็นทประทบพกผ่อนพระอรยาบถ

ของพระองค์ท่านเป็นประจ�า ก็ยังคงร่มรื่นอยู่เช่นเดิม เหมือนกับพระองค์ที่ยังทรงมีพระชนมชีพอยู่
ประมาณปี พ.ศ.๒๔๗๒ ได้มีการสร้างศาลกรมหลวงชุมพรฯ ข้นเป็นศาลแรก ณ ต้นหูกวางหาดทรายร ี


โดยนายเทียม ทิพย์พนม และต่อมา ในปี พ.ศ.๒๔๘๙ นายฮวด สุคนธาภิรมย์ ได้สร้างศาลข้นใหม่คู่กับศาลเดิม
ซึ่งทรุดโทรม ณ ที่เดิม ใต้ต้นหูกวางหาดทรายรี
ในปี พ.ศ.๒๕๐๒ พันตรี แสง จุละจาริตต์ กับคนรถไฟ จังหวัดชุมพร ได้สร้างศาลกรมหลวงชุมพรฯ ขึ้น
ณ ที่เดิมใต้ต้นหูกวางหาดทรายรี เป็นศาลไม้จัตุรมุขหลังแรก
ในปี พ.ศ.๒๕๓๒ คุณหญิงพันธุ์เครือ ยงใจยุทธ ได้สร้างศาลกรมหลวงชุมพรฯ เป็นศาลคอนกรีต แทน
ศาลเดิมที่ พันตรี แสงฯ สร้างไว้ ณ ที่เดิม เนื่องจากเห็นว่าศาลเดิมที่เป็นศาลไม้นั้น มีสภาพทรุดโทรมไปตามอายุขัย
และคงเป็นศาลกรมหลวงชุมพรฯ ที่มั่นคง แข็งแรง มาจนปัจจุบัน



ในปี พ.ศ.๒๕๔๐ ต้นหูกวางประวัติศาสตร์ท่หาดทรายรี ก่งก้านบางส่วนได้ย่นเลยไปพาดอยู่เหนือ











หลงคาศาลฯ อาจทาความเสยหายแก่ศาลฯ ได้ จงจาเป็นต้องตดแต่งต้นหกวาง บางกงออก การตกแต่งกงครงนน







ทาให้ต้นหูกวางเห่ยวและใบร่วง ประกอบกับเหตุการณ์ไฟไหม้ท่โคนต้นหูกวางจากการมาจุดธูป เทียน สักการะ
โดยเชื้อเพลิงจากผ้าสีและศาลไม้โดยรอบ รวมทั้งใบแห้งของต้นหูกวาง ท�าให้ต้นหูกวางตายลง คณะกรรมการมูลนิธิฯ
ในขณะนั้น จึงตัดสินใจตัดให้เหลือแต่ตอ เมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๔๐ และได้อนุรักษ์ตอต้นหูกวางที่เหลืออยู่


ให้คงสภาพเดิมมาโดยตลอด กับท้งสร้างแผ่นป้ายขนาดใหญ่ แสดงความเป็นมาของต้นหูกวางต้นน้เอาไว้ ผู้คนท่มา

กราบไหว้ศาลกรมหลวงชุมพรฯ ก็เลยพากันมากราบไหว้ต้นหูกวางด้วย รวมทั้งมาถ่ายรูปกับต้นหูกวางและแผ่นป้าย
ขนาดใหญ่เป็นที่ระลึกด้วย นอกจากนี้ยังเอาผ้าแพรหลากสีมาผูกพันต้นหูกวาง และสร้างศาลเล็กศาลน้อยจ�านวนมาก
ไว้บริเวณรอบ ๆ ต้นหูกวางอย่างไม่เป็นระเบียบ ทั้ง ๆ ที่มีศาลกรมหลวงชุมพรฯ หลังใหญ่เป็นหลักอยู่แล้ว
12
นาวิกศาสตร์
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔

ศาลกรมหลวงชุมพรฯ หาดทรายรี ที่นายเทียม ทิพย์พนม สร้าง และนายฮวด สุคนธาภิรมย์ สร้าง




































ศาลกรมหลวงชุมพรฯ หาดทรายรี ที่พันตรี แสง จุละจาริตต์ และคนรถไฟชุมพร สร้าง

นาวิกศาสตร์ 13
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔

ธงราชนาวีสะบัดเหนือหาดทรายรี
ศาลกรมหลวงชุมพรฯ หาดทรายรี ที่พันตรี แสง จุละจาริตต์ และคนรถไฟชุมพร สร้าง
ภายใต้ร่มเงาของต้นหูกวางประวัติศาสตร์ที่ก�าลังเจริญงอกงามเต็มที่ เมื่อ พ.ศ.๒๕๑๖

14
นาวิกศาสตร์
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔

ศาลกรมหลวงชุมพรฯ หาดทรายรี ที่คุณหญิง พันธุ์เครือ ยงใจยุทธ สร้าง




































ศาลกรมหลวงชุมพรฯ หาดทรายรี ปัจจุบัน (พ.ศ.๒๕๖๔)

นาวิกศาสตร์ 15
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔


ต่อมาสมัยท่พลเรือเอก จุมพล ลุมพิกานนท์ เป็นประธานกรรมการมูลนิธิกรมหลวงชุมพรหาดทรายร ี



เม่อปี พ.ศ.๒๕๖๒ ได้พัฒนาปรับปรุงเปล่ยนแปลงเก่ยวกับศาลกรมหลวงชุมพรฯ หาดทรายรี ให้สมพระเกียรต ิ


ตามแบบธรรมเนียมของทหารเรือ และดาริท่จะสร้างพระอนุสาวรีย์เทิดพระเกียรตินายพลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ
พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักด์ ไว้ท่ต้นหูกวาง หาดทรายรี เพ่อให้ประชาชน




ท่มาสักการบูชาได้ทราบถึงความผูกพัน และความสาคัญทางประวัติศาสตร์ของพระองค์ท่านท่มีต่อสถานท่แห่งน ี ้



แทนท่จะสักการบูชาและถ่ายรูปกับต้นหูกวาง บ้างก็ถ่ายรูปกับแผ่นป้ายขนาดใหญ่แสดงประวัติของต้นหูกวาง

ซึ่งบังต้นหูกวางจนมิด
คณะกรรมการมูลนิธิกรมหลวงชุมพรหาดทรายรีได้เห็นชอบในการสร้างพระอนุสาวรีย์ฯ ดังกล่าว






จึงเร่มดาเนินการสร้าง เม่อวันท่ ๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๓ ทาสัญญาว่าจ้างให้บริษัท โรงหล่อพระบุญชูปฏิมาพร จากัด
เป็นผู้ปั้นหล่อพระรูปกรมหลวงชุมพรฯ โลหะบรอนซ์ ขนาดเท่าพระองค์จริง เคร่องแบบสนามทหารเรือฤดูร้อน

ในพระอิริยาบถ ประทับบนแคร่ยาว ๑๗๐ ซม. กว้าง ๖๐ ซม. น�้าหนักประมาณ ๑ ตัน (๑,๐๐๐ กิโลกรัม)




วันท่ ๒๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๖๓ เป็นวันทาพิธีเททองหล่อพระรูปฯ ท่โรงหล่อ หลังจากน้นเป็นข้นตอน



ของการแต่งผิวพระรูปโลหะเป็นข้นตอนสุดท้าย วันท่ ๗ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๓ ได้อัญเชิญพระรูปฯ จากโรงหล่อท่กรุงเทพฯ

ไปยังหาดทรายรี จังหวัดชุมพร และกระท�าพิธีบวงสรวงในวันที่ ๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๓

วันท่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๓ มีพิธีอัญเชิญพระรูปฯ ประดิษฐาน ท่ ต้นหูกวางหาดทรายรี มีพ่น้อง


ชาวชุมพรมาสักการะ และจัดให้มีการร�าเทิดพระเกียรติถวาย ในพิธีนี้มีผู้มาร่วมงานเป็นจ�านวนมาก
“พระอนุสาวรีย์กรมหลวงชุมพรฯ ที่ต้นหูกวาง ณ หาดทรายรี” เป็นชื่อที่เรียกอย่างล�าลอง ง่าย ๆ สั้น ๆ
แต่ชื่อจริงอย่างเป็นทางการนั้น คือ
“พระอนุสาวรีย์ นายพลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพร
เขตอุดมศักดิ์ ที่ต้นหูกวาง ณ หาดทรายรี”


ลกษณะของพระอนุสาวรีย์ฯ เป็นพระรปปั้นหล่อกรมหลวงชมพรฯ ตอนทรงกรมเป็นกรมหม่นชมพร











เขตรอุดมศกด ขนาดเท่าพระองค์จรง เป็นโลหะบรอนซ์ ประทบบนแคร่ยาวแบบชาวบ้านตามธรรมชาต ต้งอย่บน
พ้นทรายของหาดทรายรีใต้ต้นหูกวางประวัติศาสตร์คู่พระบารมี ท่ปัจจุบันเหลือแต่ตอ ซ่งเป็นต้นหูกวางท่มีความ






ผูกพันกับพระองค์มาเป็นเวลานานจนกระท่งส้นพระชนม์ ทรงเคร่องแบบนายพลเรือตรี เป็นเคร่องแบบสนามตาม


พระราชก�าหนดเครื่องแต่งตัวทหารเรือ พ.ศ.๒๔๕๘ หมวกแก๊ปทรงหม้อตาลสีกากีวางบนแคร่ด้านขวาของพระองค์
พระพักตร์มองตรงไปข้างหน้า เสมือนตอนที่พระองค์ยังทรงมีพระชนมชีพอยู่ ก�าลังให้โอวาท อบรม สั่งสอน ประชุม
บรรดาลูกศิษย์ หรือผู้ใต้บังคับบัญชาท่น่งอยู่เบ้องหน้าบนพ้นหาดทรายรี ท่เป็นลานกว้าง ซ่งอาจเรียกได้ว่าเป็น






พระอิริยาบถของการประชุมพลก็ได้
16
นาวิกศาสตร์
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔

อดีต ต้นหูกวางที่เหลือแต่ตอ



































ปัจจุบัน พระอนุสาวรีย์กรมหลวงชุมพรฯ ที่ต้นหูกวาง ณ หาดทรายรี

นาวิกศาสตร์ 17
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔

วันที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๓



































































กรมหลวงชุมพรฯ ประทับใต้ต้นหูกวางประวัติศาสตร์คู่พระบารมี
ณ หาดทรายรี จังหวัดชุมพร
เสมือนตอนที่พระองค์ยังทรงมีพระชนมชีพอยู่

18
นาวิกศาสตร์
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔

พิธีอัญเชิญพระรูปฯ ประดิษฐาน ที่ต้นหูกวาง ณ หาดทรายรี



































































พระอโนมคุณมุนี (พินิจ พุทฺธสโร ป.ธ.๔)
เจ้าอาวาสวัดสามแก้ว อ�าเภอเมือง จังหวัดชุมพร ประธานฝ่ายสงฆ์
อธิษฐานจิตเจิมพระรูปกรมหลวงชุมพรฯ

นาวิกศาสตร์ 19
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔

การออกแบบพระอนุสาวรีย์ฯ จึงเป็นไปในรูปแบบที่เรียบง่ายเป็นธรรมชาติ ไม่แบ่งชนชั้น เข้ากับเหตุการณ์


ในขณะน้นใกล้เคียงมากท่สุด แสดงถึงการไม่ถือพระองค์ เป็นกันเองกับบรรดาลูกศิษย์ และผู้ใต้บังคับบัญชาโดยใกล้ชิด

ไม่ใช่แบบข้ากับเจ้า หรือบ่าวกับนาย แต่เป็นแบบศิษย์กับครู หรือลูกกับพ่อ ดังพระนิพนธ์ในกรมพระดารงราชานุภาพ



(นายพลเอก สมเดจพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดศวรกมาร กรมพระยาดารงราชานุภาพ ต้นราชสกุลดิศกล)


ทรงกล่าวถึงกรมหลวงชุมพรฯ ไว้ว่า

“ความเอ้อเฟื้อเผ่อแผ่แก่บุคคลท้งหลายก็มิได้ทรงเลือกช้นบรรดาศักด์ ได้คบใครคงอารีด้วยท่วไป





มิได้ถือพระองค์ เพราะฉนั้น ไม่ว่าใครที่บรรดากรมหลวงชุมพรได้คบหาสมาคม จะเปนพระก็ตาม คฤหัสถ์ก็ตาม
เจ้าก็ตาม ไพร่ก็ตาม คงมีใจรักใคร่ไม่เลือกหน้า”




ปัจจุบัน มูลนิธิกรมหลวงชุมพรหาดทรายรี กาลังพัฒนาปรับปรุงอาคารสถานท่ ส่งอานวยความสะดวก







ตลอดจนสงแวดล้อมบรเวณศาลฯ และพระอนสาวรย์ฯ ให้สะอาด เรยบร้อย สง่างาม สมพระเกยรต ในการน ี ้

จะต้องใช้เงินเป็นจานวนมาก จึงขอเชิญชวนท่านผู้มีจิตศรัทธา รักเคารพ และนับถือกรมหลวงชุมพรฯ ข้าราชการทหารเรือ

หน่วยต่าง ๆ ในกองทัพเรือ ตลอดจนเรือหลวงในราชนาวี ได้โปรดช่วยกันบริจาคทรัพย์สมทบทุนเพ่อทาให้ศาลฯ








และพระอนุสาวรีย์กรมหลวงชุมพรฯ ท่หาดทรายรีแห่งน้ เป็นสถานท่ศักด์สิทธ์สมพระเกียรติ ได้ท่บัญช ี


“มูลนิธิกรมหลวงชุมพร หาดทรายรี” ธนาคารออมสิน เลขท่บัญชี ๐๕๓๓๕๐๒๗๐๐๘๗ นอกจากน้ยังเป็น
แหล่งท่องเที่ยวที่ส�าคัญของจังหวัดชุมพร และเป็นแหล่งเรียนรู้ ถึงพระประวัติที่ถูกต้องของพระองค์ท่านอีกด้วย
หากท่านมีโอกาสไปสักการะศาลฯ และพระอนุสาวรีย์ฯ ท่หาดทรายรีแห่งนี้ ถ้าไม่เป็นการรบกวนจนเกินไป

ขอได้โปรดนาพวงชูชีพไปถวายสักการะแทนพวงมาลาด้วย จะได้เก็บรักษาไว้ได้เป็นเวลานาน ประดับไว้บริเวณ

พระอนุสาวรีย์ฯ เป็นการเทิดพระเกียรติพระองค์ท่าน สมกับที่พระองค์ทรงเป็น “องค์บิดาของทหารเรือไทย”
กล่าวได้ว่า “พระอนุสาวรีย์กรมหลวงชุมพรฯ ที่ต้นหูกวาง ณ หาดทรายรี” แห่งนี้ เป็นพระอนุสาวรีย์
กรมหลวงชุมพรฯ ในเคร่องแบบสนามทหารเรือฤดูร้อนตามพระราชกาหนดเคร่องแต่งตัวทหารเรือ พ.ศ.๒๔๕๘




แห่งแรกท่สร้างข้น ณ สถานท่ศักด์สิทธ์ และมีความสาคัญทางประวัติศาสตร์ ณ หาดทรายรี จังหวัดชุมพร










คือ เป็นสถานท่ท่กรมหลวงชุมพรฯ รัก มีความผูกพันอย่างมาก จนกระท่งส้นพระชนม์ ณ ท่น้ เม่อวันเสาร์ท ี ่


๑๙ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๖๖
 เดือนดับสิกลับรุจิกระจ่าง นภะพร่างประกายพราย
แต่องค์พระเอกะวิระชาย มละลับบกลับชนม์
(วสันตดิลกฉันท์ “ไว้อาลัยกรมหลวงชุมพรฯ” จากหนังสือนาวิกศาสตร์ ปีที่ ๖ เล่ม ๖ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๖๖)
20
นาวิกศาสตร์
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔

อู่ทหารเรือธนบุรี ให้การสนับสนุนมูลนิธิกรมหลวงชุมพรหาดทรายรี













































พลเรือตรี สรายุทธ์ ทับเทศ ผู้อ�านวยการอู่ทหารเรือธนบุรี กรมอู่ทหารเรือ

มอบเรือพระที่นั่งมหาจักรี (ล�าที่ ๑) จ�าลอง และเรือหลวงพระร่วงจ�าลอง

แก่มูลนิธิกรมหลวงชุมพรหาดทรายรี

โดย พลเรือเอก จุมพล ลุมพิกานนท์

ประธานกรรมการมูลนิธิกรมหลวงชุมพรหาดทรายรี เป็นผู้รับมอบ

เมื่อวันศุกร์ที่ ๑๙ มีนาคม พ.ศ.๒๕๖๔












นาวิกศาสตร์ 21
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔

พระอนุสาวรีย์

นายพลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์

กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์

ที่ต้นหูกวาง ณ หาดทรายรี จังหวัดชุมพร
(พระอนุสาวรีย์กรมหลวงชุมพรฯ ที่ต้นหูกวาง ณ หาดทรายรี)





ณ ต้นหูกวาง หาดทรายรี แห่งนี้ เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ และมีความส�าคัญยิ่งทางประวัติศาสตร์
ในความผูกพันระหว่าง กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ กับจังหวัดชุมพร

เม่อวันจันทร์ท่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๕๐ กรมหม่นชุมพรเขตรอุดมศักด์ ได้เสด็จมาประทับ





ท่หาดทรายรี เพ่อเตรียมความพร้อมก่อนออกเรือฝึกภาคต่างประเทศคร้งแรกของนักเรียนนายเรือ โดย

เรือมกุฎราชกุมาร







ในเดอนกนยายน พ.ศ.๒๔๕๐ เรอมกฎราชกมารเดนทางกลบจากการฝึกภาคต่างประเทศ
ของนักเรียนนายเรือ กรมหมื่นชุมพรฯ ได้เสด็จมาประทับ ณ หาดทรายรี และได้รับสั่งให้นักเรียนนายเรือ
ฝึกท�าการประลองยุทธ์ทางบก
หลังจากการฝึกครั้งนั้น กรมหมื่นชุมพรฯ ได้เสด็จมาประทับ ณ หาดทรายรี แห่งนี้อีกหลายครา
ทรงจับจองที่ดิน ปรับปรุงพื้นที่การเกษตรและได้สร้างต�าหนักชั่วคราวเรือนไม้ชั้นเดียวไว้เป็นที่ประทับ
เมื่อวันเสาร์ที่ ๒๑ เมษายน พ.ศ.๒๔๖๖ นายพลเรือเอก กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ เสนาบดี

กระทรวงทหารเรือ ได้เสด็จมาท่หาดทรายรีเพ่อพักผ่อนรักษาพระองค์ นับว่าเป็นคร้งสุดท้าย ท่เสด็จมา



ณ สถานที่แห่งนี้





วนเสาร์ท ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๖๖ กรมหลวงชมพรฯ สนพระชนม์ ณ ตาหนักชวคราว




ที่หาดทรายรี เมื่อเวลา ๑๑ นาฬิกา ๔๐ นาที ได้อัญเชิญพระศพมาพักไว้ ณ ใต้ต้นหูกวางต้นนี้ จากนั้น
จึงอัญเชิญพระศพขึ้นเรือหลวงเจนทะเล แล้วถ่ายพระศพสู่เรือรบหลวงพระร่วง เดินทางเข้ากรุงเทพฯ
พลเรือตรี กรีฑา พรรธนะแพทย์ เรียบเรียง
“วันอาภากร” พุธท่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๔

แผ่นป้ายแสดงประวัติของพระอนุสาวรีย์ฯ
22
นาวิกศาสตร์
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔

ประวัติการสร้างพระอนุสาวรีย์


นายพลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์

กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์

ที่ต้นหูกวาง ณ หาดทรายรี จังหวัดชุมพร






พ่น้องชาวชุมพร ตลอดจนผู้ท่เคารพรัก และศรัทธาในกรมหลวงชุมพรฯ ได้พร้อมใจกัน


สร้างพระอนุสาวรีย์แห่งน้ข้น เป็นท่เคารพสักการบูชาของประชาชนท่วไป ท่ต้นหูกวาง ณ หาดทรายร ี





แห่งนี้
พลเรือเอก จุมพล ลุมพิกานนท์ ประธานกรรมการมูลนิธิกรมหลวงชุมพรหาดทรายรี ด�าเนินการ
สร้าง




พลเรอตรี กรฑา พรรธนะแพทย์ ผ้รเรมในการจดสร้าง ออกแบบในการปั้นหล่อ และกาหนด




สถานที่ในการประดิษฐาน
นายอนุชา โสมนัส กราฟิคอาร์ต
นาวาตรี ภากร ศุภชลาศัย ออกแบบภูมิสถาปัตย์
บริษัท โรงหล่อพระบุญชูปฏิมาพร จ�ากัด โดยพันเอก บุญชัย อินทรีย์วงศ์ ผู้บริหาร ด�าเนินการ
ปั้นหล่อ
นายเกียรติขจร ติมารัมย์ ประติมากร
วันที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๓ พิธีประดิษฐาน
















แผ่นป้ายแสดงประวัติการสร้างพระอนุสาวรีย์ฯ

นาวิกศาสตร์ 23
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔

ค�าอธิบายเชิญอรรถ


๑. ต้นหูกวาง (Tropical Almond or India Almond)

เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ถึงขนาดใหญ่ จัดเป็นไม้ผลัดใบ พบได้ท่วไปในทุกจังหวัดของประเทศไทย



มักจะพบท่บริเวณชายหาด หรือป่าชายหาดริมทะเล เพราะเป็นไม้ท่ข้นได้ดีในดินร่วนปนทราย นิยมปลูกเพ่อวัตถุประสงค์

การให้ร่มเงา และเน้อไม้เป็นหลัก ออกดอกในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ถึง เดือนเมษายน และเดือนสิงหาคม ถึง เดือนตุลาคม

ผลัดใบในช่วงเดือนตุลาคม ถึง เดือนพฤศจิกายน
ต้นหูกวางจัดอยู่ในวงศ์ Combretaceae ชนิดท่พบในประเทศไทยคือ Terminalia catappa

มีชื่อเรียกต่างกันออกไปตามแต่ละจังหวัดหรือภูมิภาค เช่น
มลายู นราธิวาส เรียก โคน ตาแปห์
ตรัง เรียก ดัดมือ ตัดมือ

พิษณุโลก สตูล เรียก ตาปัง
สุราษฎร์ธานี เรียก หลุมปัง

หูกวางเป็นพันธุ์ไม้มงคลพระราชทานประจ�าจังหวัดตราด และเป็นต้นไม้ประจ�ามหาวิทยาลัยสยาม
(ข้อมูลจาก peuchkaset.com และวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี)





24
นาวิกศาสตร์
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔

๒. รังษี ค�าอุไร
สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช


หรือสมเด็จวังบูรพา ได้ขอลูกชายคนเดียวของ ขุนทิพยมณเฑียร ยกกระบัตรราชบุรี กับนางไป๋ คาอุไร ไปเป็น
บุตรบุญธรรม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือ “พระพุทธเจ้าหลวง” ได้ทรงพระกรุณาพระราชทาน
ชื่อว่า รังษี ตามสร้อยพระนามของสมเด็จวังบูรพา รังษีก็ได้อาศัยอยู่ในวังบูรพาภิรมย์ตั้งแต่นั้นมา
ต่อมาพระพุทธเจ้าหลวงทรงขอ “หม่อมเจ้าทิพยสัมพันธุ์ ภาณุพันธ์ุ” หรือ “ท่านหญิงทิพย์” พระธิดา
ของสมเด็จวังบูรพาไปเป็นพระชายาของพระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ รังษีจึงได้โดยเสด็จท่านหญิงทิพย์มาอยู่ท ่ ี


วังนางเล้งของพระองค์เจ้าอาภากรฯ ด้วย จนกระท่ง รังษ เป็นหนุ่ม จึงได้ แม่ผิว เป็นภรรยา และอยู่ในวังนางเล้งตลอดมา



เม่อพระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ ทรงรับสถาปนา “ทรงกรม” เป็น “กรมหม่น” ทางราชการ









ก็แต่งต้ง “เจ้ากรม” ข้นมาท่านหน่ง เพ่อดูแลกิจการภายในวังบ้าง เพ่อติดต่อกับส่วนราชการอ่น ๆ ท้ง โดยหน้าท่ราชการ

หรือส่วนพระองค์บ้าง ซ่งเปรียบเสมือนพ่อบ้านน่นเอง เจ้ากรมส่วนมากจะเป็นคนท่ใกล้ชิดมาแต่เดิม สมัยท่ยังไม่ทรงกรม









เช่น รังษี คาอุไร เม่อพระองค์เจ้าอาภากรฯ ทรงกรมเป็น “กรมหม่นชุมพรเขตรอุดมศักด์” รังษ คาอุไร ก็เป็น
“หมื่นชุมพรเขตรอุดมศักดิ์” เมื่อทรงกรมเป็น “กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์” รังษี ค�าอุไร ก็เป็น “หลวงชุมพร

เขตอุดมศักด์” ช่อเป็นทางการของ รังษี คาอุไร คือ “หลวงชุมพรเขตอุดมศักด์” แต่คนในวังและบรรดาหม่อม



ในกรมหลวงชุมพรฯ จะเรียกกันว่า “เจ้ากรมรังษี”
เจ้ากรมรังษี เป็น ศิษย์ที่รักยิ่ง ของกรมหลวงชุมพรฯ
๓. เรือรบหลวงพระร่วง เรือเจนทะเล เมื่อวันที่ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๖๖


เรอพระร่วง ออกเดินทางจากประเทศอังกฤษวันท่ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๖๓ ถึงประเทศสยาม
เมื่อวันที่ ๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๖๓
วันที่ ๙ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๖๓ มหาอ�ามาตย์เอก เจ้าพระยาอภัยราชามหายุติธรรมธร สภานายกราชนาวี
สมาคมแห่งกรุงสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้กราบบังคมทูลพระกรุณาน้อมเกล้าฯ ถวายเรือพระร่วง เป็น เรือรบหลวง
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชด�ารัสตอบ ทรงรับไว้เป็น เรือรบหลวง
เรือเจนทะเล เป็นเรือช่วยรบ ให้ใช้ค�าน�าหน้าชื่อเรือว่า เรือหลวง จึงเรียกเรือเจนทะเลว่า เรือหลวง
เจนทะเล (ร.ล.เจนทะเล)
เมื่อวันที่ ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๖๖ จึงเรียกว่า เรือรบหลวงพระร่วง (ร.ร.ล.พระร่วง) และเรือหลวง
เจนทะเล (ร.ล.เจนทะเล)
ต่อมาในวันที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๖๗ กระทรวงทหารเรือ จึงลงค�าสั่งให้เรียกเรือรบและเรือช่วยรบ
ทั้งหมด (ยกเว้นเรือยามฝั่ง และเรือพระที่นั่ง) ว่า เรือหลวง (ร.ล.)









นาวิกศาสตร์ 25
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔

เอกสารประกอบการเขียน

๑. หนังสือ “นาวิกศาสตร์” ปีที่ ๖ เล่ม ๖ เดือนมิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๖๖ เรื่อง “ค�าฉันท์ไว้อาลัย”
ใน นายพลเรือเอก พระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหลวงชุมพรเขตร์อุดมศักดิ์ เสนาบดีกระทรวงทหารเรือ


๒. หนังสือ “พิมพ์ในงารพระราชทานเพลิงพระศพ พระเจ้าพยาเธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอดมศกด”




เดือน ธันวาคม พ.ศ.๒๔๖๖
๓. หนังสือ “อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พล.ร.ต.พระยาหาญกลางสมุทร (บุญมี พันธุมนาวิน)
๑ กรกฎาคม ๒๕๑๗ ตอน” ประวัติ (สังเขป) ของโรงเรียนนายเรือ พ.ศ.๒๔๔๑ ถึง พ.ศ.๒๔๗๕
๔. หนังสือ “อนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พ.อ.แสง จุละจาริตต์ ๒๘ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๐
เรื่อง “พระต�าหนักศาลเสด็จในกรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์”
๕. บันทึกของนายน้อม ภูมิสุวรรณ พ.ศ.๒๕๓๕

๖. บันทึก ของ นายอภิชาติ บัณฑิตย์ชาติ วันที่ ๗ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๓๔
๗. หนังสือ “ประวัติเรือรบไทย” ของ ยก.ทร. (กรมยุทธการทหารเรือ) สิงหาคม พ.ศ.๒๕๒๐


๘. หนังสือ “นาวิกศาสตร์” ฉบับเดือนกรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๖ เร่อง “คร้งแรกของราชนาวีไทย โดยพลเรือตร ี
กรมหมื่นชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ผู้บังคับการเรือมกุฎราชกุมาร” โดย พลเรือตรี กรีฑา พรรธนะแพทย์
๙. บทความเรื่อง “เรือพระร่วง - เรือรบหลวงพระร่วง - เรือหลวงพระร่วง” พ.ศ.๒๕๕๖ โดย พลเรือตรี
กรีฑา พรรธนะแพทย์
๑๐. หนังสือ “หมอพร หมอเทวดา” ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๑ ตอน “๑๙ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๖๖

วันสิ้นพระชนม์” โดย พลเรือตรี กรีฑา พรรธนะแพทย์
๑๑. หนังสือ SBL บันทึกประเทศไทย ฉบับท่ ๖๐ จังหวัดชุมพร พ.ศ.๒๕๖๐ “CHUMPHON เมืองประชุมพล”

โดย นายณรงค์ พลละเอียด ผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร
๑๒. Peuchkaset.com เรื่อง “ต้นหูกวาง ประโยชน์และสรรพคุณต้นหูกวาง”
๑๓. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี เรื่อง “หูกวาง”








26
นาวิกศาสตร์
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔









“ในบรรดาทหารของทุกเหล่าทัพ

ไม่มีใครที่แสดงถึงความทุ่มเทและเผชิญกับอันตรายที่แสนโหดมากไปกว่านักเรือด�าน�้า”
Sir Winston Churchill
อดีตนายกรัฐมนตรีของอังกฤษในสงครามโลกครั้งที่ ๒


อารัมภบท

บทความสองตอนท่แล้ว ผู้เขียนได้นาเสนอเป็น การได้มาของเรือด�าน�้า การบริหารก�าลังพลที่ปฏิบัติการ
















กรณีศึกษาเก่ยวกับความหายนะของเรือดานาในยามสงบ ในเรอดานา พนททางภมศาสตรของประเทศทถกปดลอม







อันเนื่องมาจากองค์วัตถุและองค์บุคคล แต่ในบทความนี้ โดยธรรมชาติของประเทศเพ่อนบ้าน น่านนาไทยเป็น

จะมองปัญหาของเรือดานาของกองทัพเรือออกไป เขตจ�ากัด แคบ (Confined) และตื้น (Shallow) เป็นต้น




ภายหน้า (Prospective) โดยเน้นในยามสงบเป็นหลัก เช่น ปัญหาสามารถแก้ไขได้ไม่ยาก แต่ก็มีบางปัญหาท่เล่ยง

นาวิกศาสตร์ 31
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔



ได้ยาก และใช่ว่าจะหมดหนทางแก้ไข ซงแน่นอนว่า
เราคงต้องหันกลับไปมองในประวัติศาสตร์ และศึกษา
ว่าบางประเทศในรอบ ๆ บ้านเรา เขาแก้ปัญหาอย่างไร
โดยเราเก็บความรู้สึกว่าเขาเป็นประเทศเล็ก มีกองทัพเรือ





ท่เกิดใหม่หลังเราหลายปี แต่เก่ยวกับเรือดานากองทัพเรือ
ของเรากล่าวได้ว่าเร่มต้นจากศูนย์ ส่วนกองทัพเรือท่จะกล่าวถึง



เขามีประสบการณ์เก่ยวกับเรือดานามากว่า ๓๐ ปีแล้ว



และยังคงพัฒนาต่อไปอีก

อาจมีผู้อ่านบางคนต้งข้อสังเกตว่า ผู้เขียนไม่เคยเป็น





นักเรือดานา (Submariner) หรือทางานเก่ยวกับเรือดานา




มาก่อน ความคิด หรือบทความนี้จะน่าเช่อถือได้จริงหรือ ภาพที่ ๑ U-Boat Pen ของเยอรมนีในฝรั่งเศส
อ่านเล่น ๆ ก็แล้วกัน หากยังขาดความเชื่อมั่นต่อผู้เขียน
แต่ต้องยอมรับว่าในกองทัพเรือของเราน่าจะขาดแคลน


ผู้มีประสบการณ์ด้านน Helmuth von Moltke
ยอดนักรบชาวปรัสเซีย กล่าวว่า “ในยามสงบเราไม่อาจ
หาประสบการณ์จากการรบได้ ดังนั้น จึงควรศึกษาจาก



ประสบการณ์ของผู้ท่ประสบความสาเร็จในอดตของ




ผู้อ่น” ผู้เขียนมิได้มเจตนาเป็นอย่างอ่น เพยงแต่หวังว่า

บางส่วนบางตอนของบทความน้หากเป็นประโยชน์ต่อ
กองทัพเรือบ้าง ก็นับว่าคุ้มค่าต่อการค้นคว้าศึกษาหา
ข้อมูล แต่หากประเด็นต่าง ๆ ของปัญหา และข้อเสนอแนะ ภาพที่ ๒ ที่จอดเรือในภูเขาของ กองทัพเรือสวีเดน

เป็นส่งท่กองทัพเรือมีอยู่แล้ว ไม่เป็นไรครับอย่างน้อย มิใช่เพียงแค่ตัวเรือดานาเท่าน้น แต่ยังรวมถึงส่งอานวย







ขอให้คิดว่ายังมีอดีตนายทหารเรือเฝ้าติดตาม และด ู ความสะดวก การส่งก�าลังบ�ารุง และซ่อมบ�ารุงที่ตามมา


การท�างานของกองทัพเรือด้วยความเป็นห่วงเท่านั้นเอง อย่างเล่ยงไม่ได้ สถานท่จอดเรือบางประเทศสร้างเป็น
Submarine Bunker (อย่างเช่น U-Boat Pen ของ



ปัญหาในการได้มาซึ่งเรือด�าน�้า เยอรมนีในฝร่งเศส และนอร์เวย์ ซ่งทาด้วยคอนกรีต

คงไม่มีใครโต้แย้งว่าเรือด�าน�้าเป็นสินทรัพย์ (Asset) ยาวราว ๗ เมตร บางประเทศเจาะภูเขาท่ติดกับทะเล
ทางเรือท่มีความสาคัญมากสาหรับกองทัพเรือแทบ เป็นต้น) เรือพี่เลี้ยง (Submarine Tender) ยานกู้เรือ





ทุกชาติ เป็นอาวุธเชิงรุก เชิงยุทธศาสตร์ ที่สร้างความ และช่วยเหลือผู้ประสบภัยของเรือดานา เป็นต้น เน่องจาก


ได้เปรียบเด่นมาก โดยเฉพาะสาหรับกองทัพเรือขนาดเล็ก เกี่ยวกับเรื่องเรือด�าน�้าเป็นสิ่งละเอียดอ่อน จึงต้องสร้าง

แต่อย่างไรก็ตาม การจัดหาและการปฏิบัติการของเรือ ส่งดังกล่าวเป็นพิเศษ ซ่งแน่นอนว่าต้องใช้งบประมาณมาก





ดานามีปัญหามิใช่น้อย แตกต่างกันไปของแต่ละชาต ิ เป็นพิเศษเช่นกัน
ซึ่งเราควรให้ความสนใจ ทางด้านยุทธศาสตร์ และยุทธการจาเป็นต้อง




ปัญหาแรก เตรยมกาลงรบเรอดานาไว้ต้องไม่ต�ากว่า ๓ ลา (๑ ลา








ใช้งบประมาณจานวนมากในการจัดหาเรือดาน้า ใช้ลาดตระเวน ๑ ล�า เดินทางระหว่างฐานทัพ – พื้นที่


นาวิกศาสตร์ 32
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔



ประเทศไทยโชคดีมีท่ต้งติดทะเลถึง ๒ แห่ง คือ
ด้านอ่าวไทย และทะเลอันดามัน แต่น่าเสียดายท่คน

ไทยไม่ค่อยตระหนักถึงความสาคัญ และผลประโยชน์ท ่ ี

ได้จากทะเล โดยเฉพาะรัฐบาลที่ผ่านมา ในอดีตกองทัพ


เรือได้แสดงความปรารถนามีเรือดานามาราวคร่งศตวรรษ



เพ่งจะได้รับเม่อไม่นานมาน้เอง แต่ตามท่ได้กล่าวแล้วว่า



โครงการเรือด�าน�้ามิได้มีเพียงตัวเรือเท่านั้น ยังมีสิ่งที่ต้อง
จัดหาอีกหลายอย่าง ซ่งแน่นอนว่าต้องใช้งบประมาณ

จานวนไม่น้อยเช่นกัน เป็นภาระหน้าท ซ่งต้องด้นรนต่อส ู้





ภาพที่ ๓ Submarine Tender ของกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา กับการจัดหางบประมาณต่อไป แต่ปัจจัยช้ขาดคงหน ี






ไม่พนฐานะทางเศรษฐกจของประเทศ นบเปนสงทาทาย


และเสี่ยงอย่างยิ่ง
ปัญหาที่สอง
การอ่อนด้อยความสามารถในการปฏิบัติการของ
ระบบต่าง ๆ ท่ทันสมัย และสลับซับซ้อนของเรือดานา







สมัยใหม่ การจัดหาเรือดานาของเรามักไม่ค่อยคานึงถึง


การได้รับการถ่ายทอดความรู้ท่จาเป็นทางเทคนิค

(Technical Know – how) และด้านการปฏิบัติการ

ตัวอย่างเช่น อาจไม่ได้รับความรู้เก่ยวกับชุดข้อมูล


Signature ด้านเสียงของเรือดาน�าอ่น ๆ ในภูมิภาคน ี ้

ภาพที่ ๔ ยานกู้ภัยเร่งด่วนสำาหรับช่วยเรือดำาน้ำา ของกองทัพเรือสิงคโปร์


ประเด็นน้นับเป็นความยากลาบากสาหรับกองเรือดานา ้ �







ปฏิบัติการ อีกหน่งลาเพ่อการส่งกาลังบารุง แต่บาง ท่มีขนาดเล็กและเพ่งเร่มก่อต้ง ยังมีปัญหาบางเทคนิคอีก




ประเทศมีเกณฑ์สูงกว่าน้เป็น ๔ ลา เพ่อสารอง เม่อ หลายประการทเราตองศกษา และเตรยมรบมอ เชน อาวธ















ต้องซ่อมทาระยะยาว) โดยหลักเศรษฐศาสตร์ว่าด้วย หลักของเรือด�าน�้า คือ ตอร์ปิโด ระบบขับเคลื่อนหรือแม้
การประหยัด โดยเพ่มขนาด (Economy of Scale) กระทั่งกล้องตาเรือ เป็นต้น

การมีกองเรือขนาดเล็กประมาณ ๓ ล�า ราคาของแต่ละล�า กองเรือดานาใหม่ท่ยังขาดประสบการณ์คงต้อง




ย่อมสูงกว่าของแต่ละลาเม่อจัดหาเรือดานาจานวน เผชิญกับความกดดัน และความเครียดของกาลังพลท่ต้อง











มากข้น อาจเป็น ๖ หรือ ๙ ลา นอกจากน้นเม่อพิจารณาถึง ออกปฏิบัติการในทะเลหลายวัน ดังนั้น ก�าลังพลจ�าเป็น




ขีดความสามารถทางยุทธการ หากมีจานวนเรือดานาน้อย ต้องใช้เวลามากข้นเป็นพิเศษสาหรับการฝึก เพ่อให้เกิด




จึงเป็นการยากที่จะประกันขีดความสามารถที่ถาวรได้ ทักษะทางยุทธการของเรือด�าน�้า ซึ่งทักษะดังกล่าวจะไม่


ความจากัดด้านงบประมาณและการแก่งแย่ง สามารถเกิดข้นได้หากมีการฝึกไม่เต็มท หรือมีทักษะบ้าง


งบประมาณระหว่างเหล่าทัพ ย่อมกลายเป็นผลกระทบ แล้วแต่อาจลดลงเร็วหากขาดการฝึกอย่างต่อเน่อง ปัญหา













และข้อจากดขนาด รวมท้งจานวนของเรือดานาทจะจัดหา บางประการท่กล่าวน้สาหรับกองเรือดาน�าใหม่และ









ซ่งเป็นส่งท้าทายต่อโครงสร้างกาลังรบของกองทัพเรือ มีขนาดเล็ก จึงดูจะยากท่จะสร้างกาลังพลของเรือดานา

ในที่สุด ท่ได้รับคุณสมบัติอย่างเหมาะสม (Qualified) อย่างต่อเน่อง


นาวิกศาสตร์ 33
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔

และเมื่อถึงวาระที่ต้องสับเปลี่ยนก�าลังพล ปัญหาเหล่านี้ และอุบัติเหตุมักจะเป็นความหายนะมากกว่าอุบัติเหต ุ
จะยิ่งยากขึ้นไปอีก ส�าหรับผู้บังคับการเรือจ�าเป็นต้องได้ โดยทั่ว ๆ ไปที่เกิดขึ้นของบรรดาเรือผิวน�้า สิ่งที่น่าสังเกต







รับการฝึกอย่างเข้มข้นเพ่อเตรียมรับกับภาระรับผิดชอบ และควรตดตาม คอ ความขดแย้งอนเกดจากกฎหมาย
ด้านการบังคับบัญชา และการควบคุมที่มากมายใหญ่โต ระหว่างประเทศทางทะเลแนวใหม่ นับวันจะเป็นประเด็น
เพ่อให้เขาสามารถตัดสินใจได้อย่างอิสระเสร หากเขาขาด ที่ยุ่งยากซับซ้อนมากขึ้นทุกที





การติดต่อกับหน่วยเหนือ (ทางวิทยุ) ซ่งอยู่บนบกท่ห่างไกล ประเด็นปัญหาท่สี่น้จะกล่าวในรายละเอียดอันดับ

จากพื้นที่ปฏิบัติการ ต่อไป
ปัญหาที่สาม ปัญหาที่ห้า



ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของเรือดานามีนวัตกรรม ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมทางยุทธศาสตร์

เกิดข้นมาใหม่อยู่ตลอดเวลา เช่น ระบบการขับเคล่อนท่ม ี ในภูมิภาคเอเชียตะออกเฉียงใต้ เป็นท่น่าสังเกตว่า
















ประสทธภาพสงขน การนาระบบ AIP (Air Independent จานวนเรือดานาท่เพ่มข้นทุกทีในภูมิภาคน ได้กลายเป็น


Propulsion) ของเรือดานาสมัยใหม่มาใช้ และการพัฒนา ศักยภาพท่ทาให้สภาพแวดล้อมทางยุทธศาสตร์ขาด








ระบบขับเคลื่อนแบบไฮบริด Fuel cell/battery โดย ความม่นคง โดยเฉพาะเม่อมีการนาเรือดานาไปใช้ใน








Howaldtswerke ของเยอรมน ทาใหเรอดานามความเงยบ ภารกิจลับต่อพ้นท ซ่งเป็นปัญหาความขัดแย้ง และใน















มากข้น นอกจากน้นการนายานไร้คนขับมาใช้เสริม น่านนาอาณาเขตของชาติอ่น โดยเน้อแท้ของธรรมชาต ิ








เรือดานา การพัฒนาการปราบเรือดานาท่ทันสมัย เคร่องมือ หลักของการปฏิบัติการของเรือดานาสามารถก่อให้เกิด







ตรวจจับเรือดานามีการปรับปรุงและพัฒนาไปมาก โดย ความตึงเครียดเพ่มข้นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้




เฉพาะในกลุ่มกองทัพเรือขนาดใหญ่ท่มีกาลังรบ เรือดานา ้ � มาตรา ๒๐ ของอนุสัญญาสหประชาชาติเก่ยวกับกฎหมาย



ท่เข้มแข็ง ซ่งล้วนมีศักยภาพท่จะลดประสิทธิภาพของ ทะเลแนวใหม่ (United Nations Convention on the




บรรดากองเรือดานาขนาดเล็กท่ไม่สามารถแบกภาระ Law of Sea – UNCLOS 1982) ได้ก�าหนดเงื่อนไขไว้ว่า




ในการจัดหาเรือดานาช้นเลิศ (First–rate) ได้ ตัวอย่างของ เรือด�าน�้าที่อ้างการผ่านโดยสุจริต (Innocent Passage)







ส่งท่กล่าวข้างต้นน้จาเป็นท่นักเรือดานา และหน่วยเหนือ ต่อน่านนาอาณาเขต หรือน่านนาหมู่เกาะ (Archipelagic











ต้องติดตามความก้าวหน้า มิฉะน้นจะตกเป็นฝ่ายเสียเปรียบ Waters) ต้องโผล่ข้นมาเหนือนา และแสดงธงประจาชาต ิ

หากต้องเผชิญหน้ากับเรือด�าน�้าของชาติอื่น ของเรือลาน้น ประเด็นน้เคยเป็นสาเหตุแห่งความตึงเครียด




ปัญหาที่สี่ ระหว่างประเทศมาแล้วคร้งหน่ง ระหว่างอินโดนีเซียกับ










ความเส่ยงของเรือดานาในการเดินเรือ โดยเฉพาะ เรือดานาของชาติอ่นท่ดาผ่านน่านนาของอินโดนีเซีย



การปฏิบัติการในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดังปรากฏให้เห็นเป็นตัวอย่างท่ชัดเจน คือ อดีต
น่านน�้ารอบ ๆ บ้านเรา ทางตะวันตกในทะเลอันดามัน ประธานาธิบดีของอินโดนีเซีย Wahid ได้เตือนเม่อ

และมหาสมุทรอินเดีย ทางตะวันออกในทะเลจีนใต้ และ เมษายน ค.ศ. ๒๐๐๐ ต่อประเทศสิงคโปร์ ที่ไม่อนุญาต




มหาสมุทรแปซิฟิก โดยธรรมชาติเป็นก่งทะเลปิด เป็นเขต ให้เรือดานาสิงคโปร์เร่ร่อน (Stray) ออกนอกช่องทาง







นาต้น มีการจราจรทางนาท่หนาแน่น และเป็นช่องทางแคบ ทางทะเลท่ได้กาหนดไว้ ขณะท่เดินทางตัดผ่าน (Tran





พ้นท่บางส่วนยังไม่ได้รับการสารวจอย่างละเอียด และ sverse) น่านน�้าของอินโดนีเซีย



แม่นยา โดยเฉพาะรอบ ๆ หมู่เกาะ Spratly ถึงกับม ี การปฏิบัติการของเรือดาน�าเป็นเร่องท้าทายต่อ


ผู้กล่าวว่าการปฏิบัติการของเรือดานาในน่านนาดังกล่าว ความปลอดภัยของขอบเขตทางทะเล (Maritime Domain)





ค่อนข้างเส่ยงต่ออันตรายในการเดินเรือ การเข้าใจผิด ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หากมีการน�าเรือด�าน�้า
นาวิกศาสตร์ 34
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔







ไปใช้ปฏิบัติการในน่านนาท่มีความขัดแย้งในช่วงเวลา ประเทศท่มีเรือดานา ต้องยอมรับว่าในปัจจุบันยังไม่ม ี







ท่เกิดภาวะตึงเครียด โอกาสท่ไม่ได้มีเจตนา หรือเกิด สนธิสัญญาเบ้องต้น (Protocol) ท่ใช้ดาเนินการเก่ยวกับ


อุบัติเหตุจากการใช้อาวุธอาจเพ่มมากข้น โดยเฉพาะ การป้องกันอุบัติเหตุของเรือดานาในภูมิภาคเอเชีย



อย่างย่งเมอเรือดานาลาน้นขาดการตดต่อกบหน่วย ตะวันออกเฉียงใต้ การขาดความไว้วางใจต่อกันเป็นปัจจัย














บัญชาการของตนท่อยู่ห่างไกล ความกดดันท่เกิดจาก สาคัญท่ขัดขวางอย่างชัดเจน แม้จะมีข้อขัดข้องอยู่บ้าง

ความพยายามโดยหน่วยปราบเรือดานาของฝ่ายตรง ก็ตาม แต่วิธีการ (Ways) และเครื่องมือ (Means) น่าจะมี





กันข้าม ทานองเดียวกันกับการตัดสินใจท่ผิดพลาดของ พร้อมแล้ว ซ่งสามารถนามาปรับปรุงการสร้างความไว้วางใจ







สถานการณ์ของผู้บังคับการเรือดานา หรือแม้แต่ในยาม และอานวยความสะดวกตอความกาวหนาของสนธสญญา




สงบ ธรรมชาติ และต�าบลที่การปฏิบัติการของเรือด�าน�้า เบ้องต้น สาหรับใช้ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้น ้ ี

ย่อมขัดขวางความร่วมมือในการจัดการกับความปลอดภัย เพื่อใช้กับการปฏิบัติการของบรรดาเรือด�าน�้า และความ

อุบัติเหตุท่อาจเกิดข้นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปลอดภัยของเรือเหล่านั้น





จากปัญหาของการใช้เรือดานายามสงบท่กล่าวมา อยางไรกตาม ในขณะทยงขาดสนธสญญาเบองตน












บางประการ แสดงให้เห็นว่าขอบเขตทางทะเล (Maritime ดังกล่าว ประเทศต่าง ๆ ท่มีเรือดานาควรร่วมมือกัน



Domain) รวมท้งอาณาเขตของใต้นาในภูมิภาคเอเชีย ก�าหนดมาตรการความปลอดภัยส�าหรับเรือด�าน�้า เช่น




ตะวันออกเฉียงใต้เพ่มความซับซ้อนมากข้น จานวน และ - ส่งเสริมความร่วมมือกันของภูมิภาคเอเชียตะวัน




ขีดความสามารถของเรือดานาท่ปฏิบัติการในภูมิภาคน ี ้ ออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะอย่างย่งเก่ยวกับการบริหาร











มากข้น จดการพนทน่านนาทคาดว่าจะเกดปัญหา และป้องกน




คุณค่าด้านการป้องปราบ (Deterence) ของเรือดานา ้ � การแทรกแซงกัน







เป็นแรงจูงใจหลักท่อยู่เบ้องหลังการจัดหาเรือดานา - สร้างหน่วยงานเพ่อให้คาแนะนาการยาตราของ


ของทุกประเทศ ข้อได้เปรียบสาคัญด้านการซ่อนตัว เรือด�าน�้าในภูมิภาคนี้



(Stealth) ของเรือด�าน�้าเป็นเครื่องประกันการตอบสนอง - การปฏิบัติการของเรือดานาในภูมิภาค ควรร่วมมือ




ท่ไม่สมนาสมเน้อ (Unproportional) กับเรือผิวนา กันอย่างใกล้ชิด ให้มีกิจกรรมหรือการปฏิบัติเพ่อสร้าง




เรือดานามักถูกนามาอ้างว่าเป็นตัวคูณกาลัง (Force ความไว้วางใจเก่ยวกับเรือดานา ตัวอย่างเช่น การประชุม
















Multiplier) สาหรบกองทพเรอขนาดเล็กทอาจเผชญ ร่วมมือกันด้านเรือดานาของ Asia Pacific และการฝึกร่วม



กับกาลังรบทางเรือขนาดใหญ่ได้ คงมีแรงจูงใจอ่น ๆ Exercise Pacific Reach เป็นต้น






เบ้องหลังการให้ได้มาซึ่งกาลังรบท่มีศักยภาพสูงน เช่น - สร้างเขต “No - Go” Zones ส�าหรับเรือด�าน�้า


ศักด์ศร และหน้าตาของประเทศ เพ่อการมีศักยภาพ เป็นการเฉพาะ เช่น พ้นท่ซ่งมีความขัดแย้งเก่ยวกับอานาจ








ทางทหาร โดยเฉพาะทางเรือท่ทัดเทียมกับประเทศ อธิปไตยในทะเลจีนใต้

เพ่อนบ้าน นอกจากน้นในยามสงบเรือดานายังสามารถ - ริเริ่มท�าสนธิสัญญาเบื้องต้นส�าหรับภูมิภาคเอเชีย






นาไปใช้ในภารกิจท่หลากหลาย เช่น เรือดานาสมัยใหม่ ตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อบริหารจัดการกับเรือด�าน�้าที่หาย



ใช้ในด้านการหาข่าว การแสดงก�าลัง การอวดธง หรือ หรือจม
ท่เรียกกันว่า การทูตทางเรือ (Naval Diplomacy) เป็นต้น - สร้าง Hotlines ของรัฐบาลข้นระหว่างบรรดา








ความปลอดภัยเป็นประเด็นสาคัญท่เราจะละเลย หน่วยงานของรัฐท่มีเรือดานาออกปฏิบัติการ อย่างเช่น




ไม่ได้เลย การทาให้ม่นใจต่อความปลอดภัยของเรือดานา ของโซเวียต – สหรัฐอเมริกา ในช่วงสงครามเย็น

ในน่านนาของภูมิภาคน้เป็นส่งท้าท้ายสาคัญย่งสาหรับ - สรางคณะทางานดานความปลอดภยของเรอดานา � ้













นาวิกศาสตร์ 35
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔





ข้นภายในสถาบันท่มีอยู่แล้วของภูมิภาคน ตลอดจน
ขยายขอบเขตการประชุมทางทะเลของอาเซียน (ASEAN
Maritime Forum)
























ภาพที่ ๖ ประเทศไทยถูกปิดล้อมโดยธรรมชาติ
ภาพที่ ๕ หมู่เกาะ Spratly อาจก�าหนดเป็น “No - Go” Zones จากประเทศเพื่อนบ้านถึง ๒ ชั้น
ส�าหรับเรือด�าน�้าในยามวิกฤติ คาบสมุทรมีทะเลสองด้าน คือ ทะเลอันดามันในมหาสมุทร








ท่กล่าวข้างต้นน้เป็นแนวความคิด เพ่อสร้างความ อินเดย และอ่าวไทย การวางกาลงทางเรือจาเป็นต้องกระจาย
ร่วมมือกันในบรรดาประเทศท่มีเรือดานาของภูมิภาค ก�าลัง การเคลื่อนย้ายก�าลังมีจุดอ่อนหลายประการ เช่น




เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซ่งถือว่าเป็นผลประโยชน์ร่วมกัน ต้องผ่านน่านนาของรัฐอ่น กาลังทางเรือซ่งมีอยู่น้อย













(Common Interest) ส่วนจะเป็นจริงได้แค่ไหนเราต้อง ยงทาให้อ่อนแอลงไปอก การส่งกาลงบารงกระทาได้


ติดตามดูกันต่อไป ประเทศสิงคโปร์ดูเหมือนจะให้ ไม่เต็มที่โดยเฉพาะด้านทะเลอันดามัน
ความสาคัญต่อประเด็นความปลอดภัยของเรือดานา จุดอ่อนประการต่อมา คือ เราถูกปิดล้อม (Blockade)






เป็นพิเศษ อาจเป็นเพราะกาลังรบทางเรือ โดยเฉพาะ ตามธรรมชาติจากประเทศอ่น ซ่งลักษณะดังกล่าว



เรือด�าน�้ามีข้อจ�ากัดมากกว่าประเทศใด ๆ ได้ร่วมมือกับ คล้ายคลงกับประเทศเยอรมนท่ถกปิดล้อมตามธรรมชาต ิ






บางประเทศในยุโรปทมีข้อจากดคล้ายคลึงกัน คอ เผชิญกับ จากประเทศอังกฤษ หากดูแผนท่ภูมิภาคเอเชียตะวันออก



น่านน�้าแคบ จ�ากัด และตื้น เฉียงใต้ เห็นได้ชัดเจนว่าเราถูกปิดล้อมถึงสองช้น ช้นแรก



คราวน้เราย้อนมาดูปัญหาของกองทัพเรือไทยท่ต้อง อ่าวไทยถูกปิดล้อมโดยประเทศมาเลเซีย กัมพูชา และ

เตรียมรับมือในอนาคต เวียดนาม ช้นนอกถูกปิดล้อมโดยหมู่เกาะอันดามันของ
อินเดียทางมหาสมุทรอินเดีย ทางด้านใต้ถูกปิดล้อมโดย
ปัญหาพื้นที่ปฏิบัติการของเรือด�าน�้าไทย มาเลเซีย บรูไน และอินโดนีเซีย ส่วนทางตะวันออกท ่ ี



เป็นความโชคไม่ดีสาหรับท่ต้งทางภูมิศาสตร์ของ จะออกไปสู่ทะเลจีนใต้ และมหาสมุทรแปซิฟิกถูกปิดล้อม

ประเทศไทย แม้เรามีชายฝั่งทะเลท่มีความยาวราว โดยฟิลิปปินส์

๑,๕๐๐ ไมล์กตาม แต่จดอ่อนประการแรก คอ เราอยบน จุดอ่อนทางภูมิศาสตร์แน่นอนว่าเราแก้ไขได้ยาก

ู่

นาวิกศาสตร์ 36
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔







แม้ปัจจบนประเทศเพอนบ้านต่างกเป็นมตรประเทศ ในแต่ละสาขาปฏิบัติการเข้าใจความหมายในทิศทาง
และในยามวิกฤต หรือมีข้อขัดแย้งกันจะเป็นอุปสรรค เดียวกัน
ต่อการปฏิบัติการทางเรือแน่นอน จุดอ่อนท่สาคัญ















อกประการหนงสาหรบเรอดานาคอ เมอเดนทางผ่าน Centre of Excellence for Confined and Shallow






น่านนาอาณาเขตของรฐอน หรอผ่านช่องแคบระหว่าง Water (COE CSW)







ประเทศ จาเป็นต้องเดินทางบนผิวน�าตามที่กาหนดใน ซ่งต้งอยู่ในประเทศเยอรมน ได้กาหนดคานิยามใน

กฎหมายระหว่างประเทศ บันทึกความเข้าใจ (MOU) ว่า : “พื้นที่ปฏิบัติการชายฝั่ง

นอกจากนั้นทะเลในอ่าวไทย และบรรดาช่องแคบ ซ่งหนทางปฏิบัติ (Course of Actions) ท้งของฝ่าย







ต่าง ๆ ท่เรือดานาคาดว่าจะต้องเดนทางผ่านล้วน เดียวกัน และกาลังรบของฝ่ายตรงกันข้ามได้ถูกจากัด




เป็นเขตนาต้น เป็นน่านนาจากัด ทาให้ขาดเสรีภาพ อย่างน้อยท่สุดเกิดจากปัจจัยดังต่อไปน้ นาต้น ช่องแคบ









ในการเคลื่อนตัว หรือเดินทาง ท่แคบ แนวชายฝั่งไม่เรียบ สภาพแวดล้อมท่คล้ายหมู่เกาะ










ท่กล่าวมาโดยย่อถึงปัญหาของพ้นท่ปฏิบัติการ ซ่งเต็มไปด้วยเกาะเล็ก ๆ พ้นท่ซ่งอยู่เหนือระดับนาตาและ






ของเรือดานา บางคนอาจต้งคาถามในใจว่า แล้วทาไมเรา ใต้น�้า เมื่อน�้าขึ้น (Tidal Area) พื้นที่แบนราบขนาดใหญ่










ยังต้งใจท่จะจัดหาเรือดานามาใช้งานอีก อย่าเพ่งด่วน และนาต้น มักเปล่ยนแปลงตามขนาดและรูปร่างภายใต้





สรุปครับ ปัญหาทุกปัญหามีทางออก ค่อย ๆ ช่วยกันคิด อิทธิพลของกระแสนา และ/หรือสภาพอากาศ”
ด้วยสติปัญญา คงต้องหวนกลับไปศึกษาประวัติศาสตร์ AAP - 6 (Nato Glossary of Tierms and Definitions)


ศกษาแนวความคดทางยุทธศาสตร์ และทางยุทธการ ได้ก�าหนดค�านิยาม น่านน�้าตื้น และตื้นมาก
เกี่ยวกับการใช้เรือด�าน�้า ศึกษาบางประเทศที่มีจุดอ่อน Shallow Waters - น�้าที่มีความลึก ระหว่าง ๑๐ -
คล้ายประเทศไทยว่าเขาหาทางออกอย่างไร แล้วเรา ๒๐๐ เมตร




จะมองเห็นแสงสว่างที่ปลายอุโมงค์ Very Shallow Waters - นาท่มีความลึกตากว่า

ผู้เขียนได้เคยเขียนบทความเก่ยวกับการใช้เรือ ๑๐ เมตร

ดานาตามท่กล่าวข้างต้นมาแล้วเม่อต้นปีน้ลงในนิตยสาร Milan Vego อาจารย์ใน US Naval War College







นาวิกศาสตร์ แต่ส�าหรับบทความนี้จะน�าเสนอเกี่ยวกับ ให้นิยามคาว่าน่านนาจากัดในหนังสือ Naval Strategy






การแก้ปัญหาในเขตน่านนาจากัด และต้นเฉพาะใน and Operation in Narrow Seas ว่า : Confined Waters




ยามสงบเป็นหลัก ซ่งคิดว่าน่าจะเป็นประโยชน์ต่อ “มวลของนาซ่งจากความกว้างและความลึกได้จากัดการ



กองทัพเรือบ้าง ดาเนินกลยุทธ์ของเรือผิวนา และยานใต้นา และในบางกรณ ี






ยังจากัดการใช้เคร่องมือตรวจจับและอาวุธของเรือ โดย








ความหมายของ “น่านนาจากัดและน่านนาต้น” ท่วไปแล้วเป็นน่านนาท่ห้อมล้อมไปด้วยหมู่เกาะ ช่องแคบ


(Confined and Shallow Waters – CSW) ช่องทางที่แคบ ที่ตื้น และคลองประดิษฐ์”
ตามความเข้าใจในปัจจุบันของคา CSW มีค�า ค�า CSW ถูกก�าหนดไว้ในบรรณสารทางยุทธวิธีของ

ต่าง ๆ ท่เก่ยวข้องหลายประการ อย่างไรก็ดียังมีความคิด NATO หลายแห่ง แต่อย่างไรก็ดีท้งหมดท่ยกมาเป็นตัวอย่าง




ที่แตกต่างกันซ่งข้นอยู่กับลักษณะ ประเภทเฉพาะของ มีพื้นฐาน ที่สะท้อนถึงข้อจ�ากัดอันเกิดจากสภาพแวดล้อม





แต่ละการทาสงครามทางเรือ ดังน้น จึงมีคานิยามค่อนข้าง ท่ได้กล่าวมาแล้ว เม่อเราพิจารณาลึกลงไปเห็นได้อย่าง






หลากหลาย ซ่งโดยข้อเท็จจริงแล้วไม่จาเป็นต้องเหมือนกัน ชัดเจนว่าเป็นข้อจากัดทางยุทธการ การเดินเรือซ่งเกิดจาก
หรอสอดคล้องกน แต่คาท่ใช้เรียก CSW ต่างก็เพอให้ ผลกระทบของภูมิศาสตร์ สมุทรศาสตร์ และอุตุนิยมวิทยา






นาวิกศาสตร์ 37
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔




ความส�าคัญของ CSW ต่อทางพาณิชย์ทางทะเล และ จมลงด้วยฝีมือของเฮลิคอปเตอร์ ดังน้นในเขตนาต้นใน





ทางทหาร ภูมิภาคน้เรือดานาย่อมถูกตรวจจับได้ง่ายจากอากาศยาน







ประมาณคร่งหน่งของประชากรโลกอาศัยอยู่บริเวณ ในเขตนาต้น เรือ U-Boat ของเยอรมันเม่อดาด่วนฉุกเฉิน
ที่ห่างจากฝั่งทะเลไม่เกิน ๒๐๐ กิโลเมตร และมีแนวโน้ม (Crash Dive) เพื่อหลบหลีกการตรวจพบจากเครื่องบิน



ท่จะเพ่มข้นอย่างรวดเร็ว ร้อยละ ๙๐ ของการค้าขาย ข้าศึกท่กาลังมุ่งเข้าหาตน ความผิดพลาดท่แต่งทริมเรือ





เป็นการค้าขายทางทะเล สามในสของเส้นทางการค้า ให้สู่ภาวะปกติไม่ทันหัวเรือปักพื้น
ทางทะเลน้อย่างน้อยผ่านท่แคบหน่งแห่ง ซ่งกลายเป็น ทั้งสองกรณีตัวอย่างแสดงให้เห็นว่า การปฏิบัติการ




จุดอ่อน เส้นทางคมนาคมทางทะเล (Sea Lines of Com- ของเรือด�าน�้าในยามสงครามไม่ได้ง่ายอย่างที่คิด Motto

munication - SLOC) ตลอดจนบรรดา Choke Points ของกองทัพเรือท่กล่าวว่า รบอย่างไร ฝึกอย่างน้น ฟังดูง่าย

ท่าเรือ และโครงสร้างพ้นฐานอ่น ๆ ส่วนใหญ่ต้งอยูใน CSW สวยหร แต่ในทางปฏิบัติอาจเป็นอีกเร่องหนึ่งก็ได้ คงเป็น






ซึ่งเหล่านี้อาจท�าให้เป็นสิ่งรบกวนที่เราไม่พึงประสงค์ ภาระหน้าท่ของคนในกองทัพเรือท้งผู้ปฏิบัติและผู้วางแผน

ในทางทหาร CSW ถือว่าเป็นสภาพแวดล้อมทาง ต้องกลับมานั่งคิดอย่างจริงจัง บทความนี้ได้กล่าวตั้งแต่
ยุทธการที่พิเศษมาก อันประกอบด้วย ความหลากหลาย ตอนต้นว่าจะน�าเสนอปัญหาเฉพาะในยามสงบเป็นหลัก

ของผู้แสดง (Actors) ความเสี่ยง ภัยคุกคาม ซึ่งสิ่งเหล่านี้ บางท่านอาจพอจาเหตุการณ์ในเดือนกุมภาพันธ์

มีผลกระทบ และท้าทายอย่างมากต่อการปฏิบัติการ ป ค.ศ.๒๐๐๑ ได้ เรือด�าน�้าพลังนิวเคลียร์ของกองทัพเรือ
ทางทหาร โดยเฉพาะนักวางแผน และผู้บังคับบัญชา สหรัฐอเมริกา USS Greenville SSN-772 โดนกับเรือฝึก

ทางทหาร แต่อีกด้านหน่งเราไม่ควรมองว่า CSW เป็นพ้นท ่ ี ประมงของญ่ปุ่น The Ehime Maru ในทะเลลึก การเป่า




ซึ่งมีความเสี่ยง และมีขอจ�ากัด ควรมองวาเปนที่รวมของ ลมเข้าถังอับเฉาแบบฉุกเฉินของ USS Greenville ท�าให้

โอกาสซ่งเราสามารถนามาพิจารณาใช้ให้เป็นประโยชน์ได้ เรือพุ่งพรวดโผล่สู่ผิวน�้าอย่างรวดเร็วมาก และได้โดนกับ


โดยสรุปแล้ว CSW เป็นสภาพแวดล้อมทางยุทธการที่ เรือ The Ehime Maru ลูกเรือของเรือประมงจ�านวน
คับแคบ แออัด แข่งขัน หรือต่อสู้กัน เป็นที่ซึ่งมีความสลับ ๙ คนเสียชีวิต แล้วเรือจมลง หลังจากนั้นไม่ต้องสงสัยว่า


ซับซ้อนมาก เป็นสิ่งท้าท้ายต่อการปฏิบัติการทางทหาร ผู้บังคับการเรือดานาของสหรัฐอเมริการับผิดชอบ



บริเวณชายฝั่ง ซ่งมีผลกระทบต่อการยาตรากาลัง และ ไปเต็ม ๆ เขาออกจากราชการในเวลาต่อมา

การปฏิบัติอย่างเสรี ในเดือนมกราคม ค.ศ.๒๐๐๕ เรือดานาพลังนิวเคลียร์


ของสหรัฐอเมริกาเช่นกัน USS San Francisco ชนภูเขา
ปัญหาที่คาดว่าเรือด�าน�้าของไทยต้องเผชิญในอนาคต ใต้ทะเล ขณะเดนทางจากเกาะกวมไปยงออสเตรเลีย


ในสงครามโลกคร้งท่สอง เรือ U-Boats ของเยอรมันถูกจม เพ่อปฏิบัติภารกิจเย่ยมเมืองท่า (Port Visit) เรือใช้






โดยเคร่องบินฝ่ายสัมพันธมิตรคาท ประมาณ ๓๑๐ ลา ความเร็วสูงทาให้เรือเกือบจมพร้อมกับทหารประจาเรือ




และในทะเลเป็นเหยื่อของเรือผิวน�้าราว ๕๐ ล�า อีกราว ท้งหมด หลายคนบาดเจ็บสาหัส และเสียชีวิตหน่งคน


๑๕๐ ลาได้รับความเสียหายจากการโจมตีของเคร่องบิน แต่เรือก็ยังสามารถประคองตัวกลับเกาะกวมได้โดยลาพัง



ฝ่ายสัมพันธมิตร ตัวเลขท่เห็นคิดเฉพาะในมหาสมุทร ตนเอง รายละเอียดดูได้จากนิตยสารนาวิกศาสตร์ฉบับ

แอตแลนติก และอ่าวบิสเคย์เป็นหลัก และที่น�ามาแสดง เดือนตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๒


เพ่อช้ให้เห็นว่าแม้ในเขตนาลึกศัตรูร้ายกาจอันดับหน่ง ตัวอย่างท้งสองกรณีเป็นเหตุการณ์ยามสงบ และ











ของเรือดานาในสงครามเกิดจากอากาศยาน หรือในสงคราม เกดขนในทะเลทกวางใหญและนาลก สาเหตหลกเกดจาก









ฟอล์กแลนด์ ค.ศ.๑๙๘๒ เรือด�าน�้าอาร์เจนตินาล�าหนึ่ง ความบกพร่องด้านองค์บุคคล
นาวิกศาสตร์ 38
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔





กลับมาพิจารณาดูปัญหาท่คาดว่าเรือดานาไทยอาจ ในเขตจากัดท่เป็นช่องแคบ โดยเฉพาะช่องแคบ





ต้องเผชิญในอนาคต ซึ่งเรามีพื้นที่ปฏิบัติการที่หลีกเลี่ยง มะละกา หากเรือดานาจาเป็นต้องเดินทางผ่าน โดยเฉพาะ


ได้ยาก คือ เป็นน่านน�้าจ�ากัดและตื้น (CSW) ในเวลากลางคืนย่อมมีความเส่ยงสูงด้านความปลอดภัย



เพราะนับวันจะมีจานวนเรือท่ผ่านมากข้นแล้ว ขนาดของ


เรือดานาเผชิญกับส่งท้าทายอะไรบ้างในน่านนาจากัด เรือ และน�้าหนักบรรทุกเพิ่มขึ้นเช่นกัน ทางเลือกอื่น เช่น





และตื้น ผ่านช่องแคบซุนดา หรือลอมบ็อกของอินโดนีเซีย แม้จะ





กลางอ่าวไทยมระดบนาลกราว ๗๐ – ๘๐ เมตร มีการจราจรท่เบาบางลงบ้าง แต่เรือพาณิชย์ท่เดินทาง








อาจมีปัญหาไม่มากนักขณะดา แต่บริเวณใกล้ชายฝั่งเข้ามา ผ่านช่องแคบดังกล่าวมกเป็นเรอขนาดใหญ่ทหลีกเล่ยง



ไม่สามารถดาได้ลึกเท่าท่คิดว่าปลอดภัย ความสูงจาก การผ่านช่องแคบมะละกา ซ่งคงไม่ต่างจากการหนีเสือ


ท้องเรือพาณิชย์ถึงเส้นแนวนา (Waterline) เราเรียว่า ปะจระเข้



ระยะกินนาลึก (Draft) สาหรับเรือขนาดใหญ่อาจกินนาลึก ช่องทางเดินเรือในทะเลจีนใต้อยู่ในสภาพท่เบาบาง




๑๐ – ๑๕ เมตร โดยเฉพาะเรือบรรทุกน�้ามันขนาดใหญ่ กว่าช่องแคบมะละกาบ้าง ท้ง ๆ ท่มีการจราจรคับค่ง และ






ดังน้น ระยะท่ห่างจากฝั่งไม่มากนักคงเหลือความลึกท ี ่ ผ่านเขตนาต้นอีกด้วย เส้นทางผ่านทะเลจีนใต้ด้านทิศใต้

ปลอดภัยจากการโดนกันของเรือดานากับเรือผิวนา ตามปกติลึกเพียง ๖๐ – ๗๐ เมตร เท่านั้น








ไม่มากนัก นอกจากน้นแล้วยังมีเรืออีกบางประเภทท ี ่ โดยข้อเท็จจริงแล้วช่องทางเดินเรือท่จากัด และ



กินนาลึก เช่น เรือบรรทุกคอนเทนเนอร์ขนาดใหญ่ เขตนาต้นหาได้เป็นส่งท่ยับยั้ง กองทัพเรือของชาติต่าง ๆ




เรือเดินสมุทร หรือแม้กระท่งฐานขุดเจาะนามัน หรือฐาน ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จากการจัดหา





ขุดเจาะก๊าซธรรมชาติ เรือดาน�้าจึงมีพ้นท่ไม่มากนักสาหรับ เรือดานาเพ่มเติมส�าหรับใช้ในภูมิภาคน้ ดังน้นพ้นท ี ่










การหลบหลีก (Room to Maneuver) ใต้นาจะมีกิจกรรมหนาแน่นมากข้นเม่อมีจานวนเรือดานา







เพิ่มขึ้นในช่องทางเดินเรือของภูมิภาค
ภาพที่ ๘ อวนลากของเรือประมงเป็นอุปสรรคต่อเรือด�าน�้าในอ่าวไทย
อุปสรรคส�าคัญอีกอย่างหนึ่ง ทั้งต่อเรือผิวน�้า และ
เรือด�าน�้า คือ เรือประมงในอ่าวไทย โดยเฉพาะขณะท�า






การประมง ซงมจานวนคอนขางมาก ตามกฎการเดนเรอ


สากลแล้ว เรือเหล่านั้นได้รับสิทธิที่เรืออื่น ๆ ต้องหลีก
ภาพที่ ๗ ช่องแคบซุนดา และลอมบ็อกของอินโดนีเซีย ทางให้
นาวิกศาสตร์ 39
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔




ปัจจุบนในภมภาคเอเชยตะวันออกเฉยงใต้ ประเทศ ตัวอย่างของแนวทางปฏิบัติ







ต่าง ๆ ท่มีเรือดาน�ายังไม่ได้มีความร่วมมือกันกาหนด การแลกเปล่ยนข่าวสารระหว่างประเทศในภูมิภาค
มาตรการเพ่อสร้างความปลอดภัยให้แก่การปฏิบัติการ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้อาจเป็นเร่องละเอียดอ่อน และ


ของเรือด�าน�้า เช่น การป้องกันเรือโดนกันของเรือด�าน�้า อ่อนไหว โดยเฉพาะการยาตราของเรือดานา โดยหลักการ




ขณะท�าการด�า หรือโดนกับเรือผิวน�้า หรือวัตถุใต้น�้า แล้วมักถือเป็นความลับดังท่นักเรอดานากล่าวว่า “Run








สิ่งท่น่าจะเป็นประโยชน์หรือเป็นรูปธรรม คือ การร่วม Silent Run Deep” แต่สาหรับพ้นท่ปฏิบัติการท ่ ี




มือกันกาหนดแนวทางปฏิบัต (Code of Conduct) มีข้อจากัดดังได้กล่าวมาแล้ว อาจต้องปรับเพ่อความ






โดยเน้นไปท่การปฏิบัติการใต้นาของกาลังรบเรือดานาให้ ปลอดภัยเป็น “Run Silent Run Shallow” บรรดา









ปลอดภัยมากข้น ซ่งอาจรวมถึงเรือผิวนาด้วย แนวทาง กองทัพเรือในภูมิภาคท่มีเรือดานาสามารถร่วมมือกันได้









ปฏิบัติท่กาหนดจะช่วยเติมเต็มส่งท่จาเป็น ท้งน้เน่องจาก ในการให้ข่าวสารท่ไม่เป็นความลับ ไม่อ่อนไหว แต่อาจม ี
ในปัจจุบันยังไม่มีแนวทางปฏิบัติสาหรับอุบัติเหต หรือ ผลกระทบต่อความปลอดภัยของการเดินเรือใต้นา




เหตุการณ์ในทะเลโดยเฉพาะขอบเขตใต้นา (Underwater อาจรวมถึงกิจกรรมอื่น ๆ เช่น กิจกรรมการประมง การ



Domain) แนวทางปฏิบัติท่กล่าวนเพ่อป้องกัน “การพบกัน เคล่อนย้ายฐานขุดเจาะนามัน หรือฐานขุดเจาะก๊าซ






โดยไม่ได้วางแผนมาก่อนในทะเล” ซ่งใช้ควบคุมขอบเขต ธรรมชาติในทะเลลึก การเดินทางของเรือขนาดใหญ่


ใต้นา กาหนดชุดของกฎต่าง ๆ เพ่อหลีกเล่ยงการโดนกัน ที่กินน�้าลึกมาก การเกิดแผ่นดินไหวซึ่งอาจรบกวนเครื่อง











กับยานใต้นา (ท้งเรือดานาและยานใต้นาไร้คนขับ) รวมท้ง ั โซนาร์ เป็นต้น

เรือผิวน�้า เกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนข่าวสารในประเด็นข้างต้นนี้






หากแนวทางปฏิบัติท่ประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคน ี ้ กองทัพเรอสิงคโปร์ได้ใหความสาคญ เป็นผริเร่มในภมิภาค




ร่วมกันก�าหนดถูกน�าไปใช ซึ่งปจจุบันมีราว ๑๐ ประเทศ นี้ได้พัฒนา “ทางเข้าสาหรับข่าวสารด้านความปลอดภัย









เรือดานา ๑๐๐ กว่าลา เช่อว่านักเรือดานาจะได้รับ แก่เรือดานา (Submarine Safety Information





ประโยชน์จากแนวทางปฏิบัติดังกล่าว โดยเฉพาะเม่อ Portal)” ที่ฐานทัพเรือ Changi เพื่ออ�านวยความสะดวก
เรือด�าน�้าโดนกันโดยบังเอิญใต้น�้า หรือแม้กระทั่งพบกัน เพื่อแลกเปลี่ยนข่าวสารแบบ “Live” เกี่ยวกับข่าวล่าสุด


โดยไม่มีแผนมาก่อนหน้า แต่ละลาควรนาเรืออย่างไร ของเรือในทะเล ภาพใหญ่เช่นน้เป็นประโยชน์มาก เพราะ


ให้ปลอดภัย แนวทางปฏิบัติเหล่าน้จะช่วยเรือผิวนา สามารถนามาใช้ในการประสานสินทรัพย์ (Asset) สาหรับ









เช่น เรือสินค้าหรือเรือของเอกชนว่าต้องปฏิบัติอย่างไร การช่วยเหลือเรือดานา โดยเฉพาะอย่างย่งยานท่กาหนด


เมื่อเห็นไฟสัญญาณ ควันสีแดง ยิงจากเรือด�าน�้าที่ก�าลัง ไว้ล่วงหน้า พร้อมอุปกรณ์การช่วยเหลือเรือดานาท ่ ี





จะโผล่ข้นสู่ผิวนาฉุกเฉิน แนวทางปฏิบัติช่วยแสดงให้เห็น ประสบภัยอันเกิดจากอุบัติเหตุในทะเล เพ่อเตรียมพร้อม











ว่ามีเรือดานากาลังเร่งโผล่สู่ผิวนาภายในเวลาไม่ก่นาท ี ตลอดเวลาแบบถาวรใช้สนับสนุนเรือดานาอย่างรวดเร็ว
ในแง่ดังกล่าวน้เป็นการเสริมความปลอดภัยในทะเลให้ หรือที่เรียกว่า Swift Rescue แต่นั่นเป็นการด�าเนินการ

สูงข้น เน่องจากเรือพาณิชย์ไม่มีโซนาร์ และไม่ตระหนักว่า สาหรับเรือดานาของตนเอง แต่ปัญหาใหญ่กว่าน้น คือ







มีอะไรที่เป็นอันตรายซ่อนอยู่ใต้ท้องเรือ แนวทางปฏิบัติ การไม่รู้ว่าบรรดาผู้ใช้ทะเลชาติอื่น ๆ จะรู้หรือไม่ ถึงการ




อ่น ๆ อาจเป็นการแลกเปล่ยนข่าวสาร การทาความตกลง ท่จะหลีกเล่ยงการโดนกันของเรือดานา คือ เหตุผลสาคัญ






ที่ดีที่สุด โดยมีมาตรฐานเดียวกันส�าหรับท�าอย่างไรให้ใช้ ท่กองทัพเรือได้เสนอแนวทางปฏิบัต (Code of Con-



เรอดานาได้อย่างปลอดภัย และอาจขยายไปถงการต่อ duct) โดยมุ่งเน้นไปท่การปฏิบัติการใต้นาของกาลังรบ







เรือด�าน�้าให้สอดคล้องกับมาตรฐานดังกล่าว นี่เป็นเพียง เรือด�าน�้าให้ปลอดภัยมากขึ้น (ทั้งเรือด�าน�้า และเรือผิวน�้า)
นาวิกศาสตร์ 40
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔


แนวทางปฏิบัติของกองทัพเรือสิงคโปร์ได้นาเข้าเสนอ
ในการประชุม Submarine Safety Conference
ที่เกาหลีใต้ เมื่อปี ค.ศ.๒๐๑๖






ไม่น่าแปลกทกองทพเรอสงคโปร์เป็นหวหอก


ในประเด็นดังกล่าว ท้งน เพราะได้ส่งสมประสบการณ์






การปฏิบัติการของเรือดานาในภูมิภาคน้มานานกว่า ๓๐ ป ี
ไม่เพียงเฉพาะในภูมิภาคน้เท่าน้น กองทัพเรือสิงคโปร์


ยังมีประสบการณ์ในทะเลบอลติกอีกด้วย เคยฝึกเรือดานา



ในน่านน�้าของประเทศสวีเดนมาแล้ว
ภาพที่ ๑๐ Logo ของ COE CSW
บทสรุปสุดท้าย


สภาพทางภูมิศาสตร์ของน่านนารอบ ๆ ประเทศไทย


มีข้อจากัดหลายอย่างตามท่ได้กล่าวแล้ว เราไม่สามารถ
แก้ไขธรรมชาติท่ดารงอยู่ได้ แต่ก็ใช่ว่าเป็นอุปสรรคต่อ


การใช้เรือดานาจนไม่มีทางเลือกอ่น บทความข้างต้นได้





นาเสนอ Model การแก้ไขปัญหาของประเทศสิงคโปร์

และกลุ่มประเทศนาโตบางประเทศ โดยเฉพาะท่อยู่ใน
ภาพที่ ๙ ตึกส�านักงานใหญ่ของ COE CSW ที่เมือง Kiel ทะเลบอลติก ซึ่งสมควรที่เราให้ความสนใจ ศึกษา และ
น�ามาประยุกต์ใช้ส�าหรับกองทัพเรือไทยต่อไป
ในยุโรปโดยเฉพาะอย่างย่งกลุ่มประเทศ NATO กระน้นก็ตามปัญหาท่กล่าวน้เป็นเพียงปัญหา




มีประเทศเยอรมนีที่ได้ตั้งองค์กร Centre of Excellence พ้นฐานอย่างหน่งที่มีความสาคัญ นอกจากน้นยังต้อง




for Operations in Confined and Shallow Water เตรียมการสาหรับการใช้เรือดานาทางยุทธการ (Opera




(COE CSW) เพ่อศึกษา และพัฒนาวิธีการทางยุทธการใหม่ tional Deployment) การฝึก และซ่อมบารุงเป็นต้น


ทบทวนแนวความคิดเดิม และปรับให้เหมาะกับสภาพ แม้ว่าอาจขาดประสบการณ์โดยตรง แต่โดยหลักการด้าน


แวดล้อมในเขตน่านนาจากัดเขตนาต้นท่เปล่ยนแปลงไป บริหารจัดการ เช่อว่ากองทัพเรือสามารถเผชิญกับ








เป็น Think and do Tank สาหรับองค์การ NATO สงท้าทายได้ไม่ยาก ตามทกองทพเรอได้แถลงในสารจาก






ปัจจุบันมีสมาชิกราว ๓๐ ประเทศ ส่วนใหญ่เป็นประเทศ ผู้บัญชาการทหารเรือ เนื่องในวันกองทัพเรือ วันที่ ๒๐
ในทะเลบอลติก COE CSW มีส�านักงานใหญ่อยู่ที่เมือง พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๒ ตอนหน่งว่า “...ส่งผลให้


Kiel ในประเทศเยอรมน ขอบเขตภารกิจของหน่วยงานนี ้ กองทัพเรือบรรลุ วิสัยทัศน์กองทัพเรือ พุทธศักราช



แม้ก่อตั้งมาได้เพียง ๑๐ กว่าปี แต่ผลงานด้านการวิจัย ๒๕๖๗ ท่กาหนดว่า “จะเป็นหน่วยงานความม่นคง



เก่ยวกับการปฏิบัติการของเรือ (ท้งผิวนาและใต้นา) ในเขต ทางทะเลที่มีบทบาทน�าในภูมิภาค และเป็นเลิศในการ



น่านน�้าจ�ากัดและตื้น น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง หน่วยงานของ บริหารจัดการ” เรียบร้อยแล้ว...”

กองทัพเรือไทยท่เก่ยวข้องกับผลงานของ COE CSW ภาพจาก : Masterpiece dasboot.waaches.com : Wikipedia

น่าจะติดตามต่อไป World Atlas : Setfia.orq.au : COE CSW

นาวิกศาสตร์ 41
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔

ตอนที่ ๑
กล่าวน�า


“นำยทหำรหนุ่มผู้มำนะพยำยำม และมุ่งม่นท่จะได้บังคับกำรเรือล�ำหนึ่งเป็นคร้งแรกในชีวิต ไม่ว่ำจะเป็นเรือพิฆำต



เรือกวำดทุ่นระเบิด เรือด�ำน้ำ เรือเร็วโจมตี หรือเรือช่วยรบ มันย่อมเป็นเร่องท้ำทำยควำมรู้สึกในกำรเข้ำรับหน้ำท ี ่

ผู้บังคับกำรเรือครั้งแรก เธอเป็นเรือของท่ำน - ทุกส่วนของเธอ - อย่ำงไรก็ตำมหนทำงแห่งควำมส�ำเร็จนั้นเต็มไปด้วย


หลุมพรำงแห่งควำมประมำท ขำดควำมเอำใจใส่ และควำมบกพร่อง จำกวินำทีท่ท่ำนก้ำวข้นเรือในฐำนะผู้บังคับกำรเรือ
คนใหม่ ควำมรับผิดชอบต่อเรือและก�ำลังพลประจ�ำเรือเป็นของท่ำน”
COMMAND AT SEA

“ผู้บังคับการเรือ” เป็นผู้บังคับหน่วยก�ำลังรบท่ได้รับ ไม่เคยมีโอกำสได้ปฏิบัติหน้ำท่ผู้บังคับกำรเรือมำก่อน





กำรยอมรับโดยสำกลวำมีลักษณะท่พิเศษต่ำงจำกผู้บังคับ จนเคยคิดว่ำคงจะไม่มีโอกำสน้นแล้ว แต่ในท่สุดผู้เขียน


หน่วยอ่น ๆ ไม่ว่ำบนพ้นดินหรือในอำกำศ เน่องจำก ก็ได้ทรำบข่ำวว่ำมีกำรสอบรับเรือล�ำหน่ง เลยลองสมัครสอบ


เป็นกำรน�ำหน่วยที่เป็นอิสระ แยกตัว ห่ำงไกลจำกหน่วย และสำมำรถสอบผ่ำนได้รับกำรคัดเลือกในต�ำแหน่ง
ควบคุมบังคับบัญชำ ตำมกฎหมำยระหว่ำงประเทศถือว่ำ ผู้บังคับกำรเรือ จึงเป็นแรงบันดำลใจให้เขียนบทควำมน ้ ี


เรือเสมือนเป็นดินแดนอีกดินแดนหน่ง ระยะเวลำ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่อถ่ำยทอดประสบกำรณ์ปฏิบัต ิ






กำรปฏิบัติงำนยำวนำน ต้องรับผิดชอบชีวิตก�ำลังพล หน้ำทผ้บงคบกำรเรอ โดยเฉพำะอย่ำงยงสำหรบผ้ท ่ ี





จ�ำนวนมำก และยุทโธปกรณ์รำคำสูง บำงคร้งอำจเป็น ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้บังคับกำรเรือครั้งแรกในชีวิต ตั้งแต่

หลักพันหรือหลักหม่นล้ำนบำท ท่ส�ำคัญคือกำรรับผิดชอบ กำรเตรียมกำรไปจนถึงกำรปฏิบัติงำนจริงในทะเล โดยจะเน้น


ต่อควำมส�ำเร็จ ควำมล้มเหลวของภำรกิจ รวมถึงควำม การดาเนินการท่แตกต่างจากท่หลายท่านเคยเห็น







สูญเสียทงปวง ส่งเหล่ำนจึงเป็นควำมท้ำทำยสำหรบผู้ท ่ ี เพื่อเป็นข้อพิจำรณำในกำรปรับใช้ประโยชน์ต่อไป



ได้รับแต่งต้งเป็นผู้บังคับกำรเรือ อันเป็นประสบกำรณ์ท ี ่

นำยทหำรพรรคนำวินส่วนใหญ่ใฝ่ฝัน การเตรียมการส่วนตัว
แม้ว่ำผู้เขียนได้ใช้ชีวิตรำชกำรเกือบท้งหมดในกองเรือ พร้อมไปกับกำรทบทวนประสบกำรณ์ในกำรท�ำงำน


ยุทธกำร ต้งแต่กำรบรรจุรับรำชกำรคร้งแรก บำงช่วง ท่ผ่ำนมำ โดยเฉพำะในหน้ำท่ต้นหนและต้นเรือ เพ่อให้




ได้มีโอกำสเป็นนำยทหำรประจ�ำเรือ บำงช่วงท�ำหน้ำท ่ ี สำมำรถผ่ำนด่ำนแรกของกำรปฏิบัติกำรทำงเรือคือ
ฝ่ำยอ�ำนวยกำร และครูฝึกในหลักสูตรต่ำง ๆ แต่ก ็ กำรน�ำเรือโดยปลอดภัย (Safe to Sail) เพรำะภำรกิจแรก
นาวิกศาสตร์ 42
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔


ก็คือกำรน�ำเรือออกไปทดลองระบบต่ำง ๆ ไม่ว่ำจะเป็น น�ำเรือ กำรส่งกำร ไปจนถึงกำรน�ำเรือในสถำนกำรณ์ต่ำง ๆ


ระบบตัวเรือ ระบบควบคุมบังคับบัญชำ และระบบอำวุธ ต้งแต่กำรออกจำกเทียบ กำรเข้ำเทียบ กำรท้งสมอ

อันหมำยรวมถึงกำรยิงอำวุธประจ�ำเรือทุกประเภทด้วย กำรรับ – ส่งส่งของในทะเล กำรน�ำเรือในสถำนกำรณ์
อมภัณฑ์จ�ำนวนมำก ซึ่งอุบัติเหตุร้ำยแรงสำมำรถเกิดขึ้น ฉุกเฉิน ฯลฯ เรียกว่ำเป็นหนังสือท่ถ้ำผู้น�ำเรือมือใหม่

ได้ตลอดเวลำ รวมท้งเป็นกำรทดลองระบบท่เพ่งได้รับ ได้อ่ำนท�ำควำมเข้ำใจอย่ำงถ่องแท้ก็อำจถือเป็นดั่งคัมภีร์




กำรบูรณำกำรเข้ำด้วยกัน ด้วยก�ำลังพลชุดใหม่ท่ยังไม่เคย ที่จะช่วยให้แคล้วคลำดจำกภยันตรำยทั้งปวงเลยทีเดียว

ปฏิบัติงำนร่วมกันมำก่อน ท้งหมดน้นับเป็นควำมท้ำทำย


ไม่น้อย ผู้เขียนจึงเร่มมองหำผู้ท่สำมำรถให้ค�ำปรึกษำได้




และหนังสือท่มีข้อมูลท่เป็นประโยชน์ ซ่งจำกกำรค้นหำ
ใน Internet และห้องสมุดของกองกำรฝึกกองเรือ
ยุทธกำร ก็ได้พบว่ำมีหนังสือมำกมำยที่สำมำรถใช้อ้ำงอิง



ในกำรท�ำหน้ำท่ได้เป็นอย่ำงดี ส่งท่ผู้เขียนแปลกใจคือ

มีหนังสือต่ำงประเทศหลำยเล่มทลงรำยละเอียดให้

สำมำรถศึกษำแนวทำง ไปจนถึงเคล็ดลับ (ท่ไม่ลับ) ในกำร




ปฏิบัติหน้ำท่ในด้ำนต่ำง ๆ ต้งแต่ในเร่องของกำรปกครอง
บังคับบัญชำ กำรบริหำรงำนภำยในเรือ ไปจนถึงกำร หนังสือสองเล่มที่เป็นคู่มือชั้นยอด

น�ำเรือในสถำนกำรณ์ต่ำง ๆ ได้อย่ำงละเอียด ควบคู่ไปกับกำรอ่ำนหนังสือคือ กำรร้อฟื้นควำมรู้สึก




หนังสือท่ลงทุนไปส่งจำก Amazon เล่มแรกคือ ในกำรนำเรอ นบเป็นโชคดทถงแม้ผ้เขยนจะทำงำน








หนังสือเรื่อง “Command at Sea” ที่เขียนโดย ADM ฝ่ำยอ�ำนวยกำรอยู่หลำยปี แต่ก็พอมีประสบกำรณ์ในกำร
James Stavridis, USN และ RDML Robert Girrier, น�ำเรือขนำดใหญ่ และมีโอกำสร่วมกำรปฏิบัติกำรทำงเรือ

USN เล่มนี้พี่ ๆ น้อง ๆ หลำยท่ำนแนะน�ำเลยว่ำต้องลอง และกำรฝึกต่ำง ๆ ท้งในและต่ำงประเทศเป็นประจ�ำ






แล้วกไม่ร้สกผดหวงจรง ๆ เพรำะถงแม้จะเขยนโดย รวมท้งได้มีโอกำสเป็นท้งผู้รับกำรฝึก และผู้สอนใน




นำยทหำรเรือของกองทัพเรือสหรัฐอเมริกำ ท่มีรูปแบบกำร หลักสูตรต่ำง ๆ อยู่เสมอ นอกจำกนั้นกำรเป็นก�ำลังพล

ท�ำงำน ธรรมชำติ ทัศนคติ และระเบียบปฏิบัติหลำยอย่ำง ชุดฝึกในเคร่องฝึกศูนย์ยุทธกำรเรือด�ำน�้ำ ของกองเรือด�ำน้ำ




ท่แตกต่ำงจำกกองทัพเรือ แต่ในภำพรวมท้งในเรื่องศิลปะ ท�ำให้ไม่ได้ห่ำงไกลจำกกำรปฏิบัติกำรทำงเรือในระดับ
และจิตวิทยำในกำรปกครองบังคับบัญชำ ควำมสัมพันธ์ ยุทธวิธีนัก


กับเพ่อนร่วมงำนระดับต่ำง ๆ ภำยในเรือ ควำมปลอดภัย แต่ด่งค�ำโบรำณท่ว่ำสิบปำกว่ำไม่เท่ำตำเห็น สิบตำเห็น


กำรฝึก กำรออกปฏิบัติกำร สำมำรถน�ำมำประยุกต์ใช้ ไม่เท่ำมือคล�ำ ดังน้นทุกคร้งเม่อมีโอกำส ผู้เขียนจึงขอ





เป็นแนวทำงในกำรท�ำงำนได้เป็นอย่ำงดี กำรเขยนใช้วธ ี ออกเรือไปสังเกตกำรณ์กำรปฏิบัติกับเรือท่มีคุณลักษณะ
กำรเขียนแบบถ่ำยทอดประสบกำรณ์อ่ำนแล้วไม่เครียด หรือระบบท่ใกล้เคียงกันในระยะเวลำส้น ๆ เช่น กำร






หนังสืออีกเล่มหน่งท่ต้องมีติดสะพำนเดินเรอ ยำตรำเรือไป - กลับอ่ กำรออกฝึกแบบเช้ำไปเยนกลบ


และห้องโถงนำยทหำรคือ “Naval Shiphandler’s Guide” หรือแม้แต่กำรน�ำร่องเข้ำ - ออกร่องน�้ำเจ้ำพระยำ ที่ต้อง
โดย CAPT James Alden Barber, USN ที่ผู้เขียนติดใจ ขอขอบคุณพี่ น้อง ผองเพื่อน ชำวเรือต่ำง ๆ ที่ได้กรุณำ
ในวิธีกำรถ่ำยทอดควำมรู้กำรน�ำเรือในสถำนกำรณ์ต่ำง ๆ สนับสนุนผู้เขียนมำ ณ โอกำสน้ โดยผู้เขียนได้


ได้อย่ำงเห็นภำพ โดยเริ่มตั้งแต่พื้นฐำนของฟิสิกส์ในกำร อัดคลิปในระหว่ำงกำรฝึกหรือกำรน�ำเรือท่ส�ำคัญ เช่น
นาวิกศาสตร์ 43
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔

กำรรับ – ส่งสิ่งของในทะเล กำรน�ำเรือเข้ำเทียบ - ออก เพรำะต่ำงคนยังสังกัดและปฏิบัติงำนกับหน่วยเดิม ท�ำให้
จำกเทียบ กำรน�ำเรือเข้ำ – ออกร่องน�้ำต่ำง ๆ ฯลฯ เพื่อ กำรรวมกลุ่มแบบเห็นหน้ำกันท�ำได้ไม่บ่อยนัก แต่นับว่ำ



ป้องกันกำรหลงลืม และน�ำมำเปิดทบทวนให้กับตนเอง โชคดีท่เรำอยู่ในยุคดิจิทัลท�ำให้ติดต่อส่อสำรกันได้อย่ำง
และชุดน�ำเรือในกำร Brief ก่อนกำรออกเรือด้วย ง่ำยดำย เพรำะกำรต้งส�ำนักงำนเรือเร็วเกินไปก็อำจไม่ใช่


















การออกเรือสังเกตการณ์กับเรือต่าง ๆ
The First Crew แนวทำงกำรแก้ปัญหำท่ดีท่สุดเสมอไป รวมท้งในแง่ของ




ก�ำลังพลเรือชุดแรกนับว่ำเป็นกลุ่มคนท่ม ี ภำระงำนอำจไม่มีควำมจ�ำเป็นขนำดนั้น
ควำมส�ำคัญเพรำะเป็นผู้วำงระบบต่ำง ๆ รวมท้งระเบียบ แนวทำงที่ผู้เขียนและน้อง ๆ นำยทหำรประจ�ำเรือ


และขนบธรรมเนียมประเพณีเล็ก ๆ น้อย ๆ ภำยในเรือ ร่วมกันหำรือและตกลงใจใช้คือ กำรรวมตัวเท่ำท่จ�ำเป็น




เพรำะอะไรท่เร่มต้นดีก็มีแนวโน้มว่ำจะไปด้วยดี ข้อดีของ ต่อภำระงำนในแต่ละช่วงเวลำ เพอไม่ให้เกดสภำวะ


ก�ำลังพลรับเรือคือผ่ำนกำรสอบคัดเลือก จึงเป็นกำร คนล้นงำนซ่งไม่เกิดประโยชน์ใด ๆ อีกท้งจะกระทบต่อ




รับประกันควำมรู้ควำมสำมำรถได้ในระดับหน่ง รวมท้ง กำรท�ำงำนของหน่วยเดิมท่ก�ำลังพลแต่ละนำยยังสังกัด
หำกวำงแผนดี ๆ ก็จะมีเวลำในกำรเตรียมทีม เตรียมกำร อยู่โดยไม่จ�ำเป็น และที่ส�ำคัญอีกประกำรหนึ่งคือเพื่อให้


เพียงพอท่จะรับประกันควำมปลอดภัยในกำรออกเรือ ก�ำลังพลยังได้รับสิทธิก�ำลังพลในส่วนของเงินเพ่มพิเศษ
ครั้งแรก อันมีเหตุส�ำหรับทหำรหน่วยเรือภำยใต้กรอบของระเบียบ


ส่งแรกท่ก�ำลังพลชุดแรกต้องปฏิบัติก็คือ กำรเข้ำรับ ที่ก�ำหนด โดยก่อนกำรออกทดลองเรือครั้งแรกประมำณ
กำรอบรมหลักสูตรต่ำง ๆ ท้งในและต่ำงประเทศ ท่นอกจำก ๓ เดือน จึงขอให้กองเรือเจ้ำของเรือขอตัวก�ำลังพล


เข้ำรับกำรอบรมแล้ว ยังต้องท�ำกำรจัดท�ำต�ำรำ ซึ่งก็นับ นำยทหำร และประจ�ำเรือบำงส่วนท่จ�ำเป็นต่อกำรเตรียมเรือ






เปนควำมทำทำยทตองดำเนนกำรใหแลวเสรจในชวงเวลำ เบองต้นมำช่วยปฏบตรำชกำรอกตำแหน่งหนง เพอให้


















ท่จ�ำกัด และทุกคนยังมีภำระงำนกับหน่วยเดิมอยู่ อย่ำงไร ทุกอย่ำงพร้อมส�ำหรับกำรรับก�ำลังพลท้งหมดมำปฏิบัติงำน





ก็ตำมก็ส�ำเร็จลุล่วงในคุณภำพท่ยอมรับได้ รวมท้งช่วง เพ่อให้เรือสำมำรถออกทะเลได้ตำมท่ก�ำหนด และก่อน
กำรอบรมยังได้มีโอกำสหำรือพูดคุยกับบริษัทผู้ผลิต ออกเรือประมำณ ๑ เดือน จึงประสำนหน่วยเจ้ำของ


อุปกรณ์ต่ำง ๆ จนน�ำไปสู่กำรปรับปรุงเปล่ยนแปลง งบประมำณในกำรทดลองเรือ ให้พิจำรณำลงค�ำส่งให้

รำยละเอียดหลำยอย่ำงให้สอดคล้องกับรูปแบบกำรปฏิบัต ิ ก�ำลังพลรับเรือท้งหมดเป็นเจ้ำหน้ำท่ในกำรทดสอบ


งำนจริง ๆ ที่จะเกิดขึ้นตำมรูปแบบของกองทัพเรือ ทดลองเรอ นบเป็นกำรรวมกลมโดยสมบรณเปนครงแรก




ุ่




ควำมท้ำทำยในช่วงน้คือ กำรติดต่อประสำนงำนกัน (ไม่นับกำรพบปะเล่นกีฬำท่จัดมำเป็นระยะ ๆ ต้งแต่

นาวิกศาสตร์ 44
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔



ทรำบผลสอบ) เพื่อท�ำควำมคุ้นเคยกับอุปกรณ์ ถ่ำยทอด อุปกรณ์ ท่ได้มอบประสบกำรณ์ท่ดีมำก ๆ ส�ำหรับก�ำลังพล



ควำมรู้โดยก�ำลังพลท่ไปรับกำรอบรมมำ ฝึกหน้ำท่ประจ�ำ ชุดรับเรือทุกนำย ท่นอกจำกกำรศึกษำและท�ำควำมเข้ำใจ



สถำนีต่ำง ๆ แจกจ่ำยอุปกรณ์ส่วนตัว อบรมข้อก�ำหนด ต่อระบบแล้ว ส่งท่ประทับใจอีกอย่ำงหน่งคือ บรรยำกำศ
ด้ำนควำมปลอดภัย กำรป้องกันควำมเสียหำย ด้วยวิธีกำรน ี ้ ในกำรท�ำงำนร่วมกันจำกกำรแลกเปล่ยนเรียนรู้ และ

ท�ำให้งำนต่ำง ๆ ด�ำเนินไปได้อย่ำงรำบรื่น และก�ำลังพล ให้โอกำสชุดรับเรือในฐำนะผู้ช�ำนำญกำรตำมสำขำอำชีพ
รับเรือท่รับเงินเพ่มพิเศษอันมีเหตุส�ำหรับทหำรหน่วยเรือ ในกำรเสนอข้อคิดเห็นต่ำง ๆ ซ่งได้น�ำไปสู่กำรปรับเปล่ยน







ไม่เสียสิทธิก�ำลังพล เพรำะถ้ำจะว่ำกันตำมควำมจริง หลำยอย่ำง ท่บำงอย่ำงแม้อยู่นอกเหนอจำกท่ตกลงไว้

กำรเตรียมกำรท้งปวงก็เป็นกำรปฏิบัติงำนเรือตำม ในสัญญำ แต่ก็เป็นส่งท่ช่วยให้กำรปฏิบัติงำนของผู้ปฏิบัต ิ


ต�ำแหน่งอัตรำเรือ ตำมพรรคเหล่ำ และสำขำวิชำชีพของ เป็นไปโดยสะดวก สอดคล้อง และเพ่มประสิทธิภำพ


ก�ำลังพลแต่ละนำยโดยแท้จริง และช่วงออกทดลองเรือ แน่นอนว่ำคงไม่ใช่ทุกอย่ำงท่ท�ำได้ แต่หลำยอย่ำงก็ได้เกิด





ก็เป็นช่วงทก�ำลังพลรบเรือได้ท�ำหน้ำทก�ำลังพลประจ�ำเรือ เป็นจริงข้นมำ แม้ว่ำจะหมำยถึงงำนท่เพ่มข้นมำท้งของ






รวมท้งหัวข้อในกำรออกทดสอบทดลองก็มีเป็นจ�ำนวนมำก บริษัทและฝ่ำยเทคนิคท้ง Hardware และ Software




จนแทบจะออกเรือเช้ำยันค่ำทุกวัน บำงคร้งเป็นกำร เช่น กำรปรับเปล่ยนต�ำบลท่และโครงสร้ำงของ Console



เดินเรือต่อเน่องติดต่อกันนำนหลำยวัน ดังน้นกำรหำ กำรปรับ – สลับ Function กำรท�ำงำนต่ำง ๆ หรือเรื่อง





แนวทำงกำรปฏิบัติเพ่อด�ำรงสิทธิก�ำลังพลในกรอบของ ทว ๆ ไปทเกดขนตลอดช่วงกำรต่อเรอท่เรำได้มโอกำส






ระเบียบทพงกระท�ำได้จึงเป็นสงทควรกระทำ โดยเฉพำะ ในกำรช้จุด ปรับต�ำแหน่งในกำรติดต้งอุปกรณ์ต่ำง ๆ












อย่ำงย่งท่ในควำมเป็นจริงท่ก�ำหนดกำรส่งมอบและ ให้เกิดควำมเหมำะสมในกำรปฏิบัติงำน



ข้นระวำงประจ�ำกำรอำจล่ำช้ำกว่ำแผนท่ก�ำหนด มิฉะนั้น
ในอนำคตก็จะท�ำให้จ�ำนวนคนอยำกสอบรับเรือมีน้อยลง ออกเรือครั้งแรก

ซ่งหมำยถึงกำรขำดแรงบันดำลใจ และควำมกระตือรือร้น และในท่สุดวันออกทดลองเรือวันแรกก็มำถึง ทุกคน


ในกำรพัฒนำตนเองของก�ำลังพล มำถึงเรือแต่เช้ำด้วยควำมต่นเต้น อุปกรณ์ต่ำง ๆ ท่จ�ำเป็น

ได้รับกำรทยอยขนลงเรือไปแล้ว สภำพภำยในตัวเรือ
ยังไม่แล้วเสร็จสมบูรณ์นัก และนอกจำกก�ำลังพลประจ�ำเรือ



แล้วก็มีก�ำลังพลจำกส่วนอ่นท่เก่ยวข้องมำร่วมปฏิบัติด้วย
เป็นจ�ำนวนมำก ประมำณ ๒๕๐ นำย กำรออกจำกเทียบ
เป็นไปโดยไม่ยำกมำกนก เพรำะมเรอลำกจงสนับสนุนถึง




๒ ล�ำ เพรำะต�ำบลท่จอดเรือ ณ อู่รำชนำวีมหิดลอดุลยเดช

น้น อยู่ปลำยท่ำเทียบเรือหน้ำประตูทำงเข้ำอู่แห้งพอด ี



จึงไม่มีพ้นท่ส�ำหรับกำรถอยเรือ ก่อนหน้ำน้นต้นหนก็ได้

ก�าลังพลชุดรับเรือกับเรือของพวกเขา มำเสนอแผนกำรเข้ำ - ออกร่องน้ำ และก�ำหนดพ้นท ี ่





ปลูกเรือนต้องตามใจผู้อยู่ สำหรบใช้ในกำรกลับลำหน้ำ และลงในระบบ Integrated
นอกจำกกำรท�ำงำนภำยในชุดรับเรือเองแล้ว Bridge Navigation System และ Blind Pilot/Parallel
กำรรับเรือยังท�ำให้มีโอกำสในกำรท�ำงำนร่วมกับพ่ ๆ Index ไว้อย่ำงเรียบร้อย ผู้เขียนเลือกใช้ควำมเร็วปำนกลำง

น้อง ๆ และน้ำ ๆ ในคณะกรรมกำรต่ำง ๆ รวมทง ค่อนข้ำงสูงในกำรน�ำเรือในร่องน้ำเพ่อรักษำอำกำรเรือ




หน่วยเทคนิคท่เก่ยวข้อง และเจ้ำหน้ำท่บริษัทผู้ผลิต กับกำรใช้มุมหำงเสือจำกเรือแบบเดียวกัน



นาวิกศาสตร์ 45
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔

เช้าวันออกทดลองเรือครั้งแรก เรือยังไม่มีสถานะเป็นเรือรบ ขณะออกทดลองระบบตัวเรือและกลจักรในทะเล
สังเกตว่าธงท้ายเรือยังใช้ธงชาติ
ควำมส�ำเร็จ และอุปสรรคต่ำง ๆ เรำออกเรือติดต่อกัน
แทบทุกวันจนส้นสุดกำรทดลองระบบตัวเรือ เรำได้พัก

เพ่อเตรียมกำรประมำณ ๒ สัปดำห์ในเดือนสิงหำคม


ก่อนจะกลับมำเร่มกำรทดสอบทดลองระบบควบคุม

บังคับบัญชำในเดือนกันยำยนจนส้นสุดปีงบประมำณ
ระหว่ำงนั้นก็มีเร่องต่นเต้นประปรำย แต่ทุกนำยก็ช่วยกัน


แก้ไขสถำนกำรณ์ต่ำง ๆ ได้เป็นอย่ำงดี จนเรียกได้ว่ำ

ผ่ำนมำได้แบบไร้รอยขีดข่วน ท้งน้เพรำะกำรท�ำงำนเป็นทีม

และกำรสนับสนนจำกคณะกรรมกำร หน่วยเทคนิค


หน่วยสนับสนุน และบริษัทผู้ผลิต รวมท้งขีดควำมสำมำรถ
เรือขณะออกจากร่องน�้าจุกเสม็ด ของก�ำลังพลแต่ละนำยท�ำให้ผู้เขียนเริ่มอุ่นใจ

เสียงนกหวีดจำกจ่ำยำมเป่ำถวำยควำมเคำรพ
พลเรือเอก พระเจ้ำบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ำอำภำกร
เกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักด์ องค์บิดำ


แห่งทหำรเรือไทย ทำงกรำบซ้ำย คร้งแรกบนปีกนก
ของเรือเรำยังก้องอยู่ในควำมทรงจ�ำ
ออกเรือไปยังไม่ทันพ้นทุ่นไฟปำกร่องก็มีกำรติดต่อ


มำจำกแผนกช่ำงกลว่ำขออนญำตให้หยดเรือเพอ


ตรวจสอบระบบขับเคล่อน ท�ำให้กำรออกเรือคร้งแรก


ถูกขัดจังหวะด้วยกำรทิ้งสมอฉุกเฉินข้ำงร่องน�้ำแทน
กำรทดลองระบบต่ำง ๆ จะด�ำเนินไปอีกเช่นนี้ มีทั้ง การยิงอาวุธประจ�าเรือ




นาวิกศาสตร์ 46
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔

การยิงเป้าลวง การทดสอบระบบรับ – ส่ง อากาศยาน
แต่กำรออกทดลองท่ผู้เขียนจะไม่ลืมเลือนคือ

กำรออกเรือทดลองกำรเดินระบบระยะยำวหรือ Endurance

Test ท่เรำได้เดินทำงข้ำมคืนเป็นคร้งแรกจำกสัตหีบ



ไปสงขลำ และแน่นอนก็มีเร่องต่นเต้นท่จะไม่มีวันลืม

ในหมู่พวกเรำอีกเช่นกัน แต่ก็รอดมำได้ด้วยควำมร่วมแรง
ร่วมใจของทุกคน ถึงแม้จะไม่ได้เข้ำจอดระหว่ำงทำง

เพียงแค่ทักทำยกับปำกร่องน้ำสงขลำ พวกเรำต่ำงบอก
กับตัวเองว่ำอีกไม่นำนจะกลับมำที่นี่อีกครั้ง

หลำกหลำยพิธีอันทรงเกียรติท่พวกเรำได้มีโอกำส
ร่วม ตั้งแต่กำรวำงกระดูกงู กำรปล่อยเรือลงน�้ำ ล้วนเป็น
การทดลองระบบกลจักร



























ภาพถ่ายก�าลังพลภายหลังจาก Endurance Test ๗๒ ชั่วโมง



นาวิกศาสตร์ 47
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔



วันท่ก�ำลังพลชุดรับเรือทุกคนไม่มีวันลืม ซ่งนอกจำก การป้องกันความเสียหาย
จะเป็นขนบธรรมเนียมชำวเรือแล้ว ยังหมำยถึงควำม ผู้เขียนเคยได้มีโอกำสรับกำรฝึกในโรงเรียนป้องกัน





ผกพนใกล้ชดระหว่ำงเรอรบกบสถำบนหลกของชำต ิ ควำมเสียหำยของกองทัพเรือต่ำงประเทศหลำยคร้ง





ดังค�ำว่ำ H.T.M.S. – His Thai Majesty’s Ship และ ซ่งเม่อมำปฏิบัติงำนในกองเรือยุทธกำรก็พบว่ำม ี


ที่ส�ำคัญคือ แนวควำมคิด และพระอัจฉริยภำพด้ำนกำร รำยละเอียดหลำยอย่ำงท่ต้งใจว่ำเม่อมีโอกำสจะน�ำ

ทหำรเรือของพระมหำกษัตริย์ผู้เปี่ยมด้วยพระปรีชำ ประสบกำรณ์ที่ได้รับมำปรับปรุงผสมผสำน นอกจำกนั้น

สำมำรถที่น�ำมำสู่กำรต่อเรือล�ำนี้ ก็ได้เคยท�ำกำรฝึกในเรือด�ำน้ำอีกถึง ๔ คร้ง เป็นระยะ




















พิธีปล่อยเรือลงน�้า





จนกระท่งถึงวันข้นระวำงประจ�ำกำรของเรือ ซ่ง เวลำแรมเดือน ซ่งนอกจำกกำรฝึกปฏิบัติกำรเรือด�ำน้ำ


หมำยควำมว่ำเรำไม่ได้เป็นเพียงเจ้ำหน้ำท่ทดลองเรือ ในยุทธวิธีหลบหลีกและกำรโจมตีเรือผิวน้ำแล้ว ก็พบว่ำ

อีกแล้ว แต่เรำเป็นก�ำลังพลประจ�ำเรือท่มีพันธะผูกพัน กำรป้องกันควำมเสียหำยจำกกำรเกิดไฟไหม้ในเรือ



ท้งในเชิงระเบียบข้อบังคับ กฎหมำย และจิตวิญญำณ มีควำมส�ำคัญเป็นอย่ำงย่ง ซ่งเม่อสังเกตก็พบว่ำเคล็ด


ควำมเป็นชำวเรืออย่ำงสมบูรณ์ ท่ไม่ลับคือ กำรหำจุดลงตัวระหว่ำงกำรเข้ำไปดับไฟให้เร็ว

ส�ำหรับผู้เขียนเองก็จะไม่มีวันลืม เวลำไม่ถึงช่วโมง กำรป้องกันตนเอง และขีดควำมสำมำรถในกำรท�ำงำน

ภำยหลังเสร็จส้นพิธี และต้องรีบน�ำเรือกลับไปติดต้ง ของชุดดับไฟที่ถือเป็นหัวใจของควำมส�ำเร็จ ผู้เขียนจึงได ้



อุปกรณ์เพ่มเติมท่อู่รำชนำวีมหิดลอดุลยเดช ท่ผู้เขียน เร่มให้ทีมท�ำกำรส�ำรวจอุปกรณ์ป้องกันควำมเสียหำยท ี ่



รีบข้นแหลมปู่เจ้ำไปสักกำระ พลเรือเอก พระเจ้ำบรมวงศ์เธอ ได้รับมอบมำพร้อมกับเรือ และจัดแบ่งก�ำลังพลจำกทุกส่วน
พระองค์เจ้ำอำภำกรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักด ์ ิ ภำยในเรือออกเป็นชุดดับเพลิงย่อย ๆ ภำยใต้กรอบรูปแบบ

พร้อมท้งขออนุญำตท่ำนประดับเข็มผู้บังคับกำรเรือท ี ่ กำรดับไฟเดิมท่ทุกคนคุ้นเคย ด้วยอุปกรณ์ดับเพลิงและ




หน้ำอกด้ำนซ้ำยเป็นคร้งแรกตำมท่รอคอย และต้งใจไว้ ป้องกันที่แตกต่ำงกัน ไม่ว่ำจะเป็นผู้ส�ำรวจควำมเสียหำย
แสนนำน ท่จะต้องเร่งไปดูว่ำเกิดอะไรข้นโดยไม่สวมชุดป้องกันใด ๆ


นาวิกศาสตร์ 48
ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔


Click to View FlipBook Version